SlideShare a Scribd company logo
1 of 36
Download to read offline
พันเอก มารวย ส่งทานินทร์
maruays@hotmail.com
17 มกราคม 2558
By
David A. Garvin and Joshua D. Margolis
Form Harvard Business Review, January-February 2015
การขอและให้คาแนะนา
 นามาจากผลงานการวิจัยเรื่อง การขอรับและการให้คาแนะนา
 กระบวนการนี้ ถ้าดาเนินไปได้ด้วยดี จะเกิดประโยชน์กับทั้งสอง
ฝ่าย คือ ผู้รับ: แก้ปัญหาได้ดีกว่าคิดคนเดียว ผู้ให้: ได้
ประสบการณ์ จากการเรียนรู้แนวทางการแก้ปัญหา
 แต่ถ้าเกิดปัญหาในการปรึกษา จะเกิดความเข้าใจผิดกัน สร้าง
ความลาบากใจ แก้ปัญหาไม่ได้ และมีความสัมพันธ์ที่ไม่ดีต่อกัน
 การให้คาแนะนามีอุปสรรค คือ การละวางความคิดตนเอง การมี
ทิฐิมานะ การตั้งใจรับฟัง และการใช้เวลามาก
เหตุใดจึงลาบากมากกว่าที่เห็น ?
 ทั้งผู้รับและผู้ให้คาแนะนาต้องประสบอุปสรรคมากมาย ดังนี้ คือ
 การคิดว่าคุณมีคาตอบอยู่แล้ว
 เลือกที่ปรึกษาไม่ถูกต้อง
 กาหนดปัญหาไม่ดี
 ไม่เห็นคุณค่าคาแนะนา
 ตัดสินคุณภาพคาแนะนาผิด
 ก้าวข้ามเลยขอบเขต
 ระบุปัญหาผิด
 ใช้แนวทางตนเองเป็นศูนย์กลาง
 สื่อสารคาแนะนาได้ไม่ดี
 การจัดการกับผลพวงได้ไม่ดี
การคิดว่าคุณมีคาตอบอยู่แล้ว
 ผู้คนที่มีความมั่นใจในตนเองสูง มักขอคาแนะนาก็เพื่อให้แน่ใจ
ว่าความคิดของตนได้ผล และต้องการคาสรรเสริญ
 การเชิญที่ปรึกษาเพื่อต้องการยืนยันในสิ่งที่ตนคิด ต้องการ
ตรวจทานอีกครั้งหนึ่งเท่านั้น หรือเนื่องจากข้อจากัดด้านเวลา จึง
ต้องการพึ่งพาที่ปรึกษาช่วยยืนยัน
 เป็นความเสี่ยงที่จะไม่เห็นพ้องต้องกัน ถ้าต้องการปรึกษาเพียง
เพื่อแสดงให้รู้ หรือเพียงเพื่อไม่ต้องการทางานเพิ่มเติม
เลือกที่ปรึกษาไม่ถูกต้อง
 เป็นการตั้งใจหรือไม่ตั้งใจก็ตาม ผู้นาองค์กรมักจะเลือกที่ปรึกษา
จากอุตสาหกรรมเดียวกัน ที่มีพื้นฐานความคิดเห็นเหมือนกัน
 เป็นการเลือกที่ปรึกษาที่ชอบพอกันดี การเข้าถึงหรือหาได้ง่าย
และที่ไม่เป็นการคุกคามต่อตนเอง ทาให้ไม่เกิดการเปลี่ยนแปลง
กลยุทธ์ หรือไม่เกิดมีผลิตภัณฑ์ที่มีความหลากหลาย
 รวมถึงการไม่ได้คานึงถึงผู้เชี่ยวชาญสาขาอื่นที่รู้จริง เคย
แก้ปัญหานี้ มาก่อน มีความรู้ และประสบการณ์ที่เป็นประโยชน์
กาหนดปัญหาไม่ดี
 ผู้รับคาแนะนา บางทีสื่อสารได้ไม่ตรงประเด็น ทาให้ไม่รู้สาเหตุ
ของปัญหาที่แท้จริง
 หรือไม่บอกรายละเอียดทั้งหมด ปิดบังบางสิ่งบางอย่าง ทาให้ที่
ปรึกษาไม่เห็นภาพโดยรวม
 หรือคิดว่าที่ปรึกษารู้แล้ว จึงไม่ได้บอกเล่า (โดยเฉพาะเหตุการณ์
สาคัญที่เคยเกิดขึ้น หรือปัญหาการเมืองภายในองค์กรเอง)
 เป็นสาเหตุทาให้ที่ปรึกษาประเมินสถานการณ์ได้ไม่ถูกต้อง
ไม่เห็นคุณค่าคาแนะนา
 เป็นสิ่งที่ที่ปรึกษาพบบ่อยที่สุดคือ อคติ (egocentric bias)
 โดยเฉพาะผู้นาที่มีอานาจโดยสิทธิ์ขาด คิดว่าตนรู้ดีกว่าที่ปรึกษา
มีเหตุผลเป็นของตนเอง ไม่ได้ฟังเหตุผลที่ที่ปรึกษาชี้ แจง
 หรือเกิดจากไม่เห็นด้วย เมื่อได้รับข้อคิดเห็นที่ตรงกันข้ามกับ
ตนเองคิดเอาไว้
 ที่ปรึกษาจะรู้ได้เมื่อสังเกตว่า ข้อเสนอแนะไม่ได้ถูกใส่ใจ หรือ
ตนเองไม่ได้รับความไว้วางใจอีกต่อไป
ตัดสินคุณภาพคาแนะนาผิด
 ผู้รับคาแนะนาโดยมากไม่สามารถแยกแยะสิ่งที่ดีกับสิ่งที่ไม่ดี
เช่น ถ้ามาจากแหล่งที่ตนเองมีความมั่นใจก็จะเชื่อถือ แต่ถ้ามา
จากแหล่งที่เคยมีความหมางใจกันมาก่อนก็จะไม่เชื่อถือ ทั้ง ๆ ที่
จากผลการวิจัยระบุว่า คุณภาพไม่ต่างกัน
 ผู้รับคาแนะนาจะไม่นาคาแนะนาที่ได้ไปปฏิบัติ ถ้ารู้สึกว่าไม่เห็น
ด้วยกับคาแนะนา แม้ที่ปรึกษาจะมีความปรารถนาดีก็ตาม
ก้าวข้ามเลยขอบเขต
 การที่ที่ปรึกษาให้คาแนะนาที่เกินเลย (ไม่เป็นที่ยินดีและไม่เป็น
ที่ต้องการด้วย) ทาให้ผู้รับคาแนะนาเกิดความรู้สึกว่าถูกคุกคาม
และไม่ปฏิบัติตาม
 หรือการที่ที่ปรึกษาให้คาแนะนาในสิ่งที่ตนเองไม่รู้จริง (รู้น้อยแต่
อวดว่ารู้มาก) จะกลายเป็นดาบทิ่มแทงตนเอง ทาให้หมดความ
น่าเชื่อถือ เป็นข้อควรระวัง
ระบุปัญหาผิด
 ที่ปรึกษาต้องรวบรวมสติปัญญาเพื่อระบุปัญหาให้ชัดเจน ก่อนจะ
ทาการแก้ปัญหา
 การประเมินผิดพลาด เกิดจากสาเหตุสองประการคือ การรีบสรุป
เพราะคิดว่าเคยผ่านเหตุการณ์แบบนี้ มาแล้ว เรื่องคงคล้าย ๆ
