SlideShare a Scribd company logo
1 of 10
Download to read offline
ห น า | 100


                                     การใชงานอินเทอรเน็ตเบืองตน
                                                             ้


     ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับอินเทอรเน็ต


           อินเทอรเน็ต คือ เครือขายคอมพิวเตอรขนาดใหญที่เชื่อมตอกับเครื่องคอมพิวเตอรทั่วโลกเขาดวยกัน
ผูใชอินเทอรเน็ตสามารถสื่อสารถึงกันได ภายในเวลาอันรวดเร็ว ชวยประหยัดทรัพยากรและที่สาคัญอินเทอรเน็ต
                                                                                              ํ
คือคลังสมองอันยิ่งใหญหรือหองสมุดโลกที่ทุกคนสามารถคนควาหาความรูขอมูล ขาวสารไดโดยไมตองเดินทาง
ไปยังแหลงความรูนั้น
          ความเปนมาของอินเทอรเน็ต
          คอมพิวเตอรแตละระบบสวนใหญจะแยกทํางานกันโดยอิสระมีเพียงระบบคอมพิวเตอรที่ตั้งอยูใกลกน         ั
เทานั้นที่สามารถสื่อสารกันดวยความเร็วต่า จากปญหาและอุปสรรคในการสื่อสารระหวางเครื่องคอมพิวเตอร
                                            ํ
และความตองการในการแลกเปลี่ยนขอมูลขาวสารกัน จึงทําใหเกิดโครงการอารพาเน็ต (ARPANET)
          โครงการอารพาเน็ตอยูในความควบคุมดูแลของอารพา (Advanced Research Projects Agency หรือ
                                 
ARPA) ซึ่งเปนหนวยงานยอย ในสังกัดกระทรวงกลาโหมของสหรัฐอเมริกา อารพาทําหนาที่สนับสนุนงานวิจย               ั
พื้นฐานทั้งทางดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี โดยใหทุนสนับสนุน แกหนวยงานอื่น ๆ เชน มหาวิทยาลัย และ
บริษัทเอกชนที่ทําการวิจยและพัฒนา ในป พ.ศ. 2512 (ค.ศ. 1969)
                           ั
          โครงการอารพาเน็ต ไดริเริ่มขึ้น โดยเชื่อมตอเครื่องคอมพิวเตอรระหวางสถาบัน 4 แหง คือ มหาวิทยาลัย
แคลิฟอรเนีย ลอสแอนเจลิส มหาวิทยาลัยแคลิฟอรเนีย ซานตา บารบารา มหาวิทยาลัยยูทาห และสถาบันวิจย           ั
สแตนฟอรด ซึ่งเครื่องคอมพิวเตอรจากสถาบันทั้ง 4 แหงนี้เปนเครื่องคอมพิวเตอร ตางชนิดกันและใช
ระบบปฏิบัติการ ที่แตกตางกัน
          ตอมาเครือขายอารพาเน็ตไดรับความนิยมอยางมาก มหาวิทยาลัย หนวยงานของรัฐและเอกชนตาง ๆ ใน
สหรัฐอเมริกาไดเขารวมเชื่อมตอกับเครือขายนี้เพื่อประโยชนในการศึกษาและวิจย ในประเทศไทยไดตดตอกับ
                                                                                ั                      ิ
อินเทอรเน็ตในลักษณะของการใชบริการไปรษณียอิเล็กทรอนิกส โดยในป พ.ศ. 2530 มหาวิทยาลัย สงขลา
                                                    
นครินทร วิทยาเขตหาดใหญ และสถาบันเทคโนโลยีแหงเอเชียไดติดตอขอใชบริการจดหมายอิเล็กทรอนิกส โดย
ความรวมมือระหวางไทย และออสเตรเลียซึ่งการเชื่อมโยงในขณะนั้นจะใชสายโทรศัพท



                      เอกสารประกอบการอบรมการพัฒนาศักยภาพครูในการใชสื่อเทคโนโลยีเพื่อยกระดับการเรียนการสอน
                                                      สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบูรณ เขต ๒
ห น า | 101

          ตอมาในป พ.ศ. 2535 จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยไดจัดตั้งเครือขายเพื่อเชือมโยงเขากับเครือขายยูยูเน็ต
                                                                              ่
(UUNET) ของบริษัทยูยเู น็ตเทคโนโลยี จํากัด (UUNET Technologies Co.,Ltd.) ซึ่งตั้งอยูที่รัฐเวอรจเิ นีย ประเทศ
สหรัฐอเมริกาและในปเดียวกันนี้ สถาบันการศึกษาหลายแหง เชนสถาบัน เทคโนโลยีแหงเอเชีย มหาวิทยาลัย
มหิดลบ มหาวิทยาลัยเชียงใหม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลา เจาคุณทหารลาดกระบัง และ
มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ ไดขอเชื่อมตอเขากับเครือขายจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย เรียกเครือขายนี้วา เครือขายไทย
เน็ต (THAINET) ซึ่งในปจจุบันเครือขายไทยเน็ต ประกอบดวยสถาบันการศึกษา 4 สถาบัน คือ สํานักวิทยาการ
จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย สถาบันเทคโนโลยีแหงเอเชีย มหาวิทยาลัยเชียงใหม และมหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ
          ในปเดียวศูนยเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกสและคอมพิวเตอรแหงชาติ (National Electronics and Computer
Technology Center หรือ NECTEC) ไดจัดตั้งเครือขายไทยสารซึ่งตอมาไดตอกับเครือขายของยูยเู น็ต และใน
ปจจุบันไทยสารไดเชื่อมโยงกับสถาบันตาง ๆการเชื่อมตอเขาระบบอินเทอรเน็ตการเชื่อมตอเพื่อใชระบบ
อินเทอรเน็ตโดยทัวไปแลวหนวยงานของรัฐและสถาบันการศึกษาทังของรัฐและเอกชนจะใหบริการแกผูใช ผูใช
                    ่                                             ้
ยังสามารถเชื่อมตอระบบอินเทอรเน็ต โดยใชบริการขององคกรที่เรียกวาผูใชบริการอินเทอรเน็ต Internet service
provider (ISP) ซึ่งปจจุบันในประเทศไทยมีจํานวน 18 ราย (ขอมูลปจจุบันศึกษาไดจาก
http://ntl.nectec.or.th/internet/index/html)

