SlideShare a Scribd company logo
1 of 15
โดย นายณัฐกมล ช่างศรี  สาขาสัตวแพทยศาสตรบัณฑิต 015431011012-2
                       นายนพดล มีวงศ์ธรรม สาขาสัตวแพทยศาสตรบัณฑิต 015431011019-7

               ระบบต่ อ มไร้ ท ่ อ (ENDOCRINE SYSTEM) 
      ระบบต่ อ มไร้ ท ่ อ (Endocrine System) โครงสร้างส่วนใหญ่ของต่อมไร้ท่อเป็น
พวกเนื้อเยื่อบุผิว สารเคมีที่ถูกผลิตจากต่อมไร้ท่อเรียกว่า ฮอร์ โ มน (Hormone) ซึ่ง
ฮอร์โมนส่วนใหญ่จะพวกโปรตี น และสเตอรอยด์ และถูกส่งเข้ากระแสเลือดไปสู่เซลล์
และเนื้อเยื่อหรืออวัยวะเป้าหมาย
หน้ า ที ่ ข องฮอร์ โ มน
  1. ควบคุมระบบพลังงานของร่างกาย
  2. ควบคุมปริมาณนำ้า และเกลือแร่ในร่างกาย
  3. ควบคุมการเจริญเติบโตของร่างกาย
  4. ควบคุมระบบสืบพันธ์และต่อมนำ้านม ซึ่งหน้าที่ดังกล่าวเป็นผลจากการทำางานของ
      ฮอร์โมนหลายๆ ชนิดพร้อมๆ กัน เพื่อก่อให้เกิดผลตามที่ร่างกายต้องการ
ประเภทและคุ ณ สมบั ต ิ ข องฮอร์ โ มน
ฮอร์โมน แบ่งตามคุณสมบัติทางเคมีออกได้เป็น ٤ ประเภท คือ
  ١. เพปไทด์ ฮ อร์ โ มน (Peptide Hormone) ประกอบด้วยกรดอะมิโนที่ต่อกันด้วย
  โซ่เพปไทด์ ได้แก่ ฮอร์โมนจากไฮโพทาลามัส ต่อมใต้สมอง ตับอ่อน และ จากต่อม
  พาราไทรอยด์
  ٢. สเตอรอยด์ ฮ อร์ โ มน (Steroid Hormone) ได้แก่ ฮอร์โมนที่สร้างจากต่อมหมวก
  ไต รังไข่ และอัณฑะ
  ٣. อะมี น ฮอร์ โ มน (Amines Hormone) เป็นฮอร์โมนที่ได้จากกรดอะมิโน โดยตัด
  เอาหมู่คาร์บอกซิล (Carboxyl group) ออกได้อะมีน ฮอร์โมนกล่มนี้ได้แก่ ฮอร์โมน
  ไทรอกซิน และคาเทคอลามีน
  4. ไกลโคโปรตี น ฮอร์ โ มน (Glycoprotein Hoemone) โครงสร้างของฮอร์โมน
  ชนิดนี้ จะมีคาร์โบไฮเดรต เป็นองค์ประกอบในโมเลกุล          ฮอร์โมนกลุ่มนี้ได้แก่
  ฮอร์โมนโกนาโดโทรพินส์ (FSH, LH, HCG, และ TSH)


                 ระบบต่อมไร้ท่อ           - ต่ อ มไร้ ท ่ อ ชนิ ด ที ่ แ ยกอยู ่ เ ดี ่ ย ว ผลิ ต
                                          ฮอร์ โ มนเป็ น หน้ า ที ่ ห ลั ก ได้ แ ก่
                  (EndocrineSystem)              ต่อมใต้สมอง (Hypophysis, Pituitary
                                                 gland),
                                                 ต่อมไธรอยด์ (Thyroid gland),
                                                 ต่อมพาราไธรอยด์ (Parathyroid gland),
                                                 ต่อมหมวกไต (Adrenal gland),
                                                 ต่อมไพเนียล (Pineal gland, Epiphysis)
                                             - ต่ อ มไร้ ท ่ อ ชนิ ด ที ่ อ ยู ่ ร ่ ว มกั บ ต่ อ มมี ท ่ อ
                                                 ตับอ่อนส่วน Islets of Langerhans,
                                                 รังไข่ (Ovary) และอัณฑะ (Testes),

                                      2
กลุ่มเซลล์ในรก (Placenta),
        กลุ่มเซลล์ในไต (Kidney)

                                                    ต่ อ มใต้ ส มอง ควบคุมต่อมไร้
                                                 ท่ออื่นๆ แทบทุกต่อม จึงได้ชื่อว่า
                                                 มาสเตอร์แกลนด์ (Master gland)
                                                 ต่อมใต้สมองแบ่งออกเป็น ٢ ส่วน
                                                 แต่ละส่วนขับฮอร์โมน ได้ดังนี้
                                                    ١. ต่ อ มใต้ ส มองส่ ว นหน้ า
                                                 (anterior pituitary)
                                                    ควบคุมการหลั่งฮอร์โมนโดยไฮ
                                                 โปทาลามัส โดยหลั่ง
                                                 releasing/inhibiting ผ่านทาง
                                                 เส้นเลือด portal vessel เป็นส่วนที่
                                                 ใหญ่ที่สด และผลิตฮอร์โมนได้มาก
                                                          ุ
  ชนิดที่สุด ฮอร์โมนที่ผลิตจากส่วนนี้ มีดังนี้


     ١.١ โกรท ฮอร์ โ มน (Growth Hormone = GH) ทำาหน้าที่กระตุ้นการเจริญ
  เติบโตของร่างกาย
  • GH มากเกินไปในวัยเด็ก gigantism ร่างกายสูง
     เกินไป
  • GH ขาดไปไปในวัยเด็ก dwarfism ร่างกายเตี้ย
     แคราะ

  •   GH มากเกินไปในวัยผู้ใหญ่ acromegaly กระดูก
      บนใบหน้ามีเท้าโตผิดปกติ


  •   GH น้อยกว่าปกติในวัยผู้ใหญ่ Simmon’s
      disease ร่างกายซูบผอม กล้ามเนื้อลีบ

١.٢ โกนาโดโทรฟิน(Gonadotrophin = GN)
- ฟอลริ เ คิ ล สติ ม ิ ว เลติ ง ฮอร์ โ มน (Folliclle Stimulatung Hormone = FSH) ทำา
หน้าที่ กระตุ้นการพัฒนารังไข่ในหญิง และ
  อสุจิในชาย
- ลู ต ี ไ นซิ ง ฮอร์ โ มน (Luteinizing Hormone = LH) ทำาหน้าที่กระตุ้นการตกไข่ใน
หญิง และอสุจิในชาย เช่นเดียวกับ FSH
١.3 สตี โ อโทรฟิ ก ฮอร์ โ มน (Luteotrophic Hormone = LTH) ทำาหน้าที่กระตุ้นการ
สร้างนำ้านม
١.4 ไทรอยด์ สติ ม ิ ว เลติ ง ฮอร์ โ มน (Thyroid Stimulaing Hormone = TSH) ทำา
หน้าที่กระตุ้นต่อมไทรอยด์ให้เจริญ
1.5 อะดรี โ นคอร์ ต ิ โ คโทรฟิ ก ฮอร์ โ มน (Adrenocorticotophic Hormone =
ACTH) ทำาหน้าที่กระตุ้นอะดรีนัล คอร์เทกซ์ เพื่อ
     ผลิต หรือลดฮอร์โมนกลูโคคอร์ติคอยด์
1.6 เอนดอร์ ฟ ิ น (Endorphin) ระงับความเจ็บปวด สารแห่งความสุข
   ต่ อ มใต้ ส มองส่ ว นกลาง (Intermediate lobe)
                                         มีขนาดเล็กมากทำาหน้าที่สร้างฮอร์โมน
                                         Melanocyte Stimulating Hormone(MSH) ทำา
                                         หน้าที่ปรับสีของสัตว์เลือดเย็นให้เข้มขึ้น(ทำา
                                         หน้าที่ตรงข้ามกับ Malatonin จากต่อม pineal )
                                         ในสัตว์เลือดอุ่นมีหน้าที่ไม่แน่ชัด

                                        ต่ อ มใต้ ส มองส่ ว นหลั ง (posterior
                                        pituitary)
                                            ฮอร์โมนที่หลั่งจากต่อมใต้สมองส่วนหลัง
                                        สร้างมาจากเซลล์ประสาทของไฮโปทาลามัส
                                        โดยเซลล์ประสาทจะยื่น ส่วน axon เข้ามาใน
  ต่อมใต้สมองส่วนหลังผลิตฮอร์โมนได้ ดังนี้
      ١. แอนติ ไ ดยู เ รติ ก ฮอร์ โ มน (Antidiuretic Hormone = ADH) หรือวาโซเพ
  รสซิน ทำาหน้าที่ควบคุมการดูดนำ้ากลับของหลอดรวบรวมของไต
      2. ออกซิ โ ทซิ น (Oxytocin) ถูกสร้างเฉพาะในหญิงมีครรภ์ ช่วยให้มดลูกหดตัว
  ตอนคลอด ทำาให้คลอดได้ง่าย
  ขึ้น และช่วยในการหลั่งนำ้านม
  ในระยะให้นม