กัน (ความเป็นจริงอาจต่างกันถ้าประเมินให้ดี) และผู้รับ
คาแนะนาอาจมีความโน้มเอียง ที่จะซุกซ่อนสาเหตุของปัญหาที่
แท้จริงก็ได้ (ไม่ว่าตั้งใจหรือไม่ก็ตาม)
 ที่ปรึกษาไม่ต้องกลัวเสียหน้า ในการตั้งคาถามสาเหตุพื้น ๆ
ใช้แนวทางตนเองเป็นศูนย์กลาง
 ที่ปรึกษามักมีกรอบหรือแนวทางในการแก้ปัญหาคือ ถ้าเป็นเขา
เราจะแก้ปัญหาอย่างไร (คิดแทน) ซึ่งเป็นวิธีการที่ไม่เข้าท่าและ
ไม่มีประสิทธิผล
 เพราะไม่ได้รับรู้ว่า ผู้รับคาแนะนามีความรู้สึกอย่างไร มุมมอง
ของเขาที่มีต่อปัญหา และทางเลือกที่เขามี เพื่อจะได้เข้าใจเขา
อย่างลึกซึ้ ง และให้คาแนะนาที่เป็นประโยชน์
สื่อสารคาแนะนาได้ไม่ดี
 ความผิดพลาดที่เกิดขึ้นได้บ่อย ๆ คือ คาแนะนาที่ฟังแล้วไม่
เข้าใจ (vague) เช่น สมควรส่งเสริมให้มีพฤติกรรมที่สอดคล้อง
กับเป้ าประสงค์ (เป้ าประสงค์ขององค์กรหรือหน่วยงาน
พฤติกรรมอะไร)
 หรือใช้คาแนะนาที่เป็นศัพท์เฉพาะ (jargon) ไม่รู้กันทั่วไป
 รวมทั้งให้ข้อคิด ทางเลือก แผนงาน มุมมอง และคาแปลที่มาก
เกินไป เสมือนรายการซักแห้ง (laundry list) ว่ามีอะไรบ้าง ทาให้
ผู้รับงุนงง ไม่รู้ว่าสิ่งใดสาคัญ สิ่งใดควรเริ่มทาก่อน
การจัดการกับผลพวงได้ไม่ดี
 การตัดสินใจขั้นสุดท้าย ไม่ได้อยู่ที่ที่ปรึกษา
 ที่ปรึกษาบางท่านอาจไม่พอใจที่ผู้รับคาแนะนาไม่ยอมรับ
ข้อคิดเห็นทั้งหมดที่ให้ ยังขอให้มีการอภิปรายเพิ่มเติมอีก ซึ่งจะ
ทาให้ผู้รับคาแนะนาเกิดแรงต้าน ไม่ส่งผลดีกับใคร เพราะจะทา
ให้เกิดความห่างเหิน และไม่ไว้ใจกัน
 ในความเป็นจริง ผู้รับคาแนะนามักจะต้องนาคาแนะนามา
พิจารณาก่อน ไม่ได้เชื่อเพียงผู้เดียว และอาจมีการปรับแผนได้
การปฏิบัติที่เป็นเลิศสาหรับการแสวงหาและการให้คาแนะนา
 ขั้นตอนที่ 1: หาสิ่งที่เหมาะสม
 ขั้นตอนที่ 2: การพัฒนาความเข้าใจร่วมกัน
 ขั้นตอนที่ 3: ขัดเกลาทางเลือก
 ขั้นตอนที่ 4: การตัดสินใจร่วมกัน
 ขั้นตอนที่ 5: การนาคาแนะนาไปดาเนินการ
ขั้นตอนที่ 1: หาสิ่งที่เหมาะสม
 การขอคาแนะนาแต่ละครั้งมีความแตกต่างกัน ขึ้นกับบริบท และ
ปัญหาเรื่องเวลา ทาให้ไม่สามารถหาที่ปรึกษาใหม่ได้บ่อย ๆ
 ดังนั้น เป็นการดีที่มีที่ปรึกษาส่วนตัวไว้ล่วงหน้า เป็นผู้ที่ไว้ใจได้
มีความเชี่ยวชาญที่มีความแตกต่างกัน มีความจริงใจ ปรารถนาดี
กล้าพูดในสิ่งที่เป็นจริงที่คุณไม่อยากฟัง และควรมีอย่างน้อยหนึ่ง
คนที่คุณสามารถปรึกษาได้ในทุกสถานการณ์
 ให้ศึกษาจากรูป ว่าที่ปรึกษาช่วยอะไรได้บ้าง (แผ่นต่อไป)
ขั้นตอนที่ 1: หาสิ่งที่เหมาะสม (ต่อ)
 การมีที่ปรึกษา เป็นการปิดจุดอ่อนของเราเอง เพราะที่ปรึกษา
เป็นผู้มีความรู้และมีประสบการณ์ ให้พยายามหลีกเลี่ยงการมีที่
ปรึกษาที่มีคุณลักษณะเหมือน ๆ กัน
 ในฐานะที่ปรึกษา ให้พิจารณาตนเองว่า ตนมีความเหมาะสมกับ
หน้าที่นั้นหรือไม่ มีพื้นฐาน และมีเวลาให้หรือไม่ ถ้าไม่ได้ ให้
ปฏิเสธเสียแต่เริ่มต้น ดีกว่าให้คาแนะนาที่ไม่ได้ประโยชน์หรือมี
คุณค่าน้อย การปฏิเสธคือการให้คาแนะนา และควรแนะนาผู้อื่น
ที่ตนเองเห็นว่ามีความเหมาะสมด้วย ไม่ว่าจะรับหรือไม่รับ
ขั้นที่ 2: การพัฒนาความเข้าใจร่วมกัน
 ในขั้นตอนนี้ เป็นขั้นตอนขอคาแนะนา ผู้รับคาแนะนาควรให้
ข่าวสารที่พอเพียงที่จะระบุปัญหาที่เกิดขึ้น และต้องการผลลัพธ์
เช่นไร
 ตั้งหลักให้ดี ไม่ต้องลงรายละเอียดลึกมากเกินไป จนที่ปรึกษาไม่
เข้าใจปัญหาที่แท้จริง
 และให้บอกเล่าความเป็นจริงเกี่ยวกับตัวคุณด้วย ไม่ว่าจะเป็น
จุดอ่อน แม้จะเป็นเรื่องลาบากใจที่จะเล่า
ขั้นที่ 2: การพัฒนาความเข้าใจร่วมกัน (ต่อ)
 ในฐานะที่ปรึกษา คุณต้องการเห็นภาพที่สมบูรณ์ และต้องการ
ขยายความในใจของผู้รับคาแนะนา ซึ่งต้องอาศัยเวลา
 ให้หาสถานที่ที่เป็นส่วนตัว สามารถถกแถลงกันได้อย่างเปิดใจ
(safe zone) ให้เวลาสนทนาอย่างพอเพียง (ไม่ใช่ไม่จากัดเวลา)
 ยังอย่าเพิ่งรีบตัดสิน หรือด่วนสรุป ตั้งใจฟังอย่าเพิ่งขัดคอ และ
อย่าพึงให้คาแนะนาหรือทางแก้ปัญหาในทันที จะเป็นการ
วิเคราะห์ที่ยังไม่สมบูรณ์ ให้หาข่าวสารเพิ่มเติม
ขั้นที่ 2: การพัฒนาความเข้าใจร่วมกัน (ต่อ)
 การเริ่มสนทนา ให้ใช้คาถามกว้าง ๆ และ ปลายเปิด เช่น คุณ
รู้สึกเกี่ยวกับเรื่องนี้ อย่างไร? (How are you feeling about this?)