            เวิลดไวดเว็บ (World wide web หรือ www)
            ผูใชสามารถเชื่อมโยงเอกสารหนึ่งไปยังอีกเอกสารหนึ่งที่อยูใน คอมพิวเตอรเครื่องเดียวกันหรือตาง
เครื่องกันที่อยูคนละประเทศไดอยางรวดเร็ว เครือขายของเอกสารเหลานี้ประกอบกับเทคโนโลยีที่เกี่ยวของ ใน
                   
การนําเสนอขอมูลนี้บนอินเทอรเน็ตรูจักโดยทัวไปวา World Wide Web (www) หรือ W3 หรือ Web และเครื่อง
                                                ่
คอมพิวเตอรทใหบริการเว็บเพจเรียกวาเว็บไซต (Web Site)
                     ี่
            เว็บเพจ (Web Pages) คือ เอกสารที่เปนไฮเปอรเท็กส หรือไฮเปอรมีเดียซึ่งไฮเปอรมีเดียเปนสื่อประสม
ตาง ๆ ที่ใชในการเชื่อมโยงขอมูล อาจอยูในรูปของขอความ ภาพกราฟฟก ภาพเคลื่อนไหว หรือเสียง
            การสรางเว็บเพจสามารถใชภาษา Hypertext Markup Language หรือ HTML ซึ่งประกอบดวยชุดของ
คําสั่งที่เรียกวาแท็ก หรือมารกอัป




                      เอกสารประกอบการอบรมการพัฒนาศักยภาพครูในการใชสื่อเทคโนโลยีเพื่อยกระดับการเรียนการสอน
                                                      สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบูรณ เขต ๒
ห น า | 102

   Web Browser

                Web Browser หรือมักนิยมเรียกกันวา Browser คือโปรแกรมที่ใชสําหรับเปนประตูเปดเขาสู
โลก WWW (World Wide Web) หรือพูดกันอยางงายก็คือโปรแกรมที่ใชสําหรับเลนอินเทอรเน็ต ที่เรานิยมใช
กันอยูทกวันนีโดยเว็บเบราวเซอร  (Web Browser) จะเขาใจในภาษา HTML นี้คือเหตุผลวาทําไมตองใชภาษา
        ุ     ้
HTML ในการสรางเว็บเพจ เพราะโปรแกรมเว็บเบราวเซอรนั่นสามารถเขาใจ และสามารถทํางานตามคําสั่งของ
ภาษา HTMLได
                โปรแกรมเว็บเบราวเซอรที่นิยมใช ในปจจุบัน มีหลายโปรแกรม เชน โปรแกรม Firefox ,
โปรแกรม Internet Explorer หรือโปรแกรม Netscape Comunicator แตสวนมากนิยมใช โปรแกรม Internet
Explorer หรือเรียกยอ ๆ วา IE เพราะเปนโปรแกรมที่มีมาพรอมกับการติดตั้งระบบปฏิบัติการวินโดวสอยูแลว
                                                                                                 
ไม ตองไปหาโปรแกรมเพิ่มเติม

             โปรแกรม Internet Explorer เรียกยอๆ วา IE เปนโปรแกรมเบราเซอรที่ใชในการเปดเว็บเพจใน

   อินเทอรเน็ต ซึ่งเปน Application Software ที่ผลิตโดยบริษัท Microsoft สวนประกอบที่สําคัญของโปรแกรม

   Internet Explorer มีดังนี้




                       เอกสารประกอบการอบรมการพัฒนาศักยภาพครูในการใชสื่อเทคโนโลยีเพื่อยกระดับการเรียนการสอน
                                                       สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบูรณ เขต ๒
ห น า | 103

        แถบชื่อ (Title Bar) แสดงชื่อเว็บไซตที่โปรแกรมกําลังเปดอยู
       เมนู (Menu Bar) เปนที่รวบรวมคําสั่งการใชงานของ Internet Explorer ทั้งหมด
       แถบเครื่องมือ (Toolbar) เปนแถบที่แสดงคําสั่งพื้นฐานทั่วไป
       แถบเครื่องมือแอดเดรส (Address toolbar) ใชเปนแถบที่มีชองเพื่อรับการกรอกแอดเดรสของเว็บเพจที่
       จะเปด
       สัญลักษณเคลื่อนไหว ใชแสดงวาขณะนีกําลังโหลดเว็บเพจอยู (ภาพเคลื่อนไหว) หรือวาโหลดสมบูรณ
                                               ้
       (ภาพนิ่ง) และที่มุมลางดานซาย จะปรากฏคําวา Done
       แถบสถานะ (Status bar) ใชแสดงขอมูลตางๆ เชนความคืบหนาในการโหลดเว็บเพจแอดเดรสของลิงคที่
       เราเลื่อนเมาสไปชี้ และความปลอดภัยของเว็บไซตนี้เปนตน

       ชอง Address

       เปนชองสําหรับพิมพ URL ซึ่งเปนตําแหนงที่อยูในเอกสารเว็บที่ปรากฏในรูปแบบ
       <protocol>://<domain name> ตัวอยางเชน http://www.kku.ac.th

Search Engine
    เสิรชเอนจิน (search engine) คือ โปรแกรมที่ชวยในการสืบคนหาขอมูล โดยเฉพาะขอมูลบนอินเทอรเน็ต
        
 โดยครอบคลุมทั้งขอความ รูปภาพ ภาพเคลื่อนไหว เพลง ซอฟตแวร แผนที่ ขอมูลบุคคล กลุมขาว และอืน ๆ ซึ่ง
                                                                                              ่
ตกตางกันไปแลวแตโปรแกรมหรือผูใหบริการแตละราย. เสิรชเอนจินสวนใหญจะคนหาขอมูลจากคําสําคัญ