ต่ อ มหมวกไต (Adrenal gland)
 ต่ อ มหมวกไต อยู่เหนือไตทั้งสอง
ข้าง ประกอบด้วย ٢ ส่วน คือ ส่วน
ชั้นในเรียกว่า อะดรีนัล เมดัลลา
(Adrenal medulla) และส่วนชั้น
นอกเรียกว่า อะดรีนัล คอร์เทกซ์
(Adenal cortex) แต่ละส่วนขับ
ฮอร์โมน ดังนี้
1. อะดรี น ั ล เมดั ล ลา (Adrenal medulla) อยู่ชั้นในผลิตฮอร์โมนที่สำาคัญ ٢ ชนิด คือ
١.١ อะดรี น าลี น หรื อ อี พ ิ เ นฟริ น (Adrenalin หรือ Epinephrine) มีผลทำาให้หลอด
เลือดขยายตัว ตับและกล้ามเนื้อสลายไกลโคเจนให้เป็นกลูโคส ทำาให้มีกำาลังยกของ
หนักๆ ได้
١.٢ นอร์ อ ะดรี น าลี น หรื อ นอร์ อ ี พ ิ เ นฟริ น (Noradrenalin หรือ Norepinephrine)
มีผลทำาให้หลอดเลือดหดตัว ทำาให้ความดันเลือดสูง
٢. อะดรี น ั ล คอร์ เ ทกซ์ อยู่ชั้นนอก ผลิตสเตอรอยด์ฮอร์โมน ดังนี้
٢.١ ไมเนอราโลคอร์ ต ิ ค อยด์ (Mineralocorticoids) ทำาหน้าที่ควบคุมนำ้าและเกลือแร่
โดยการดูดโซเดียมไอออนกลับ และขับโพแทสเซียมไอออน ออกทิ้งที่บริเวณหลอดไต
ไมเนอราโลคอร์ติคอยด์ ที่สำาคัญที่สุดคือ อัลโดสเตอโรน (Aldosterone)
٢.٢ กลู โ คคอร์ ต ิ ค อยด์ (Glucocorticoids) มีผลในการควบคุมการสลายกลูโคส
โปรตีนและไขมัน กลูโคคอร์ติคอยด์ที่สำาคัญที่สุด คือ คอร์ติโซล (Cortisol) มีผลตรงข้าม
กับฮอร์โมนอินซูลิน และยังรักษาดุลนำ้าและเกลือแร่ด้วย
٢.٣ แอนโดรเจน (Androgens) เป็นฮอร์โมนที่ควบคุมพัฒนาการของร่างกายเมื่อเข้าสู่
วัยรุ่นผลิตได้ในปริมาณที่น้อยมากในส่วนอะดรีนัล คอร์เทกซ์ แอนโดรเจนที่สำาคัญใน
เพศชาย คือ เทสโทสเตอโรนซึ่งผลิตจากอัณฑะ ส่วนในหญิง คือ อีสโทรเจน ซึ่งผลิต
จากรังไข่เป็นส่วนใหญ่
ตั บ อ่ อ น (Gland in
Pancreas)
ต่อมในตับอ่อน อาจเรียกชื่อว่า
ต่ อ มไอเลตออฟแลงเกอร์
ฮานส์ (lsles of Lahgerhan)
ตามชื่อผู้ค้นพบ เป็นต่อมที่
ประกอบด้วยกลุ่มเซลล์ ที่แทรก
อยู่ในตับอ่อน มี ٢ ชนิด คือ
١. บี ต ้ า -เซลล์ (Beta-Cell)
ผลิตฮอร์โมนชื่อ อินซูลิน
(Insulin hormone) ทำาหน้าที่
ควบคุมนำ้าตาลในกระแสเลือด โดยเร่งการเปลี่ยนกลูโคส ให้เป็นไกลโคเจนเก็บสะสมไว้
ที่ตับและกล้ามเนื้อ เร่งการใช้กลูโคสในร่างกาย
٢. แอลฟา-เซลล์ (Alpha-Cell) อยู่รอบนอกของต่อมในตับอ่อน ผลิตฮอร์โมนชื่อ กลู
คากอน (Glucagon) มีผลตรงข้ามกับฮอร์โมนอินซูลิน เช่น เร่งการสลายไกลโคเจน
จากตับ และกล้ามเนื้อให้เป็นกลูโคสเข้าสู่กระแสเลือด เร่งการเปลี่ยนกรดอะมิโน และไข
มันเป็นกลูโคส โรคที่เกี่ยวกับตับอ่อน
    • โรคเบาหวานเกิดจากเซลล์ร่างกายไม่สามารถนำากูโคสเข้าสู่เซลล์โดยสาเหตุจาก
               แบบที่ 1 ร่างกายไม่สามารถสร้างอินซูลิน
               แบบที่ 2 เซลล์ร่างกายไม่มีตัวรับอินซูลิน
ต่ อ มไทรอยด์ (Thyroid Gland)
ต่ อ มไทรอยด์ ตั้งอยู่ใกล้กล่องเสียง ผลิตฮอร์โมนที่สำาคัญ ٢
                          ชนิด คือ
                          ١. ไทรอกซิ น หรื อ เทตระไอโอโดไทโรนี น
                          (Thyroxin หรือ Tetraiodothyronone = T) เป็นกรดอะมิ
                          โนที่มีไอโอดีนอยู่ด้วย มีผลต่อการกระตุ้นอัตรา เมแทบอลิซึม
                          เพิ่มการใช้ออกซิเจน การดูดซึมกลูโคสและการสร้างโปรตีน
                          การขับฮอร์โมนไทรอกซินจะถูกควบคุมโดย TSH จากต่อม
                          ใต้สมองส่วนหน้า
                          ٢. แคลซิ โ ทนิ น (Calcitonin) ไม่มีไอโอดีนเป็นองค์
                          ประกอบ ทำาหน้าที่ลดระดับแคลเซียมในเลือด เพิ่มการขับ
แคลเซี่ยมทิ้งออกพร้อมนำ้าปัสสาวะ แคลเซียมบางส่วนจะไปสะสมที่กระดูกเพิ่มขึ้น ปกติ
ฮอร์โมนนี้จะทำางานตรงข้ามกับฮอร์โมนจากต่อมพาราไทรอยด์
ต่ อ มพาราไทรอยด์ (Parathroid Gland)
      ต่ อ มพาราไทรอยด์ เป็นต่อมเล็กๆ อยู่
ตรงผิวด้านหลังของต่อมไทรอยด์ ผลิตฮอร์โมน
ชื่อ พาราทอร์ โ มน (Parathormone = PTH)
ทำาหน้าที่ร่วมกับแคลซิโทนิน โดยควบคุม
แคลเซียมในร่างกายช่วยให้แคลเซียมในทางเดิน
อาหารถูกดูดซึมมากขึ้น สลายแคลเซียมจาก
กระดูกเข้าสู่กระแสเลือด เป็นการเพิ่มระดับ
แคลเซียมในเลือด ดังนั้น พาราทอร์โมน จึงทำา
หน้าที่ตรงข้ามกับแคลซิโทนิน ในสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมจำาเป็นมากขาดไม่ได้ ถ้าขาด
PTH จะทำาให้กล้ามเนื้อเก็รง ชักกระตุก หัวใจเต้นผิดปกติอาจเสียชีวิต ถ้า PTH มาก
เกิน จะทำาให้แคลเซียมในกระดูกและฟันสลายตัวมากและทำาให้เป็นโรคกระดูกพรุน


ต่ อ มไพเนี ย ล (pineal gland)
                                  ต่อมไพเนียล (pineal gland) เป็นต่อมเล็กๆ ที่อยู่
                                  ระหว่างสมองส่วน cerebrum พูซ้ายและพูขวา
                                  ต่อมไพเนียลจะสร้างฮอร์โมน melatonin เป็น
                                  ฮอร์โมนที่มีความสำาคัญในคนและสัตว์ชั้นสูงใน
                                  ช่วงก่อนวัยหนุ่มสาว โดยจะไปยับยั้งการเจริญ
ของอวัยวะสืบพันธุ์
ถ้าต่อมนี้เกิดผิดปกติและผลิตฮอร์โมนนี้มากเกินไปจะทำาให้เป็นหนุ่มสาวช้าลงกว่าปกติ
ในสัตว์ที่มีกระดูกสันหลังบางชนิด เช่น ปลาปากกลมต่อมไพเนียลจะไม่ได้ทำาหน้าที่สร้าง
ฮอร์โมน แต่จะทำาหน้าที่เป็นกลุ่มเซลล์รับแสง (photoreceptor) การหลั่งฮอร์โมนของ
ต่อมนี้ จะหลั่งได้ดีในกรณีอยู่ในที่มืดในสัตว์พวกที่อยู่ในที่มีแสงสว่างมากจะหลั่งน้อย
พวกสัตว์ครึ่งบกครึ่งนำ้า และสัตว์เลื้อยคลานบางชนิด ซึ่งเป็นสัตว์เลือดเย็น ฮอร์โมนนี้จะ
ไปช่วยในการปรับสีของผิวหนังให้จางลง (ทำาหน้าที่ตรงกันข้ามกับ MSH จากต่อมใต้
สมองส่วนกลาง)
รั ง ไข่ แ ละอั ณ ฑะ (Ovaries and Testis)

                                             รั ง ไข่ แ ละอั ณ ฑะ จะเรียกรวมกันว่า
                                       โกแนด (Gonads)
                                             ทำาหน้าที่ผลิตฮอร์โมนเพศ ฮอร์โมนใน
                                       เพศชาย เรียกว่า แอนโดรเจน และแอนโดร
                                       เจนที่สำาคัญที่สุดคือ เทสโทสเตอโรน ซึ่งผลิต
                                       จากเซลล์แทรก (Interstitial cell) ในอัณฑะ
                                       ทำาหน้าที่ควบคุมการเจริญของอัณฑะ พัฒนา
                                       ความเป็นชาย และควบคุมความต้องการทาง
                                       เพศ




     ส่วนในหญิงรังไข่จะผลิตฮอร์โมน อีส
โทรเจน ทำาหน้าที่พัฒนารังไข่ การพัฒนาของ
ไข่ ควบคุมความเป็นเพศหญิง และความ
ต้องการทางเพศ ในระยะที่มีการตกไข่
(Ovulation) รังไข่และรกจะผลิตฮอร์โมน
โพรเจสเตอโรน (Progesterone) โดยการควบคุมของฮอร์โมน LH และ FSH จาก
ต่อมใต้สมองส่วนหน้า โพรเจสเตอโรนทำาหน้าที่ควบคุมการเจริญเติบโตของผนังมดลูก
การตกไข่ การมีประจำาเดือน และควบคุมการเจริญของต่อมนำ้านม
ฮอร์ โ มนจากรก
                                                              (placental hormone)
                                                              รกสร้างฮอร์โมน Human
                                                              Chorionic Gonadotropin
                                                              (HCG) เพื่อกระตุ้นคอปัสลู
                                                              เทียม ในรังไข่ให้เจริญต่อ
                                                              ไป และสร้างฮอร์โมนเพศ
                                                              หญิงเพิ่มขึ้นในช่วงตั้ง
                                                              ครรภ์ ซึ่งจะพบในเลือด
                                                              และในปัสสาวะของผู้หญิง
                                                              ที่มีการตั้งครรภ์ ดังนั้นจึง
                                                              ใช้เป็นตัว ทดสอบการตั้ง
                                                              ครรภ์ของผู้หญิงได้

