SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 4
Baixar para ler offline
ใบความรูวิชาวิทยาศาสตร
           หนวยการเรียนรูที่ 1 แผนการสอนที่ 7 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1
  เรื่อง การขยายพันธุ ปรับปรุงพันธุ และการเพิ่มผลผลิตของพืชโดยใชเทคโนโลยี


การขยายพันธุ และการปรับปรุงพันธุพืช
                                 
           การเพิ่มปริมาณและคุณภาพผลผลิตของพืชใหมากขึ้น โดยการประยุกตใชความรู
เกีี่ยวกัับสิิ่งมีีชีวต เพือป โ เ ฉพาะอยางตามที่มนุษยตองการ เรีียกวา เทคโนโลยีชีวภาพ
                      ิ ่ื ประโยชน              ี                   โ โ ี
โดยใชเทคนิคตาง ๆ ดังนี้
      1.การคัดเลือกพันธุและผสมพันธุ เพือใหไดพชที่มีลักษณะตามตองการ เชน การ
                                         ่       ื
ผสมละอองเรณุของทุเรียนหมอนทอกับเกสรตัวเมียของทุเรียนพันธุชะนี การผลิตแตงโมไร
เมล็ด
          2. การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ คือการนําเอาสวนใดสวนหนึงของพืชไมวาเปนอวัยวะ
                                                                ่           
เนื้อเยื่อ เซลล หรือเซลลที่ไมมีผนังที่เรียกวา โพรโทพลาสต มาเลี้ยงอาหารวิทยาศาสตรใน
สภาพปลอดเชื้อจุลินทรีย และอยูในภาวะควบคุม อุณหภูมิ แสง ความชื้น สวนของพืชเหลานี้
                                    
จะสามารถเจริญเติบโตเกิดเปนตนใหมได
       3. พนธุวศวกรรม หมายถง กระบวนการเปลยนแปลงสารพนธุกรรมดวยการตดตอยน
       3 พันธวิศวกรรม หมายถึง กระบวนการเปลี่ยนแปลงสารพันธกรรมดวยการตัดตอยีน
และเปลี่ยนแปลงยีนในเซลล เพื่อใหไดสงมีชีวิตใหมที่มีสมบัติตามที่ตองการ ซึงสิงมีชวต
                                          ิ่                              ่ ่ ีิ
ดังกลาวมีชื่อเรียกวาสิงมีชีวตตัดแตงพันธุกรรมหรือ จีเอ็มโอ
                        ่ ิ
        จีเอ็มโอ (GMOs) เปนชื่อของ Genetically Modified Organisms หมายถึง สิงมีชีวตที่
                                                                                  ่ ิ
ไดรับการเปลี่ยนแปลงสารพันธุกรรม โดยอาศัยเทคนิคทางพันุกรรม ในบางกรณีมการใชคาวาี     ํ
แอลเอ็็มโ (
         โอ (LMOs) ยอมาจาก Living Modified Organisms ทัั้งจีีเอ็มโอและแอลเอ็มโอมีี
                   )                                              ็ โ          ็ โ
ความหมายคลายคลึงกัน แตแอลเอ็มโอมุงเนนความมีชีวตอยูของสิงมีชีวตนั้น ๆ ในขณะที่
                                                       ิ         ่ ิ
จีเอ็มโอรวมไปถึงผลิตภัณฑที่เกิดขึ้นในสภาพที่ไมมีชีวิตดวย เชน อาหารจีเอ็มโอ
       ผลเสียของจีเอ็มโอ
      เทคโนโลยทุกอยางทมประโยชนกอาจมโทษไดการพฒนาและการใชไมไดใชความ
      เทคโนโลยีทกอยางที่มประโยชนก็อาจมีโทษไดการพัฒนาและการใชไมไดใชความ
ระมัดระวังเทาที่ควร ขอเสีย คือมีความเสี่ยงและซับซอนในการจัดการ เชน
- อันตรายที่เกิดจากการที่พชจีเอ็มโออาจผลิตสารกอภูมแพหรือสารอื่นที่มีสมบัติเปนสารตาน
                          ื                        ิ
การเจริญเติบโตของรางกาย
- ความเปนไปไดท่แมลงศัตรูพืชอาจพัฒนาความตานทานตอสารพิษที่สรางโดยพืชจีเอ็มโอ
                   ี
ใบความรูวิชาวิทยาศาสตร
          หนวยการเรียนรูที่ 1 แผนการสอนที่ 7 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1
  เรื่อง การขยายพันธุ ปรับปรุงพันธุ และการเพิ่มผลผลิตของพืชโดยใชเทคโนโลยี

ประโยชนของเทคโนโลยีชีวภาพ ไดแก
1. ดานการเกษตรและอาหาร
- การปรับปรุงพันธุพืชใหตานทานโรคและแมลง
                          