(คียเวิรด) ทีผูใชปอนเขาไป จากนั้นก็จะแสดงรายการผลลัพธที่มันคิดวาผูใชนาจะตองการขึ้นมา ในปจจุบน
               ่                                                                                         ั

เสิรชเอนจินบางตัว เชน กูเกิล จะบันทึกประวัตการคนหาและการเลือกผลลัพธของผูใชไวดวย และจะนําประวัติ
                                             ิ                                      

ที่บันทึกไวนั้น มาชวยกรองผลลัพธในการคนหาครั้งตอ ๆ ไป สัดสวนของผูใชในสหรัฐอเมริกา

       1. กูเกิล (Google) 36.9%
       2. ยาฮูเสิรช (Yahoo! Search) 30.4%
                  
       3. เอ็มเอสเอ็นเสิรช (MSN Search) 15.7%
                         




                      เอกสารประกอบการอบรมการพัฒนาศักยภาพครูในการใชสื่อเทคโนโลยีเพื่อยกระดับการเรียนการสอน
                                                      สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบูรณ เขต ๒
ห น า | 104

      E-Mail (Electronic Mail)


       E-Mail (Electronic Mail)

       จดหมายอิเลคทรอนิกส คืออะไร

         คือจดหมายอิเลคทรอนิกส ที่ใชรับสงกันโดยผานเครือขายคอมพิวเตอรบางแหงใชเฉพาะภายใน บางแหง
ใชเฉพาะภายนอกองคกร (สําหรับเครือขายคอมพิวเตอรที่มีขนาดใหญที่สุดในโลกคือ internet) การใชงานก็
เหมือนกับเราพิมพขอความในโปรแกรม word จากนันก็คลิกคําสั่ง เพื่อสงออกไป โดยจะมีช่อของผูรับ ซึ่งเรา
                                                 ้                                   ื
เรียกวา Email Address เปนหลักในการรับสง

       รูปแบบชื่อ Email Address yourname@it-guides.com
       1. yourname คือ ชื่อของคุณ สามารถตั้งเปนชื่ออะไรก็ได
       2. เครื่องหมาย "@" สําหรับกั้นระหวาง ชือ กับ ชื่อเวปไซท หรือ domain name
                                               ่
       3. it-guides.com คือ ชื่อเวปไซท หรือ domain name

       ชนิดของการรับสง E-mail
       1. รับสงโดยใชโปรแกรม Email โดยเฉพาะ เชน Outlook Express, Eudora
       2. รับสงโดยผาน Web site เชน www.yahoo.com, www.hotmail.com
       3. รับสงโดยผาน Web Browser เชน Netscape, IE เปนตน

       Web site ที่ใหบริการ Email ฟรี ไดแก
       1. www.yahoo.com
       2. www.hotmail.com
       3. www.thaimail.com
       4. www.mweb.co.th
       5. www.gmail.com




                     เอกสารประกอบการอบรมการพัฒนาศักยภาพครูในการใชสื่อเทคโนโลยีเพื่อยกระดับการเรียนการสอน
                                                     สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบูรณ เขต ๒
ห น า | 105

         ขั้นตอนการสมัครใช g - mail

1. ดับเบิ้ลคลิกที่ไอคอน          บนหนาจอคอมพิวเตอร
2. พิมพช่อเว็บ www.gmail.com ลงในชอง Address แลวกดปุม Enter บนคียบอรด ดังภาพ
           ื




                เอกสารประกอบการอบรมการพัฒนาศักยภาพครูในการใชสื่อเทคโนโลยีเพื่อยกระดับการเรียนการสอน
                                                สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบูรณ เขต ๒
ห น า | 106
3. เสร็จแลวจะเขาสูหนาเว็บ Gmail คลิกที่ปุม               ดังภาพ




                   เอกสารประกอบการอบรมการพัฒนาศักยภาพครูในการใชสื่อเทคโนโลยีเพื่อยกระดับการเรียนการสอน
                                                   สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบูรณ เขต ๒
ห น า | 107
4. หลังจากนันจะเขาสูหนาใหกรอกขอมูล ดังภาพ
            ้




                 เอกสารประกอบการอบรมการพัฒนาศักยภาพครูในการใชสื่อเทคโนโลยีเพื่อยกระดับการเรียนการสอน
                                                 สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบูรณ เขต ๒
ห น า | 108
5. เสร็จแลวก็จะเขาสูหนาหลัก และเมื่อเราจะสงเมลใหคนอื่น ใหคลิกที่ปุม เขียนขอความ ดังภาพ




6. ก็จะเขาสูหนาใหเรากรอกขอมูล ถึง…
             
   หัวเรื่อง…
   แนบไฟล…
                     เมื่อกรอกขอมูลทุกอยางครบแลวใหคลิกทีปุม สง ดังภาพ
                                                            ่




                  เอกสารประกอบการอบรมการพัฒนาศักยภาพครูในการใชสื่อเทคโนโลยีเพื่อยกระดับการเรียนการสอน
                                                  สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบูรณ เขต ๒
ห น า | 109
7. เสร็จแลวก็จะกลับมาสูหนาหลัก และจะมีขอความขึนมาบอก ขอความของคุณถูกสงแลว ดังภาพ
                                                  ้




         การดาวนโหลด (Download) หมายถึง การดึงขอมูลจากคอมพิวเตอรอีกเครื่องหนึ่งซึ่งเปนตนทาง
         มาเก็บไวยังเครื่องของเรา โดยผานเครือขายคอมพิวเตอร
         การอัพโหลด (Upload) หมายถึง การนําขอมูลจากเครื่องคอมพิวเตอรทใชอยูไปเก็บไวยังเครื่อง
                                                                          ี่
         คอมพิวเตอรอกเครื่องที่ปลายทาง โดยผานเครือขายคอมพิวเตอรเรียกไดวาตรงกันขามกับดาวน
                       ี                                                     
         โหลด