                                                             ต่ อ มไทมั ส (Thymus
                                                             gland)
                                                             อยู่ที่ขั่วหัวใจ มี 2 พู สร้าง
                                                             ฮอร์โมน ไทโมซิน ไปสู้
                                                             อวัยวะเป้าหมาย คือ
                                                             เนื้อเยื่อของต่อมไทมัส ไป
                                                             กระตุ้นการสร้าง T-
lymphocyte หรือ T-cell ( สร้าง เม็ดเลือดขาว แอนติบอดี ) ต่อมนี้จะเจริญเต็มที่ตั้งแต่
ทารกยังอยู่ในครรภ์มารดาและจะเสื่อมสภาพและฝอไปเรื่อยๆ จนอายุ 50 ปี ขึ้นไป
ฮอร์ โ มนจากระบบทางเดิ น อาหาร
ฮอร์โมนที่สร้าง : แกสตริน ( gastrin ) สร้างจากเซลล์บริเวณกระเพาะส่วนที่เรียกว่า แอ
นทรัม
อวัยวะเป้าหมาย : เซลล์กระเพาะอาหารที่สร้าง เอนไซม์หรือนำ้าย่อย และ กรดไฮโดร
คลอลิก ซึ่ง พบบริเวณกระเพาะอาหารส่วนที่              เรียกว่า คอร์ปัส
หน้าที่ : กระตุ้นให้เซลล์กระเพาะอาหารที่สร้าง นำ้าย่อย และ กรดไฮโดรคลอริก หลั่ง
เอนไซม์หรือนำ้าย่อย และ กรดไฮโดรคลอลิก ออกมาเพื่อย่อยอาหาร
ฮอร์ โ มนจากลำ า ไส้ เ ล็ ก
ซีครีตริน (Secretin)
   ► สรางมาจากเนื้อเยื่อชั้นในของลำาไสเล็กบริเวณดูโอดีนัม
   ► ทำาหน้าที่กระตุนใหตับออนหลั่งสาร ไบคาร์บอเนต
   ► สนับสนุนการทำางานของเอนไซม์ CCK
โคเลซีสโตไคนิน (Cholecystokinin;CCK)
   ► สร้างมาจากลำาไส้เล็ก
   ► มีหน้าที่กระตุ้นการสร้างและหลั่งนำ้าย่อยจากตับอ่อน
   ► และกระตุ้นการหดตัวของถุงนำ้าดี
เอนเทอโรแกสโตรน (Enterogastron)
   ► สร้างมาจากลำาไส้เล็ก
   ► ทำาหน้าที่ลดการเคลื่อนไหวของกระเพาะอาหาร
   ► ทำาให้อาหารผ่านลำาไส้เล็กช้าลง โดยเฉพาะอาหารพวกไขมัน
   ► ยังยับยั้งการขับนำ้าย่อยของกระเพาะอาหาร




ฟี โ รโมน (Pheromone)
      สารเคมีที่สัตว์ขับออกมานอกร่างกาย โดยต่อมมีท่อ (exocrine gland) ซึ่งไม่มีผล
ต่อตัวเอง แต่จะไปมีผล ต่อสัตว์ตัวอื่นที่เป็นชนิดหรือสปีชีส์เดียวกัน ให้เกิดการ
เปลี่ยนแปลงทางพฤติกรรม และสรีรวิทยาเฉพาะอย่างได้ฟีโรโมน จัดเป็นสารเคมีที่สร้าง
ขึ้นเพื่อเป็นสารสัญญาณดังนี้ สารดึงดูดเพศตรงข้าม สารเตือนภัย สารส่งเสริมการ
รวมกลุ่ม (Aggregation – Promoting Subtances)ยกว้นสารสารที่มีกลิ่นเหม็นๆของ
แมลงที่ผลิตออกมาเพื่อป้องกันศัตรู เรียกว่า Allomones
          สารนำ า ทาง                                 สารแสดง
  (trail pheromone) ได้แก่ สารดึ ง ดู ด เพศตรงข้ า ม อาณาเขต
 กรดบางชนิดที่มดงานปล่อย (sex pheromone) พบ (territory
 ออกมาตามทางเดิน ทำาให้มด ในผีเสื้อไหมตัวเมีย ปล่อยpheromone)
    ตัวอื่นสามารถเดินไปยัง      ออกมาดึงดูดผีเสื้อไหม เช่น สุนัข
        อาหารได้ถูกต้อง                ตัวผู้        ปัสสาวะรดสิ่ง
                                                              สารเตื อ นภั ย
        สารจากนางพญา
                                                        (alarm pheromone) เช่น
     (queen substance) เช่น
                                                        มดตาย จะมีฟีโรโมนออกมา
    สารที่นางพญาให้ผึ้งงานกิน
ระบบต่าให้ผึ้งงานเป็นหมัต ว์ ไ ม่ ม ี
       ทำ อ มไร้ ท ่ อ ในสั น                          กระดู ก สั น หลั ง้น ทำาให้มี
                                                         จากซากมดตัวนั
                                                         การขนซากมดตัวนั้นไปทิ้ง
ฮอร์ โ มนจากแมลง                                                   นอกรัง
        1. ฮอร์ โ มนจากสมอง (brain hormone
หรื อ BH) เป็นกลุ่มฮอร์โมนซึ่งสร้างจาก
neurosecretory cell ในสมอง กระตุ้นต่อมไร้ท่อบริเวณ
ทรวงอก ทำาให้สร้างฮอร์โมน molting hormone (MH)
ไปเก็บไว้ใน corpus cardiacum ต่อไป
        2. ฮอร์ โ มนเกี ่ ย วกั บ การลอกคราบ
(molting hormone หรื อ MH) สร้างบริเวณ
ทรวงอกมีผลทำาให้แมลงลอกคาบ และ metamorphosis
เป็นตัวโตเต็มวัย
        3. ฮอร์ โ มนยู ว ี ไ นล์ (Juvenile hormone
หรื อ JH) สร้าง จากต่อมทางสมองมาทางซ้ายเรียก
corpus allatum ทำาหน้าที่ห้ามระยะตัวหนอนและดักแด้ไม่ให้ไม่ให้เป็นตัวเต็มวัย แต่ถ้า
มี JH ลดลง จะกระตุ้นให้ลอกคราบแล้วกลายเป็นตัวเต็มวัยได้
การควบคุ ม การหลั ่ ง ฮอร์ โ มนแบบยั บ ยั ้ ง ย้ อ นกลั บ (negative feedback )
เป็นรูปแบบการควบคุมที่ใช้มาก คือการที่ฮอร์โมนหรือผลของฮอร์โมนนั้น บอกสัญญาณ
ไปยังต่อมไร้ท่อให้หลั่งฮอร์โมนน้อยลง เช่น การทำางานของฮอร์โมนอินซูลิน เมือระดับ
                                                                          ่
ของกลูโคสในกระแสเลือดมาก ตับอ่อนจะผลิตฮอร์โมนอินซูลินออกมา เพื่อนำากลูโคส
เข้าเซลล์ ซึ่งจะทำาให้ระดับกลูโคส ในกระแสเลือดลดลง ระดับของนำ้าตาลในกระแสเลือด
ที่ตำ่าลง จะไปส่งสัญญาณให้ตับอ่อน ผลิตฮอร์โมนอินซูลินลดน้อยลง เป็นต้น
.
                 การทำ า งานของฮอร์ โ มนอิ น ซู ล ิ น ซึ ่ ง เป็ น การ
                   ควบคุ ม การทำ า งานแบบยั บ ยั ้ ง ย้ อ นกลั บ

การควบคุ ม การหลั ่ ง ฮอร์ โ มนแบบ
กระตุ ้ น ย้ อ นกลั บ

 ( positive feedback) เป็นรูปแบบที่
พบน้อยกว่า เป็นการทำางานตรงกันข้าม
กับการยับยั้งที่กล่าวมาแล้ว คือ แทนที่
จะไปยับยั้งแต่ผลของฮอร์โมน จะไป
กระตุ้นให้มีการทำางานของต่อมไร้ท่อ
มากขึ้น เช่น ฮอร์โมนออกซิโทซิน ซึ่ง
การที่ทารกดูดนมมารดาอยู่สมำ่าเสมอ จะ
เป็นการกระตุ้นให้ต่อมไต้สมองสร้าง
                              ฮอร์โมน
      การทำางานของออกซิโท ออกซิโท
     ซินซึ่งเป็นการควบคุมการ ซินตลอด
      ทำางานแบบกระตุ้นย้อน    เวลาหรือ
                กลับ
                              มากขึ้น
กลไกการออกฤทธิ ์ ข องฮอร์ โ มน มี 2 วิ ธ ี คื อ

1. ออกฤทธิ ์ ท ี ่ ผ ิ ว เซลล์ ฮอร์โมนประเภทที่เป็นโปรตีน ได้แก่เปปไทด์ฮอร์โมน
ฮอร์โมนประเภทโปรตีนและเอมีน ซึ่งมีคุณสมบัติละลายนำ้าได้ดี (hydrophilic) ทำาให้ไม่
สามารถซึมผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ของเซลล์เป้าหมายได้ โดยที่เยื่อหุ้มเซลล์จะมีของอวัยวะ
เป้าหมายจะมีโปรตีนมารับ ทำาปฏิกิริยาจำาเพาะกับฮอร์โทนนั้น เป็นการกระตุ้น ATP เปลื่
ยนไปเป็น cAMP (cyclic adenosine monophosphate หรือ cyclic AMP) เรียก cAMP
ว่าตัวนำาข่าวสารตัวที่สอง ทำาให้สารบางชนิดเข้าไปในเซลล์หรืออวัยวะเป้าหมายนั้นๆ




