แผนโมเมนตัม

K
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7 
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ รายวิชาฟิสิกส์ 
รหัสวิชา ว 30202 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่องหลัก โมเมนตัมและการดล 
เรื่อง แรงและการเปลี่ยนโมเมนตัม 
สาระที่ 4 แรงและการเคลื่อนที่ เวลา 3 ชั่วโมง 
ภาคเรียนที่ 2 
มาตรฐานการเรียนรู้ 
มาตรฐาน ว 4.2 เข้าใจลักษณะการเคลื่อนที่แบบต่างๆของวัตถุใน 
ธรรมชาติ มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่ 
เรียนรู้และนำาความรู้ไปใช้ประโยชน์ 
มาตรฐานการเรียนรู้ช่วงชั้น ม.4-6 ทดลองและอธิบายหลักการของ 
การชนใน 1 มิติ การชนใน 2 มิติ การชนใน 3 มิติและโมเมนตัม รวมทั้ง 
คำานวณและนำาความรู้ไปใช้ประโยชน์ 
ตัวชี้วัด - 
1.สาระสำาคัญ/ความคิดรวบยอด 
โมเมนตัม(momentum : P) คือ ผลคูณระหว่างระหว่างมวลและ 
ความเร็วของวัตถุ ซึ่งเป็นปริมาณหนึ่งที่บอกสภาพการเคลื่อนที่ของวัตถุ 
กฎการเคลื่อนที่ข้อที่สองของนิวตัน กล่าวได้อีกแบบหนึ่งว่า แรงลัพธ์ 
ที่กระทำาต่อวัตถุ เท่ากับอัตราการเปลี่ยนโมเมนตัมของวัตถุทั้งขนาดและ 
ทิศทาง 
2. ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง 
ความรู้/ทักษะกระบวนการ/คุณลักษณะที่พึงประสงค์ 
ปลายทาง 
1. บอกความหมายของโมเมนตัมได้ 
2. บอกได้ว่าแรงที่กระทำาต่อวัตถุ ทำาให้โมเมนตัมเปลี่ยนไป 
3. บอกความหมายของแรงว่ามีความสัมพันธ์กับอัตราการเปลี่ยน 
โมเมนตัมตามสมการ 
F P 
= D 
D 
v 
t 
v 
นำาทาง 
1. บอกความหมายของโมเมนตัมได้ 
2. บอกได้ว่าขณะที่วัตถุกำาลังเคลื่อนที่มีโมเมนตัม และหาค่า 
โมเมนตัมของวัตถุได้เมื่อกำาหนดมวลและความเร็วของวัตถุให้
3. บอกได้ว่าโมเมนตัมเป็นปริมาณเวกเตอร์ที่มีทิศเดียวกับทิศของ 
ความเร็ว 
4. อธิบายได้ว่า แรงกระทำาต่อวัตถุทำาให้โมเมนตัมของวัตถุเปลี่ยนไป 
5. บอกได้ว่าแรงลัพธ์ที่กระทำาต่อวัตถุใดจะเท่ากับอัตราการเปลี่ยน 
โมนเมนตัมของวัตถุนั้นทั้งขนาดและทิศทาง 
6. อธิบายได้ว่า แรงที่ใช้หยุดการเคลื่อนที่ของวัตถุ หรือแรงที่ทำาให้มี 
การเปลี่ยนโมเมนตัมขึ้นอยู่กับมวล ความเร็ว และช่วงเวลาที่ใช้ใน 
การเปลี่ยนโมเมนตัม 
3. สาระการเรียนรู้ 
1.สาระการเรียนรู้แกนกลาง 
- โมเมนตัม 
- แรงและการเปลี่ยนโมเมนตัม 
- การดลและแรงดล 
- การชน 
โมเมนตัม(momentum : P) คือ ผลคูณระหว่างระหว่างมวลและ 
ความเร็วของวัตถุ ซึ่งเป็นปริมาณหนึ่งที่บอกสภาพการเคลื่อนที่ของวัตถุ 
p = mv v v 
……………(1) 
เมื่อให้ p v 
คือ โมเมนตัมของวัตถุ 
m คือ มวลของวัตถุ 
vv คือ ความเร็วของวัตถุ 
โมเมนตัมเป็นปริมาณเวกเตอร์ที่มีทิศตามทิศของความเร็ว มีหน่วย 
เป็นกิโลกรัมเมตรต่อวินาที ในการทำาให้วัตถุซึ่งกำาลังเคลื่อนที่ให้หยุดนิ่ง 
พบว่า วัตถุที่มีโมเมนตัมมากต้องออกแรงต้านมากกว่าวัตถุที่มีโมเมนตัม 
น้อย 
จากกฎการเคลื่อนที่ข้อที่หนึ่งของนิวตัน ที่เรียกว่ากฎของความเฉื่อย 
สามารถเขียนในรูปโมนเมนตัมได้ว่า โมเมนตัมของวัตถุคงตัวเสมอ 
นอกจากจะมีแรงลัพธ์ซึ่งมีค่าไม่เป็นศูนย์มากระทำาต่อวัตถุนั้น 
v กระทำาต่อวัตถุ 
เมื่อวัตถุมวลm เคลื่อนที่ด้วยความเร็ว uv มีแรงคงตัว F 
ในช่วงเวลาDt ทำาให้ความเร็วของวัตถุเปลี่ยนเป็นvv จากกฎการเคลื่อนที่ 
ข้อที่สองของนิวตัน 
v v 
v v และ a v u 
F = ma 
= - 
t 
D 
v 
v v v 
ดังนั้น m( v - 
u ) 
F 
t 
= 
D 
v v v 
F = mv - 
mu 
t 
D 
……………(2) 
v คือ แรงลัพธ์ที่คงตัวที่กระทำาต่อวัตถุมวล m 
เมื่อ F
v mu คือ โมเมนตัมของวัตถุก่อนออกแรงกระทำา 
v mv คือ โมเมนตัมของวัตถุหลังออกแรงกระทำา 
- v v mv mu คือ โมเมนตัมของวัตถุที่เปลี่ยนไปในช่วงเวลา Dt 
v v mv mu 
- 
D 
t คือ โมเมนตัมของวัตถุที่เปลี่ยนไปใน 1 หน่วย 
เวลา หรือ 
อัตราการเปลี่ยนโมเมนตัมของวัตถุ 
สรุปได้ว่า กฎการเคลื่อนที่ข้อที่สองของนิวตัน กล่าวได้อีกแบบหนึ่ง 
ว่า แรงลัพธ์ที่กระทำาต่อวัตถุ เท่ากับอัตราการเปลี่ยนโมเมนตัมของวัตถุทั้ง 
ขนาดและทิศทาง 
2.สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น 
- โมเมนตัม 
- แรงและการเปลี่ยนโมเมนตัม 
- การดลและแรงดล 
- การชน 
3.สอดแทรกหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 
- โมเมนตัม 
- แรงและการเปลี่ยนโมเมนตัม 
- การดลและแรงดล 
- การชน 
4.สอดแทรกความรู้การเข้าสู่ประชาคมอาเซียน 
- การร่วมกลุ่มการนำาแรงและการเปลี่ยนโมเมนตัม ใช้ใน 
อุตสาหกรรม 
5. สมรรถนะสำาคัญของผู้เรียน 
1.ความสามารถในการคิด 
- การวิเคราะห์ปัญหา 
- การสำารวจค้นหา 
- การสรุปความเห็น 
2.ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต 
- การทำางานเป็นกลุ่ม 
3.ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 
- การนำาความรู้ไปใช้ 
6. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 
- ความซื่อสัตย์ 
- ความมีวินัย 
- ใฝ่เรียนรู้ 
- มุ่งมั่นในการทำางาน
7. ชิ้นงาน/ภาระงาน(รวบยอด) 
- 
8. การวัดและประเมินผล 