                เอกสารประกอบการอบรมการพัฒนาศักยภาพครูในการใชสื่อเทคโนโลยีเพื่อยกระดับการเรียนการสอน
                                                สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบูรณ เขต ๒

More Related Content

What's hot

การติดต่อสื่อสาร
การติดต่อสื่อสารการติดต่อสื่อสาร
การติดต่อสื่อสารJha Jah
 
การติดต่อสื่อสารทางอินเทอร์เน_ต
การติดต่อสื่อสารทางอินเทอร์เน_ตการติดต่อสื่อสารทางอินเทอร์เน_ต
การติดต่อสื่อสารทางอินเทอร์เน_ตJha Jah
 
ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์
ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์
ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 อินเทอร์เน็ต(แก้ไขแล้ว)
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4  อินเทอร์เน็ต(แก้ไขแล้ว)หน่วยการเรียนรู้ที่ 4  อินเทอร์เน็ต(แก้ไขแล้ว)
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 อินเทอร์เน็ต(แก้ไขแล้ว)Prapatsorn Keawnoun
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 อินเทอร์เน็ต
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4  อินเทอร์เน็ตหน่วยการเรียนรู้ที่ 4  อินเทอร์เน็ต
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 อินเทอร์เน็ตPapichaya Chengtong
 
การบริหารจัดการข้อมูลข่าวสารเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน
การบริหารจัดการข้อมูลข่าวสารเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานการบริหารจัดการข้อมูลข่าวสารเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน
การบริหารจัดการข้อมูลข่าวสารเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานSatapon Yosakonkun
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องKittichai Pinlert
 
07 หน่วยที่ 07 แผนที่ 26 34
07 หน่วยที่ 07 แผนที่ 26 3407 หน่วยที่ 07 แผนที่ 26 34
07 หน่วยที่ 07 แผนที่ 26 34krunuy5
 
อินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตอินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตdlled
 
New Technology for Information Services
New Technology for Information ServicesNew Technology for Information Services
New Technology for Information ServicesBoonlert Aroonpiboon
 
อินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตอินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตsawalee kongyuen
 
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5kruwaeo
 
แผนการสอน ระบบเครือข่าย ม.3
แผนการสอน ระบบเครือข่าย ม.3แผนการสอน ระบบเครือข่าย ม.3
แผนการสอน ระบบเครือข่าย ม.3พงศธร ภักดี
 

What's hot (20)

การติดต่อสื่อสาร
การติดต่อสื่อสารการติดต่อสื่อสาร
การติดต่อสื่อสาร
 
การติดต่อสื่อสารทางอินเทอร์เน_ต
การติดต่อสื่อสารทางอินเทอร์เน_ตการติดต่อสื่อสารทางอินเทอร์เน_ต
การติดต่อสื่อสารทางอินเทอร์เน_ต
 
ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์
ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์
ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 อินเทอร์เน็ต(แก้ไขแล้ว)
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4  อินเทอร์เน็ต(แก้ไขแล้ว)หน่วยการเรียนรู้ที่ 4  อินเทอร์เน็ต(แก้ไขแล้ว)
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 อินเทอร์เน็ต(แก้ไขแล้ว)
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 อินเทอร์เน็ต
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4  อินเทอร์เน็ตหน่วยการเรียนรู้ที่ 4  อินเทอร์เน็ต
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 อินเทอร์เน็ต
 
Internet
InternetInternet
Internet
 
การบริหารจัดการข้อมูลข่าวสารเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน
การบริหารจัดการข้อมูลข่าวสารเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานการบริหารจัดการข้อมูลข่าวสารเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน
การบริหารจัดการข้อมูลข่าวสารเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน
 
07
0707
07
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
07 หน่วยที่ 07 แผนที่ 26 34
07 หน่วยที่ 07 แผนที่ 26 3407 หน่วยที่ 07 แผนที่ 26 34
07 หน่วยที่ 07 แผนที่ 26 34
 
อินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตอินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ต
 
New Technology for Information Services
New Technology for Information ServicesNew Technology for Information Services
New Technology for Information Services
 
20190409 social-media-backup
20190409 social-media-backup20190409 social-media-backup
20190409 social-media-backup
 
07
0707
07
 
07
0707
07
 
07
0707
07
 
อินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตอินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ต
 
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
 
แผนการสอน ระบบเครือข่าย ม.3
แผนการสอน ระบบเครือข่าย ม.3แผนการสอน ระบบเครือข่าย ม.3
แผนการสอน ระบบเครือข่าย ม.3
 

Similar to Internet เบื้องต้น

อินเทอร์เน็ตเพื่องานเลขานุการ
อินเทอร์เน็ตเพื่องานเลขานุการอินเทอร์เน็ตเพื่องานเลขานุการ
อินเทอร์เน็ตเพื่องานเลขานุการPrapaporn Boonplord
 
หน่วยที่ 1 การทำงานกับระบบเว็บ
หน่วยที่ 1 การทำงานกับระบบเว็บหน่วยที่ 1 การทำงานกับระบบเว็บ
หน่วยที่ 1 การทำงานกับระบบเว็บtanongsak
 
งานคอมเกด
งานคอมเกดงานคอมเกด
งานคอมเกดG'ad Smile
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องChalita Vitamilkz
 
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ตความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ตเขมิกา กุลาศรี
 
อินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตอินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตSarocha Makranit
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ตความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ตSutin Yotyavilai
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ Day1 บ่าย
เทคโนโลยีสารสนเทศ  Day1 บ่ายเทคโนโลยีสารสนเทศ  Day1 บ่าย
เทคโนโลยีสารสนเทศ Day1 บ่ายJenchoke Tachagomain
 
งานนำเสนอ อินทรอเน็ต
งานนำเสนอ อินทรอเน็ตงานนำเสนอ อินทรอเน็ต
งานนำเสนอ อินทรอเน็ตYongyut Nintakan
 
อินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตอินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตsaranya40
 
Internet1
Internet1Internet1
Internet1mod2may
 
ระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการ0804000803
 
บทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
บทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งานบทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
บทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งานPiyanoot Ch
 