       ั     ั
- การพฒนาพนธืืพืชใ มีคุณภาพผลผลตดีี
                   ให               ิ
- การพัฒนาพันธุพืชใหผลิตสารพิเศษ
- การพัฒนาพันธุสัตวมีการพัฒนาพันธุโดยการถายฝากยีนทั้งในปศุสัตวและสัตวน้ํา
- การพัฒนาสายพันธุจุลินทรียใหมีคุณลักษณะพิเศษบางอยาง เชน สามารถกําจัดคราบน้ํามัน
2. ดานการแพทยและสาธารณสุข
- การตรวจโรคเมืื่อสามารถสังเคราะหช้ินสวนดีเี อ็นโ หรือยีนไดแลวก็สามารถพัฒนาไปใช
          โ                                      ็ โอ ื ี ไ   ็              ไปใ
ในการตรวจโรคตาง ๆ ได อยางมีประสิทธิภาพ
- การพัฒนายารักษาโรคและวัคซีน
- การสับเปลี่ยนยีนดอยดวยยีนดี
3. ดานการอนุรักษพลังงานและสิ่งแวดลอม
- พันธุกรรมอาจนําไปสูการผลิตพืชที่ใชปุยนอย น้านอย ทําใหเปนการลดการใชปุยเคมี
                                                 ํ้
เปนการอนุรกษสิ่งแวดลอมและนําไปสูการสรางสมดุลทรัพยากรชีวภาพได
           ั
- ใชจุลินทรียผลิตแอลกอฮอลและแกสชีวภาพ เพื่อใชเปนเชื้อเพลิงทดแทนพลังงานจาก
ธรรมชาติ
4. ดานการพัฒนาอุตสาหกรรม เมื่อวัตถุดิบไดรบการปรับเปลี่ยนคุณภาพใหตรงกับความ
                                           ั
ตองการของอุตสาหกรรม โดยใชพันธุวิศวกรรม อุตสาหกรรมใหม ๆ จะเกิดตามมามากมาย
เพราะความกาวหนาของเทคโนโลยีชีวภาพ
การเพิ่มผลผลิตของพืช
             การเพิ่มผลผลิตของพืชจะตองคํานึงถึงปจจัยพืนฐานที่มผลตอการเจริญเติบโตของ
                                                        ้       ี
พืืช ไดแก สภาพของดิน ความชุมชื้น และอุณหภูมิที่เหมาะสม นอกจากนีี้ชนิิของพืช วิิธีการ
     ไ                ิ           ื                                           ื
ปลูก การอนุรักษดินและน้ํา การปองกันศัตรูพชและกําจัดศัตรูพืช และการใชสารควบคุมการ
                                             ื
เจริญเติบโตของพืช วิธการเพิ่มผลผลิตของพืชที่สําคัญ มีดังนี้
                         ี
ใบความรูวิชาวิทยาศาสตร
           หนวยการเรียนรูที่ 1 แผนการสอนที่ 7 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1
  เรื่อง การขยายพันธุ ปรับปรุงพันธุ และการเพิ่มผลผลิตของพืชโดยใชเทคโนโลยี


      1. การรักษาสภาพของดินใหคงสภาพที่ดีอยูเสมอ สามารถทําได 3 วิธี คือ การปลูก
พืชหมุนเวียน การปลูกพืชแซม การปลูกพืชตามแนวระดับหรือขั้นบันได
         2 การเพิิ่มธาตุอาหารใหแกพืชดวยการใสปุย ธาตุอาหารหลัักทีี่พืชตองการ คืือ
         2.                   ใ               ใ
ไนโตรเจน (N) ฟอสฟอรัส (P) โพแทสเซียม (K) นอกจากนี้พืชยังตองการแรธาตุชนิดอื่น ๆ
ปุย คือ สารอินทรียหรืออนินทรียที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ หรือทําขึ้นเพือใชเปนธาตุอาหาร
                                                                         ่
ใหแกพืชหรือทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงทางเคมีในดิน เพือบํารุงการเจริญเติบโตของพืช
                                                        ่
ปุยแบงไดเปน 3 ชนิด ดังนี้
1. ปุยเคมีหรือปุยอนินทรีย ขอดี คือใหผลเร็ว ใชในปริมาณนอยและสะดวก ขอเสีย ราคา
แพง เก็บรักษายาก ปลอมแปลงไดงาย และมักมีสารตกคาง ทําใหดินเสื่อมสภาพได
                                     
