SlideShare a Scribd company logo
Enviar pesquisa
Carregar
รายงานการศึกษาค้นคว้า ครูชำนาญการ
Denunciar
Compartilhar
kanidta vatanyoo
computer em kanidta
Seguir
•
36 gostaram
•
81,738 visualizações
Educação
รายงานการศึกษาค้นคว้า ครูชำนาญการ
Leia mais
รายงานการศึกษาค้นคว้า ครูชำนาญการ
•
36 gostaram
•
81,738 visualizações
kanidta vatanyoo
computer em kanidta
Seguir
Denunciar
Compartilhar
Educação
รายงานการศึกษาค้นคว้า ครูชำนาญการ
Leia mais
รายงานการศึกษาค้นคว้า ครูชำนาญการ
1 de 14
Baixar agora
Recomendados
Ast.c2560.5t por
Ast.c2560.5t
มะดาโอะ มะเซ็ง
10.8K visualizações
•
269 slides
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง por
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
Wareerut Hunter
81.8K visualizações
•
26 slides
ทฤษฏีภาวะผู้นำและภาวะผู้นำทางวิชาการ por
ทฤษฏีภาวะผู้นำและภาวะผู้นำทางวิชาการ
Twatchai Tangutairuang
10.7K visualizações
•
43 slides
หน่วยที่ 2 เรื่อง เสื้อผ้าและการแต่งกาย por
หน่วยที่ 2 เรื่อง เสื้อผ้าและการแต่งกาย
Beerza Kub
23K visualizações
•
9 slides
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์ พิร... por
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์ พิร...
Kobwit Piriyawat
44.1K visualizações
•
34 slides
เรียงความ Is1 por
เรียงความ Is1
panisra
43.2K visualizações
•
2 slides
Mais conteúdo relacionado
Mais procurados
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5 por
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5
Nontagan Lertkachensri
142.1K visualizações
•
22 slides
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง por
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
moohhack
282.4K visualizações
•
15 slides
มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่ por
มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่
Apirak Potpipit
19.6K visualizações
•
14 slides
Powerpoint นำเสนอการประเมินวิทยฐานะครูชำนาญการ (คศ.2) - 15/09/2560 por
Powerpoint นำเสนอการประเมินวิทยฐานะครูชำนาญการ (คศ.2) - 15/09/2560
KiiKz Krittiya
79.1K visualizações
•
70 slides
Slชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์ por
Slชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
krupornpana55
1.9K visualizações
•
30 slides
โรคทางพันธุกรรม ม.3 por
โรคทางพันธุกรรม ม.3
Wuttipong Tubkrathok
55.3K visualizações
•
21 slides
Mais procurados
(20)
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5 por Nontagan Lertkachensri
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5
Nontagan Lertkachensri
•
142.1K visualizações
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง por moohhack
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
moohhack
•
282.4K visualizações
มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่ por Apirak Potpipit
มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่
Apirak Potpipit
•
19.6K visualizações
Powerpoint นำเสนอการประเมินวิทยฐานะครูชำนาญการ (คศ.2) - 15/09/2560 por KiiKz Krittiya
Powerpoint นำเสนอการประเมินวิทยฐานะครูชำนาญการ (คศ.2) - 15/09/2560
KiiKz Krittiya
•
79.1K visualizações
Slชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์ por krupornpana55
Slชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
krupornpana55
•
1.9K visualizações
โรคทางพันธุกรรม ม.3 por Wuttipong Tubkrathok
โรคทางพันธุกรรม ม.3
Wuttipong Tubkrathok
•
55.3K visualizações
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย por TSU
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย
TSU
•
40.1K visualizações
บทที่ 3 เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน por Jariya Jaiyot
บทที่ 3 เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
Jariya Jaiyot
•
39K visualizações
ภาคผนวกโครงงานกล้อง por krupornpana55
ภาคผนวกโครงงานกล้อง
krupornpana55
•
81.6K visualizações
ปกนวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศ por somdetpittayakom school
ปกนวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศ
somdetpittayakom school
•