Similar to Internet เบื้องต้น (20)

อินเทอร์เน็ตเพื่องานเลขานุการ
อินเทอร์เน็ตเพื่องานเลขานุการอินเทอร์เน็ตเพื่องานเลขานุการ
อินเทอร์เน็ตเพื่องานเลขานุการ
 
้html
้html้html
้html
 
หน่วยที่ 1 การทำงานกับระบบเว็บ
หน่วยที่ 1 การทำงานกับระบบเว็บหน่วยที่ 1 การทำงานกับระบบเว็บ
หน่วยที่ 1 การทำงานกับระบบเว็บ
 
Unit1new
Unit1newUnit1new
Unit1new
 
Unit1new (1)
Unit1new (1)Unit1new (1)
Unit1new (1)
 
งานคอมเกด
งานคอมเกดงานคอมเกด
งานคอมเกด
 
Lernning 09
Lernning 09Lernning 09
Lernning 09
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
Communication Concept
Communication ConceptCommunication Concept
Communication Concept
 
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ตความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต
 
อินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตอินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ต
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ตความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ต
 
งานธิดารัตน์
งานธิดารัตน์งานธิดารัตน์
งานธิดารัตน์
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ Day1 บ่าย
เทคโนโลยีสารสนเทศ  Day1 บ่ายเทคโนโลยีสารสนเทศ  Day1 บ่าย
เทคโนโลยีสารสนเทศ Day1 บ่าย
 
งานนำเสนอ อินทรอเน็ต
งานนำเสนอ อินทรอเน็ตงานนำเสนอ อินทรอเน็ต
งานนำเสนอ อินทรอเน็ต
 
อินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตอินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ต
 
Internet1
Internet1Internet1
Internet1
 
ระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการ
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
บทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
บทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งานบทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
บทที่3เรื่องอินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
 

More from ครูสุวีร์ดา ริจนา

ยินดีต้อนรับ คณะกรรมการ นิเทศ ติดตาม
ยินดีต้อนรับ คณะกรรมการ นิเทศ ติดตามยินดีต้อนรับ คณะกรรมการ นิเทศ ติดตาม
ยินดีต้อนรับ คณะกรรมการ นิเทศ ติดตามครูสุวีร์ดา ริจนา
 
หนังสือคู่มือมัคนายกน้อย ... ครูชิตชัย อุ่นอกพันธ์
หนังสือคู่มือมัคนายกน้อย ... ครูชิตชัย อุ่นอกพันธ์หนังสือคู่มือมัคนายกน้อย ... ครูชิตชัย อุ่นอกพันธ์
หนังสือคู่มือมัคนายกน้อย ... ครูชิตชัย อุ่นอกพันธ์ครูสุวีร์ดา ริจนา
 

More from ครูสุวีร์ดา ริจนา (20)

รู้เท่าทันสื่อสังคมออนไลน์
รู้เท่าทันสื่อสังคมออนไลน์รู้เท่าทันสื่อสังคมออนไลน์
รู้เท่าทันสื่อสังคมออนไลน์
 
บทคัดย่อ บุษยา พรหมศร
บทคัดย่อ บุษยา พรหมศรบทคัดย่อ บุษยา พรหมศร
บทคัดย่อ บุษยา พรหมศร
 
ยินดีต้อนรับ คณะกรรมการ นิเทศ ติดตาม
ยินดีต้อนรับ คณะกรรมการ นิเทศ ติดตามยินดีต้อนรับ คณะกรรมการ นิเทศ ติดตาม
ยินดีต้อนรับ คณะกรรมการ นิเทศ ติดตาม
 
แผ่นพับ สรภัญญะ
แผ่นพับ สรภัญญะ แผ่นพับ สรภัญญะ
แผ่นพับ สรภัญญะ
 
แผ่นพับ มัคนายก 2
แผ่นพับ มัคนายก 2แผ่นพับ มัคนายก 2
แผ่นพับ มัคนายก 2
 
แผ่นพับ มัคนายก 1
แผ่นพับ มัคนายก 1แผ่นพับ มัคนายก 1
แผ่นพับ มัคนายก 1
 
หนังสือคู่มือมัคนายกน้อย ... ครูชิตชัย อุ่นอกพันธ์
หนังสือคู่มือมัคนายกน้อย ... ครูชิตชัย อุ่นอกพันธ์หนังสือคู่มือมัคนายกน้อย ... ครูชิตชัย อุ่นอกพันธ์
หนังสือคู่มือมัคนายกน้อย ... ครูชิตชัย อุ่นอกพันธ์
 
เฉลยข้อสอบGAT_PAT_2554
เฉลยข้อสอบGAT_PAT_2554เฉลยข้อสอบGAT_PAT_2554
เฉลยข้อสอบGAT_PAT_2554
 
บทที่ 4 เริ่มต้นสร้างเว็บไซต์
บทที่ 4 เริ่มต้นสร้างเว็บไซต์บทที่ 4 เริ่มต้นสร้างเว็บไซต์
บทที่ 4 เริ่มต้นสร้างเว็บไซต์
 
บทที่ 3 เริ่มใช้งานโปรแกรม
บทที่ 3 เริ่มใช้งานโปรแกรมบทที่ 3 เริ่มใช้งานโปรแกรม
บทที่ 3 เริ่มใช้งานโปรแกรม
 
บทที่ 2 การติดตั้งโปรแกรม dreamweaver mx
บทที่ 2 การติดตั้งโปรแกรม dreamweaver mxบทที่ 2 การติดตั้งโปรแกรม dreamweaver mx
บทที่ 2 การติดตั้งโปรแกรม dreamweaver mx
 