 เป็นการบอกให้เขาเปิดเผยความในใจที่แท้จริงออกมา และพุ่ง
ตรงไปยังประเด็นสาคัญ (เป็นคาถามที่นักมานุษยวิทยา กล่าวว่า
เป็นคาถามเปิดที่ยิ่งใหญ่ (grand tour question) แนะนาให้ใช้เป็น
คาถามเปิดการสนทนา)
 แล้วจึงค่อย ๆ ถามรายละเอียดให้เขาก้าวข้ามพ้นตนเองออกมา
ขั้นที่ 2: การพัฒนาความเข้าใจร่วมกัน (ต่อ)
 คาถามการบ้าน (homework assignment) ในการพบปะคราวหน้า
ให้ผู้รับคาแนะนาระบุทางเลือกในการแก้ปัญหานี้ มา 5 ประการ
 จากการวิเคราะห์สาเหตุรากเหง้าของปัญหา สิ่งที่เกิดตามมา
และสิ่งที่อยู่ในใจผู้รับการช่วยเหลือ จะทาให้ที่ปรึกษาเห็นหนทาง
ให้คาแนะนา ว่าตนเองสมควรแสดงบทบาทอะไร คือ เป็นนักฟัง
ที่ดี ให้ความมั่นใจ เปิดมุมมองให้กว้างขึ้น แนะนาทางเลือก
หรือให้หาหนทางใหม่
ขั้นตอนที่ 3: ขัดเกลาทางเลือก
 ทางเลือกควรมีหลายหนทาง
 ให้ผู้รับคาแนะนาถามที่ปรึกษาถึงข้อดีข้อเสีย เหตุผลที่สนับสนุน
ความสัมพันธ์กับสถานการณ์ที่เป็นอยู่ กลวิธีที่จะนาไปใช้
ผลกระทบที่จะตามมา การเตรียมตนเอง การชดเชย ของแต่ละ
ทางเลือก (ถามลงลึกเช่นเดียวกับที่ปรึกษาถามลงลึกสาเหตุของ
ปัญหา)
ขั้นตอนที่ 3: ขัดเกลาทางเลือก (ต่อ)
 ในฐานะที่ปรึกษา ให้ทาตนเสมือนเป็นครูสอนขับรถยนต์
หลังจากบอกเล่าวิธีการต่าง ๆ จนเข้าใจ ให้เป็นหน้าที่ของผู้รับ
คาแนะนา เป็นผู้เลือกหนทางที่จะไปเอง (It’s the seeker’s job to
find the path forward.)
 เราเป็นเพียงผู้ช่วยให้เขาคิดออกมาดัง ๆ
 ให้อธิบายเหตุผลและหลักการ ในการแนะนาทางเลือกนั้น ๆ
ขั้นที่ 4: การตัดสินใจร่วมกัน
 ในการตัดสินใจเลือกหนทางใด อย่าเลือกวิธีที่ดูแล้วทาได้โดยง่าย
เพียงอย่างเดียว (easy way out)
 ให้ที่ปรึกษาแสดงเป็นผู้ที่มองโลกในแง่ร้าย เพื่อจะได้พบจุดบอด
ที่อาจจะมีอยู่ และอย่ารั้งรอที่จะขอข้อคิดเห็นเพิ่มเติม ถ้ายังไม่
มั่นใจ
 การเลือกหนทาง อาจเป็นการรวมคาแนะนาจากที่ปรึกษาหลาย
คนก็ได้ บวกกับสติปัญญาของตนเอง ออกมาเป็นวิธีการ
แก้ปัญหาแบบผสมผสาน (hybrid solution)
ขั้นที่ 4: การตัดสินใจร่วมกัน (ต่อ)
 ในฐานะที่ปรึกษา เป้ าประสงค์ของขั้นตอนนี้ คือ สารวจทางเลือก
ก่อนตัดสินใจขั้นสุดท้าย พูดคุยถึงผลที่จะเกิดขึ้น ข้อดี ข้อเสีย
 หยุดบ่อย ๆ เพื่อสังเกตคู่สนทนาว่า เขาเห็นด้วย หรือยังมีข้อ
สงสัยใด ๆ เหลืออยู่
 ให้ตอบว่า ผมไม่ทราบ (I don’t know) ถ้าคิดว่าไม่สามารถ
พยากรณ์ผลกระทบที่จะตามมาได้
 การติดตามผล ถ้าพบว่ายังไม่มีความก้าวหน้า ให้ถามตรง ๆ ถึง
อุปสรรค เพื่อหาหนทางให้เกิดความก้าวหน้า
ขั้นตอนที่ 5: การนาคาแนะนาไปดาเนินการ
 เป็นการนาคาแนะนาไปปฏิบัติและมีการปรับปรุงตามเหตุ
 ควรทาเป็นระบบคือ ขอคาแนะนา นาไปปฏิบัติ เรียนรู้ แล้วขอ
คาแนะนาใหม่ ไม่ใช่ทาครั้งเดียวจบ
 การพบที่ปรึกษาบ่อย ๆ ทาให้มีข้อมูลข่าวสารจากการปฏิบัติมา
เรียนรู้ร่วมกัน เป็นการบอกว่าทาแล้วได้ผลอย่างไร
 เป็นกระบวนการการเรียนรู้ของผู้รับคาแนะนาและที่ปรึกษาด้วย
และสร้างเสริมความปรารถนาดีต่อกัน
ขั้นตอนที่ 5: การนาคาแนะนาไปดาเนินการ (ต่อ)
 ในฐานะที่ปรึกษา ในขั้นตอนนี้ ให้ถอยออกมา เป็นหน้าที่ของผู้รับ
คาแนะนาในการดาเนินการต่อไป ทั้งการตัดสินใจและผลลัพธ์ที่
จะตามมา เพื่อให้เกิดความรับผิดชอบ และไม่โทษที่ปรึกษาใน
ภายภาคหน้า
 แต่ยังคงเปิดโอกาสให้ขอคาแนะนาเพิ่มเติมได้ เพราะ
สถานการณ์อาจจะแปรเปลี่ยนไปได้อย่างรวดเร็ว หนทางที่เลือก
ไว้อาจจะไม่เหมาะสม ต้องมีการปรับเปลี่ยนไปตามสถานการณ์
ให้ทันเวลา
การทางานร่วมกัน
 ถึงแม้ว่าที่ปรึกษาให้คาแนะนาแก่ผู้รับคาแนะนา บทบาทจะ
ต่างกันออกไป
 ที่ปรึกษาจะเน้นที่จุดมุ่งหมาย (purpose – why an action should
be performed)
 ผู้รับคาแนะนาจะเน้นที่กลวิธี (tactics – how to get things done)
สรุป
 บทความนี้ เป็นแนวทางการให้คาแนะนาอย่างเป็นขั้นตอน ไม่
เน้นเนื้ อหาคาแนะนา เพราะการให้คาแนะนาไม่ได้เป็นการ
กระทาเพียงครั้งเดียวแล้วเลิก เป็นกระบวนการที่สร้างสรรค์
และมีความร่วมมือด้วยกันทั้งสองฝ่าย เพื่อเป้ าหมายในการ
เข้าใจปัญหาได้ดีขึ้น มีหนทางเลือกในการก้าวไปข้างหน้าอย่างมี
ความหวัง ผ่านการสนทนาอย่างต่อเนื่อง
Albert Einstein