2. ออกฤทธิ ์ ท ี ่ ย ี น ในนิ ว เคลี ย ส เป็นฮอร์โมนพวกสเตรอยด์ เนื่องจากฮอร์โมนพวกนี้
ละลายได้ในไขมันจึงสามารถผ่านเยื่อหุ้มเซลล์เข้าในนิวเคลียสโดยมีตัวรับพาเข้าสู่
นิวเคลียสไปกระตุ้นยีนใน DNA ให้เกิดการ เปลื่ยนแปลง และเกิดการถอดรหัสบน
mRNA เพื่อใช้ใน                                                การสังเคราะห์โปรตีน
ซึ่งโปรตีนเหล่านี้จะ                                           ทำาหน้าเปลื่ยนแปลง
สภาพของเซลล์                                                   เป็นผลให้เซลล์เป้า
หมายตอยสนองได้
แบบฝึ ก หั ด ระบบต่ อ มไร้ ท ่ อ
1.จงเติ ม ข้ อ ความลงในช่ อ งว่ า งให้ ถ ู ก ต้ อ ง
١. ต่อมไร้ท่อ สัมพันธ์กับระบบ .................... มากที่สุด.
٢. สารเคมีที่ถูกผลิตจากต่อมไร้ท่อ เรียกว่า .........................
٣. ฮอร์โมนที่ควบคุมเมแทบอลิซึม ของแคลเซียม คือ ................
٤. คอกพอก เกิดจากต่อม ............... ทำางานมากเกินไป
٥. แอนโดรเจนในเพศชาย ที่สำาคัญที่สุด คือ ..................
٦. ฮอร์โมนที่สร้างจากต่อมหมวกไต รังไข่แลอัณฑะ เป็นฮอร์โมนประเภท ................
٧. บีตาเซลล์ในตับอ่อน ผลิตฮอร์โมนชื่อ ................... ทำาหน้าที่ควบคุมระดับนำ้าตาล
ในเลือด
٨. มาสเตอร์แกลนด์ หมายถึง ......................
٩. ......................... เป็นฮอร์โมนที่ทำาหน้าที่กระตุ้นการเจริญเติบโตของร่างกาย.
١٠. .................. เป็นฮอร์โมนจากต่อมใต้สมองส่วนหลัง ถูกสร้างเฉพาะในหญิงมี
ครรภ์ ช่วยให้มดลูกหดตัวตอนคลอด และช่วยใน
     การหลั่งนำ้านมในระยะให้นม
2.จงอธิบาย กลุ่มเซลล์ในตับอ่อน และอธิบายกระบวนการทำางานของตับอ่อน ที่มีผลต่อ
ร่างกาย
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………….
ไม่ต้องปริ้นหน้านี้




                                   เฉลย

                      ١) ประสาท
                      ٢) เนื้อเยื่อบุผิว
                      ٣) ฮอร์โมน
                      ٤) สเตอรอยด์
                      ٥) ความจำาเพาะของฮอร์โมน
                      ٦) สเตอรอยด์ฮอร์โมน
                      ٧) ต่อมพาราไทรอยด์
                      ٨) ต่อมใต้สมอง
                      ٩) โกรทฮอร์โมน
                      ١٠) ออกซิโทซิน
                      ١١) อินซูลิน
                      ١٢) ไทรอกซิน
                      ١٣) แคลซิโทนิน
                      ١٤) พาราทอร์โมน
                      ١٥) เทสโทสเตอโรน
                      ١٦) อีสโทรเจน
                      ١٧) โพรเจสเตอโรน
                      ١٨) โพรเจสเตอโรน
                      ١٩) กล้ามเนื้อ
                      ٢٠) ไทรอยด์
ระบบต่อมไร้ท่อ

More Related Content

What's hot

การรักษาดุลยภาพของร่างกายด้วยฮอร์โมน
การรักษาดุลยภาพของร่างกายด้วยฮอร์โมนการรักษาดุลยภาพของร่างกายด้วยฮอร์โมน
การรักษาดุลยภาพของร่างกายด้วยฮอร์โมนsukanya petin
 
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียนใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียนสำเร็จ นางสีคุณ
 
ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย Thitaree Samphao
 
ระบบต่อมไร้ท่อ (ฮอร์โมน) - Hormone system
ระบบต่อมไร้ท่อ (ฮอร์โมน) - Hormone systemระบบต่อมไร้ท่อ (ฮอร์โมน) - Hormone system
ระบบต่อมไร้ท่อ (ฮอร์โมน) - Hormone systemsupreechafkk
 
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตบทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตTa Lattapol
 
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน Thitaree Samphao
 
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกบทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกTa Lattapol
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศSupaluk Juntap
 
การรับรู้และตอบสนอง
การรับรู้และตอบสนอง การรับรู้และตอบสนอง
การรับรู้และตอบสนอง Thitaree Samphao
 
การรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนองการรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนองsukanya petin
 
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชsukanya petin
 
การลำเลียงสารผ่านเซลล์
การลำเลียงสารผ่านเซลล์การลำเลียงสารผ่านเซลล์
การลำเลียงสารผ่านเซลล์Peangjit Chamnan
 

What's hot (20)

การรักษาดุลยภาพของร่างกายด้วยฮอร์โมน
การรักษาดุลยภาพของร่างกายด้วยฮอร์โมนการรักษาดุลยภาพของร่างกายด้วยฮอร์โมน
การรักษาดุลยภาพของร่างกายด้วยฮอร์โมน
 
ชุดการสอนที่ 2 ต่อมใต้สมอง อาบ ok
ชุดการสอนที่ 2 ต่อมใต้สมอง อาบ okชุดการสอนที่ 2 ต่อมใต้สมอง อาบ ok
ชุดการสอนที่ 2 ต่อมใต้สมอง อาบ ok
 
ระบบประสาท (Nervous System)
ระบบประสาท (Nervous System)ระบบประสาท (Nervous System)
ระบบประสาท (Nervous System)
 
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียนใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
 
ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย
 
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
 
ระบบต่อมไร้ท่อ (ฮอร์โมน) - Hormone system
ระบบต่อมไร้ท่อ (ฮอร์โมน) - Hormone systemระบบต่อมไร้ท่อ (ฮอร์โมน) - Hormone system
ระบบต่อมไร้ท่อ (ฮอร์โมน) - Hormone system
 
Ppt digestive system
Ppt digestive systemPpt digestive system
Ppt digestive system
 
ชุดการสอนที่ 9 การรักษาดุลยภาพด้วยฮอร์โมน
ชุดการสอนที่ 9 การรักษาดุลยภาพด้วยฮอร์โมนชุดการสอนที่ 9 การรักษาดุลยภาพด้วยฮอร์โมน
ชุดการสอนที่ 9 การรักษาดุลยภาพด้วยฮอร์โมน
 
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตบทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
 
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน
 
Hormone
HormoneHormone
Hormone
 
stem structure
stem structurestem structure
stem structure
 
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกบทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
 
การรับรู้และตอบสนอง
การรับรู้และตอบสนอง การรับรู้และตอบสนอง
การรับรู้และตอบสนอง
 
การรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนองการรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนอง
 
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
 
การลำเลียงสารผ่านเซลล์
การลำเลียงสารผ่านเซลล์การลำเลียงสารผ่านเซลล์
การลำเลียงสารผ่านเซลล์
 
การเคลื่อนที่ของคน
การเคลื่อนที่ของคนการเคลื่อนที่ของคน
การเคลื่อนที่ของคน
 

Viewers also liked

เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อ hormone
เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อ hormoneเรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อ hormone
เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อ hormonekasidid20309
 
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียนใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียนสำเร็จ นางสีคุณ
 
เฉลยแบบฝึกหัดเรื่องฮอร์โมน
เฉลยแบบฝึกหัดเรื่องฮอร์โมนเฉลยแบบฝึกหัดเรื่องฮอร์โมน
เฉลยแบบฝึกหัดเรื่องฮอร์โมนWan Ngamwongwan
 
ระบบหายใจ
ระบบหายใจระบบหายใจ
ระบบหายใจWan Ngamwongwan
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ของ Bandura
ทฤษฎีการเรียนรู้ของ Banduraทฤษฎีการเรียนรู้ของ Bandura
ทฤษฎีการเรียนรู้ของ Banduraearlychildhood024057
 
พื้นฐานทางสรีรวิทยาของพฤติกรรม Present2
พื้นฐานทางสรีรวิทยาของพฤติกรรม Present2พื้นฐานทางสรีรวิทยาของพฤติกรรม Present2
พื้นฐานทางสรีรวิทยาของพฤติกรรม Present2Kobchai Khamboonruang
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ของสกินเนอร์
ทฤษฎีการเรียนรู้ของสกินเนอร์ทฤษฎีการเรียนรู้ของสกินเนอร์
ทฤษฎีการเรียนรู้ของสกินเนอร์Roiyan111
 
สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมีmegi38
 
ช่องทางการพัฒนาอาชีพ ม.ต้น อช21001
ช่องทางการพัฒนาอาชีพ ม.ต้น อช21001ช่องทางการพัฒนาอาชีพ ม.ต้น อช21001
ช่องทางการพัฒนาอาชีพ ม.ต้น อช21001Thidarat Termphon
 
สุขศึกษา พลศึกษา ม.ต้น ทช21002
สุขศึกษา พลศึกษา ม.ต้น ทช21002สุขศึกษา พลศึกษา ม.ต้น ทช21002
สุขศึกษา พลศึกษา ม.ต้น ทช21002Thidarat Termphon
 

Viewers also liked (10)

เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อ hormone
เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อ hormoneเรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อ hormone
เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อ hormone
 
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียนใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
 
เฉลยแบบฝึกหัดเรื่องฮอร์โมน
เฉลยแบบฝึกหัดเรื่องฮอร์โมนเฉลยแบบฝึกหัดเรื่องฮอร์โมน
เฉลยแบบฝึกหัดเรื่องฮอร์โมน
 
ระบบหายใจ
ระบบหายใจระบบหายใจ
ระบบหายใจ
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ของ Bandura
ทฤษฎีการเรียนรู้ของ Banduraทฤษฎีการเรียนรู้ของ Bandura
ทฤษฎีการเรียนรู้ของ Bandura
 