6K visualizações
ความหมายและทฤษฏีการบริหารสถานศึกษา por Pitchayakarn Nitisahakul
ความหมายและทฤษฏีการบริหารสถานศึกษา
Pitchayakarn Nitisahakul
•
8.9K visualizações
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง por Pinutchaya Nakchumroon
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
Pinutchaya Nakchumroon
•
25.4K visualizações
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพด por พัน พัน
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพด
พัน พัน
•
349.8K visualizações
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช... por ssuser858855
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
ssuser858855
•
38.8K visualizações
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง por โรงเรียนเทพลีลา
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
โรงเรียนเทพลีลา
•
424.5K visualizações
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง por เอเดียน คุณาสิทธิ์
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
เอเดียน คุณาสิทธิ์
•
77.6K visualizações
Ep03 บวก ลบ คูณ หาร เลขนัยสำคัญ (เรียนฟิสิกส์กับครูอุ๋ย) por wiriya kosit
Ep03 บวก ลบ คูณ หาร เลขนัยสำคัญ (เรียนฟิสิกส์กับครูอุ๋ย)
wiriya kosit
•
2.3K visualizações
โครงงาน por ธญานี อุตรนคร
โครงงาน
ธญานี อุตรนคร
•
63.6K visualizações
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน por พัน พัน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
พัน พัน
•
304.8K visualizações
สาวน้อยนักกายกรรม por สำเร็จ นางสีคุณ
สาวน้อยนักกายกรรม
สำเร็จ นางสีคุณ
•
32.1K visualizações
Similar a รายงานการศึกษาค้นคว้า ครูชำนาญการ
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน por
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
kruthai40
7.5K visualizações
•
27 slides
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2 por
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
Jiramet Ponyiam
216 visualizações
•
23 slides
งานส่งคศ.3 por
งานส่งคศ.3
pattamaporn saengchaem
15 visualizações
•
2 slides
รายงานการประเมินตนเอง 2 54 por
รายงานการประเมินตนเอง 2 54
Jiraporn
27.7K visualizações
•
28 slides
บทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอน por
บทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอน
Prachyanun Nilsook
796 visualizações
•
33 slides
Standard7 por
Standard7
Ict Krutao
1.4K visualizações
•
45 slides
Similar a รายงานการศึกษาค้นคว้า ครูชำนาญการ
(20)
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน por kruthai40
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
kruthai40
•
7.5K visualizações
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2 por Jiramet Ponyiam
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
Jiramet Ponyiam
•
216 visualizações
งานส่งคศ.3 por pattamaporn saengchaem
งานส่งคศ.3
pattamaporn saengchaem
•
15 visualizações
รายงานการประเมินตนเอง 2 54 por Jiraporn
รายงานการประเมินตนเอง 2 54
Jiraporn
•
27.7K visualizações
บทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอน por Prachyanun Nilsook
บทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอน
Prachyanun Nilsook
•
796 visualizações
Standard7 por Ict Krutao
Standard7
Ict Krutao
•
1.4K visualizações
Curriculum to learn por XForeverx Panuwat
Curriculum to learn
XForeverx Panuwat
•
38.7K visualizações
การออกแบบการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติม por Prasert Boon
การออกแบบการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติม
Prasert Boon
•
44K visualizações
มาตรฐานวิชาชีพ ปี 56 por Thanaporn Sangthong
มาตรฐานวิชาชีพ ปี 56
Thanaporn Sangthong
•
2K visualizações
01 ตอนที่ 1 word por นิชานาถ เตชะพิมพ์
01 ตอนที่ 1 word
นิชานาถ เตชะพิมพ์
•
806 visualizações
Slideshare por paewwaew
Slideshare
paewwaew
•
248 visualizações
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์ ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษ por Kobwit Piriyawat
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์ ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษ
Kobwit Piriyawat
•
13.1K visualizações
Lewwiss por 05102500
Lewwiss
05102500
•
1.6K visualizações
การพัฒนาหลักสูตร por Jiraprapa Suwannajak
การพัฒนาหลักสูตร
Jiraprapa Suwannajak
•
25.5K visualizações
การสอน por guest283582b
การสอน
guest283582b
•
601 visualizações
ตอนที่2 sar2554 ราชประชานุเคราะห์ 20 por ราชประชานุเคราะห์ จังหวัดชุมพร
ตอนที่2 sar2554 ราชประชานุเคราะห์ 20
ราชประชานุเคราะห์ จังหวัดชุมพร
•
602 visualizações
วิชาการ por Winyou Sriboonruang
วิชาการ
Winyou Sriboonruang
•
329 visualizações
บทที่ 7 por katay sineenart
บทที่ 7
katay sineenart
•
40 visualizações
บทที่ 7 por Dook dik
บทที่ 7
Dook dik
•
47 visualizações
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554 por Nattapon
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554
Nattapon
•
7.4K visualizações
Mais de kanidta vatanyoo
Scan tool 3 por
Scan tool 3
kanidta vatanyoo
6.6K visualizações
•
83 slides
Drawing+in+flash por
Drawing+in+flash
kanidta vatanyoo
1.9K visualizações
•
15 slides
เล่มที่ 1 แนะนำโปรแกรม por
เล่มที่ 1 แนะนำโปรแกรม
kanidta vatanyoo
7.7K visualizações
•
45 slides
Asean flag por
Asean flag
kanidta vatanyoo
253.4K visualizações
•
8 slides
แท็บเล็ต por
แท็บเล็ต
kanidta vatanyoo
42.9K visualizações
•
1 slide
รายวิชาคอมพิวเตอร์ por
รายวิชาคอมพิวเตอร์
kanidta vatanyoo
16.9K visualizações
•
6 slides
Mais de kanidta vatanyoo
(20)
Scan tool 3 por kanidta vatanyoo
Scan tool 3
kanidta vatanyoo
•
6.6K visualizações
Drawing+in+flash por kanidta vatanyoo
Drawing+in+flash
kanidta vatanyoo
•
1.9K visualizações
เล่มที่ 1 แนะนำโปรแกรม por kanidta vatanyoo
เล่มที่ 1 แนะนำโปรแกรม
kanidta vatanyoo
•
7.7K visualizações
Asean flag por kanidta vatanyoo
Asean flag
kanidta vatanyoo
•
253.4K visualizações
แท็บเล็ต por kanidta vatanyoo
แท็บเล็ต
kanidta vatanyoo
•
42.9K visualizações
รายวิชาคอมพิวเตอร์ por kanidta vatanyoo
รายวิชาคอมพิวเตอร์
kanidta vatanyoo
•
16.9K visualizações
บทที่ 6 por kanidta vatanyoo
บทที่ 6
kanidta vatanyoo
•
2.6K visualizações
บทคัดย่อ por kanidta vatanyoo
บทคัดย่อ
kanidta vatanyoo
•
946 visualizações
บทที่ 1 เผยแพร่ผลงานทางวิชาการ por kanidta vatanyoo
บทที่ 1 เผยแพร่ผลงานทางวิชาการ
kanidta vatanyoo
•
1.1K visualizações
รายงานผลการแข่งขัน ที่ได้เข้าเป็นตัวแทนเข้าแข่งขันระดับภาค 55 por kanidta vatanyoo
รายงานผลการแข่งขัน ที่ได้เข้าเป็นตัวแทนเข้าแข่งขันระดับภาค 55
kanidta vatanyoo
•
867 visualizações
Mou tablet por kanidta vatanyoo
Mou tablet
kanidta vatanyoo
•
7.5K visualizações
Mou tablet por kanidta vatanyoo
Mou tablet
kanidta vatanyoo
•
587 visualizações
พรบ.ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์พ.ศ. ๒๕๕๐ por kanidta vatanyoo
พรบ.ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์พ.ศ. ๒๕๕๐
kanidta vatanyoo
•
2.1K visualizações
หนังสือเรียนภาษาไทย ประถม 6 เล่ม 2 por kanidta vatanyoo
หนังสือเรียนภาษาไทย ประถม 6 เล่ม 2
kanidta vatanyoo
•
5.3K visualizações
หนังสือเรียนภาษาไทย ประถม 6 เล่ม 1 por kanidta vatanyoo
หนังสือเรียนภาษาไทย ประถม 6 เล่ม 1
kanidta vatanyoo
•
5.9K visualizações
หนังสือเรียนภาษาไทย ประถม 5 เล่ม 2 por kanidta vatanyoo
หนังสือเรียนภาษาไทย ประถม 5 เล่ม 2
kanidta vatanyoo
•
5K visualizações
หนังสือเรียนภาษาไทย ประถม 5 เล่ม 1 por kanidta vatanyoo
หนังสือเรียนภาษาไทย ประถม 5 เล่ม 1
kanidta vatanyoo
•
5.6K visualizações
หนังสือเรียนภาษาไทย ประถม 4 เล่ม 2 por kanidta vatanyoo
หนังสือเรียนภาษาไทย ประถม 4 เล่ม 2
kanidta vatanyoo
•
4.1K visualizações
หนังสือเรียนภาษาไทย ประถม 4 เล่ม 1 por kanidta vatanyoo
หนังสือเรียนภาษาไทย ประถม 4 เล่ม 1
kanidta vatanyoo
•
5.9K visualizações
หนังสือเรียนภาษาไทย ประถม 3 เล่ม 2 por kanidta vatanyoo
หนังสือเรียนภาษาไทย ประถม 3 เล่ม 2
kanidta vatanyoo
•
9.7K visualizações
รายงานการศึกษาค้นคว้า ครูชำนาญการ
1.
รายงานการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง
โดย นางสาวขนิษฐา วทัญญู ตาแหน่ง ครูชานาญการ โรงเรียนเมืองใหม่(ชลอราษฎร์รังสฤษฏ์) สพป.ลพบุรี เขต 1
2.