2. ปุยอินทรียหรือปุยธรรมชาติ เชน ปุยหมัก ปุยคอก ปุยพืชสด ขอดี ราคาถูก ชวยกําจัด
ของเสีย และชวยปรับสภาพของดินใหดีขึ้น ขอเสีย ใหแรธาตุตา ไดผลชากวาปุยเคมี ตองใช
                                                              ่ํ
ปริมาณมาก สินเปลืองแรงงานและคาขนสงสูง มีกลิ่น อาจเกิดเชื้อรา
              ้
3. ปุยชีวภาพ เปนปุยที่เปนสิ่งมีชีวต โดยเฉพาะแบคทีเรียและสาหรายสีเขียวแกมน้ําเงินที่
                                      ิ
สามารถตรึงไนโตรเจนจากอากาศได
           3. การปองกันและกําจัดศัตรูพืช
- ศัตรูพืช หมายถึงสิงที่คอยเบียดเบียนพืชที่เราผลิต ทําใหผลผลิตลดลงหรือไมมคณภาพ
                     ่                                                               ีุ
ได
ไ แก วััชพืช โ ืช แมลงศัตรูพืช สััตวศัตรูพืช
             ื โรคพื          ั            
- การกําจัดศัตรูพืชโดยใชสารเคมี ตองใชความระมัดระวังเปนพิเศษ เพราะถาใชไมถูกวิธีหรือ
ใชมากเกินไป อาจเปนอันตรายตอชีวตและสภาพแวดลอมได
                                    ิ
- การกําจัดศัตรูพืชโดยชีววิธี เปนการใชสิ่งมีชีวตกําจัดสิงมีชีวตที่เปนศัตรูพืช ซึงไมเปน
                                                 ิ        ่ ิ                      ่
อันตรายตอมนุษยและสิ่งแวดลอม
           4 การใชสารควบตุมการเจริญเติบโตของพืช
           4.
- สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช เปนเคมีภัณฑการเกษตรอยางหนึ่งเปนสารอินทรียที่
พืชสรางขึ้นหรือมนุษยสังเคราะหขึ้นมาซึงสามารถเรงผลผลิตใหเพิ่มมากขึ้นกวาปกติหรือเรง
                                        ่
ใหออกนอกฤดูกาล
ใบงานที……..วิชาวิทยาศาสตร
                                                ่
                           หนวยการเรียนรูที่ 1 แผนการสอนที่ 7 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1
                   เรื่อง การขยายพันธุ ปรับปรุงพันธุ และการเพิ่มผลผลิตของพืชโดยใชเทคโนโลยี
ผลการเรียนรูที่คาดหวัง
     1. สืบคนขอมูลและอธิบายเกี่ยวกับเทคโนโลยีชีวภาพที่ใชในการขยายพันธุ ปรับปรุงพันธุ เพิ่มผลผลิตของพืช
ในทองถิ่น
     2. สืบคนขอมูล อภิปราย และแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับผลของการใชเทคโนโลยีชีวภาพ ในดานเกษตรกรรม
อุตสาหกรรม อาหารและแพทย
จุดประสงคการเรียนรู
     1. นักเรียนสามารถสรุปเกี่ยวกับการขยายพันธุ การปรับปรุงพันธุ การเพิ่มผลิตของพืชได
     2. สามารถอธิบายประโยชนของการใชเทคโนโลยีชีวภาพในดานตาง ๆ ได
คําสัง จงเติมคําหรือขอความในชองวางใหถูกตองสมบูรณ
     ่
1.การขยายพันธุพืชสามารถทําได คือ…………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………..
2. หลักการสําคัญของการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ คือ………………………………………………..
3.จงบอกประโยชนของการใชวิธีพันธุกรรมมาปรับปรุงพันธุพืช คือ…………………………
………………………………………………………………………………………………..
4. การปลูกพืชแซมแตกตางจาการปลูกพืชหมุนเวียนอยางไร………………………………..
……………………………………………………………………………………………….
5. ธาตุอาหารหลักของพืชทุกชนิดตองการ มีอะไรบาง……………………….………………..
6. จงยกตัวอยางศัตรูพืชที่เกษตรกรพบในพื้นที่มาอยางละ 3 ชนิด
6.1 สัตวศตรูพืช….…………………………………………………………………………….
          ั
6.2 แมลงศตรูพช
6 2 แมลงศัตรพืช…...………………………………………………………………………….
6.3 วัชพืช…...…………………………………………………………………………………
6.4 โรคพืช…………………………………………………………………………………….
                   ชื่อ………………………..นามสกุล………………………………เลขที่ …………..

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - วิทยาศาสตร์
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - วิทยาศาสตร์ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - วิทยาศาสตร์
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - วิทยาศาสตร์Suriyawaranya Asatthasonthi
 
2. ข้อสอบ o net - วิทยาศาสตร์ (มัธยมปลาย) 0
2. ข้อสอบ o net - วิทยาศาสตร์ (มัธยมปลาย) 02. ข้อสอบ o net - วิทยาศาสตร์ (มัธยมปลาย) 0
2. ข้อสอบ o net - วิทยาศาสตร์ (มัธยมปลาย) 0neenpd11
 
ข้อสอบ O-net - วิทยาศาสตร์
ข้อสอบ O-net - วิทยาศาสตร์ข้อสอบ O-net - วิทยาศาสตร์
ข้อสอบ O-net - วิทยาศาสตร์bowing3925
 
16.ฮอร์โมนพืช
16.ฮอร์โมนพืช16.ฮอร์โมนพืช
16.ฮอร์โมนพืชWichai Likitponrak
 
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนแผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนดอกหญ้า ธรรมดา
 
ว ทยาศาสตร
ว ทยาศาสตร ว ทยาศาสตร
ว ทยาศาสตร Aoy Amm Mee
 
12.การคายน้ำและการแลกแก๊สลำเลียงพืช
12.การคายน้ำและการแลกแก๊สลำเลียงพืช12.การคายน้ำและการแลกแก๊สลำเลียงพืช
12.การคายน้ำและการแลกแก๊สลำเลียงพืชWichai Likitponrak
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1dnavaroj
 
2. ข้อสอบ o net - วิทยาศาสตร์ (มัธยมปลาย) 0
2. ข้อสอบ o net - วิทยาศาสตร์ (มัธยมปลาย) 02. ข้อสอบ o net - วิทยาศาสตร์ (มัธยมปลาย) 0
2. ข้อสอบ o net - วิทยาศาสตร์ (มัธยมปลาย) 0Nattarika Wonkumdang
 
ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 การบูรณาการภาษาอังกฤษ ไฟล์ 2 (มีทั้งหมด 4 ไฟล์คะ)
ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 การบูรณาการภาษาอังกฤษ ไฟล์ 2 (มีทั้งหมด 4 ไฟล์คะ)ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 การบูรณาการภาษาอังกฤษ ไฟล์ 2 (มีทั้งหมด 4 ไฟล์คะ)
ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 การบูรณาการภาษาอังกฤษ ไฟล์ 2 (มีทั้งหมด 4 ไฟล์คะ)กมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
Science.m.3.2
Science.m.3.2Science.m.3.2
Science.m.3.2dnavaroj
 