1.การประเมินก่อนเรียน 
- แบบทดสอบก่อนเรียน 
2.การประเมินระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 
- แบบฝึกหัด 
3.การประเมินหลังเรียน 
- แบบทดสอบหลังเรียน 
- รายงานการปฏิบัติงาน 
4.การประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน(รวบยอด) 
- ผลการตรวจแบบฝึกหัดก่อนเรียน – หลังเรียน 
- รายงานการปฏิบัติงาน 
4. กระบวนการจัดการเรียนรู้ / กิจกรรมการจัดการเรียนรู้ 
1. ขั้นสร้างความสนใจ 
1. ครูอ้างถึงประสบการณ์ที่นักเรียนเคยเล่นกีฬาบางประเภทมาแล้ว 
เช่น บาสเกตบอล ห่วงยาง ฟุตบอล จะเห็นว่าในการออกแรงรับลูกบอล 
หรือห่วงยางที่กำาลังเคลื่อนที่ด้วยความเร็วต่างกัน ขนาดของแรงที่ใช้รับ 
วัตถุแต่ละครั้งก็ต่างกันด้วย 
2. ครูตั้งปัญหาเพื่อนำาเข้าสู่การทำากิจกรรมรับถุงทรายว่า นักเรียน 
ทราบหรือไม่ว่าการที่ออกแรงต่างกันเพื่อรับวัตถุนั้น ขึ้นกับปริมาณใดบ้าง 
ให้นักเรียนลองทำากิจกรรมการรับถุงทราย 
2. ขั้นสำารวจและค้นหา 
1. ครูสุ่มนักเรียนประมาณ 10 คน ทำากิจกรรมการรับถุงทราย โดย 
ให้ใช้มือขวาถือถุงทรายถุงหนึ่งอยู่เหนือมือซ้ายประมาณ 20 เซนติเมตร 
ปล่อยถุงทรายตกลงบนมือซ้าย โดยใช้มือซ้ายรับถุงทรายที่ตกลงมาให้ 
หยุดนิ่งในมือโดยพยายามไม่ให้เคลื่อนที่ ทำาการทดลองซำ้าโดยมือขวาอยู่ 
เหนือมือซ้ายประมาณ 50 เซนติเมตร แล้วปล่อยถุงทรายถุงเดิม ให้ 
นักเรียนเปรียบเทียบแรงที่มือซ้ายรับถุงทรายเพื่อไม่ให้ถุงทรายเคลื่อนที่ใน 
แต่ละครั้ง 
2. ครูนำานักเรียนอภิปรายผลจากการทำากิจกรรม โดยตั้งปัญหาถาม 
นักเรียนว่า 
2.1 ในการออกแรงของมือซ้ายที่รับถุงทรายทั้งสองกรณีแตก 
ต่างกันหรือไม่ อย่างไร 
(แรงที่ใช้รับถุงทรายจากระดับที่สูงกว่าจะมีค่ามากกว่าถุงทรายระดับตำ่า)
2.2 ความเร็วของถุงทรายขณะที่ตกถึงมือซ้ายทั้งสองกรณี 
แตกต่างกันหรือไม่ อย่างไร 
(ถุงทรายที่ปล่อยจากระดับสูงจะมีความเร็วมากกว่าถุงทรายที่ปล่อยจาก 
ระดับตำ่าขณะกระทบมือ) 
2.3 ความเร็วของถุงทรายทั้งสองกรณีเกี่ยวข้องกับการ 
ออกแรงรับถุงทรายหรือไม่ 
อย่างไร(ถุงทรายที่มีความเร็วมากกว่าจะต้องออกแรงรับมากกว่าถุงทรายที่ 
มีความเร็วน้อย) 
3. ครูให้นักเรียนทำาการทดลองใหม่ โดยใช้มือขวารับถุงทราย 1 ถุง 
จากระดับที่อยู่เหนือมือซ้ายประมาณ 30 เซนติเมตร และใช้มือซ้ายรับถุง 
ทรายให้หยุดนิ่งในมือโดยพยายามไม่ให้ถุงทรายเคลื่อนที่ แล้วทำาการ 
ทดลองซำ้าอีกครั้ง แต่เปลี่ยนเป็นถุงทราย 2 ถุงมัดติดกัน โดยปล่อยถุงทราย 
ที่ระยะความสูง 30 เซนติเมตร เปรียบเทียบแรงที่มือซ้ายต้านถุงทรายเพื่อ 
ไม่ให้ถุงทรายเคลื่อนที่ในแต่ละครั้ง 
4. ครูนำานักเรียนอภิปรายผลจากการทำากิจกรรม ว่า 
4.1 แรงที่มือซ้ายใช้รับถุงทรายทั้งสองกรณีแตกต่างกันหรือ 
ไม่ อย่างไร(แรงที่ใช้รับถุงทรายที่มีมวลมากจะมีค่ามากกว่า 
แรงที่ใช้รับถุงทรายที่มีมวลน้อย) 
4.2 ความเร็วของถุงทรายขณะที่ตกถึงมือซ้ายทั้งสองกรณี 
แตกต่างกันหรือไม่ อย่างไร(ความเร็วของถุงทรายทั้งสองกรณี 
มีค่าเท่ากัน) 
4.3 มวลของถุงทรายทั้งสองกรณีเกี่ยวข้องกับการออกแรงรับ 
ถุงทรายหรือไม่อย่างไร 
(ถุงทรายที่มีมวลมาก จะต้อออกแรงรับมากกว่าถุงทรายที่มีมวลน้อย) 
5. ครูให้นักเรียนสรุปว่า จากการทำากิจกรรมทั้ง 2 ตอน เราจะสรุปได้ 
ว่าอย่างไร (แรงที่ใช้หยุดการเคลื่อนที่ของวัตถุใดๆขึ้นอยู่กับมวลและ 
ความเร็วของวัตถุนั้น) 
6. ครูให้ความรู้นักเรียนเรื่องโมเมนตัมว่า ผลคูณระหว่างมวลกับ 
ความเร็วของวัตถุ เรียกว่า โมเมนตัม ซึ่งเป็นปริมาณเวกเตอร์ มีทิศเดียวกับ 
ทิศของความเร็ว มีหน่วยเป็น กิโลกรัม เมตร/วินาที หรือ นิวตัน/วินาที 
7. ครูชี้ให้นักเรียนเห็นว่า โมเมนตัมของวัตถุเป็นปริมาณที่มีอยู่ใน 
วัตถุที่กำาลังเคลื่อนที่ ใช้บอกสภาพการเคลื่อนที่ของวัตถุ 
8. ครูถามนักเรียนว่า ถ้าจะทำาให้วัตถุที่กำาลังเคลื่อนที่ให้หยุดนิ่ง แรง 
ต้านที่กระทำาต่อวัตถุที่มีโมเมนตัมมากกับโมเมนตัมน้อยจะแตกต่างกันหรือ 
ไม่ อย่างไร (แตกต่างกัน คือ วัตถุที่มีโมเมนตัมมากจะต้องออกแรงต้าน 
มากกว่าวัตถุที่มีโมเมนตัมน้อย) 
9. ครูนำานักเรียนอภิปรายเรื่องแรงและการเปลี่ยนโมเมนตัม โดยใช้ 
สถานการณ์ว่า
9.1 ในการเตะลูกฟุตบอลที่หยุดนิ่งให้เคลื่อนที่ออกไปด้วย 
ความเร็วต่างกัน จะต้องออกแรงต่างกัน หรือไม่ อย่างไร (เตะลูกฟุตบอล 
ให้เคลื่อนที่ด้วยความเร็วมากต้องออกแรงมากกว่าเตะฟุตบอลให้เคลื่อนที่ 
ด้วยความเร็วน้อย) 
9.2 แรงที่กระทำาต่อลูกฟุตบอล มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงโมเมนตัม 
ของลูกฟุตบอลหรือไม่ อย่างไร (แรง ที่กระทำาต่อลูกฟุตบอลมากจะ 
ทำาให้โมเมนตัมของวัตถุเปลี่ยนแปลงมาก) 
9.3 จากกรณีนี้เราจะสรุปได้ว่าอย่างไร (แรงที่กระทำาต่อวัตถุมีผล 
ต่อการเปลี่ยนโมเมนตัมของวัตถุ) 
10. ครูทบทวนกฎการเคลื่อนที่ข้อที่สอง ของนิวตัน และการนำากฎนี้ 
ไปหาความสัมพันธ์ระหว่างแรงและโมเมนตัมของวัตถุ จนได้สมการว่า 
v v v 
F = mv - 
mu 
t 
D 