พื้นฐานทางสรีรวิทยาของพฤติกรรม Present2
พื้นฐานทางสรีรวิทยาของพฤติกรรม Present2พื้นฐานทางสรีรวิทยาของพฤติกรรม Present2
พื้นฐานทางสรีรวิทยาของพฤติกรรม Present2
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ของสกินเนอร์
ทฤษฎีการเรียนรู้ของสกินเนอร์ทฤษฎีการเรียนรู้ของสกินเนอร์
ทฤษฎีการเรียนรู้ของสกินเนอร์
 
สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมี
 
ช่องทางการพัฒนาอาชีพ ม.ต้น อช21001
ช่องทางการพัฒนาอาชีพ ม.ต้น อช21001ช่องทางการพัฒนาอาชีพ ม.ต้น อช21001
ช่องทางการพัฒนาอาชีพ ม.ต้น อช21001
 
สุขศึกษา พลศึกษา ม.ต้น ทช21002
สุขศึกษา พลศึกษา ม.ต้น ทช21002สุขศึกษา พลศึกษา ม.ต้น ทช21002
สุขศึกษา พลศึกษา ม.ต้น ทช21002
 

Similar to ระบบต่อมไร้ท่อ

ต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อWan Ngamwongwan
 
ต่อมไร้ท่อ54
ต่อมไร้ท่อ54ต่อมไร้ท่อ54
ต่อมไร้ท่อ54Oui Nuchanart
 
Biology Computer Project
Biology Computer ProjectBiology Computer Project
Biology Computer ProjectBee Attarit
 
9789740330530
97897403305309789740330530
9789740330530CUPress
 
ต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อWichai Likitponrak
 
ระบบต่อมไร้ท่อกับการเจริญเติบโตและภาวะสุขภาพของวัยรุ่น
ระบบต่อมไร้ท่อกับการเจริญเติบโตและภาวะสุขภาพของวัยรุ่นระบบต่อมไร้ท่อกับการเจริญเติบโตและภาวะสุขภาพของวัยรุ่น
ระบบต่อมไร้ท่อกับการเจริญเติบโตและภาวะสุขภาพของวัยรุ่นพัน พัน
 
เรื่องต่อม
เรื่องต่อมเรื่องต่อม
เรื่องต่อมComputer ITSWKJ
 
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อบทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อNattapong Boonpong
 
1.3 endocrine system
1.3 endocrine system1.3 endocrine system
1.3 endocrine systemPiro Jnn
 
การทำงานของสมอง-และระบบประสาท.pptx
การทำงานของสมอง-และระบบประสาท.pptxการทำงานของสมอง-และระบบประสาท.pptx
การทำงานของสมอง-และระบบประสาท.pptxBewwyKh1
 
การทำงานของสมอง-และระบบประสาท.pptx
การทำงานของสมอง-และระบบประสาท.pptxการทำงานของสมอง-และระบบประสาท.pptx
การทำงานของสมอง-และระบบประสาท.pptxminhNguynnh15
 
สื่อการสอนร่างกาย
สื่อการสอนร่างกายสื่อการสอนร่างกาย
สื่อการสอนร่างกายsaengthawan
 
บทที่3 Basic Of Physiological
บทที่3  Basic Of  Physiologicalบทที่3  Basic Of  Physiological
บทที่3 Basic Of PhysiologicalTuk Diving
 
ระบบสืบพันธุ์
ระบบสืบพันธุ์ระบบสืบพันธุ์
ระบบสืบพันธุ์Lilrat Witsawachatkun
 
ระบบต่อมไร้ท่อ Endocrine system
ระบบต่อมไร้ท่อ Endocrine systemระบบต่อมไร้ท่อ Endocrine system
ระบบต่อมไร้ท่อ Endocrine systemTiwapon Wiset
 
Finish giตัด
Finish giตัดFinish giตัด
Finish giตัดsaowaluk2556
 
ติวสอบเตรียมประสาทฮอร์โมนพฤติ
ติวสอบเตรียมประสาทฮอร์โมนพฤติติวสอบเตรียมประสาทฮอร์โมนพฤติ
ติวสอบเตรียมประสาทฮอร์โมนพฤติWichai Likitponrak
 

Similar to ระบบต่อมไร้ท่อ (20)

ฮอร์โมน
ฮอร์โมนฮอร์โมน
ฮอร์โมน
 
ระบบต่อมไร้ท่อ
ระบบต่อมไร้ท่อระบบต่อมไร้ท่อ
ระบบต่อมไร้ท่อ
 
ต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อ
 
Endocrine system
Endocrine systemEndocrine system
Endocrine system
 
ต่อมไร้ท่อ54
ต่อมไร้ท่อ54ต่อมไร้ท่อ54
ต่อมไร้ท่อ54
 
Biology Computer Project
Biology Computer ProjectBiology Computer Project
Biology Computer Project
 
9789740330530
97897403305309789740330530
9789740330530
 
ต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อ
 
ระบบต่อมไร้ท่อกับการเจริญเติบโตและภาวะสุขภาพของวัยรุ่น
ระบบต่อมไร้ท่อกับการเจริญเติบโตและภาวะสุขภาพของวัยรุ่นระบบต่อมไร้ท่อกับการเจริญเติบโตและภาวะสุขภาพของวัยรุ่น
ระบบต่อมไร้ท่อกับการเจริญเติบโตและภาวะสุขภาพของวัยรุ่น
 
เรื่องต่อม
เรื่องต่อมเรื่องต่อม
เรื่องต่อม
 
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อบทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ
 
1.3 endocrine system
1.3 endocrine system1.3 endocrine system
1.3 endocrine system
 
การทำงานของสมอง-และระบบประสาท.pptx
การทำงานของสมอง-และระบบประสาท.pptxการทำงานของสมอง-และระบบประสาท.pptx
การทำงานของสมอง-และระบบประสาท.pptx
 
การทำงานของสมอง-และระบบประสาท.pptx
การทำงานของสมอง-และระบบประสาท.pptxการทำงานของสมอง-และระบบประสาท.pptx
การทำงานของสมอง-และระบบประสาท.pptx
 
สื่อการสอนร่างกาย
สื่อการสอนร่างกายสื่อการสอนร่างกาย
สื่อการสอนร่างกาย
 
บทที่3 Basic Of Physiological
บทที่3  Basic Of  Physiologicalบทที่3  Basic Of  Physiological
บทที่3 Basic Of Physiological
 
ระบบสืบพันธุ์
ระบบสืบพันธุ์ระบบสืบพันธุ์
ระบบสืบพันธุ์
 
ระบบต่อมไร้ท่อ Endocrine system
ระบบต่อมไร้ท่อ Endocrine systemระบบต่อมไร้ท่อ Endocrine system
ระบบต่อมไร้ท่อ Endocrine system
 
Finish giตัด
Finish giตัดFinish giตัด
Finish giตัด
 
ติวสอบเตรียมประสาทฮอร์โมนพฤติ
ติวสอบเตรียมประสาทฮอร์โมนพฤติติวสอบเตรียมประสาทฮอร์โมนพฤติ
ติวสอบเตรียมประสาทฮอร์โมนพฤติ
 

More from นพ มีวงศ์ธรรม (9)

ห้องสมุดหน้า99 ปัจจุบัน
ห้องสมุดหน้า99 ปัจจุบันห้องสมุดหน้า99 ปัจจุบัน
ห้องสมุดหน้า99 ปัจจุบัน
 
Atom2
Atom2Atom2
Atom2
 
การรักษามะเร็งด้วยนาโน (1)
การรักษามะเร็งด้วยนาโน (1)การรักษามะเร็งด้วยนาโน (1)
การรักษามะเร็งด้วยนาโน (1)
 