More Related Content

Viewers also liked

Introduction to performance excellence
Introduction to performance excellenceIntroduction to performance excellence
Introduction to performance excellencemaruay songtanin
 
Maruay 17th ha forum ข้อสังเกต การจัดการความรู้
Maruay 17th ha forum ข้อสังเกต การจัดการความรู้ Maruay 17th ha forum ข้อสังเกต การจัดการความรู้
Maruay 17th ha forum ข้อสังเกต การจัดการความรู้ maruay songtanin
 
Do you hate your boss เมื่อคุณเบื่อเจ้านาย
Do you hate your boss เมื่อคุณเบื่อเจ้านายDo you hate your boss เมื่อคุณเบื่อเจ้านาย
Do you hate your boss เมื่อคุณเบื่อเจ้านายmaruay songtanin
 
The truth about blockchain ห่วงโซ่การบันทึกทางธุรกรรม
The truth about blockchain ห่วงโซ่การบันทึกทางธุรกรรมThe truth about blockchain ห่วงโซ่การบันทึกทางธุรกรรม
The truth about blockchain ห่วงโซ่การบันทึกทางธุรกรรมmaruay songtanin
 
Work + home + community + self
Work + home + community + selfWork + home + community + self
Work + home + community + selfmaruay songtanin
 
2016 comment guidelines แนวทางการเขียนข้อคิดเห็น
2016 comment guidelines แนวทางการเขียนข้อคิดเห็น2016 comment guidelines แนวทางการเขียนข้อคิดเห็น
2016 comment guidelines แนวทางการเขียนข้อคิดเห็นmaruay songtanin
 
2016 criteria category and item commentary คำอธิบายเกณฑ์รายหัวข้อ
2016 criteria category and item commentary คำอธิบายเกณฑ์รายหัวข้อ2016 criteria category and item commentary คำอธิบายเกณฑ์รายหัวข้อ
2016 criteria category and item commentary คำอธิบายเกณฑ์รายหัวข้อmaruay songtanin
 
Team chemistry เคมีของทีม
Team chemistry เคมีของทีมTeam chemistry เคมีของทีม
Team chemistry เคมีของทีมmaruay songtanin
 
Testimonials power questions slideshare
Testimonials power questions slideshareTestimonials power questions slideshare
Testimonials power questions slidesharetrainernalisa
 
สัมมนารวยอย่างเสือนอนกิน ทีมที่ปรึกษาธนาคารเกียรตินาคิน
สัมมนารวยอย่างเสือนอนกิน ทีมที่ปรึกษาธนาคารเกียรตินาคินสัมมนารวยอย่างเสือนอนกิน ทีมที่ปรึกษาธนาคารเกียรตินาคิน
สัมมนารวยอย่างเสือนอนกิน ทีมที่ปรึกษาธนาคารเกียรตินาคินGood Living
 

Viewers also liked (20)

Strategy definition
Strategy definitionStrategy definition
Strategy definition
 
Introduction to performance excellence
Introduction to performance excellenceIntroduction to performance excellence
Introduction to performance excellence
 
Comment guidelines 2015
Comment guidelines 2015Comment guidelines 2015
Comment guidelines 2015
 
Board of directors
Board of directorsBoard of directors
Board of directors
 
Team building
Team buildingTeam building
Team building
 
From learning to writing
From learning to writingFrom learning to writing
From learning to writing
 
Strategic five
Strategic fiveStrategic five
Strategic five
 
Maruay 17th ha forum ข้อสังเกต การจัดการความรู้
Maruay 17th ha forum ข้อสังเกต การจัดการความรู้ Maruay 17th ha forum ข้อสังเกต การจัดการความรู้
Maruay 17th ha forum ข้อสังเกต การจัดการความรู้
 
Strategy or execution
Strategy or executionStrategy or execution
Strategy or execution
 