11. ครูเน้นให้นักเรียนทราบว่า กฎการเคลื่อนที่ข้อที่สองของนิวตัน 
อาจกล่าวอีกแบบหนึ่งว่า แรงลัพธ์ที่กระทำากับวัตถุใดๆจะเท่ากับอัตราการ 
เปลี่ยนแปลงโมเมนตัมของวัตถุนั้นทั้งขนาดและทิศทาง 
12. ครูยกตัวอย่างการแก้ปัญหาโจทย์เรื่องแรงและการเปลี่ยน 
โมเมนตัม 2 ข้อ จากแบบฝึกหัดเสริมประสบการณ์ แสดงวิธีทำาบนกระดาน 
13. ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนสอบถามเนื้อหาเรื่อง แรงและการ 
เปลี่ยนโมเมนตัม ว่ามีส่วนไหนที่ยังไม่เข้าใจและให้ความรู้เพิ่มเติมในส่วน 
นั้น 
3. ขั้นลงข้อสรุป 
ครูนำาอภิปราย สรุปเนื้อหา ด้วยคำาถามต่อไปนี้ 
1. โมเมนตัมของวัตถุ คืออะไร ( โมเมนตัม(momentum : P) คือ ผล 
คูณระหว่างระหว่างมวลและความเร็วของวัตถุ ซึ่งเป็นปริมาณหนึ่งที่ 
บอกสภาพการเคลื่อนที่ของวัตถุ มีค่า p = mv v v ) 
2. โมเมนตัมเป็นปริมาณเวกเตอร์หรือสเกลาร์ และมีหน่วยเป็นอะไร 
(โมเมนตัมเป็นปริมาณเวกเตอร์ที่มีทิศตามทิศของความเร็ว มีหน่วย 
เป็นกิโลกรัมเมตรต่อวินาที) 
3. แรงลัพธ์สัมพันธ์กับการเปลี่ยนแปลงโมเมนตัมอย่างไร (แรงลัพธ์ที่ 
กระทำาต่อวัตถุ เท่ากับอัตราการเปลี่ยนโมเมนตัมของวัตถุทั้งขนาด 
และทิศทาง) 
5. การวัดผลและประเมินผล 
5.1 เกณฑ์การประเมิน 
1.วัดความเข้าใจของนักเรียน โดยการตอบคำาถามของนักเรียน 
2. วัดความสนใจของนักเรียน โดยดูจากการตั้งใจฟังครู 
บรรยาย และการพยายามตอบ 
คำาถามครู และมีความสนใจที่จะถามข้อสงสัย และการให้ 
ความร่วมมือในการเรียน
3. การทำาแบบฝึกหัดจากใบงานที่แจกให้นักเรียน/การส่ง 
การบ้าน 
4. ประเมินเจตคติ คุณธรรมที่นักเรียนแสดงออกในขณะที่มีการ 
เรียนรู้ 
5. นักเรียนตอบคำาถามได้ 80 % 
6. สังเกตจากการร่วมอภิปรายโดยการสุ่มนักเรียน 4 คน 
5.2 เครื่องมือประเมิน 
ใช้เกณฑ์การประเมินผลจากคะแนนในตารางสังเกตพฤติกรรม 10 
คะแนนขึ้นไปแสดงว่าผ่านจุดประสงค์ 
ตารางสังเกตพฤติกรรม 
พฤติก 
รรม 
เลขที่ 
สนใจ 
5 
คะแนน 
แสดงความ 
คิดเห็น 
5 คะแนน 
มี 
เหตุผล 
5 
คะแนน 
ความถูก 
ต้อง 
5 
คะแนน 
คะแนน 
รวม 
20 
คะแนน 
ผ่า 
น 
ไม่ 
ผ่าน 
6. สื่อและแหล่งการเรียนรู้ 
1. หนังสือเรียนวิชาฟิสิกส์ 2 
2. เอกสารประกอบการสอน/ใบความรู้/แบบฝึกเสริมฯ เรื่อง แรงและ 
การเปลี่ยนโมเมนตัม 
7. ความสัมพันธ์กับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น 
......................................................................................................... 
.................................................... 
......................................................................................................... 
.................................................... 
8. กิจกรรมเสนอแนะ 
......................................................................................................... 
.................................................... 
......................................................................................................... 
........................................................................... 
9. ความคิดเห็นของฝ่ายบริหาร 
9.1 ความคิดเห็นของหัวหน้าฝ่ายวิชาการ 
......................................................................................................... 
....................................................
......................................................................................................... 
.................................................... 
9.2 ความคิดเห็นของรองผู้อำานวยการโรงเรียน 
......................................................................................................... 
.................................................... 
......................................................................................................... 
.................................................... 
9.3 ความคิดเห็นของผู้อำานวยการโรงเรียน 
......................................................................................................... 
.................................................... 
......................................................................................................... 
.................................................... 
10.บันทึกผลหลังการสอน 
บันทึกหลังการสอน
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ รายวิชาฟิสิกส์ 
รหัสวิชา ว 30202 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่องหลัก โมเมนตัมและการดล 
เรื่อง แรงและการเปลี่ยนโมเมนตัม 
สาระที่ 4 แรงและการเคลื่อนที่ เวลา 3 ชั่วโมง 
ภาคเรียนที่ 2 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่…...เรื่อง………………………. 