การบ้านแลป
การบ้านแลปการบ้านแลป
การบ้านแลป
 
การบ้านแลป
การบ้านแลปการบ้านแลป
การบ้านแลป
 
Animal tissue
Animal tissueAnimal tissue
Animal tissue
 
ระบบต่อมไร้ท่อ
ระบบต่อมไร้ท่อระบบต่อมไร้ท่อ
ระบบต่อมไร้ท่อ
 
ต่อมโชว์พร้อม
ต่อมโชว์พร้อมต่อมโชว์พร้อม
ต่อมโชว์พร้อม
 
Breed of dog
Breed of dogBreed of dog
Breed of dog
 

ระบบต่อมไร้ท่อ

  • 1. โดย นายณัฐกมล ช่างศรี สาขาสัตวแพทยศาสตรบัณฑิต 015431011012-2 นายนพดล มีวงศ์ธรรม สาขาสัตวแพทยศาสตรบัณฑิต 015431011019-7  ระบบต่ อ มไร้ ท ่ อ (ENDOCRINE SYSTEM)  ระบบต่ อ มไร้ ท ่ อ (Endocrine System) โครงสร้างส่วนใหญ่ของต่อมไร้ท่อเป็น พวกเนื้อเยื่อบุผิว สารเคมีที่ถูกผลิตจากต่อมไร้ท่อเรียกว่า ฮอร์ โ มน (Hormone) ซึ่ง ฮอร์โมนส่วนใหญ่จะพวกโปรตี น และสเตอรอยด์ และถูกส่งเข้ากระแสเลือดไปสู่เซลล์ และเนื้อเยื่อหรืออวัยวะเป้าหมาย หน้ า ที ่ ข องฮอร์ โ มน 1. ควบคุมระบบพลังงานของร่างกาย 2. ควบคุมปริมาณนำ้า และเกลือแร่ในร่างกาย 3. ควบคุมการเจริญเติบโตของร่างกาย 4. ควบคุมระบบสืบพันธ์และต่อมนำ้านม ซึ่งหน้าที่ดังกล่าวเป็นผลจากการทำางานของ ฮอร์โมนหลายๆ ชนิดพร้อมๆ กัน เพื่อก่อให้เกิดผลตามที่ร่างกายต้องการ ประเภทและคุ ณ สมบั ต ิ ข องฮอร์ โ มน ฮอร์โมน แบ่งตามคุณสมบัติทางเคมีออกได้เป็น ٤ ประเภท คือ ١. เพปไทด์ ฮ อร์ โ มน (Peptide Hormone) ประกอบด้วยกรดอะมิโนที่ต่อกันด้วย โซ่เพปไทด์ ได้แก่ ฮอร์โมนจากไฮโพทาลามัส ต่อมใต้สมอง ตับอ่อน และ จากต่อม พาราไทรอยด์ ٢. สเตอรอยด์ ฮ อร์ โ มน (Steroid Hormone) ได้แก่ ฮอร์โมนที่สร้างจากต่อมหมวก ไต รังไข่ และอัณฑะ ٣. อะมี น ฮอร์ โ มน (Amines Hormone) เป็นฮอร์โมนที่ได้จากกรดอะมิโน โดยตัด เอาหมู่คาร์บอกซิล (Carboxyl group) ออกได้อะมีน ฮอร์โมนกล่มนี้ได้แก่ ฮอร์โมน ไทรอกซิน และคาเทคอลามีน 4. ไกลโคโปรตี น ฮอร์ โ มน (Glycoprotein Hoemone) โครงสร้างของฮอร์โมน ชนิดนี้ จะมีคาร์โบไฮเดรต เป็นองค์ประกอบในโมเลกุล ฮอร์โมนกลุ่มนี้ได้แก่ ฮอร์โมนโกนาโดโทรพินส์ (FSH, LH, HCG, และ TSH) ระบบต่อมไร้ท่อ - ต่ อ มไร้ ท ่ อ ชนิ ด ที ่ แ ยกอยู ่ เ ดี ่ ย ว ผลิ ต ฮอร์ โ มนเป็ น หน้ า ที ่ ห ลั ก ได้ แ ก่ (EndocrineSystem) ต่อมใต้สมอง (Hypophysis, Pituitary gland), ต่อมไธรอยด์ (Thyroid gland), ต่อมพาราไธรอยด์ (Parathyroid gland), ต่อมหมวกไต (Adrenal gland), ต่อมไพเนียล (Pineal gland, Epiphysis) - ต่ อ มไร้ ท ่ อ ชนิ ด ที ่ อ ยู ่ ร ่ ว มกั บ ต่ อ มมี ท ่ อ ตับอ่อนส่วน Islets of Langerhans, รังไข่ (Ovary) และอัณฑะ (Testes), 2
  • 2. กลุ่มเซลล์ในรก (Placenta), กลุ่มเซลล์ในไต (Kidney) ต่ อ มใต้ ส มอง ควบคุมต่อมไร้ ท่ออื่นๆ แทบทุกต่อม จึงได้ชื่อว่า มาสเตอร์แกลนด์ (Master gland) ต่อมใต้สมองแบ่งออกเป็น ٢ ส่วน แต่ละส่วนขับฮอร์โมน ได้ดังนี้ ١. ต่ อ มใต้ ส มองส่ ว นหน้ า (anterior pituitary) ควบคุมการหลั่งฮอร์โมนโดยไฮ โปทาลามัส โดยหลั่ง releasing/inhibiting ผ่านทาง เส้นเลือด portal vessel เป็นส่วนที่ ใหญ่ที่สด และผลิตฮอร์โมนได้มาก ุ ชนิดที่สุด ฮอร์โมนที่ผลิตจากส่วนนี้ มีดังนี้ ١.١ โกรท ฮอร์ โ มน (Growth Hormone = GH) ทำาหน้าที่กระตุ้นการเจริญ เติบโตของร่างกาย • GH มากเกินไปในวัยเด็ก gigantism ร่างกายสูง เกินไป • GH ขาดไปไปในวัยเด็ก dwarfism ร่างกายเตี้ย แคราะ • GH มากเกินไปในวัยผู้ใหญ่ acromegaly กระดูก บนใบหน้ามีเท้าโตผิดปกติ • GH น้อยกว่าปกติในวัยผู้ใหญ่ Simmon’s disease ร่างกายซูบผอม กล้ามเนื้อลีบ ١.٢ โกนาโดโทรฟิน(Gonadotrophin = GN) - ฟอลริ เ คิ ล สติ ม ิ ว เลติ ง ฮอร์ โ มน (Folliclle Stimulatung Hormone = FSH) ทำา หน้าที่ กระตุ้นการพัฒนารังไข่ในหญิง และ อสุจิในชาย
  • 3. - ลู ต ี ไ นซิ ง ฮอร์ โ มน (Luteinizing Hormone = LH) ทำาหน้าที่กระตุ้นการตกไข่ใน หญิง และอสุจิในชาย เช่นเดียวกับ FSH ١.3 สตี โ อโทรฟิ ก ฮอร์ โ มน (Luteotrophic Hormone = LTH) ทำาหน้าที่กระตุ้นการ สร้างนำ้านม ١.4 ไทรอยด์ สติ ม ิ ว เลติ ง ฮอร์ โ มน (Thyroid Stimulaing Hormone = TSH) ทำา หน้าที่กระตุ้นต่อมไทรอยด์ให้เจริญ 1.5 อะดรี โ นคอร์ ต ิ โ คโทรฟิ ก ฮอร์ โ มน (Adrenocorticotophic Hormone = ACTH) ทำาหน้าที่กระตุ้นอะดรีนัล คอร์เทกซ์ เพื่อ ผลิต หรือลดฮอร์โมนกลูโคคอร์ติคอยด์ 1.6 เอนดอร์ ฟ ิ น (Endorphin) ระงับความเจ็บปวด สารแห่งความสุข ต่ อ มใต้ ส มองส่ ว นกลาง (Intermediate lobe) มีขนาดเล็กมากทำาหน้าที่สร้างฮอร์โมน Melanocyte Stimulating Hormone(MSH) ทำา หน้าที่ปรับสีของสัตว์เลือดเย็นให้เข้มขึ้น(ทำา หน้าที่ตรงข้ามกับ Malatonin จากต่อม pineal ) ในสัตว์เลือดอุ่นมีหน้าที่ไม่แน่ชัด ต่ อ มใต้ ส มองส่ ว นหลั ง (posterior pituitary) ฮอร์โมนที่หลั่งจากต่อมใต้สมองส่วนหลัง สร้างมาจากเซลล์ประสาทของไฮโปทาลามัส โดยเซลล์ประสาทจะยื่น ส่วน axon เข้ามาใน ต่อมใต้สมองส่วนหลังผลิตฮอร์โมนได้ ดังนี้ ١. แอนติ ไ ดยู เ รติ ก ฮอร์ โ มน (Antidiuretic Hormone = ADH) หรือวาโซเพ รสซิน ทำาหน้าที่ควบคุมการดูดนำ้ากลับของหลอดรวบรวมของไต 2. ออกซิ โ ทซิ น (Oxytocin) ถูกสร้างเฉพาะในหญิงมีครรภ์ ช่วยให้มดลูกหดตัว ตอนคลอด ทำาให้คลอดได้ง่าย ขึ้น และช่วยในการหลั่งนำ้านม ในระยะให้นม ต่ อ มหมวกไต (Adrenal gland) ต่ อ มหมวกไต อยู่เหนือไตทั้งสอง ข้าง ประกอบด้วย ٢ ส่วน คือ ส่วน ชั้นในเรียกว่า อะดรีนัล เมดัลลา (Adrenal medulla) และส่วนชั้น นอกเรียกว่า อะดรีนัล คอร์เทกซ์ (Adenal cortex) แต่ละส่วนขับ ฮอร์โมน ดังนี้