Do you hate your boss เมื่อคุณเบื่อเจ้านาย
Do you hate your boss เมื่อคุณเบื่อเจ้านายDo you hate your boss เมื่อคุณเบื่อเจ้านาย
Do you hate your boss เมื่อคุณเบื่อเจ้านาย
 
Executional excellence
Executional excellenceExecutional excellence
Executional excellence
 
Man and machine
Man and machineMan and machine
Man and machine
 
The truth about blockchain ห่วงโซ่การบันทึกทางธุรกรรม
The truth about blockchain ห่วงโซ่การบันทึกทางธุรกรรมThe truth about blockchain ห่วงโซ่การบันทึกทางธุรกรรม
The truth about blockchain ห่วงโซ่การบันทึกทางธุรกรรม
 
Work + home + community + self
Work + home + community + selfWork + home + community + self
Work + home + community + self
 
2016 comment guidelines แนวทางการเขียนข้อคิดเห็น
2016 comment guidelines แนวทางการเขียนข้อคิดเห็น2016 comment guidelines แนวทางการเขียนข้อคิดเห็น
2016 comment guidelines แนวทางการเขียนข้อคิดเห็น
 
2016 criteria category and item commentary คำอธิบายเกณฑ์รายหัวข้อ
2016 criteria category and item commentary คำอธิบายเกณฑ์รายหัวข้อ2016 criteria category and item commentary คำอธิบายเกณฑ์รายหัวข้อ
2016 criteria category and item commentary คำอธิบายเกณฑ์รายหัวข้อ
 
Team chemistry เคมีของทีม
Team chemistry เคมีของทีมTeam chemistry เคมีของทีม
Team chemistry เคมีของทีม
 
Testimonials power questions slideshare
Testimonials power questions slideshareTestimonials power questions slideshare
Testimonials power questions slideshare
 
สัมมนารวยอย่างเสือนอนกิน ทีมที่ปรึกษาธนาคารเกียรตินาคิน
สัมมนารวยอย่างเสือนอนกิน ทีมที่ปรึกษาธนาคารเกียรตินาคินสัมมนารวยอย่างเสือนอนกิน ทีมที่ปรึกษาธนาคารเกียรตินาคิน
สัมมนารวยอย่างเสือนอนกิน ทีมที่ปรึกษาธนาคารเกียรตินาคิน
 
The acceleration trap
The acceleration trapThe acceleration trap
The acceleration trap
 

More from maruay songtanin

7 proven leadership principles หลักการผู้นำ 7 ประการ.pdf
7 proven leadership principles หลักการผู้นำ 7 ประการ.pdf7 proven leadership principles หลักการผู้นำ 7 ประการ.pdf
7 proven leadership principles หลักการผู้นำ 7 ประการ.pdfmaruay songtanin
 
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...maruay songtanin
 
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....maruay songtanin
 
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...maruay songtanin
 
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...maruay songtanin
 
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...maruay songtanin
 
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....maruay songtanin
 
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...maruay songtanin
 
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...maruay songtanin
 
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...maruay songtanin
 
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....maruay songtanin
 
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docxmaruay songtanin
 
Operational Resilience ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdf
Operational Resilience  ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdfOperational Resilience  ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdf
Operational Resilience ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdfmaruay songtanin
 
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...maruay songtanin
 
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...maruay songtanin
 
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...maruay songtanin
 
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...maruay songtanin
 
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...maruay songtanin
 
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...maruay songtanin
 
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....maruay songtanin
 

More from maruay songtanin (20)

7 proven leadership principles หลักการผู้นำ 7 ประการ.pdf
7 proven leadership principles หลักการผู้นำ 7 ประการ.pdf7 proven leadership principles หลักการผู้นำ 7 ประการ.pdf
7 proven leadership principles หลักการผู้นำ 7 ประการ.pdf
 
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
 
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
 
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
 
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
 
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
 
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
 
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
 
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
 
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
 
Operational Resilience ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdf
Operational Resilience  ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdfOperational Resilience  ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdf
Operational Resilience ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdf
 