เอกสารประกอบการสรุปเข้ม O
เอกสารประกอบการสรุปเข้ม Oเอกสารประกอบการสรุปเข้ม O
เอกสารประกอบการสรุปเข้ม OWichai Likitponrak
 
2. ข้อสอบ o net - วิทยาศาสตร์ (มัธยมปลาย) 0
2. ข้อสอบ o net - วิทยาศาสตร์ (มัธยมปลาย) 02. ข้อสอบ o net - วิทยาศาสตร์ (มัธยมปลาย) 0
2. ข้อสอบ o net - วิทยาศาสตร์ (มัธยมปลาย) 0Preeyaporn Chamnan
 
แบบฝึกชุดที่ 1
แบบฝึกชุดที่ 1แบบฝึกชุดที่ 1
แบบฝึกชุดที่ 1kruking2
 
วิทย์เข้มข้น1 หน่วยที่ 1
วิทย์เข้มข้น1 หน่วยที่ 1วิทย์เข้มข้น1 หน่วยที่ 1
วิทย์เข้มข้น1 หน่วยที่ 1Thanyamon Chat.
 
Lessonplanunit2 plantkruwichai62
Lessonplanunit2 plantkruwichai62Lessonplanunit2 plantkruwichai62
Lessonplanunit2 plantkruwichai62Wichai Likitponrak
 

Mais procurados (20)

ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - วิทยาศาสตร์
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - วิทยาศาสตร์ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - วิทยาศาสตร์
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - วิทยาศาสตร์
 
2. ข้อสอบ o net - วิทยาศาสตร์ (มัธยมปลาย) 0
2. ข้อสอบ o net - วิทยาศาสตร์ (มัธยมปลาย) 02. ข้อสอบ o net - วิทยาศาสตร์ (มัธยมปลาย) 0
2. ข้อสอบ o net - วิทยาศาสตร์ (มัธยมปลาย) 0
 
ข้อสอบ O-net - วิทยาศาสตร์
ข้อสอบ O-net - วิทยาศาสตร์ข้อสอบ O-net - วิทยาศาสตร์
ข้อสอบ O-net - วิทยาศาสตร์
 
Microscope
MicroscopeMicroscope
Microscope
 
16.ฮอร์โมนพืช
16.ฮอร์โมนพืช16.ฮอร์โมนพืช
16.ฮอร์โมนพืช
 
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนแผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
 
ว ทยาศาสตร
ว ทยาศาสตร ว ทยาศาสตร
ว ทยาศาสตร
 
12.การคายน้ำและการแลกแก๊สลำเลียงพืช
12.การคายน้ำและการแลกแก๊สลำเลียงพืช12.การคายน้ำและการแลกแก๊สลำเลียงพืช
12.การคายน้ำและการแลกแก๊สลำเลียงพืช
 
P6thai+math2552
P6thai+math2552P6thai+math2552
P6thai+math2552
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
 
2. ข้อสอบ o net - วิทยาศาสตร์ (มัธยมปลาย) 0
2. ข้อสอบ o net - วิทยาศาสตร์ (มัธยมปลาย) 02. ข้อสอบ o net - วิทยาศาสตร์ (มัธยมปลาย) 0
2. ข้อสอบ o net - วิทยาศาสตร์ (มัธยมปลาย) 0
 
ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 การบูรณาการภาษาอังกฤษ ไฟล์ 2 (มีทั้งหมด 4 ไฟล์คะ)
ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 การบูรณาการภาษาอังกฤษ ไฟล์ 2 (มีทั้งหมด 4 ไฟล์คะ)ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 การบูรณาการภาษาอังกฤษ ไฟล์ 2 (มีทั้งหมด 4 ไฟล์คะ)
ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 การบูรณาการภาษาอังกฤษ ไฟล์ 2 (มีทั้งหมด 4 ไฟล์คะ)
 
Science.m.3.2
Science.m.3.2Science.m.3.2
Science.m.3.2
 
เอกสารประกอบการสรุปเข้ม O
เอกสารประกอบการสรุปเข้ม Oเอกสารประกอบการสรุปเข้ม O
เอกสารประกอบการสรุปเข้ม O
 
2. ข้อสอบ o net - วิทยาศาสตร์ (มัธยมปลาย) 0
2. ข้อสอบ o net - วิทยาศาสตร์ (มัธยมปลาย) 02. ข้อสอบ o net - วิทยาศาสตร์ (มัธยมปลาย) 0
2. ข้อสอบ o net - วิทยาศาสตร์ (มัธยมปลาย) 0
 
แบบฝึกชุดที่ 1
แบบฝึกชุดที่ 1แบบฝึกชุดที่ 1
แบบฝึกชุดที่ 1
 
วิทย์เข้มข้น1 หน่วยที่ 1
วิทย์เข้มข้น1 หน่วยที่ 1วิทย์เข้มข้น1 หน่วยที่ 1
วิทย์เข้มข้น1 หน่วยที่ 1
 
แบบทดสอบ บทที่ 1
แบบทดสอบ บทที่ 1แบบทดสอบ บทที่ 1
แบบทดสอบ บทที่ 1
 
Lessonplanunit2 plantkruwichai62
Lessonplanunit2 plantkruwichai62Lessonplanunit2 plantkruwichai62
Lessonplanunit2 plantkruwichai62
 