  • 4. 1. อะดรี น ั ล เมดั ล ลา (Adrenal medulla) อยู่ชั้นในผลิตฮอร์โมนที่สำาคัญ ٢ ชนิด คือ ١.١ อะดรี น าลี น หรื อ อี พ ิ เ นฟริ น (Adrenalin หรือ Epinephrine) มีผลทำาให้หลอด เลือดขยายตัว ตับและกล้ามเนื้อสลายไกลโคเจนให้เป็นกลูโคส ทำาให้มีกำาลังยกของ หนักๆ ได้ ١.٢ นอร์ อ ะดรี น าลี น หรื อ นอร์ อ ี พ ิ เ นฟริ น (Noradrenalin หรือ Norepinephrine) มีผลทำาให้หลอดเลือดหดตัว ทำาให้ความดันเลือดสูง ٢. อะดรี น ั ล คอร์ เ ทกซ์ อยู่ชั้นนอก ผลิตสเตอรอยด์ฮอร์โมน ดังนี้ ٢.١ ไมเนอราโลคอร์ ต ิ ค อยด์ (Mineralocorticoids) ทำาหน้าที่ควบคุมนำ้าและเกลือแร่ โดยการดูดโซเดียมไอออนกลับ และขับโพแทสเซียมไอออน ออกทิ้งที่บริเวณหลอดไต ไมเนอราโลคอร์ติคอยด์ ที่สำาคัญที่สุดคือ อัลโดสเตอโรน (Aldosterone) ٢.٢ กลู โ คคอร์ ต ิ ค อยด์ (Glucocorticoids) มีผลในการควบคุมการสลายกลูโคส โปรตีนและไขมัน กลูโคคอร์ติคอยด์ที่สำาคัญที่สุด คือ คอร์ติโซล (Cortisol) มีผลตรงข้าม กับฮอร์โมนอินซูลิน และยังรักษาดุลนำ้าและเกลือแร่ด้วย ٢.٣ แอนโดรเจน (Androgens) เป็นฮอร์โมนที่ควบคุมพัฒนาการของร่างกายเมื่อเข้าสู่ วัยรุ่นผลิตได้ในปริมาณที่น้อยมากในส่วนอะดรีนัล คอร์เทกซ์ แอนโดรเจนที่สำาคัญใน เพศชาย คือ เทสโทสเตอโรนซึ่งผลิตจากอัณฑะ ส่วนในหญิง คือ อีสโทรเจน ซึ่งผลิต จากรังไข่เป็นส่วนใหญ่ ตั บ อ่ อ น (Gland in Pancreas) ต่อมในตับอ่อน อาจเรียกชื่อว่า ต่ อ มไอเลตออฟแลงเกอร์ ฮานส์ (lsles of Lahgerhan) ตามชื่อผู้ค้นพบ เป็นต่อมที่ ประกอบด้วยกลุ่มเซลล์ ที่แทรก อยู่ในตับอ่อน มี ٢ ชนิด คือ ١. บี ต ้ า -เซลล์ (Beta-Cell) ผลิตฮอร์โมนชื่อ อินซูลิน (Insulin hormone) ทำาหน้าที่ ควบคุมนำ้าตาลในกระแสเลือด โดยเร่งการเปลี่ยนกลูโคส ให้เป็นไกลโคเจนเก็บสะสมไว้ ที่ตับและกล้ามเนื้อ เร่งการใช้กลูโคสในร่างกาย ٢. แอลฟา-เซลล์ (Alpha-Cell) อยู่รอบนอกของต่อมในตับอ่อน ผลิตฮอร์โมนชื่อ กลู คากอน (Glucagon) มีผลตรงข้ามกับฮอร์โมนอินซูลิน เช่น เร่งการสลายไกลโคเจน จากตับ และกล้ามเนื้อให้เป็นกลูโคสเข้าสู่กระแสเลือด เร่งการเปลี่ยนกรดอะมิโน และไข มันเป็นกลูโคส โรคที่เกี่ยวกับตับอ่อน • โรคเบาหวานเกิดจากเซลล์ร่างกายไม่สามารถนำากูโคสเข้าสู่เซลล์โดยสาเหตุจาก แบบที่ 1 ร่างกายไม่สามารถสร้างอินซูลิน แบบที่ 2 เซลล์ร่างกายไม่มีตัวรับอินซูลิน ต่ อ มไทรอยด์ (Thyroid Gland)
  • 5. ต่ อ มไทรอยด์ ตั้งอยู่ใกล้กล่องเสียง ผลิตฮอร์โมนที่สำาคัญ ٢ ชนิด คือ ١. ไทรอกซิ น หรื อ เทตระไอโอโดไทโรนี น (Thyroxin หรือ Tetraiodothyronone = T) เป็นกรดอะมิ โนที่มีไอโอดีนอยู่ด้วย มีผลต่อการกระตุ้นอัตรา เมแทบอลิซึม เพิ่มการใช้ออกซิเจน การดูดซึมกลูโคสและการสร้างโปรตีน การขับฮอร์โมนไทรอกซินจะถูกควบคุมโดย TSH จากต่อม ใต้สมองส่วนหน้า ٢. แคลซิ โ ทนิ น (Calcitonin) ไม่มีไอโอดีนเป็นองค์ ประกอบ ทำาหน้าที่ลดระดับแคลเซียมในเลือด เพิ่มการขับ แคลเซี่ยมทิ้งออกพร้อมนำ้าปัสสาวะ แคลเซียมบางส่วนจะไปสะสมที่กระดูกเพิ่มขึ้น ปกติ ฮอร์โมนนี้จะทำางานตรงข้ามกับฮอร์โมนจากต่อมพาราไทรอยด์
  • 6. ต่ อ มพาราไทรอยด์ (Parathroid Gland) ต่ อ มพาราไทรอยด์ เป็นต่อมเล็กๆ อยู่ ตรงผิวด้านหลังของต่อมไทรอยด์ ผลิตฮอร์โมน ชื่อ พาราทอร์ โ มน (Parathormone = PTH) ทำาหน้าที่ร่วมกับแคลซิโทนิน โดยควบคุม แคลเซียมในร่างกายช่วยให้แคลเซียมในทางเดิน อาหารถูกดูดซึมมากขึ้น สลายแคลเซียมจาก กระดูกเข้าสู่กระแสเลือด เป็นการเพิ่มระดับ แคลเซียมในเลือด ดังนั้น พาราทอร์โมน จึงทำา หน้าที่ตรงข้ามกับแคลซิโทนิน ในสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมจำาเป็นมากขาดไม่ได้ ถ้าขาด PTH จะทำาให้กล้ามเนื้อเก็รง ชักกระตุก หัวใจเต้นผิดปกติอาจเสียชีวิต ถ้า PTH มาก เกิน จะทำาให้แคลเซียมในกระดูกและฟันสลายตัวมากและทำาให้เป็นโรคกระดูกพรุน ต่ อ มไพเนี ย ล (pineal gland) ต่อมไพเนียล (pineal gland) เป็นต่อมเล็กๆ ที่อยู่ ระหว่างสมองส่วน cerebrum พูซ้ายและพูขวา ต่อมไพเนียลจะสร้างฮอร์โมน melatonin เป็น ฮอร์โมนที่มีความสำาคัญในคนและสัตว์ชั้นสูงใน ช่วงก่อนวัยหนุ่มสาว โดยจะไปยับยั้งการเจริญ
  • 7. ของอวัยวะสืบพันธุ์ ถ้าต่อมนี้เกิดผิดปกติและผลิตฮอร์โมนนี้มากเกินไปจะทำาให้เป็นหนุ่มสาวช้าลงกว่าปกติ ในสัตว์ที่มีกระดูกสันหลังบางชนิด เช่น ปลาปากกลมต่อมไพเนียลจะไม่ได้ทำาหน้าที่สร้าง ฮอร์โมน แต่จะทำาหน้าที่เป็นกลุ่มเซลล์รับแสง (photoreceptor) การหลั่งฮอร์โมนของ ต่อมนี้ จะหลั่งได้ดีในกรณีอยู่ในที่มืดในสัตว์พวกที่อยู่ในที่มีแสงสว่างมากจะหลั่งน้อย พวกสัตว์ครึ่งบกครึ่งนำ้า และสัตว์เลื้อยคลานบางชนิด ซึ่งเป็นสัตว์เลือดเย็น ฮอร์โมนนี้จะ ไปช่วยในการปรับสีของผิวหนังให้จางลง (ทำาหน้าที่ตรงกันข้ามกับ MSH จากต่อมใต้ สมองส่วนกลาง) รั ง ไข่ แ ละอั ณ ฑะ (Ovaries and Testis) รั ง ไข่ แ ละอั ณ ฑะ จะเรียกรวมกันว่า โกแนด (Gonads) ทำาหน้าที่ผลิตฮอร์โมนเพศ ฮอร์โมนใน เพศชาย เรียกว่า แอนโดรเจน และแอนโดร เจนที่สำาคัญที่สุดคือ เทสโทสเตอโรน ซึ่งผลิต จากเซลล์แทรก (Interstitial cell) ในอัณฑะ ทำาหน้าที่ควบคุมการเจริญของอัณฑะ พัฒนา ความเป็นชาย และควบคุมความต้องการทาง เพศ ส่วนในหญิงรังไข่จะผลิตฮอร์โมน อีส โทรเจน ทำาหน้าที่พัฒนารังไข่ การพัฒนาของ ไข่ ควบคุมความเป็นเพศหญิง และความ ต้องการทางเพศ ในระยะที่มีการตกไข่ (Ovulation) รังไข่และรกจะผลิตฮอร์โมน โพรเจสเตอโรน (Progesterone) โดยการควบคุมของฮอร์โมน LH และ FSH จาก ต่อมใต้สมองส่วนหน้า โพรเจสเตอโรนทำาหน้าที่ควบคุมการเจริญเติบโตของผนังมดลูก การตกไข่ การมีประจำาเดือน และควบคุมการเจริญของต่อมนำ้านม
  • 8. ฮอร์ โ มนจากรก (placental hormone) รกสร้างฮอร์โมน Human Chorionic Gonadotropin (HCG) เพื่อกระตุ้นคอปัสลู เทียม ในรังไข่ให้เจริญต่อ ไป และสร้างฮอร์โมนเพศ หญิงเพิ่มขึ้นในช่วงตั้ง ครรภ์ ซึ่งจะพบในเลือด และในปัสสาวะของผู้หญิง ที่มีการตั้งครรภ์ ดังนั้นจึง ใช้เป็นตัว ทดสอบการตั้ง ครรภ์ของผู้หญิงได้ ต่ อ มไทมั ส (Thymus gland) อยู่ที่ขั่วหัวใจ มี 2 พู สร้าง ฮอร์โมน ไทโมซิน ไปสู้ อวัยวะเป้าหมาย คือ เนื้อเยื่อของต่อมไทมัส ไป กระตุ้นการสร้าง T- lymphocyte หรือ T-cell ( สร้าง เม็ดเลือดขาว แอนติบอดี ) ต่อมนี้จะเจริญเต็มที่ตั้งแต่ ทารกยังอยู่ในครรภ์มารดาและจะเสื่อมสภาพและฝอไปเรื่อยๆ จนอายุ 50 ปี ขึ้นไป ฮอร์ โ มนจากระบบทางเดิ น อาหาร ฮอร์โมนที่สร้าง : แกสตริน ( gastrin ) สร้างจากเซลล์บริเวณกระเพาะส่วนที่เรียกว่า แอ นทรัม อวัยวะเป้าหมาย : เซลล์กระเพาะอาหารที่สร้าง เอนไซม์หรือนำ้าย่อย และ กรดไฮโดร คลอลิก ซึ่ง พบบริเวณกระเพาะอาหารส่วนที่ เรียกว่า คอร์ปัส หน้าที่ : กระตุ้นให้เซลล์กระเพาะอาหารที่สร้าง นำ้าย่อย และ กรดไฮโดรคลอริก หลั่ง เอนไซม์หรือนำ้าย่อย และ กรดไฮโดรคลอลิก ออกมาเพื่อย่อยอาหาร