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
 
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
 
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
 
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
 
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
 
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
 

The art of giving and receiving advice

  • 2. By David A. Garvin and Joshua D. Margolis Form Harvard Business Review, January-February 2015
  • 3.
  • 4.
  • 5. การขอและให้คาแนะนา  นามาจากผลงานการวิจัยเรื่อง การขอรับและการให้คาแนะนา  กระบวนการนี้ ถ้าดาเนินไปได้ด้วยดี จะเกิดประโยชน์กับทั้งสอง ฝ่าย คือ ผู้รับ: แก้ปัญหาได้ดีกว่าคิดคนเดียว ผู้ให้: ได้ ประสบการณ์ จากการเรียนรู้แนวทางการแก้ปัญหา  แต่ถ้าเกิดปัญหาในการปรึกษา จะเกิดความเข้าใจผิดกัน สร้าง ความลาบากใจ แก้ปัญหาไม่ได้ และมีความสัมพันธ์ที่ไม่ดีต่อกัน  การให้คาแนะนามีอุปสรรค คือ การละวางความคิดตนเอง การมี ทิฐิมานะ การตั้งใจรับฟัง และการใช้เวลามาก
  • 6.
  • 7. เหตุใดจึงลาบากมากกว่าที่เห็น ?  ทั้งผู้รับและผู้ให้คาแนะนาต้องประสบอุปสรรคมากมาย ดังนี้ คือ  การคิดว่าคุณมีคาตอบอยู่แล้ว  เลือกที่ปรึกษาไม่ถูกต้อง  กาหนดปัญหาไม่ดี  ไม่เห็นคุณค่าคาแนะนา  ตัดสินคุณภาพคาแนะนาผิด  ก้าวข้ามเลยขอบเขต  ระบุปัญหาผิด  ใช้แนวทางตนเองเป็นศูนย์กลาง  สื่อสารคาแนะนาได้ไม่ดี  การจัดการกับผลพวงได้ไม่ดี
  • 8. การคิดว่าคุณมีคาตอบอยู่แล้ว  ผู้คนที่มีความมั่นใจในตนเองสูง มักขอคาแนะนาก็เพื่อให้แน่ใจ ว่าความคิดของตนได้ผล และต้องการคาสรรเสริญ  การเชิญที่ปรึกษาเพื่อต้องการยืนยันในสิ่งที่ตนคิด ต้องการ ตรวจทานอีกครั้งหนึ่งเท่านั้น หรือเนื่องจากข้อจากัดด้านเวลา จึง ต้องการพึ่งพาที่ปรึกษาช่วยยืนยัน  เป็นความเสี่ยงที่จะไม่เห็นพ้องต้องกัน ถ้าต้องการปรึกษาเพียง เพื่อแสดงให้รู้ หรือเพียงเพื่อไม่ต้องการทางานเพิ่มเติม
  • 9. เลือกที่ปรึกษาไม่ถูกต้อง  เป็นการตั้งใจหรือไม่ตั้งใจก็ตาม ผู้นาองค์กรมักจะเลือกที่ปรึกษา จากอุตสาหกรรมเดียวกัน ที่มีพื้นฐานความคิดเห็นเหมือนกัน  เป็นการเลือกที่ปรึกษาที่ชอบพอกันดี การเข้าถึงหรือหาได้ง่าย และที่ไม่เป็นการคุกคามต่อตนเอง ทาให้ไม่เกิดการเปลี่ยนแปลง กลยุทธ์ หรือไม่เกิดมีผลิตภัณฑ์ที่มีความหลากหลาย  รวมถึงการไม่ได้คานึงถึงผู้เชี่ยวชาญสาขาอื่นที่รู้จริง เคย แก้ปัญหานี้ มาก่อน มีความรู้ และประสบการณ์ที่เป็นประโยชน์
  • 10. กาหนดปัญหาไม่ดี  ผู้รับคาแนะนา บางทีสื่อสารได้ไม่ตรงประเด็น ทาให้ไม่รู้สาเหตุ ของปัญหาที่แท้จริง  หรือไม่บอกรายละเอียดทั้งหมด ปิดบังบางสิ่งบางอย่าง ทาให้ที่ ปรึกษาไม่เห็นภาพโดยรวม  หรือคิดว่าที่ปรึกษารู้แล้ว จึงไม่ได้บอกเล่า (โดยเฉพาะเหตุการณ์ สาคัญที่เคยเกิดขึ้น หรือปัญหาการเมืองภายในองค์กรเอง)  เป็นสาเหตุทาให้ที่ปรึกษาประเมินสถานการณ์ได้ไม่ถูกต้อง
  • 11. ไม่เห็นคุณค่าคาแนะนา  เป็นสิ่งที่ที่ปรึกษาพบบ่อยที่สุดคือ อคติ (egocentric bias)  โดยเฉพาะผู้นาที่มีอานาจโดยสิทธิ์ขาด คิดว่าตนรู้ดีกว่าที่ปรึกษา มีเหตุผลเป็นของตนเอง ไม่ได้ฟังเหตุผลที่ที่ปรึกษาชี้ แจง  หรือเกิดจากไม่เห็นด้วย เมื่อได้รับข้อคิดเห็นที่ตรงกันข้ามกับ ตนเองคิดเอาไว้  ที่ปรึกษาจะรู้ได้เมื่อสังเกตว่า ข้อเสนอแนะไม่ได้ถูกใส่ใจ หรือ ตนเองไม่ได้รับความไว้วางใจอีกต่อไป
  • 12. ตัดสินคุณภาพคาแนะนาผิด  ผู้รับคาแนะนาโดยมากไม่สามารถแยกแยะสิ่งที่ดีกับสิ่งที่ไม่ดี เช่น ถ้ามาจากแหล่งที่ตนเองมีความมั่นใจก็จะเชื่อถือ แต่ถ้ามา จากแหล่งที่เคยมีความหมางใจกันมาก่อนก็จะไม่เชื่อถือ ทั้ง ๆ ที่ จากผลการวิจัยระบุว่า คุณภาพไม่ต่างกัน  ผู้รับคาแนะนาจะไม่นาคาแนะนาที่ได้ไปปฏิบัติ ถ้ารู้สึกว่าไม่เห็น ด้วยกับคาแนะนา แม้ที่ปรึกษาจะมีความปรารถนาดีก็ตาม
  • 13. ก้าวข้ามเลยขอบเขต  การที่ที่ปรึกษาให้คาแนะนาที่เกินเลย (ไม่เป็นที่ยินดีและไม่เป็น ที่ต้องการด้วย) ทาให้ผู้รับคาแนะนาเกิดความรู้สึกว่าถูกคุกคาม และไม่ปฏิบัติตาม  หรือการที่ที่ปรึกษาให้คาแนะนาในสิ่งที่ตนเองไม่รู้จริง (รู้น้อยแต่ อวดว่ารู้มาก) จะกลายเป็นดาบทิ่มแทงตนเอง ทาให้หมดความ น่าเชื่อถือ เป็นข้อควรระวัง