Diver plantae
Diver plantaeDiver plantae
Diver plantae
 

Semelhante a Flora improvement

เทคโนโลยีชีวภาพที่ใช้ในการขยายพันธุ์พืช
เทคโนโลยีชีวภาพที่ใช้ในการขยายพันธุ์พืชเทคโนโลยีชีวภาพที่ใช้ในการขยายพันธุ์พืช
เทคโนโลยีชีวภาพที่ใช้ในการขยายพันธุ์พืชdnavaroj
 
โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์0636830815
 
บทที่ 1ปรับปรุง
บทที่ 1ปรับปรุงบทที่ 1ปรับปรุง
บทที่ 1ปรับปรุงkasetpcc
 
เทคโนโลยีชีวภาพกับการขยายพันธุ์สัตว์
เทคโนโลยีชีวภาพกับการขยายพันธุ์สัตว์เทคโนโลยีชีวภาพกับการขยายพันธุ์สัตว์
เทคโนโลยีชีวภาพกับการขยายพันธุ์สัตว์Aobinta In
 
การเจริญเติบโตของพืช
การเจริญเติบโตของพืชการเจริญเติบโตของพืช
การเจริญเติบโตของพืชkookoon11
 
เทคโนโลยีชีวภาพ
เทคโนโลยีชีวภาพเทคโนโลยีชีวภาพ
เทคโนโลยีชีวภาพweerabong
 
Science3 110904045426-phpapp02
Science3 110904045426-phpapp02Science3 110904045426-phpapp02
Science3 110904045426-phpapp02korakate
 
จีเอ็มโอ
จีเอ็มโอจีเอ็มโอ
จีเอ็มโอheronana
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3korakate
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3korakate
 
Landscape maintenance and management2
Landscape maintenance and management2Landscape maintenance and management2
Landscape maintenance and management2Napalai Jaibaneum
 
Postharvest Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม - กันยายน 2553
Postharvest Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม - กันยายน 2553Postharvest Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม - กันยายน 2553
Postharvest Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม - กันยายน 2553Postharvest Technology Innovation Center
 
จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 1
จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 1จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 1
จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 1Kobwit Piriyawat
 

Semelhante a Flora improvement (20)

เทคโนโลยีชีวภาพที่ใช้ในการขยายพันธุ์พืช
เทคโนโลยีชีวภาพที่ใช้ในการขยายพันธุ์พืชเทคโนโลยีชีวภาพที่ใช้ในการขยายพันธุ์พืช
เทคโนโลยีชีวภาพที่ใช้ในการขยายพันธุ์พืช
 
โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์
 
บทที่ 1ปรับปรุง
บทที่ 1ปรับปรุงบทที่ 1ปรับปรุง
บทที่ 1ปรับปรุง
 
เทคโนโลยีชีวภาพกับการขยายพันธุ์สัตว์
เทคโนโลยีชีวภาพกับการขยายพันธุ์สัตว์เทคโนโลยีชีวภาพกับการขยายพันธุ์สัตว์
เทคโนโลยีชีวภาพกับการขยายพันธุ์สัตว์
 
การเจริญเติบโตของพืช
การเจริญเติบโตของพืชการเจริญเติบโตของพืช
การเจริญเติบโตของพืช
 
1ข้อมูลทั่วไป
1ข้อมูลทั่วไป1ข้อมูลทั่วไป
1ข้อมูลทั่วไป
 
เทคโนโลยีชีวภาพ
เทคโนโลยีชีวภาพเทคโนโลยีชีวภาพ
เทคโนโลยีชีวภาพ
 
Science3 110904045426-phpapp02
Science3 110904045426-phpapp02Science3 110904045426-phpapp02
Science3 110904045426-phpapp02
 
จีเอ็มโอ
จีเอ็มโอจีเอ็มโอ
จีเอ็มโอ
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3
 
โครงงานวิทยาศาสตร์
โครงงานวิทยาศาสตร์โครงงานวิทยาศาสตร์
โครงงานวิทยาศาสตร์
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
1
11
1
 
Gmo
GmoGmo
Gmo
 
Gmoต้นฉบับ
Gmoต้นฉบับGmoต้นฉบับ
Gmoต้นฉบับ
 
Landscape maintenance and management2
Landscape maintenance and management2Landscape maintenance and management2
Landscape maintenance and management2
 
Genetic
GeneticGenetic
Genetic
 
Postharvest Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม - กันยายน 2553
Postharvest Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม - กันยายน 2553Postharvest Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม - กันยายน 2553
Postharvest Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม - กันยายน 2553
 
จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 1
จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 1จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 1
จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 1
 

Mais de Miss.Yupawan Triratwitcha

สารสนเทศโรงเรียนกระแชงวิทยา ปีการศึกษา2558
สารสนเทศโรงเรียนกระแชงวิทยา ปีการศึกษา2558สารสนเทศโรงเรียนกระแชงวิทยา ปีการศึกษา2558
สารสนเทศโรงเรียนกระแชงวิทยา ปีการศึกษา2558Miss.Yupawan Triratwitcha
 
สารสนเทศปีการศึกษา2558
สารสนเทศปีการศึกษา2558สารสนเทศปีการศึกษา2558
สารสนเทศปีการศึกษา2558Miss.Yupawan Triratwitcha
 