……………..…………..……………..เวลา ……คาบ 
…………………………………………………………………………… 
………………………………………... 
1. จำานวนนักเรียนที่ใช้สอน 
ระดับชั้น จำานวนนักเรียน ( คน) 
มัธยมศึกษาปีที่ 4 37 
2. ผลการสอน 
2.1) ความเหมาะสมของระยะเวลา ( ) ดีมาก ( ) ดี 
( ) พอใช้ ( ) ต้องปรับปรุง 
2.2) ความเหมาะสมของเนื้อหา ( ) ดีมาก ( ) ดี ( ) 
พอใช้ ( ) ต้องปรับปรุง 
2.3) ความเหมาะสมของกิจกรรมการเรียนการสอน 
( ) ดีมาก ( ) ดี ( ) พอใช้ ( ) 
ต้องปรับปรุง 
2.4) ความเหมาะสมของสื่อการสอนที่ใช้( ) ดีมาก ( ) ดี ( ) 
พอใช้ ( ) ต้องปรับปรุง 
…………………………………………………………………………… 
………………………………………... 
…………………………………………………………………………… 
………………………………………... 
…………………………………………………………………………… 
…………………………………………………………………………… 
…... 
…………………………………………………………………………… 
……… 
2.5) พฤติกรรม/การมีส่วนร่วมของนักเรียน( ) ดีมาก ( ) ดี 
( ) พอใช้ ( ) ต้องปรับปรุง 
2.6) ผลการปฏิบัติกิจกรรม/ใบกิจกรรม การทดสอบก่อนเรียนและหลัง 
เรียน
…………………………………………………………………………… 
………………………………………. 
…………………………………………………………………………… 
……………………………………….. 
…………………………………………………………………………… 
…………………………………………………………………………… 
……... 
…………………………………………………………………………… 
……… 
3. ปัญหาและอุปสรรค 
…………………………………………………………………………… 
………………………………………... 
…………………………………………………………………………… 
………………………………………... 
…………………………………………………………………………… 
………………………………………... 
…………………………………………………………………………… 
………………………………………........... 
4. ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข 
…………………………………………………………………………… 
………………………………………... 
…………………………………………………………………………… 
………………………………………... 
…………………………………………………………………………… 
………………………………………................................................... 
.............................................................................................. 
ลงชื่อ………………………………. ผู้สอน/ผู้บันทึก 
( นายศิลป์ชัย จิตตรง ) 
ตำาแหน่งครูผู้ช่วย 
…………/……………./ 
…………

Recomendados

05แผน เรื่อง โมเมนตัม por
05แผน เรื่อง โมเมนตัม05แผน เรื่อง โมเมนตัม
05แผน เรื่อง โมเมนตัมWijitta DevilTeacher
2.1K visualizações14 slides
แผนการสอนงานและพลังงาน por
แผนการสอนงานและพลังงานแผนการสอนงานและพลังงาน
แผนการสอนงานและพลังงานWeerachat Martluplao
12.5K visualizações9 slides
13แผน เรื่อง สมดุลกล por
13แผน เรื่อง สมดุลกล13แผน เรื่อง สมดุลกล
13แผน เรื่อง สมดุลกลWijitta DevilTeacher
8K visualizações20 slides
แรง แรงลัพธ์2560 por
แรง แรงลัพธ์2560แรง แรงลัพธ์2560
แรง แรงลัพธ์2560krulef1805
30.7K visualizações26 slides
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์ por
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์Thepsatri Rajabhat University
206.2K visualizações60 slides

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล por
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกลPhanuwat Somvongs
123.9K visualizações35 slides
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรง por
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรงบทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรง
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรงThepsatri Rajabhat University
190.8K visualizações49 slides
โมเมนต์ของแรง por
โมเมนต์ของแรงโมเมนต์ของแรง
โมเมนต์ของแรงrutchaneechoomking
14.9K visualizações1 slide
ข้อสอบวิทย์ por
ข้อสอบวิทย์ข้อสอบวิทย์
ข้อสอบวิทย์weerawato
59.7K visualizações12 slides
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ por
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆบทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆThepsatri Rajabhat University
33.5K visualizações100 slides
สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น por
สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่นสภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่นเรียนฟิสิกส์กับครูเอ็ม Miphukham
9.6K visualizações36 slides

Mais procurados(20)

03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล por Phanuwat Somvongs
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
Phanuwat Somvongs123.9K visualizações
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรง por Thepsatri Rajabhat University
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรงบทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรง
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรง
Thepsatri Rajabhat University190.8K visualizações
โมเมนต์ของแรง por rutchaneechoomking
โมเมนต์ของแรงโมเมนต์ของแรง
โมเมนต์ของแรง
rutchaneechoomking14.9K visualizações
ข้อสอบวิทย์ por weerawato
ข้อสอบวิทย์ข้อสอบวิทย์
ข้อสอบวิทย์
weerawato59.7K visualizações
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ por Thepsatri Rajabhat University
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆบทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
Thepsatri Rajabhat University33.5K visualizações
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202) por Miss.Yupawan Triratwitcha
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
Miss.Yupawan Triratwitcha55K visualizações
03แผน เรื่อง กฏการอนุรักษ์พลังงาน por Wijitta DevilTeacher
03แผน เรื่อง กฏการอนุรักษ์พลังงาน03แผน เรื่อง กฏการอนุรักษ์พลังงาน
03แผน เรื่อง กฏการอนุรักษ์พลังงาน
Wijitta DevilTeacher4.1K visualizações
03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน por wiriya kosit
03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
wiriya kosit19.8K visualizações
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง แบบจำลองอะตอมของดอลตันและทอมสัน por Katewaree Yosyingyong
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง แบบจำลองอะตอมของดอลตันและทอมสันแผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง แบบจำลองอะตอมของดอลตันและทอมสัน
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง แบบจำลองอะตอมของดอลตันและทอมสัน
Katewaree Yosyingyong2.8K visualizações