  • 14. ระบุปัญหาผิด  ที่ปรึกษาต้องรวบรวมสติปัญญาเพื่อระบุปัญหาให้ชัดเจน ก่อนจะ ทาการแก้ปัญหา  การประเมินผิดพลาด เกิดจากสาเหตุสองประการคือ การรีบสรุป เพราะคิดว่าเคยผ่านเหตุการณ์แบบนี้ มาแล้ว เรื่องคงคล้าย ๆ กัน (ความเป็นจริงอาจต่างกันถ้าประเมินให้ดี) และผู้รับ คาแนะนาอาจมีความโน้มเอียง ที่จะซุกซ่อนสาเหตุของปัญหาที่ แท้จริงก็ได้ (ไม่ว่าตั้งใจหรือไม่ก็ตาม)  ที่ปรึกษาไม่ต้องกลัวเสียหน้า ในการตั้งคาถามสาเหตุพื้น ๆ
  • 15. ใช้แนวทางตนเองเป็นศูนย์กลาง  ที่ปรึกษามักมีกรอบหรือแนวทางในการแก้ปัญหาคือ ถ้าเป็นเขา เราจะแก้ปัญหาอย่างไร (คิดแทน) ซึ่งเป็นวิธีการที่ไม่เข้าท่าและ ไม่มีประสิทธิผล  เพราะไม่ได้รับรู้ว่า ผู้รับคาแนะนามีความรู้สึกอย่างไร มุมมอง ของเขาที่มีต่อปัญหา และทางเลือกที่เขามี เพื่อจะได้เข้าใจเขา อย่างลึกซึ้ ง และให้คาแนะนาที่เป็นประโยชน์
  • 16. สื่อสารคาแนะนาได้ไม่ดี  ความผิดพลาดที่เกิดขึ้นได้บ่อย ๆ คือ คาแนะนาที่ฟังแล้วไม่ เข้าใจ (vague) เช่น สมควรส่งเสริมให้มีพฤติกรรมที่สอดคล้อง กับเป้ าประสงค์ (เป้ าประสงค์ขององค์กรหรือหน่วยงาน พฤติกรรมอะไร)  หรือใช้คาแนะนาที่เป็นศัพท์เฉพาะ (jargon) ไม่รู้กันทั่วไป  รวมทั้งให้ข้อคิด ทางเลือก แผนงาน มุมมอง และคาแปลที่มาก เกินไป เสมือนรายการซักแห้ง (laundry list) ว่ามีอะไรบ้าง ทาให้ ผู้รับงุนงง ไม่รู้ว่าสิ่งใดสาคัญ สิ่งใดควรเริ่มทาก่อน
  • 17. การจัดการกับผลพวงได้ไม่ดี  การตัดสินใจขั้นสุดท้าย ไม่ได้อยู่ที่ที่ปรึกษา  ที่ปรึกษาบางท่านอาจไม่พอใจที่ผู้รับคาแนะนาไม่ยอมรับ ข้อคิดเห็นทั้งหมดที่ให้ ยังขอให้มีการอภิปรายเพิ่มเติมอีก ซึ่งจะ ทาให้ผู้รับคาแนะนาเกิดแรงต้าน ไม่ส่งผลดีกับใคร เพราะจะทา ให้เกิดความห่างเหิน และไม่ไว้ใจกัน  ในความเป็นจริง ผู้รับคาแนะนามักจะต้องนาคาแนะนามา พิจารณาก่อน ไม่ได้เชื่อเพียงผู้เดียว และอาจมีการปรับแผนได้
  • 18. การปฏิบัติที่เป็นเลิศสาหรับการแสวงหาและการให้คาแนะนา  ขั้นตอนที่ 1: หาสิ่งที่เหมาะสม  ขั้นตอนที่ 2: การพัฒนาความเข้าใจร่วมกัน  ขั้นตอนที่ 3: ขัดเกลาทางเลือก  ขั้นตอนที่ 4: การตัดสินใจร่วมกัน  ขั้นตอนที่ 5: การนาคาแนะนาไปดาเนินการ
  • 19.
  • 20.
  • 21. ขั้นตอนที่ 1: หาสิ่งที่เหมาะสม  การขอคาแนะนาแต่ละครั้งมีความแตกต่างกัน ขึ้นกับบริบท และ ปัญหาเรื่องเวลา ทาให้ไม่สามารถหาที่ปรึกษาใหม่ได้บ่อย ๆ  ดังนั้น เป็นการดีที่มีที่ปรึกษาส่วนตัวไว้ล่วงหน้า เป็นผู้ที่ไว้ใจได้ มีความเชี่ยวชาญที่มีความแตกต่างกัน มีความจริงใจ ปรารถนาดี กล้าพูดในสิ่งที่เป็นจริงที่คุณไม่อยากฟัง และควรมีอย่างน้อยหนึ่ง คนที่คุณสามารถปรึกษาได้ในทุกสถานการณ์  ให้ศึกษาจากรูป ว่าที่ปรึกษาช่วยอะไรได้บ้าง (แผ่นต่อไป)
  • 22.
  • 23. ขั้นตอนที่ 1: หาสิ่งที่เหมาะสม (ต่อ)  การมีที่ปรึกษา เป็นการปิดจุดอ่อนของเราเอง เพราะที่ปรึกษา เป็นผู้มีความรู้และมีประสบการณ์ ให้พยายามหลีกเลี่ยงการมีที่ ปรึกษาที่มีคุณลักษณะเหมือน ๆ กัน  ในฐานะที่ปรึกษา ให้พิจารณาตนเองว่า ตนมีความเหมาะสมกับ หน้าที่นั้นหรือไม่ มีพื้นฐาน และมีเวลาให้หรือไม่ ถ้าไม่ได้ ให้ ปฏิเสธเสียแต่เริ่มต้น ดีกว่าให้คาแนะนาที่ไม่ได้ประโยชน์หรือมี คุณค่าน้อย การปฏิเสธคือการให้คาแนะนา และควรแนะนาผู้อื่น ที่ตนเองเห็นว่ามีความเหมาะสมด้วย ไม่ว่าจะรับหรือไม่รับ
  • 24. ขั้นที่ 2: การพัฒนาความเข้าใจร่วมกัน  ในขั้นตอนนี้ เป็นขั้นตอนขอคาแนะนา ผู้รับคาแนะนาควรให้ ข่าวสารที่พอเพียงที่จะระบุปัญหาที่เกิดขึ้น และต้องการผลลัพธ์ เช่นไร  ตั้งหลักให้ดี ไม่ต้องลงรายละเอียดลึกมากเกินไป จนที่ปรึกษาไม่ เข้าใจปัญหาที่แท้จริง  และให้บอกเล่าความเป็นจริงเกี่ยวกับตัวคุณด้วย ไม่ว่าจะเป็น จุดอ่อน แม้จะเป็นเรื่องลาบากใจที่จะเล่า
  • 25. ขั้นที่ 2: การพัฒนาความเข้าใจร่วมกัน (ต่อ)  ในฐานะที่ปรึกษา คุณต้องการเห็นภาพที่สมบูรณ์ และต้องการ ขยายความในใจของผู้รับคาแนะนา ซึ่งต้องอาศัยเวลา  ให้หาสถานที่ที่เป็นส่วนตัว สามารถถกแถลงกันได้อย่างเปิดใจ (safe zone) ให้เวลาสนทนาอย่างพอเพียง (ไม่ใช่ไม่จากัดเวลา)  ยังอย่าเพิ่งรีบตัดสิน หรือด่วนสรุป ตั้งใจฟังอย่าเพิ่งขัดคอ และ อย่าพึงให้คาแนะนาหรือทางแก้ปัญหาในทันที จะเป็นการ วิเคราะห์ที่ยังไม่สมบูรณ์ ให้หาข่าวสารเพิ่มเติม