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)Miss.Yupawan Triratwitcha
 
สรุปประเด็นสำคัญการปฏิรูปการศึกษารอบสอง
สรุปประเด็นสำคัญการปฏิรูปการศึกษารอบสองสรุปประเด็นสำคัญการปฏิรูปการศึกษารอบสอง
สรุปประเด็นสำคัญการปฏิรูปการศึกษารอบสองMiss.Yupawan Triratwitcha
 

Mais de Miss.Yupawan Triratwitcha (20)

หน้าปก
หน้าปกหน้าปก
หน้าปก
 
4 ตอน4 sar57
4 ตอน4 sar574 ตอน4 sar57
4 ตอน4 sar57
 
3 ตอน3 sar57
3 ตอน3 sar573 ตอน3 sar57
3 ตอน3 sar57
 
2 ตอน2 sar57
2 ตอน2 sar572 ตอน2 sar57
2 ตอน2 sar57
 
1 ตอน1 sar57
1 ตอน1 sar571 ตอน1 sar57
1 ตอน1 sar57
 
สารสนเทศโรงเรียนกระแชงวิทยา ปีการศึกษา2558
สารสนเทศโรงเรียนกระแชงวิทยา ปีการศึกษา2558สารสนเทศโรงเรียนกระแชงวิทยา ปีการศึกษา2558
สารสนเทศโรงเรียนกระแชงวิทยา ปีการศึกษา2558
 
สารสนเทศปีการศึกษา2558
สารสนเทศปีการศึกษา2558สารสนเทศปีการศึกษา2558
สารสนเทศปีการศึกษา2558
 
4 ตอน4 sar55
4 ตอน4 sar554 ตอน4 sar55
4 ตอน4 sar55
 
3 ตอน3 sar55
3 ตอน3 sar553 ตอน3 sar55
3 ตอน3 sar55
 
2 ตอน2 sar55
2 ตอน2 sar552 ตอน2 sar55
2 ตอน2 sar55
 
1 ตอน1 sar55
1 ตอน1 sar551 ตอน1 sar55
1 ตอน1 sar55
 
Book pp56legal
Book pp56legalBook pp56legal
Book pp56legal
 
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
 
Interractive simulation
Interractive simulationInterractive simulation
Interractive simulation
 
Teacher
TeacherTeacher
Teacher
 
Twitter
TwitterTwitter
Twitter
 
W 2
W 2W 2
W 2
 
สรุปประเด็นสำคัญการปฏิรูปการศึกษารอบสอง
สรุปประเด็นสำคัญการปฏิรูปการศึกษารอบสองสรุปประเด็นสำคัญการปฏิรูปการศึกษารอบสอง
สรุปประเด็นสำคัญการปฏิรูปการศึกษารอบสอง
 