ติวสบายฟิสิกส์ (เพิ่มเติม) บทที่ 03 แรงกฏการเคลื่อนที่ por menton00
ติวสบายฟิสิกส์ (เพิ่มเติม) บทที่ 03 แรงกฏการเคลื่อนที่ติวสบายฟิสิกส์ (เพิ่มเติม) บทที่ 03 แรงกฏการเคลื่อนที่
ติวสบายฟิสิกส์ (เพิ่มเติม) บทที่ 03 แรงกฏการเคลื่อนที่
menton0045.8K visualizações
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด) por dnavaroj
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)
dnavaroj28K visualizações
เอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง por โรงเรียนเทพลีลา
เอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
06แบบฝึกเครื่องกล por Phanuwat Somvongs
06แบบฝึกเครื่องกล06แบบฝึกเครื่องกล
06แบบฝึกเครื่องกล
Phanuwat Somvongs232.9K visualizações
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน por dnavaroj
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงานแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
dnavaroj82.4K visualizações
แรงและการเคลื่อนที่ por Dew Thamita
แรงและการเคลื่อนที่แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่
Dew Thamita22.7K visualizações
แนวข้อสอบโมเมนตัมและการชน por Wijitta DevilTeacher
แนวข้อสอบโมเมนตัมและการชนแนวข้อสอบโมเมนตัมและการชน
แนวข้อสอบโมเมนตัมและการชน
Wijitta DevilTeacher22.8K visualizações
บทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุน por Thepsatri Rajabhat University
บทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุนบทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุน
บทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุน
Thepsatri Rajabhat University60.3K visualizações

Similar a แผนโมเมนตัม

ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดีย por
ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดียส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดีย
ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดียkrupornpana55
336 visualizações20 slides
แผนการสอน โมเมนตั้มและการชน หลักสูตร 2551 por
แผนการสอน โมเมนตั้มและการชน หลักสูตร 2551แผนการสอน โมเมนตั้มและการชน หลักสูตร 2551
แผนการสอน โมเมนตั้มและการชน หลักสูตร 2551Weerachat Martluplao
7.6K visualizações6 slides
ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดีย por
ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดียส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดีย
ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดียkrupornpana55
376 visualizações17 slides
โครงสร้างสาระวิทย์ม.3 por
โครงสร้างสาระวิทย์ม.3โครงสร้างสาระวิทย์ม.3
โครงสร้างสาระวิทย์ม.3supphawan
8.2K visualizações9 slides
โครงสร้างสาระวิทย์ม.1 por
โครงสร้างสาระวิทย์ม.1โครงสร้างสาระวิทย์ม.1
โครงสร้างสาระวิทย์ม.1supphawan
401 visualizações11 slides
โครงสร้างสาระวิทย์ม.1 por
โครงสร้างสาระวิทย์ม.1โครงสร้างสาระวิทย์ม.1
โครงสร้างสาระวิทย์ม.1supphawan
704 visualizações11 slides

Similar a แผนโมเมนตัม(20)

ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดีย por krupornpana55
ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดียส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดีย
ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดีย
krupornpana55336 visualizações
แผนการสอน โมเมนตั้มและการชน หลักสูตร 2551 por Weerachat Martluplao
แผนการสอน โมเมนตั้มและการชน หลักสูตร 2551แผนการสอน โมเมนตั้มและการชน หลักสูตร 2551
แผนการสอน โมเมนตั้มและการชน หลักสูตร 2551
Weerachat Martluplao7.6K visualizações
ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดีย por krupornpana55
ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดียส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดีย
ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดีย
krupornpana55376 visualizações
โครงสร้างสาระวิทย์ม.3 por supphawan
โครงสร้างสาระวิทย์ม.3โครงสร้างสาระวิทย์ม.3
โครงสร้างสาระวิทย์ม.3
supphawan8.2K visualizações
โครงสร้างสาระวิทย์ม.1 por supphawan
โครงสร้างสาระวิทย์ม.1โครงสร้างสาระวิทย์ม.1
โครงสร้างสาระวิทย์ม.1
supphawan401 visualizações
โครงสร้างสาระวิทย์ม.1 por supphawan
โครงสร้างสาระวิทย์ม.1โครงสร้างสาระวิทย์ม.1
โครงสร้างสาระวิทย์ม.1
supphawan704 visualizações
ส่วนหน้าชุดกิจกรรม por krupornpana55
ส่วนหน้าชุดกิจกรรมส่วนหน้าชุดกิจกรรม
ส่วนหน้าชุดกิจกรรม
krupornpana552.7K visualizações
แรงและการเคลื่อนที่ พลังงาน ม.3 por Supaluk Juntap
แรงและการเคลื่อนที่ พลังงาน ม.3 แรงและการเคลื่อนที่ พลังงาน ม.3
แรงและการเคลื่อนที่ พลังงาน ม.3
Supaluk Juntap83.8K visualizações
5.ตอนที่ 3 por Kobwit Piriyawat
5.ตอนที่ 35.ตอนที่ 3
5.ตอนที่ 3
Kobwit Piriyawat1.4K visualizações
แผนการสอน เรือง การเคลื่อนที่แบบหมุน หลักสูตร 2551 por Weerachat Martluplao
แผนการสอน เรือง การเคลื่อนที่แบบหมุน หลักสูตร 2551แผนการสอน เรือง การเคลื่อนที่แบบหมุน หลักสูตร 2551
แผนการสอน เรือง การเคลื่อนที่แบบหมุน หลักสูตร 2551
Weerachat Martluplao8.2K visualizações
แผนการจัดการเรียนรู้ ฟิสิกส์ 1 por suranon Chaimuangchuan
แผนการจัดการเรียนรู้ ฟิสิกส์ 1แผนการจัดการเรียนรู้ ฟิสิกส์ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ ฟิสิกส์ 1
suranon Chaimuangchuan2K visualizações
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 06 por jirupi
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 06แผนจัดการเรียนรู้ที่ 06
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 06
jirupi2K visualizações
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02 por jirupi
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02
jirupi1.8K visualizações
แผน 5 มัลติมีเดีย por krupornpana55
แผน 5 มัลติมีเดียแผน 5 มัลติมีเดีย
แผน 5 มัลติมีเดีย
krupornpana551.3K visualizações
สื่อประสมปก por krupornpana55
สื่อประสมปกสื่อประสมปก
สื่อประสมปก
krupornpana55395 visualizações
ส่วนเนื้อหาแผนการจัดการเรียนรู้. por krupornpana55
ส่วนเนื้อหาแผนการจัดการเรียนรู้.ส่วนเนื้อหาแผนการจัดการเรียนรู้.
ส่วนเนื้อหาแผนการจัดการเรียนรู้.