คู่มือ Google docs
คู่มือ Google docsคู่มือ Google docs
คู่มือ Google docs
 
คู่มือ Twitter
คู่มือ Twitterคู่มือ Twitter
คู่มือ Twitter
 
คู่มือการใช้ Picasa
คู่มือการใช้ Picasaคู่มือการใช้ Picasa
คู่มือการใช้ Picasa
 
การใช้ Wordpress
การใช้ Wordpressการใช้ Wordpress
การใช้ Wordpress
 
การใช้ Youtube
การใช้ Youtubeการใช้ Youtube
การใช้ Youtube
 
1_พื้นฐานการสร้างเว็บ
1_พื้นฐานการสร้างเว็บ1_พื้นฐานการสร้างเว็บ
1_พื้นฐานการสร้างเว็บ
 
Photoscape
PhotoscapePhotoscape
Photoscape
 
Facebook
FacebookFacebook
Facebook
 
Computerbasic
ComputerbasicComputerbasic
Computerbasic
 

Internet เบื้องต้น

  • 1. ห น า | 100 การใชงานอินเทอรเน็ตเบืองตน ้ ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับอินเทอรเน็ต อินเทอรเน็ต คือ เครือขายคอมพิวเตอรขนาดใหญที่เชื่อมตอกับเครื่องคอมพิวเตอรทั่วโลกเขาดวยกัน ผูใชอินเทอรเน็ตสามารถสื่อสารถึงกันได ภายในเวลาอันรวดเร็ว ชวยประหยัดทรัพยากรและที่สาคัญอินเทอรเน็ต ํ คือคลังสมองอันยิ่งใหญหรือหองสมุดโลกที่ทุกคนสามารถคนควาหาความรูขอมูล ขาวสารไดโดยไมตองเดินทาง ไปยังแหลงความรูนั้น ความเปนมาของอินเทอรเน็ต คอมพิวเตอรแตละระบบสวนใหญจะแยกทํางานกันโดยอิสระมีเพียงระบบคอมพิวเตอรที่ตั้งอยูใกลกน ั เทานั้นที่สามารถสื่อสารกันดวยความเร็วต่า จากปญหาและอุปสรรคในการสื่อสารระหวางเครื่องคอมพิวเตอร ํ และความตองการในการแลกเปลี่ยนขอมูลขาวสารกัน จึงทําใหเกิดโครงการอารพาเน็ต (ARPANET) โครงการอารพาเน็ตอยูในความควบคุมดูแลของอารพา (Advanced Research Projects Agency หรือ  ARPA) ซึ่งเปนหนวยงานยอย ในสังกัดกระทรวงกลาโหมของสหรัฐอเมริกา อารพาทําหนาที่สนับสนุนงานวิจย ั พื้นฐานทั้งทางดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี โดยใหทุนสนับสนุน แกหนวยงานอื่น ๆ เชน มหาวิทยาลัย และ บริษัทเอกชนที่ทําการวิจยและพัฒนา ในป พ.ศ. 2512 (ค.ศ. 1969) ั โครงการอารพาเน็ต ไดริเริ่มขึ้น โดยเชื่อมตอเครื่องคอมพิวเตอรระหวางสถาบัน 4 แหง คือ มหาวิทยาลัย แคลิฟอรเนีย ลอสแอนเจลิส มหาวิทยาลัยแคลิฟอรเนีย ซานตา บารบารา มหาวิทยาลัยยูทาห และสถาบันวิจย ั สแตนฟอรด ซึ่งเครื่องคอมพิวเตอรจากสถาบันทั้ง 4 แหงนี้เปนเครื่องคอมพิวเตอร ตางชนิดกันและใช ระบบปฏิบัติการ ที่แตกตางกัน ตอมาเครือขายอารพาเน็ตไดรับความนิยมอยางมาก มหาวิทยาลัย หนวยงานของรัฐและเอกชนตาง ๆ ใน สหรัฐอเมริกาไดเขารวมเชื่อมตอกับเครือขายนี้เพื่อประโยชนในการศึกษาและวิจย ในประเทศไทยไดตดตอกับ ั ิ อินเทอรเน็ตในลักษณะของการใชบริการไปรษณียอิเล็กทรอนิกส โดยในป พ.ศ. 2530 มหาวิทยาลัย สงขลา  นครินทร วิทยาเขตหาดใหญ และสถาบันเทคโนโลยีแหงเอเชียไดติดตอขอใชบริการจดหมายอิเล็กทรอนิกส โดย ความรวมมือระหวางไทย และออสเตรเลียซึ่งการเชื่อมโยงในขณะนั้นจะใชสายโทรศัพท เอกสารประกอบการอบรมการพัฒนาศักยภาพครูในการใชสื่อเทคโนโลยีเพื่อยกระดับการเรียนการสอน สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบูรณ เขต ๒
  • 2. ห น า | 101 ตอมาในป พ.ศ. 2535 จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยไดจัดตั้งเครือขายเพื่อเชือมโยงเขากับเครือขายยูยูเน็ต ่ (UUNET) ของบริษัทยูยเู น็ตเทคโนโลยี จํากัด (UUNET Technologies Co.,Ltd.) ซึ่งตั้งอยูที่รัฐเวอรจเิ นีย ประเทศ สหรัฐอเมริกาและในปเดียวกันนี้ สถาบันการศึกษาหลายแหง เชนสถาบัน เทคโนโลยีแหงเอเชีย มหาวิทยาลัย มหิดลบ มหาวิทยาลัยเชียงใหม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลา เจาคุณทหารลาดกระบัง และ มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ ไดขอเชื่อมตอเขากับเครือขายจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย เรียกเครือขายนี้วา เครือขายไทย เน็ต (THAINET) ซึ่งในปจจุบันเครือขายไทยเน็ต ประกอบดวยสถาบันการศึกษา 4 สถาบัน คือ สํานักวิทยาการ จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย สถาบันเทคโนโลยีแหงเอเชีย มหาวิทยาลัยเชียงใหม และมหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ ในปเดียวศูนยเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกสและคอมพิวเตอรแหงชาติ (National Electronics and Computer Technology Center หรือ NECTEC) ไดจัดตั้งเครือขายไทยสารซึ่งตอมาไดตอกับเครือขายของยูยเู น็ต และใน ปจจุบันไทยสารไดเชื่อมโยงกับสถาบันตาง ๆการเชื่อมตอเขาระบบอินเทอรเน็ตการเชื่อมตอเพื่อใชระบบ อินเทอรเน็ตโดยทัวไปแลวหนวยงานของรัฐและสถาบันการศึกษาทังของรัฐและเอกชนจะใหบริการแกผูใช ผูใช ่ ้ ยังสามารถเชื่อมตอระบบอินเทอรเน็ต โดยใชบริการขององคกรที่เรียกวาผูใชบริการอินเทอรเน็ต Internet service provider (ISP) ซึ่งปจจุบันในประเทศไทยมีจํานวน 18 ราย (ขอมูลปจจุบันศึกษาไดจาก http://ntl.nectec.or.th/internet/index/html) เวิลดไวดเว็บ (World wide web หรือ www) ผูใชสามารถเชื่อมโยงเอกสารหนึ่งไปยังอีกเอกสารหนึ่งที่อยูใน คอมพิวเตอรเครื่องเดียวกันหรือตาง เครื่องกันที่อยูคนละประเทศไดอยางรวดเร็ว เครือขายของเอกสารเหลานี้ประกอบกับเทคโนโลยีที่เกี่ยวของ ใน  การนําเสนอขอมูลนี้บนอินเทอรเน็ตรูจักโดยทัวไปวา World Wide Web (www) หรือ W3 หรือ Web และเครื่อง ่ คอมพิวเตอรทใหบริการเว็บเพจเรียกวาเว็บไซต (Web Site) ี่ เว็บเพจ (Web Pages) คือ เอกสารที่เปนไฮเปอรเท็กส หรือไฮเปอรมีเดียซึ่งไฮเปอรมีเดียเปนสื่อประสม ตาง ๆ ที่ใชในการเชื่อมโยงขอมูล อาจอยูในรูปของขอความ ภาพกราฟฟก ภาพเคลื่อนไหว หรือเสียง การสรางเว็บเพจสามารถใชภาษา Hypertext Markup Language หรือ HTML ซึ่งประกอบดวยชุดของ คําสั่งที่เรียกวาแท็ก หรือมารกอัป เอกสารประกอบการอบรมการพัฒนาศักยภาพครูในการใชสื่อเทคโนโลยีเพื่อยกระดับการเรียนการสอน สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบูรณ เขต ๒
  • 3. ห น า | 102 Web Browser Web Browser หรือมักนิยมเรียกกันวา Browser คือโปรแกรมที่ใชสําหรับเปนประตูเปดเขาสู โลก WWW (World Wide Web) หรือพูดกันอยางงายก็คือโปรแกรมที่ใชสําหรับเลนอินเทอรเน็ต ที่เรานิยมใช กันอยูทกวันนีโดยเว็บเบราวเซอร  (Web Browser) จะเขาใจในภาษา HTML นี้คือเหตุผลวาทําไมตองใชภาษา ุ ้ HTML ในการสรางเว็บเพจ เพราะโปรแกรมเว็บเบราวเซอรนั่นสามารถเขาใจ และสามารถทํางานตามคําสั่งของ ภาษา HTMLได โปรแกรมเว็บเบราวเซอรที่นิยมใช ในปจจุบัน มีหลายโปรแกรม เชน โปรแกรม Firefox , โปรแกรม Internet Explorer หรือโปรแกรม Netscape Comunicator แตสวนมากนิยมใช โปรแกรม Internet Explorer หรือเรียกยอ ๆ วา IE เพราะเปนโปรแกรมที่มีมาพรอมกับการติดตั้งระบบปฏิบัติการวินโดวสอยูแลว  ไม ตองไปหาโปรแกรมเพิ่มเติม โปรแกรม Internet Explorer เรียกยอๆ วา IE เปนโปรแกรมเบราเซอรที่ใชในการเปดเว็บเพจใน อินเทอรเน็ต ซึ่งเปน Application Software ที่ผลิตโดยบริษัท Microsoft สวนประกอบที่สําคัญของโปรแกรม Internet Explorer มีดังนี้ เอกสารประกอบการอบรมการพัฒนาศักยภาพครูในการใชสื่อเทคโนโลยีเพื่อยกระดับการเรียนการสอน สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบูรณ เขต ๒
  • 4. ห น า | 103 แถบชื่อ (Title Bar) แสดงชื่อเว็บไซตที่โปรแกรมกําลังเปดอยู เมนู (Menu Bar) เปนที่รวบรวมคําสั่งการใชงานของ Internet Explorer ทั้งหมด แถบเครื่องมือ (Toolbar) เปนแถบที่แสดงคําสั่งพื้นฐานทั่วไป แถบเครื่องมือแอดเดรส (Address toolbar) ใชเปนแถบที่มีชองเพื่อรับการกรอกแอดเดรสของเว็บเพจที่ จะเปด สัญลักษณเคลื่อนไหว ใชแสดงวาขณะนีกําลังโหลดเว็บเพจอยู (ภาพเคลื่อนไหว) หรือวาโหลดสมบูรณ ้ (ภาพนิ่ง) และที่มุมลางดานซาย จะปรากฏคําวา Done แถบสถานะ (Status bar) ใชแสดงขอมูลตางๆ เชนความคืบหนาในการโหลดเว็บเพจแอดเดรสของลิงคที่ เราเลื่อนเมาสไปชี้ และความปลอดภัยของเว็บไซตนี้เปนตน ชอง Address เปนชองสําหรับพิมพ URL ซึ่งเปนตําแหนงที่อยูในเอกสารเว็บที่ปรากฏในรูปแบบ <protocol>://<domain name> ตัวอยางเชน http://www.kku.ac.th Search Engine เสิรชเอนจิน (search engine) คือ โปรแกรมที่ชวยในการสืบคนหาขอมูล โดยเฉพาะขอมูลบนอินเทอรเน็ต  โดยครอบคลุมทั้งขอความ รูปภาพ ภาพเคลื่อนไหว เพลง ซอฟตแวร แผนที่ ขอมูลบุคคล