Phy1 m4 kruyu
Phy1 m4 kruyuPhy1 m4 kruyu
Phy1 m4 kruyu
 
Substance2
Substance2Substance2
Substance2
 

Flora improvement

  • 1. ใบความรูวิชาวิทยาศาสตร หนวยการเรียนรูที่ 1 แผนการสอนที่ 7 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 เรื่อง การขยายพันธุ ปรับปรุงพันธุ และการเพิ่มผลผลิตของพืชโดยใชเทคโนโลยี การขยายพันธุ และการปรับปรุงพันธุพืช  การเพิ่มปริมาณและคุณภาพผลผลิตของพืชใหมากขึ้น โดยการประยุกตใชความรู เกีี่ยวกัับสิิ่งมีีชีวต เพือป โ เ ฉพาะอยางตามที่มนุษยตองการ เรีียกวา เทคโนโลยีชีวภาพ ิ ่ื ประโยชน  ี   โ โ ี โดยใชเทคนิคตาง ๆ ดังนี้ 1.การคัดเลือกพันธุและผสมพันธุ เพือใหไดพชที่มีลักษณะตามตองการ เชน การ ่ ื ผสมละอองเรณุของทุเรียนหมอนทอกับเกสรตัวเมียของทุเรียนพันธุชะนี การผลิตแตงโมไร เมล็ด 2. การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ คือการนําเอาสวนใดสวนหนึงของพืชไมวาเปนอวัยวะ ่  เนื้อเยื่อ เซลล หรือเซลลที่ไมมีผนังที่เรียกวา โพรโทพลาสต มาเลี้ยงอาหารวิทยาศาสตรใน สภาพปลอดเชื้อจุลินทรีย และอยูในภาวะควบคุม อุณหภูมิ แสง ความชื้น สวนของพืชเหลานี้  จะสามารถเจริญเติบโตเกิดเปนตนใหมได 3. พนธุวศวกรรม หมายถง กระบวนการเปลยนแปลงสารพนธุกรรมดวยการตดตอยน 3 พันธวิศวกรรม หมายถึง กระบวนการเปลี่ยนแปลงสารพันธกรรมดวยการตัดตอยีน และเปลี่ยนแปลงยีนในเซลล เพื่อใหไดสงมีชีวิตใหมที่มีสมบัติตามที่ตองการ ซึงสิงมีชวต ิ่  ่ ่ ีิ ดังกลาวมีชื่อเรียกวาสิงมีชีวตตัดแตงพันธุกรรมหรือ จีเอ็มโอ ่ ิ จีเอ็มโอ (GMOs) เปนชื่อของ Genetically Modified Organisms หมายถึง สิงมีชีวตที่ ่ ิ ไดรับการเปลี่ยนแปลงสารพันธุกรรม โดยอาศัยเทคนิคทางพันุกรรม ในบางกรณีมการใชคาวาี ํ แอลเอ็็มโ ( โอ (LMOs) ยอมาจาก Living Modified Organisms ทัั้งจีีเอ็มโอและแอลเอ็มโอมีี ) ็ โ ็ โ ความหมายคลายคลึงกัน แตแอลเอ็มโอมุงเนนความมีชีวตอยูของสิงมีชีวตนั้น ๆ ในขณะที่ ิ ่ ิ จีเอ็มโอรวมไปถึงผลิตภัณฑที่เกิดขึ้นในสภาพที่ไมมีชีวิตดวย เชน อาหารจีเอ็มโอ ผลเสียของจีเอ็มโอ เทคโนโลยทุกอยางทมประโยชนกอาจมโทษไดการพฒนาและการใชไมไดใชความ เทคโนโลยีทกอยางที่มประโยชนก็อาจมีโทษไดการพัฒนาและการใชไมไดใชความ ระมัดระวังเทาที่ควร ขอเสีย คือมีความเสี่ยงและซับซอนในการจัดการ เชน - อันตรายที่เกิดจากการที่พชจีเอ็มโออาจผลิตสารกอภูมแพหรือสารอื่นที่มีสมบัติเปนสารตาน ื ิ การเจริญเติบโตของรางกาย - ความเปนไปไดท่แมลงศัตรูพืชอาจพัฒนาความตานทานตอสารพิษที่สรางโดยพืชจีเอ็มโอ ี
  • 2. ใบความรูวิชาวิทยาศาสตร หนวยการเรียนรูที่ 1 แผนการสอนที่ 7 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 เรื่อง การขยายพันธุ ปรับปรุงพันธุ และการเพิ่มผลผลิตของพืชโดยใชเทคโนโลยี ประโยชนของเทคโนโลยีชีวภาพ ไดแก 1. ดานการเกษตรและอาหาร - การปรับปรุงพันธุพืชใหตานทานโรคและแมลง  ั ั - การพฒนาพนธืืพืชใ มีคุณภาพผลผลตดีี ให ิ - การพัฒนาพันธุพืชใหผลิตสารพิเศษ - การพัฒนาพันธุสัตวมีการพัฒนาพันธุโดยการถายฝากยีนทั้งในปศุสัตวและสัตวน้ํา - การพัฒนาสายพันธุจุลินทรียใหมีคุณลักษณะพิเศษบางอยาง เชน สามารถกําจัดคราบน้ํามัน 2. ดานการแพทยและสาธารณสุข - การตรวจโรคเมืื่อสามารถสังเคราะหช้ินสวนดีเี อ็นโ หรือยีนไดแลวก็สามารถพัฒนาไปใช โ  ็ โอ ื ี ไ   ็ ไปใ ในการตรวจโรคตาง ๆ ได อยางมีประสิทธิภาพ - การพัฒนายารักษาโรคและวัคซีน - การสับเปลี่ยนยีนดอยดวยยีนดี 3. ดานการอนุรักษพลังงานและสิ่งแวดลอม - พันธุกรรมอาจนําไปสูการผลิตพืชที่ใชปุยนอย น้านอย ทําใหเปนการลดการใชปุยเคมี ํ้ เปนการอนุรกษสิ่งแวดลอมและนําไปสูการสรางสมดุลทรัพยากรชีวภาพได ั - ใชจุลินทรียผลิตแอลกอฮอลและแกสชีวภาพ เพื่อใชเปนเชื้อเพลิงทดแทนพลังงานจาก ธรรมชาติ 4. ดานการพัฒนาอุตสาหกรรม เมื่อวัตถุดิบไดรบการปรับเปลี่ยนคุณภาพใหตรงกับความ ั ตองการของอุตสาหกรรม โดยใชพันธุวิศวกรรม อุตสาหกรรมใหม ๆ จะเกิดตามมามากมาย เพราะความกาวหนาของเทคโนโลยีชีวภาพ การเพิ่มผลผลิตของพืช การเพิ่มผลผลิตของพืชจะตองคํานึงถึงปจจัยพืนฐานที่มผลตอการเจริญเติบโตของ ้ ี พืืช ไดแก สภาพของดิน ความชุมชื้น และอุณหภูมิที่เหมาะสม นอกจากนีี้ชนิิของพืช วิิธีการ ไ ิ ื ื ปลูก การอนุรักษดินและน้ํา การปองกันศัตรูพชและกําจัดศัตรูพืช และการใชสารควบคุมการ ื เจริญเติบโตของพืช วิธการเพิ่มผลผลิตของพืชที่สําคัญ มีดังนี้ ี