krupornpana55786 visualizações
แรง มวล กฎการเคลื่อนที่ por Janesita Sinpiang
แรง  มวล  กฎการเคลื่อนที่แรง  มวล  กฎการเคลื่อนที่
แรง มวล กฎการเคลื่อนที่
Janesita Sinpiang2.2K visualizações
Lesson06 por saiyok07
Lesson06Lesson06
Lesson06
saiyok07538 visualizações

แผนโมเมนตัม

  • 1. แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ รายวิชาฟิสิกส์ รหัสวิชา ว 30202 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่องหลัก โมเมนตัมและการดล เรื่อง แรงและการเปลี่ยนโมเมนตัม สาระที่ 4 แรงและการเคลื่อนที่ เวลา 3 ชั่วโมง ภาคเรียนที่ 2 มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ว 4.2 เข้าใจลักษณะการเคลื่อนที่แบบต่างๆของวัตถุใน ธรรมชาติ มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่ เรียนรู้และนำาความรู้ไปใช้ประโยชน์ มาตรฐานการเรียนรู้ช่วงชั้น ม.4-6 ทดลองและอธิบายหลักการของ การชนใน 1 มิติ การชนใน 2 มิติ การชนใน 3 มิติและโมเมนตัม รวมทั้ง คำานวณและนำาความรู้ไปใช้ประโยชน์ ตัวชี้วัด - 1.สาระสำาคัญ/ความคิดรวบยอด โมเมนตัม(momentum : P) คือ ผลคูณระหว่างระหว่างมวลและ ความเร็วของวัตถุ ซึ่งเป็นปริมาณหนึ่งที่บอกสภาพการเคลื่อนที่ของวัตถุ กฎการเคลื่อนที่ข้อที่สองของนิวตัน กล่าวได้อีกแบบหนึ่งว่า แรงลัพธ์ ที่กระทำาต่อวัตถุ เท่ากับอัตราการเปลี่ยนโมเมนตัมของวัตถุทั้งขนาดและ ทิศทาง 2. ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง ความรู้/ทักษะกระบวนการ/คุณลักษณะที่พึงประสงค์ ปลายทาง 1. บอกความหมายของโมเมนตัมได้ 2. บอกได้ว่าแรงที่กระทำาต่อวัตถุ ทำาให้โมเมนตัมเปลี่ยนไป 3. บอกความหมายของแรงว่ามีความสัมพันธ์กับอัตราการเปลี่ยน โมเมนตัมตามสมการ F P = D D v t v นำาทาง 1. บอกความหมายของโมเมนตัมได้ 2. บอกได้ว่าขณะที่วัตถุกำาลังเคลื่อนที่มีโมเมนตัม และหาค่า โมเมนตัมของวัตถุได้เมื่อกำาหนดมวลและความเร็วของวัตถุให้
  • 2. 3. บอกได้ว่าโมเมนตัมเป็นปริมาณเวกเตอร์ที่มีทิศเดียวกับทิศของ ความเร็ว 4. อธิบายได้ว่า แรงกระทำาต่อวัตถุทำาให้โมเมนตัมของวัตถุเปลี่ยนไป 5. บอกได้ว่าแรงลัพธ์ที่กระทำาต่อวัตถุใดจะเท่ากับอัตราการเปลี่ยน โมนเมนตัมของวัตถุนั้นทั้งขนาดและทิศทาง 6. อธิบายได้ว่า แรงที่ใช้หยุดการเคลื่อนที่ของวัตถุ หรือแรงที่ทำาให้มี การเปลี่ยนโมเมนตัมขึ้นอยู่กับมวล ความเร็ว และช่วงเวลาที่ใช้ใน การเปลี่ยนโมเมนตัม 3. สาระการเรียนรู้ 1.สาระการเรียนรู้แกนกลาง - โมเมนตัม - แรงและการเปลี่ยนโมเมนตัม - การดลและแรงดล - การชน โมเมนตัม(momentum : P) คือ ผลคูณระหว่างระหว่างมวลและ ความเร็วของวัตถุ ซึ่งเป็นปริมาณหนึ่งที่บอกสภาพการเคลื่อนที่ของวัตถุ p = mv v v ……………(1) เมื่อให้ p v คือ โมเมนตัมของวัตถุ m คือ มวลของวัตถุ vv คือ ความเร็วของวัตถุ โมเมนตัมเป็นปริมาณเวกเตอร์ที่มีทิศตามทิศของความเร็ว มีหน่วย เป็นกิโลกรัมเมตรต่อวินาที ในการทำาให้วัตถุซึ่งกำาลังเคลื่อนที่ให้หยุดนิ่ง พบว่า วัตถุที่มีโมเมนตัมมากต้องออกแรงต้านมากกว่าวัตถุที่มีโมเมนตัม น้อย จากกฎการเคลื่อนที่ข้อที่หนึ่งของนิวตัน ที่เรียกว่ากฎของความเฉื่อย สามารถเขียนในรูปโมนเมนตัมได้ว่า โมเมนตัมของวัตถุคงตัวเสมอ นอกจากจะมีแรงลัพธ์ซึ่งมีค่าไม่เป็นศูนย์มากระทำาต่อวัตถุนั้น v กระทำาต่อวัตถุ เมื่อวัตถุมวลm เคลื่อนที่ด้วยความเร็ว uv มีแรงคงตัว F ในช่วงเวลาDt ทำาให้ความเร็วของวัตถุเปลี่ยนเป็นvv จากกฎการเคลื่อนที่ ข้อที่สองของนิวตัน v v v v และ a v u F = ma = - t D v v v v ดังนั้น m( v - u ) F t = D v v v F = mv - mu t D ……………(2) v คือ แรงลัพธ์ที่คงตัวที่กระทำาต่อวัตถุมวล m เมื่อ F
  • 3. v mu คือ โมเมนตัมของวัตถุก่อนออกแรงกระทำา v mv คือ โมเมนตัมของวัตถุหลังออกแรงกระทำา - v v mv mu คือ โมเมนตัมของวัตถุที่เปลี่ยนไปในช่วงเวลา Dt v v mv mu - D t คือ โมเมนตัมของวัตถุที่เปลี่ยนไปใน 1 หน่วย เวลา หรือ อัตราการเปลี่ยนโมเมนตัมของวัตถุ สรุปได้ว่า กฎการเคลื่อนที่ข้อที่สองของนิวตัน กล่าวได้อีกแบบหนึ่ง ว่า แรงลัพธ์ที่กระทำาต่อวัตถุ เท่ากับอัตราการเปลี่ยนโมเมนตัมของวัตถุทั้ง ขนาดและทิศทาง 2.สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น - โมเมนตัม - แรงและการเปลี่ยนโมเมนตัม - การดลและแรงดล - การชน 3.สอดแทรกหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง - โมเมนตัม - แรงและการเปลี่ยนโมเมนตัม - การดลและแรงดล - การชน 4.สอดแทรกความรู้การเข้าสู่ประชาคมอาเซียน - การร่วมกลุ่มการนำาแรงและการเปลี่ยนโมเมนตัม ใช้ใน อุตสาหกรรม 5. สมรรถนะสำาคัญของผู้เรียน 1.ความสามารถในการคิด - การวิเคราะห์ปัญหา - การสำารวจค้นหา - การสรุปความเห็น 2.ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต - การทำางานเป็นกลุ่ม 3.ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี - การนำาความรู้ไปใช้ 6. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ - ความซื่อสัตย์ - ความมีวินัย - ใฝ่เรียนรู้ - มุ่งมั่นในการทำางาน