  • 26. ขั้นที่ 2: การพัฒนาความเข้าใจร่วมกัน (ต่อ)  การเริ่มสนทนา ให้ใช้คาถามกว้าง ๆ และ ปลายเปิด เช่น คุณ รู้สึกเกี่ยวกับเรื่องนี้ อย่างไร? (How are you feeling about this?)  เป็นการบอกให้เขาเปิดเผยความในใจที่แท้จริงออกมา และพุ่ง ตรงไปยังประเด็นสาคัญ (เป็นคาถามที่นักมานุษยวิทยา กล่าวว่า เป็นคาถามเปิดที่ยิ่งใหญ่ (grand tour question) แนะนาให้ใช้เป็น คาถามเปิดการสนทนา)  แล้วจึงค่อย ๆ ถามรายละเอียดให้เขาก้าวข้ามพ้นตนเองออกมา
  • 27. ขั้นที่ 2: การพัฒนาความเข้าใจร่วมกัน (ต่อ)  คาถามการบ้าน (homework assignment) ในการพบปะคราวหน้า ให้ผู้รับคาแนะนาระบุทางเลือกในการแก้ปัญหานี้ มา 5 ประการ  จากการวิเคราะห์สาเหตุรากเหง้าของปัญหา สิ่งที่เกิดตามมา และสิ่งที่อยู่ในใจผู้รับการช่วยเหลือ จะทาให้ที่ปรึกษาเห็นหนทาง ให้คาแนะนา ว่าตนเองสมควรแสดงบทบาทอะไร คือ เป็นนักฟัง ที่ดี ให้ความมั่นใจ เปิดมุมมองให้กว้างขึ้น แนะนาทางเลือก หรือให้หาหนทางใหม่
  • 28. ขั้นตอนที่ 3: ขัดเกลาทางเลือก  ทางเลือกควรมีหลายหนทาง  ให้ผู้รับคาแนะนาถามที่ปรึกษาถึงข้อดีข้อเสีย เหตุผลที่สนับสนุน ความสัมพันธ์กับสถานการณ์ที่เป็นอยู่ กลวิธีที่จะนาไปใช้ ผลกระทบที่จะตามมา การเตรียมตนเอง การชดเชย ของแต่ละ ทางเลือก (ถามลงลึกเช่นเดียวกับที่ปรึกษาถามลงลึกสาเหตุของ ปัญหา)
  • 29. ขั้นตอนที่ 3: ขัดเกลาทางเลือก (ต่อ)  ในฐานะที่ปรึกษา ให้ทาตนเสมือนเป็นครูสอนขับรถยนต์ หลังจากบอกเล่าวิธีการต่าง ๆ จนเข้าใจ ให้เป็นหน้าที่ของผู้รับ คาแนะนา เป็นผู้เลือกหนทางที่จะไปเอง (It’s the seeker’s job to find the path forward.)  เราเป็นเพียงผู้ช่วยให้เขาคิดออกมาดัง ๆ  ให้อธิบายเหตุผลและหลักการ ในการแนะนาทางเลือกนั้น ๆ
  • 30. ขั้นที่ 4: การตัดสินใจร่วมกัน  ในการตัดสินใจเลือกหนทางใด อย่าเลือกวิธีที่ดูแล้วทาได้โดยง่าย เพียงอย่างเดียว (easy way out)  ให้ที่ปรึกษาแสดงเป็นผู้ที่มองโลกในแง่ร้าย เพื่อจะได้พบจุดบอด ที่อาจจะมีอยู่ และอย่ารั้งรอที่จะขอข้อคิดเห็นเพิ่มเติม ถ้ายังไม่ มั่นใจ  การเลือกหนทาง อาจเป็นการรวมคาแนะนาจากที่ปรึกษาหลาย คนก็ได้ บวกกับสติปัญญาของตนเอง ออกมาเป็นวิธีการ แก้ปัญหาแบบผสมผสาน (hybrid solution)
  • 31. ขั้นที่ 4: การตัดสินใจร่วมกัน (ต่อ)  ในฐานะที่ปรึกษา เป้ าประสงค์ของขั้นตอนนี้ คือ สารวจทางเลือก ก่อนตัดสินใจขั้นสุดท้าย พูดคุยถึงผลที่จะเกิดขึ้น ข้อดี ข้อเสีย  หยุดบ่อย ๆ เพื่อสังเกตคู่สนทนาว่า เขาเห็นด้วย หรือยังมีข้อ สงสัยใด ๆ เหลืออยู่  ให้ตอบว่า ผมไม่ทราบ (I don’t know) ถ้าคิดว่าไม่สามารถ พยากรณ์ผลกระทบที่จะตามมาได้  การติดตามผล ถ้าพบว่ายังไม่มีความก้าวหน้า ให้ถามตรง ๆ ถึง อุปสรรค เพื่อหาหนทางให้เกิดความก้าวหน้า
  • 32. ขั้นตอนที่ 5: การนาคาแนะนาไปดาเนินการ  เป็นการนาคาแนะนาไปปฏิบัติและมีการปรับปรุงตามเหตุ  ควรทาเป็นระบบคือ ขอคาแนะนา นาไปปฏิบัติ เรียนรู้ แล้วขอ คาแนะนาใหม่ ไม่ใช่ทาครั้งเดียวจบ  การพบที่ปรึกษาบ่อย ๆ ทาให้มีข้อมูลข่าวสารจากการปฏิบัติมา เรียนรู้ร่วมกัน เป็นการบอกว่าทาแล้วได้ผลอย่างไร  เป็นกระบวนการการเรียนรู้ของผู้รับคาแนะนาและที่ปรึกษาด้วย และสร้างเสริมความปรารถนาดีต่อกัน
  • 33. ขั้นตอนที่ 5: การนาคาแนะนาไปดาเนินการ (ต่อ)  ในฐานะที่ปรึกษา ในขั้นตอนนี้ ให้ถอยออกมา เป็นหน้าที่ของผู้รับ คาแนะนาในการดาเนินการต่อไป ทั้งการตัดสินใจและผลลัพธ์ที่ จะตามมา เพื่อให้เกิดความรับผิดชอบ และไม่โทษที่ปรึกษาใน ภายภาคหน้า  แต่ยังคงเปิดโอกาสให้ขอคาแนะนาเพิ่มเติมได้ เพราะ สถานการณ์อาจจะแปรเปลี่ยนไปได้อย่างรวดเร็ว หนทางที่เลือก ไว้อาจจะไม่เหมาะสม ต้องมีการปรับเปลี่ยนไปตามสถานการณ์ ให้ทันเวลา
  • 34. การทางานร่วมกัน  ถึงแม้ว่าที่ปรึกษาให้คาแนะนาแก่ผู้รับคาแนะนา บทบาทจะ ต่างกันออกไป  ที่ปรึกษาจะเน้นที่จุดมุ่งหมาย (purpose – why an action should be performed)  ผู้รับคาแนะนาจะเน้นที่กลวิธี (tactics – how to get things done)
  • 35. สรุป  บทความนี้ เป็นแนวทางการให้คาแนะนาอย่างเป็นขั้นตอน ไม่ เน้นเนื้ อหาคาแนะนา เพราะการให้คาแนะนาไม่ได้เป็นการ กระทาเพียงครั้งเดียวแล้วเลิก เป็นกระบวนการที่สร้างสรรค์ และมีความร่วมมือด้วยกันทั้งสองฝ่าย เพื่อเป้ าหมายในการ เข้าใจปัญหาได้ดีขึ้น มีหนทางเลือกในการก้าวไปข้างหน้าอย่างมี ความหวัง ผ่านการสนทนาอย่างต่อเนื่อง