  • 3. ใบความรูวิชาวิทยาศาสตร หนวยการเรียนรูที่ 1 แผนการสอนที่ 7 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 เรื่อง การขยายพันธุ ปรับปรุงพันธุ และการเพิ่มผลผลิตของพืชโดยใชเทคโนโลยี 1. การรักษาสภาพของดินใหคงสภาพที่ดีอยูเสมอ สามารถทําได 3 วิธี คือ การปลูก พืชหมุนเวียน การปลูกพืชแซม การปลูกพืชตามแนวระดับหรือขั้นบันได 2 การเพิิ่มธาตุอาหารใหแกพืชดวยการใสปุย ธาตุอาหารหลัักทีี่พืชตองการ คืือ 2. ใ    ใ ไนโตรเจน (N) ฟอสฟอรัส (P) โพแทสเซียม (K) นอกจากนี้พืชยังตองการแรธาตุชนิดอื่น ๆ ปุย คือ สารอินทรียหรืออนินทรียที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ หรือทําขึ้นเพือใชเปนธาตุอาหาร ่ ใหแกพืชหรือทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงทางเคมีในดิน เพือบํารุงการเจริญเติบโตของพืช ่ ปุยแบงไดเปน 3 ชนิด ดังนี้ 1. ปุยเคมีหรือปุยอนินทรีย ขอดี คือใหผลเร็ว ใชในปริมาณนอยและสะดวก ขอเสีย ราคา แพง เก็บรักษายาก ปลอมแปลงไดงาย และมักมีสารตกคาง ทําใหดินเสื่อมสภาพได  2. ปุยอินทรียหรือปุยธรรมชาติ เชน ปุยหมัก ปุยคอก ปุยพืชสด ขอดี ราคาถูก ชวยกําจัด ของเสีย และชวยปรับสภาพของดินใหดีขึ้น ขอเสีย ใหแรธาตุตา ไดผลชากวาปุยเคมี ตองใช ่ํ ปริมาณมาก สินเปลืองแรงงานและคาขนสงสูง มีกลิ่น อาจเกิดเชื้อรา ้ 3. ปุยชีวภาพ เปนปุยที่เปนสิ่งมีชีวต โดยเฉพาะแบคทีเรียและสาหรายสีเขียวแกมน้ําเงินที่ ิ สามารถตรึงไนโตรเจนจากอากาศได 3. การปองกันและกําจัดศัตรูพืช - ศัตรูพืช หมายถึงสิงที่คอยเบียดเบียนพืชที่เราผลิต ทําใหผลผลิตลดลงหรือไมมคณภาพ ่ ีุ ได ไ แก วััชพืช โ ืช แมลงศัตรูพืช สััตวศัตรูพืช ื โรคพื ั  - การกําจัดศัตรูพืชโดยใชสารเคมี ตองใชความระมัดระวังเปนพิเศษ เพราะถาใชไมถูกวิธีหรือ ใชมากเกินไป อาจเปนอันตรายตอชีวตและสภาพแวดลอมได ิ - การกําจัดศัตรูพืชโดยชีววิธี เปนการใชสิ่งมีชีวตกําจัดสิงมีชีวตที่เปนศัตรูพืช ซึงไมเปน ิ ่ ิ ่ อันตรายตอมนุษยและสิ่งแวดลอม 4 การใชสารควบตุมการเจริญเติบโตของพืช 4. - สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช เปนเคมีภัณฑการเกษตรอยางหนึ่งเปนสารอินทรียที่ พืชสรางขึ้นหรือมนุษยสังเคราะหขึ้นมาซึงสามารถเรงผลผลิตใหเพิ่มมากขึ้นกวาปกติหรือเรง ่ ใหออกนอกฤดูกาล
  • 4. ใบงานที……..วิชาวิทยาศาสตร ่ หนวยการเรียนรูที่ 1 แผนการสอนที่ 7 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 เรื่อง การขยายพันธุ ปรับปรุงพันธุ และการเพิ่มผลผลิตของพืชโดยใชเทคโนโลยี ผลการเรียนรูที่คาดหวัง 1. สืบคนขอมูลและอธิบายเกี่ยวกับเทคโนโลยีชีวภาพที่ใชในการขยายพันธุ ปรับปรุงพันธุ เพิ่มผลผลิตของพืช ในทองถิ่น 2. สืบคนขอมูล อภิปราย และแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับผลของการใชเทคโนโลยีชีวภาพ ในดานเกษตรกรรม อุตสาหกรรม อาหารและแพทย จุดประสงคการเรียนรู 1. นักเรียนสามารถสรุปเกี่ยวกับการขยายพันธุ การปรับปรุงพันธุ การเพิ่มผลิตของพืชได 2. สามารถอธิบายประโยชนของการใชเทคโนโลยีชีวภาพในดานตาง ๆ ได คําสัง จงเติมคําหรือขอความในชองวางใหถูกตองสมบูรณ ่ 1.การขยายพันธุพืชสามารถทําได คือ………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………….. 2. หลักการสําคัญของการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ คือ……………………………………………….. 3.จงบอกประโยชนของการใชวิธีพันธุกรรมมาปรับปรุงพันธุพืช คือ………………………… ……………………………………………………………………………………………….. 4. การปลูกพืชแซมแตกตางจาการปลูกพืชหมุนเวียนอยางไร……………………………….. ………………………………………………………………………………………………. 5. ธาตุอาหารหลักของพืชทุกชนิดตองการ มีอะไรบาง……………………….……………….. 6. จงยกตัวอยางศัตรูพืชที่เกษตรกรพบในพื้นที่มาอยางละ 3 ชนิด 6.1 สัตวศตรูพืช….……………………………………………………………………………. ั 6.2 แมลงศตรูพช 6 2 แมลงศัตรพืช…...…………………………………………………………………………. 6.3 วัชพืช…...………………………………………………………………………………… 6.4 โรคพืช……………………………………………………………………………………. ชื่อ………………………..นามสกุล………………………………เลขที่ …………..