  • 4. 7. ชิ้นงาน/ภาระงาน(รวบยอด) - 8. การวัดและประเมินผล 1.การประเมินก่อนเรียน - แบบทดสอบก่อนเรียน 2.การประเมินระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ - แบบฝึกหัด 3.การประเมินหลังเรียน - แบบทดสอบหลังเรียน - รายงานการปฏิบัติงาน 4.การประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน(รวบยอด) - ผลการตรวจแบบฝึกหัดก่อนเรียน – หลังเรียน - รายงานการปฏิบัติงาน 4. กระบวนการจัดการเรียนรู้ / กิจกรรมการจัดการเรียนรู้ 1. ขั้นสร้างความสนใจ 1. ครูอ้างถึงประสบการณ์ที่นักเรียนเคยเล่นกีฬาบางประเภทมาแล้ว เช่น บาสเกตบอล ห่วงยาง ฟุตบอล จะเห็นว่าในการออกแรงรับลูกบอล หรือห่วงยางที่กำาลังเคลื่อนที่ด้วยความเร็วต่างกัน ขนาดของแรงที่ใช้รับ วัตถุแต่ละครั้งก็ต่างกันด้วย 2. ครูตั้งปัญหาเพื่อนำาเข้าสู่การทำากิจกรรมรับถุงทรายว่า นักเรียน ทราบหรือไม่ว่าการที่ออกแรงต่างกันเพื่อรับวัตถุนั้น ขึ้นกับปริมาณใดบ้าง ให้นักเรียนลองทำากิจกรรมการรับถุงทราย 2. ขั้นสำารวจและค้นหา 1. ครูสุ่มนักเรียนประมาณ 10 คน ทำากิจกรรมการรับถุงทราย โดย ให้ใช้มือขวาถือถุงทรายถุงหนึ่งอยู่เหนือมือซ้ายประมาณ 20 เซนติเมตร ปล่อยถุงทรายตกลงบนมือซ้าย โดยใช้มือซ้ายรับถุงทรายที่ตกลงมาให้ หยุดนิ่งในมือโดยพยายามไม่ให้เคลื่อนที่ ทำาการทดลองซำ้าโดยมือขวาอยู่ เหนือมือซ้ายประมาณ 50 เซนติเมตร แล้วปล่อยถุงทรายถุงเดิม ให้ นักเรียนเปรียบเทียบแรงที่มือซ้ายรับถุงทรายเพื่อไม่ให้ถุงทรายเคลื่อนที่ใน แต่ละครั้ง 2. ครูนำานักเรียนอภิปรายผลจากการทำากิจกรรม โดยตั้งปัญหาถาม นักเรียนว่า 2.1 ในการออกแรงของมือซ้ายที่รับถุงทรายทั้งสองกรณีแตก ต่างกันหรือไม่ อย่างไร (แรงที่ใช้รับถุงทรายจากระดับที่สูงกว่าจะมีค่ามากกว่าถุงทรายระดับตำ่า)
  • 5. 2.2 ความเร็วของถุงทรายขณะที่ตกถึงมือซ้ายทั้งสองกรณี แตกต่างกันหรือไม่ อย่างไร (ถุงทรายที่ปล่อยจากระดับสูงจะมีความเร็วมากกว่าถุงทรายที่ปล่อยจาก ระดับตำ่าขณะกระทบมือ) 2.3 ความเร็วของถุงทรายทั้งสองกรณีเกี่ยวข้องกับการ ออกแรงรับถุงทรายหรือไม่ อย่างไร(ถุงทรายที่มีความเร็วมากกว่าจะต้องออกแรงรับมากกว่าถุงทรายที่ มีความเร็วน้อย) 3. ครูให้นักเรียนทำาการทดลองใหม่ โดยใช้มือขวารับถุงทราย 1 ถุง จากระดับที่อยู่เหนือมือซ้ายประมาณ 30 เซนติเมตร และใช้มือซ้ายรับถุง ทรายให้หยุดนิ่งในมือโดยพยายามไม่ให้ถุงทรายเคลื่อนที่ แล้วทำาการ ทดลองซำ้าอีกครั้ง แต่เปลี่ยนเป็นถุงทราย 2 ถุงมัดติดกัน โดยปล่อยถุงทราย ที่ระยะความสูง 30 เซนติเมตร เปรียบเทียบแรงที่มือซ้ายต้านถุงทรายเพื่อ ไม่ให้ถุงทรายเคลื่อนที่ในแต่ละครั้ง 4. ครูนำานักเรียนอภิปรายผลจากการทำากิจกรรม ว่า 4.1 แรงที่มือซ้ายใช้รับถุงทรายทั้งสองกรณีแตกต่างกันหรือ ไม่ อย่างไร(แรงที่ใช้รับถุงทรายที่มีมวลมากจะมีค่ามากกว่า แรงที่ใช้รับถุงทรายที่มีมวลน้อย) 4.2 ความเร็วของถุงทรายขณะที่ตกถึงมือซ้ายทั้งสองกรณี แตกต่างกันหรือไม่ อย่างไร(ความเร็วของถุงทรายทั้งสองกรณี มีค่าเท่ากัน) 4.3 มวลของถุงทรายทั้งสองกรณีเกี่ยวข้องกับการออกแรงรับ ถุงทรายหรือไม่อย่างไร (ถุงทรายที่มีมวลมาก จะต้อออกแรงรับมากกว่าถุงทรายที่มีมวลน้อย) 5. ครูให้นักเรียนสรุปว่า จากการทำากิจกรรมทั้ง 2 ตอน เราจะสรุปได้ ว่าอย่างไร (แรงที่ใช้หยุดการเคลื่อนที่ของวัตถุใดๆขึ้นอยู่กับมวลและ ความเร็วของวัตถุนั้น) 6. ครูให้ความรู้นักเรียนเรื่องโมเมนตัมว่า ผลคูณระหว่างมวลกับ ความเร็วของวัตถุ เรียกว่า โมเมนตัม ซึ่งเป็นปริมาณเวกเตอร์ มีทิศเดียวกับ ทิศของความเร็ว มีหน่วยเป็น กิโลกรัม เมตร/วินาที หรือ นิวตัน/วินาที 7. ครูชี้ให้นักเรียนเห็นว่า โมเมนตัมของวัตถุเป็นปริมาณที่มีอยู่ใน วัตถุที่กำาลังเคลื่อนที่ ใช้บอกสภาพการเคลื่อนที่ของวัตถุ 8. ครูถามนักเรียนว่า ถ้าจะทำาให้วัตถุที่กำาลังเคลื่อนที่ให้หยุดนิ่ง แรง ต้านที่กระทำาต่อวัตถุที่มีโมเมนตัมมากกับโมเมนตัมน้อยจะแตกต่างกันหรือ ไม่ อย่างไร (แตกต่างกัน คือ วัตถุที่มีโมเมนตัมมากจะต้องออกแรงต้าน มากกว่าวัตถุที่มีโมเมนตัมน้อย) 9. ครูนำานักเรียนอภิปรายเรื่องแรงและการเปลี่ยนโมเมนตัม โดยใช้ สถานการณ์ว่า
  • 6. 9.1 ในการเตะลูกฟุตบอลที่หยุดนิ่งให้เคลื่อนที่ออกไปด้วย ความเร็วต่างกัน จะต้องออกแรงต่างกัน หรือไม่ อย่างไร (เตะลูกฟุตบอล ให้เคลื่อนที่ด้วยความเร็วมากต้องออกแรงมากกว่าเตะฟุตบอลให้เคลื่อนที่ ด้วยความเร็วน้อย) 9.2 แรงที่กระทำาต่อลูกฟุตบอล มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงโมเมนตัม ของลูกฟุตบอลหรือไม่ อย่างไร (แรง ที่กระทำาต่อลูกฟุตบอลมากจะ ทำาให้โมเมนตัมของวัตถุเปลี่ยนแปลงมาก) 9.3 จากกรณีนี้เราจะสรุปได้ว่าอย่างไร (แรงที่กระทำาต่อวัตถุมีผล ต่อการเปลี่ยนโมเมนตัมของวัตถุ) 10. ครูทบทวนกฎการเคลื่อนที่ข้อที่สอง ของนิวตัน และการนำากฎนี้ ไปหาความสัมพันธ์ระหว่างแรงและโมเมนตัมของวัตถุ จนได้สมการว่า v v v F = mv - mu t D 11. ครูเน้นให้นักเรียนทราบว่า กฎการเคลื่อนที่ข้อที่สองของนิวตัน อาจกล่าวอีกแบบหนึ่งว่า แรงลัพธ์ที่กระทำากับวัตถุใดๆจะเท่ากับอัตราการ เปลี่ยนแปลงโมเมนตัมของวัตถุนั้นทั้งขนาดและทิศทาง 12. ครูยกตัวอย่างการแก้ปัญหาโจทย์เรื่องแรงและการเปลี่ยน โมเมนตัม 2 ข้อ จากแบบฝึกหัดเสริมประสบการณ์ แสดงวิธีทำาบนกระดาน 13. ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนสอบถามเนื้อหาเรื่อง แรงและการ เปลี่ยนโมเมนตัม ว่ามีส่วนไหนที่ยังไม่เข้าใจและให้ความรู้เพิ่มเติมในส่วน นั้น 3. ขั้นลงข้อสรุป ครูนำาอภิปราย สรุปเนื้อหา ด้วยคำาถามต่อไปนี้ 1. โมเมนตัมของวัตถุ คืออะไร ( โมเมนตัม(momentum : P) คือ ผล คูณระหว่างระหว่างมวลและความเร็วของวัตถุ ซึ่งเป็นปริมาณหนึ่งที่ บอกสภาพการเคลื่อนที่ของวัตถุ มีค่า p = mv v v ) 2. โมเมนตัมเป็นปริมาณเวกเตอร์หรือสเกลาร์ และมีหน่วยเป็นอะไร (โมเมนตัมเป็นปริมาณเวกเตอร์ที่มีทิศตามทิศของความเร็ว มีหน่วย เป็นกิโลกรัมเมตรต่อวินาที) 3. แรงลัพธ์สัมพันธ์กับการเปลี่ยนแปลงโมเมนตัมอย่างไร (แรงลัพธ์ที่ กระทำาต่อวัตถุ เท่ากับอัตราการเปลี่ยนโมเมนตัมของวัตถุทั้งขนาด และทิศทาง) 5. การวัดผลและประเมินผล 5.1 เกณฑ์การประเมิน 1.วัดความเข้าใจของนักเรียน โดยการตอบคำาถามของนักเรียน 2. วัดความสนใจของนักเรียน โดยดูจากการตั้งใจฟังครู บรรยาย และการพยายามตอบ คำาถามครู และมีความสนใจที่จะถามข้อสงสัย และการให้ ความร่วมมือในการเรียน