กลุมขาว และอืน ๆ ซึ่ง ่ ตกตางกันไปแลวแตโปรแกรมหรือผูใหบริการแตละราย. เสิรชเอนจินสวนใหญจะคนหาขอมูลจากคําสําคัญ (คียเวิรด) ทีผูใชปอนเขาไป จากนั้นก็จะแสดงรายการผลลัพธที่มันคิดวาผูใชนาจะตองการขึ้นมา ในปจจุบน ่ ั เสิรชเอนจินบางตัว เชน กูเกิล จะบันทึกประวัตการคนหาและการเลือกผลลัพธของผูใชไวดวย และจะนําประวัติ ิ  ที่บันทึกไวนั้น มาชวยกรองผลลัพธในการคนหาครั้งตอ ๆ ไป สัดสวนของผูใชในสหรัฐอเมริกา 1. กูเกิล (Google) 36.9% 2. ยาฮูเสิรช (Yahoo! Search) 30.4%  3. เอ็มเอสเอ็นเสิรช (MSN Search) 15.7%  เอกสารประกอบการอบรมการพัฒนาศักยภาพครูในการใชสื่อเทคโนโลยีเพื่อยกระดับการเรียนการสอน สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบูรณ เขต ๒
  • 5. ห น า | 104 E-Mail (Electronic Mail) E-Mail (Electronic Mail) จดหมายอิเลคทรอนิกส คืออะไร คือจดหมายอิเลคทรอนิกส ที่ใชรับสงกันโดยผานเครือขายคอมพิวเตอรบางแหงใชเฉพาะภายใน บางแหง ใชเฉพาะภายนอกองคกร (สําหรับเครือขายคอมพิวเตอรที่มีขนาดใหญที่สุดในโลกคือ internet) การใชงานก็ เหมือนกับเราพิมพขอความในโปรแกรม word จากนันก็คลิกคําสั่ง เพื่อสงออกไป โดยจะมีช่อของผูรับ ซึ่งเรา ้ ื เรียกวา Email Address เปนหลักในการรับสง รูปแบบชื่อ Email Address yourname@it-guides.com 1. yourname คือ ชื่อของคุณ สามารถตั้งเปนชื่ออะไรก็ได 2. เครื่องหมาย "@" สําหรับกั้นระหวาง ชือ กับ ชื่อเวปไซท หรือ domain name ่ 3. it-guides.com คือ ชื่อเวปไซท หรือ domain name ชนิดของการรับสง E-mail 1. รับสงโดยใชโปรแกรม Email โดยเฉพาะ เชน Outlook Express, Eudora 2. รับสงโดยผาน Web site เชน www.yahoo.com, www.hotmail.com 3. รับสงโดยผาน Web Browser เชน Netscape, IE เปนตน Web site ที่ใหบริการ Email ฟรี ไดแก 1. www.yahoo.com 2. www.hotmail.com 3. www.thaimail.com 4. www.mweb.co.th 5. www.gmail.com เอกสารประกอบการอบรมการพัฒนาศักยภาพครูในการใชสื่อเทคโนโลยีเพื่อยกระดับการเรียนการสอน สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบูรณ เขต ๒
  • 6. ห น า | 105 ขั้นตอนการสมัครใช g - mail 1. ดับเบิ้ลคลิกที่ไอคอน บนหนาจอคอมพิวเตอร 2. พิมพช่อเว็บ www.gmail.com ลงในชอง Address แลวกดปุม Enter บนคียบอรด ดังภาพ ื เอกสารประกอบการอบรมการพัฒนาศักยภาพครูในการใชสื่อเทคโนโลยีเพื่อยกระดับการเรียนการสอน สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบูรณ เขต ๒
  • 7. ห น า | 106 3. เสร็จแลวจะเขาสูหนาเว็บ Gmail คลิกที่ปุม ดังภาพ เอกสารประกอบการอบรมการพัฒนาศักยภาพครูในการใชสื่อเทคโนโลยีเพื่อยกระดับการเรียนการสอน สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบูรณ เขต ๒
  • 8. ห น า | 107 4. หลังจากนันจะเขาสูหนาใหกรอกขอมูล ดังภาพ ้ เอกสารประกอบการอบรมการพัฒนาศักยภาพครูในการใชสื่อเทคโนโลยีเพื่อยกระดับการเรียนการสอน สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบูรณ เขต ๒
  • 9. ห น า | 108 5. เสร็จแลวก็จะเขาสูหนาหลัก และเมื่อเราจะสงเมลใหคนอื่น ใหคลิกที่ปุม เขียนขอความ ดังภาพ 6. ก็จะเขาสูหนาใหเรากรอกขอมูล ถึง…  หัวเรื่อง… แนบไฟล… เมื่อกรอกขอมูลทุกอยางครบแลวใหคลิกทีปุม สง ดังภาพ ่ เอกสารประกอบการอบรมการพัฒนาศักยภาพครูในการใชสื่อเทคโนโลยีเพื่อยกระดับการเรียนการสอน สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบูรณ เขต ๒
  • 10. ห น า | 109 7. เสร็จแลวก็จะกลับมาสูหนาหลัก และจะมีขอความขึนมาบอก ขอความของคุณถูกสงแลว ดังภาพ ้ การดาวนโหลด (Download) หมายถึง การดึงขอมูลจากคอมพิวเตอรอีกเครื่องหนึ่งซึ่งเปนตนทาง มาเก็บไวยังเครื่องของเรา โดยผานเครือขายคอมพิวเตอร การอัพโหลด (Upload) หมายถึง การนําขอมูลจากเครื่องคอมพิวเตอรทใชอยูไปเก็บไวยังเครื่อง ี่ คอมพิวเตอรอกเครื่องที่ปลายทาง โดยผานเครือขายคอมพิวเตอรเรียกไดวาตรงกันขามกับดาวน ี  โหลด เอกสารประกอบการอบรมการพัฒนาศักยภาพครูในการใชสื่อเทคโนโลยีเพื่อยกระดับการเรียนการสอน สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบูรณ เขต ๒