  • 9. ฮอร์ โ มนจากลำ า ไส้ เ ล็ ก ซีครีตริน (Secretin) ► สรางมาจากเนื้อเยื่อชั้นในของลำาไสเล็กบริเวณดูโอดีนัม ► ทำาหน้าที่กระตุนใหตับออนหลั่งสาร ไบคาร์บอเนต ► สนับสนุนการทำางานของเอนไซม์ CCK โคเลซีสโตไคนิน (Cholecystokinin;CCK) ► สร้างมาจากลำาไส้เล็ก ► มีหน้าที่กระตุ้นการสร้างและหลั่งนำ้าย่อยจากตับอ่อน ► และกระตุ้นการหดตัวของถุงนำ้าดี เอนเทอโรแกสโตรน (Enterogastron) ► สร้างมาจากลำาไส้เล็ก ► ทำาหน้าที่ลดการเคลื่อนไหวของกระเพาะอาหาร ► ทำาให้อาหารผ่านลำาไส้เล็กช้าลง โดยเฉพาะอาหารพวกไขมัน ► ยังยับยั้งการขับนำ้าย่อยของกระเพาะอาหาร ฟี โ รโมน (Pheromone) สารเคมีที่สัตว์ขับออกมานอกร่างกาย โดยต่อมมีท่อ (exocrine gland) ซึ่งไม่มีผล
  • 10. ต่อตัวเอง แต่จะไปมีผล ต่อสัตว์ตัวอื่นที่เป็นชนิดหรือสปีชีส์เดียวกัน ให้เกิดการ เปลี่ยนแปลงทางพฤติกรรม และสรีรวิทยาเฉพาะอย่างได้ฟีโรโมน จัดเป็นสารเคมีที่สร้าง ขึ้นเพื่อเป็นสารสัญญาณดังนี้ สารดึงดูดเพศตรงข้าม สารเตือนภัย สารส่งเสริมการ รวมกลุ่ม (Aggregation – Promoting Subtances)ยกว้นสารสารที่มีกลิ่นเหม็นๆของ แมลงที่ผลิตออกมาเพื่อป้องกันศัตรู เรียกว่า Allomones สารนำ า ทาง สารแสดง (trail pheromone) ได้แก่ สารดึ ง ดู ด เพศตรงข้ า ม อาณาเขต กรดบางชนิดที่มดงานปล่อย (sex pheromone) พบ (territory ออกมาตามทางเดิน ทำาให้มด ในผีเสื้อไหมตัวเมีย ปล่อยpheromone) ตัวอื่นสามารถเดินไปยัง ออกมาดึงดูดผีเสื้อไหม เช่น สุนัข อาหารได้ถูกต้อง ตัวผู้ ปัสสาวะรดสิ่ง สารเตื อ นภั ย สารจากนางพญา (alarm pheromone) เช่น (queen substance) เช่น มดตาย จะมีฟีโรโมนออกมา สารที่นางพญาให้ผึ้งงานกิน ระบบต่าให้ผึ้งงานเป็นหมัต ว์ ไ ม่ ม ี ทำ อ มไร้ ท ่ อ ในสั น กระดู ก สั น หลั ง้น ทำาให้มี จากซากมดตัวนั การขนซากมดตัวนั้นไปทิ้ง ฮอร์ โ มนจากแมลง นอกรัง 1. ฮอร์ โ มนจากสมอง (brain hormone หรื อ BH) เป็นกลุ่มฮอร์โมนซึ่งสร้างจาก neurosecretory cell ในสมอง กระตุ้นต่อมไร้ท่อบริเวณ ทรวงอก ทำาให้สร้างฮอร์โมน molting hormone (MH) ไปเก็บไว้ใน corpus cardiacum ต่อไป 2. ฮอร์ โ มนเกี ่ ย วกั บ การลอกคราบ (molting hormone หรื อ MH) สร้างบริเวณ ทรวงอกมีผลทำาให้แมลงลอกคาบ และ metamorphosis เป็นตัวโตเต็มวัย 3. ฮอร์ โ มนยู ว ี ไ นล์ (Juvenile hormone หรื อ JH) สร้าง จากต่อมทางสมองมาทางซ้ายเรียก corpus allatum ทำาหน้าที่ห้ามระยะตัวหนอนและดักแด้ไม่ให้ไม่ให้เป็นตัวเต็มวัย แต่ถ้า มี JH ลดลง จะกระตุ้นให้ลอกคราบแล้วกลายเป็นตัวเต็มวัยได้ การควบคุ ม การหลั ่ ง ฮอร์ โ มนแบบยั บ ยั ้ ง ย้ อ นกลั บ (negative feedback ) เป็นรูปแบบการควบคุมที่ใช้มาก คือการที่ฮอร์โมนหรือผลของฮอร์โมนนั้น บอกสัญญาณ ไปยังต่อมไร้ท่อให้หลั่งฮอร์โมนน้อยลง เช่น การทำางานของฮอร์โมนอินซูลิน เมือระดับ ่ ของกลูโคสในกระแสเลือดมาก ตับอ่อนจะผลิตฮอร์โมนอินซูลินออกมา เพื่อนำากลูโคส เข้าเซลล์ ซึ่งจะทำาให้ระดับกลูโคส ในกระแสเลือดลดลง ระดับของนำ้าตาลในกระแสเลือด ที่ตำ่าลง จะไปส่งสัญญาณให้ตับอ่อน ผลิตฮอร์โมนอินซูลินลดน้อยลง เป็นต้น
  • 11. . การทำ า งานของฮอร์ โ มนอิ น ซู ล ิ น ซึ ่ ง เป็ น การ ควบคุ ม การทำ า งานแบบยั บ ยั ้ ง ย้ อ นกลั บ การควบคุ ม การหลั ่ ง ฮอร์ โ มนแบบ กระตุ ้ น ย้ อ นกลั บ ( positive feedback) เป็นรูปแบบที่ พบน้อยกว่า เป็นการทำางานตรงกันข้าม กับการยับยั้งที่กล่าวมาแล้ว คือ แทนที่ จะไปยับยั้งแต่ผลของฮอร์โมน จะไป กระตุ้นให้มีการทำางานของต่อมไร้ท่อ มากขึ้น เช่น ฮอร์โมนออกซิโทซิน ซึ่ง การที่ทารกดูดนมมารดาอยู่สมำ่าเสมอ จะ เป็นการกระตุ้นให้ต่อมไต้สมองสร้าง ฮอร์โมน การทำางานของออกซิโท ออกซิโท ซินซึ่งเป็นการควบคุมการ ซินตลอด ทำางานแบบกระตุ้นย้อน เวลาหรือ กลับ มากขึ้น
  • 12. กลไกการออกฤทธิ ์ ข องฮอร์ โ มน มี 2 วิ ธ ี คื อ 1. ออกฤทธิ ์ ท ี ่ ผ ิ ว เซลล์ ฮอร์โมนประเภทที่เป็นโปรตีน ได้แก่เปปไทด์ฮอร์โมน ฮอร์โมนประเภทโปรตีนและเอมีน ซึ่งมีคุณสมบัติละลายนำ้าได้ดี (hydrophilic) ทำาให้ไม่ สามารถซึมผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ของเซลล์เป้าหมายได้ โดยที่เยื่อหุ้มเซลล์จะมีของอวัยวะ เป้าหมายจะมีโปรตีนมารับ ทำาปฏิกิริยาจำาเพาะกับฮอร์โทนนั้น เป็นการกระตุ้น ATP เปลื่ ยนไปเป็น cAMP (cyclic adenosine monophosphate หรือ cyclic AMP) เรียก cAMP ว่าตัวนำาข่าวสารตัวที่สอง ทำาให้สารบางชนิดเข้าไปในเซลล์หรืออวัยวะเป้าหมายนั้นๆ 2. ออกฤทธิ ์ ท ี ่ ย ี น ในนิ ว เคลี ย ส เป็นฮอร์โมนพวกสเตรอยด์ เนื่องจากฮอร์โมนพวกนี้ ละลายได้ในไขมันจึงสามารถผ่านเยื่อหุ้มเซลล์เข้าในนิวเคลียสโดยมีตัวรับพาเข้าสู่ นิวเคลียสไปกระตุ้นยีนใน DNA ให้เกิดการ เปลื่ยนแปลง และเกิดการถอดรหัสบน mRNA เพื่อใช้ใน การสังเคราะห์โปรตีน ซึ่งโปรตีนเหล่านี้จะ ทำาหน้าเปลื่ยนแปลง สภาพของเซลล์ เป็นผลให้เซลล์เป้า หมายตอยสนองได้
  • 13. แบบฝึ ก หั ด ระบบต่ อ มไร้ ท ่ อ 1.จงเติ ม ข้ อ ความลงในช่ อ งว่ า งให้ ถ ู ก ต้ อ ง ١. ต่อมไร้ท่อ สัมพันธ์กับระบบ .................... มากที่สุด. ٢. สารเคมีที่ถูกผลิตจากต่อมไร้ท่อ เรียกว่า ......................... ٣. ฮอร์โมนที่ควบคุมเมแทบอลิซึม ของแคลเซียม คือ ................ ٤. คอกพอก เกิดจากต่อม ............... ทำางานมากเกินไป ٥. แอนโดรเจนในเพศชาย ที่สำาคัญที่สุด คือ .................. ٦. ฮอร์โมนที่สร้างจากต่อมหมวกไต รังไข่แลอัณฑะ เป็นฮอร์โมนประเภท ................ ٧. บีตาเซลล์ในตับอ่อน ผลิตฮอร์โมนชื่อ ................... ทำาหน้าที่ควบคุมระดับนำ้าตาล ในเลือด ٨. มาสเตอร์แกลนด์ หมายถึง ...................... ٩. ......................... เป็นฮอร์โมนที่ทำาหน้าที่กระตุ้นการเจริญเติบโตของร่างกาย. ١٠. .................. เป็นฮอร์โมนจากต่อมใต้สมองส่วนหลัง ถูกสร้างเฉพาะในหญิงมี ครรภ์ ช่วยให้มดลูกหดตัวตอนคลอด และช่วยใน การหลั่งนำ้านมในระยะให้นม 2.จงอธิบาย กลุ่มเซลล์ในตับอ่อน และอธิบายกระบวนการทำางานของตับอ่อน ที่มีผลต่อ ร่างกาย ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………….
  • 14. ไม่ต้องปริ้นหน้านี้  เฉลย ١) ประสาท ٢) เนื้อเยื่อบุผิว ٣) ฮอร์โมน ٤) สเตอรอยด์ ٥) ความจำาเพาะของฮอร์โมน ٦) สเตอรอยด์ฮอร์โมน ٧) ต่อมพาราไทรอยด์ ٨) ต่อมใต้สมอง ٩) โกรทฮอร์โมน ١٠) ออกซิโทซิน ١١) อินซูลิน ١٢) ไทรอกซิน ١٣) แคลซิโทนิน ١٤) พาราทอร์โมน ١٥) เทสโทสเตอโรน ١٦) อีสโทรเจน ١٧) โพรเจสเตอโรน ١٨) โพรเจสเตอโรน ١٩) กล้ามเนื้อ ٢٠) ไทรอยด์