  • 7. 3. การทำาแบบฝึกหัดจากใบงานที่แจกให้นักเรียน/การส่ง การบ้าน 4. ประเมินเจตคติ คุณธรรมที่นักเรียนแสดงออกในขณะที่มีการ เรียนรู้ 5. นักเรียนตอบคำาถามได้ 80 % 6. สังเกตจากการร่วมอภิปรายโดยการสุ่มนักเรียน 4 คน 5.2 เครื่องมือประเมิน ใช้เกณฑ์การประเมินผลจากคะแนนในตารางสังเกตพฤติกรรม 10 คะแนนขึ้นไปแสดงว่าผ่านจุดประสงค์ ตารางสังเกตพฤติกรรม พฤติก รรม เลขที่ สนใจ 5 คะแนน แสดงความ คิดเห็น 5 คะแนน มี เหตุผล 5 คะแนน ความถูก ต้อง 5 คะแนน คะแนน รวม 20 คะแนน ผ่า น ไม่ ผ่าน 6. สื่อและแหล่งการเรียนรู้ 1. หนังสือเรียนวิชาฟิสิกส์ 2 2. เอกสารประกอบการสอน/ใบความรู้/แบบฝึกเสริมฯ เรื่อง แรงและ การเปลี่ยนโมเมนตัม 7. ความสัมพันธ์กับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น ......................................................................................................... .................................................... ......................................................................................................... .................................................... 8. กิจกรรมเสนอแนะ ......................................................................................................... .................................................... ......................................................................................................... ........................................................................... 9. ความคิดเห็นของฝ่ายบริหาร 9.1 ความคิดเห็นของหัวหน้าฝ่ายวิชาการ ......................................................................................................... ....................................................
  • 8. ......................................................................................................... .................................................... 9.2 ความคิดเห็นของรองผู้อำานวยการโรงเรียน ......................................................................................................... .................................................... ......................................................................................................... .................................................... 9.3 ความคิดเห็นของผู้อำานวยการโรงเรียน ......................................................................................................... .................................................... ......................................................................................................... .................................................... 10.บันทึกผลหลังการสอน บันทึกหลังการสอน
  • 9. กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ รายวิชาฟิสิกส์ รหัสวิชา ว 30202 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่องหลัก โมเมนตัมและการดล เรื่อง แรงและการเปลี่ยนโมเมนตัม สาระที่ 4 แรงและการเคลื่อนที่ เวลา 3 ชั่วโมง ภาคเรียนที่ 2 แผนการจัดการเรียนรู้ที่…...เรื่อง………………………. ……………..…………..……………..เวลา ……คาบ …………………………………………………………………………… ………………………………………... 1. จำานวนนักเรียนที่ใช้สอน ระดับชั้น จำานวนนักเรียน ( คน) มัธยมศึกษาปีที่ 4 37 2. ผลการสอน 2.1) ความเหมาะสมของระยะเวลา ( ) ดีมาก ( ) ดี ( ) พอใช้ ( ) ต้องปรับปรุง 2.2) ความเหมาะสมของเนื้อหา ( ) ดีมาก ( ) ดี ( ) พอใช้ ( ) ต้องปรับปรุง 2.3) ความเหมาะสมของกิจกรรมการเรียนการสอน ( ) ดีมาก ( ) ดี ( ) พอใช้ ( ) ต้องปรับปรุง 2.4) ความเหมาะสมของสื่อการสอนที่ใช้( ) ดีมาก ( ) ดี ( ) พอใช้ ( ) ต้องปรับปรุง …………………………………………………………………………… ………………………………………... …………………………………………………………………………… ………………………………………... …………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………… …... …………………………………………………………………………… ……… 2.5) พฤติกรรม/การมีส่วนร่วมของนักเรียน( ) ดีมาก ( ) ดี ( ) พอใช้ ( ) ต้องปรับปรุง 2.6) ผลการปฏิบัติกิจกรรม/ใบกิจกรรม การทดสอบก่อนเรียนและหลัง เรียน
  • 10. …………………………………………………………………………… ………………………………………. …………………………………………………………………………… ……………………………………….. …………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………… ……... …………………………………………………………………………… ……… 3. ปัญหาและอุปสรรค …………………………………………………………………………… ………………………………………... …………………………………………………………………………… ………………………………………... …………………………………………………………………………… ………………………………………... …………………………………………………………………………… ………………………………………........... 4. ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข …………………………………………………………………………… ………………………………………... …………………………………………………………………………… ………………………………………... …………………………………………………………………………… ………………………………………................................................... .............................................................................................. ลงชื่อ………………………………. ผู้สอน/ผู้บันทึก ( นายศิลป์ชัย จิตตรง ) ตำาแหน่งครูผู้ช่วย …………/……………./ …………