คานา
สถาบันพัฒนาครู คณาจารย์และบุคลากรทางการศึกษา (2554 :1-2) พระราชบัญญัติระเบียบ ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2547 มาตรา 80 บัญญัติให้มีการพัฒนาข้าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษาก่อนแต่งตั้งให้ดารงตาแหน่งบางตาแหน่งและบางวิทยฐานะ เพื่อเพิ่มพูน ความรู้ ทักษะ เจตคติ และจรรยาบรรณวิชาชีพ ซึ่งจะทาให้การปฏิบัติหน้าที่ราชการเกิดประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และความก้าวหน้าแก่ราชการ ประกอบกับ ก.ค.ศ. กาหนดมาตรฐานวิทยฐานะเกี่ยวกับ หน้าที่รับผิดชอบ คุณภาพการปฏิบัติงานและคุณสมบัติเฉพาะสาหรับวิทยฐานะชานาญการพิเศษ ซึ่ง ระบุว่าต้องได้รับการพัฒนาตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่ ก.ค.ศ. กาหนด โดยระบุให้สถาบันพัฒนาครู คณาจารย์และบุคลากรทางการศึกษาร่วมกับส่วนราชการและสถาบันอุดมศึกษาหรือหน่วยงานอื่น ดาเนินการจัดทาหลักสูตรและคูมือการพัฒนาข้าราชการครูและบุคลากรก่อนแต่งตั้งให้มีและเลื่อนเป็น ่ วิทยฐานะครูชานาญการพิเศษ ซึ่งในหลักสูตรกาหนดให้ข้าราชการครูที่เข้าอบรมเพื่อพัฒนาตนเองตาม เกณฑ์ ต้องศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองตามประเด็นที่หลักสูตรกาหนด รายงานการศึก ษาค้นคว้าด้ว ยตนเอง ได้รบรวมองค์ความรู้ที่ไ ด้จากการศึก ษาค้นคว้าด้วย ตนเอง จากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ หวังเป็นอย่างยิ่งว่า จักเป็นประโยชน์ในการศึกษาต่อไป ขนิษฐา วทัญญู
3.
สารบัญ บทที่ 1 บทนา
1 บทที่ 2 การพัฒนาสมรรถนะในการปฏิบัติในหน้าที่ครูชานาญการพิเศษ 2 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เทคนิคการออกแบบการเรียนรู้เพื่อพัฒนาผูเรียน ้ 2 หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ภาวะผู้นาทางวิชาการ 4 บทที่ 3 การวิเคราะห์บทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบและวางแผนพัฒนา 7 คุณภาพการปฏิบัติงานของครูชานาญการพิเศษ หน่วยการเรียนรูที่ 3 ความเป็นครู ้ 7 หน่วยการเรียนรูที่ 4 การวางแผนกลยุทธ์เพื่อพัฒนาคุณภาพผูเรียน ้ ้ 8 บทที่ 4 บทสรุป 10
4.
บทที่ 1
บทนา สถาบันพัฒนาครู คณาจารย์และบุคลากรทางการศึกษา (2554 :1-2) พระราชบัญญัติระเบียบ ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2547 มาตรา 80 บัญญัติให้มีการพัฒนาข้าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษาก่อนแต่งตั้งให้ดารงตาแหน่งบางตาแหน่งและบางวิทยฐานะ เพื่อเพิ่มพูน ความรู้ ทักษะ เจตคติ และจรรยาบรรณวิชาชีพ ซึ่งจะทาให้การปฏิบัติหน้าที่ราชการเกิดประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และความก้าวหน้าแก่ราชการ ประกอบกับ ก.ค.ศ. กาหนดมาตรฐานวิทยฐานะเกี่ยวกับ หน้าที่รับผิดชอบ คุณภาพการปฏิบัติงานและคุณสมบัติเฉพาะสาหรับวิทยฐานะชานาญการพิเศษ ซึ่ง ระบุว่าต้องได้รับการพัฒนาตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่ ก.ค.ศ. กาหนด โดยระบุให้สถาบันพัฒนาครู คณาจารย์และบุคลากรทางการศึกษาร่วมกับส่วนราชการและสถาบันอุดมศึกษาหรือหน่วยงานอื่น ดาเนินการจัดทาหลักสูตรและคูมือการพัฒนาข้าราชการครูและบุคลากรก่อนแต่งตั้ง ให้มีและเลื่อนเป็น ่ วิทยฐานะครูชานาญการพิเศษ จากการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง ข้าพเจ้าได้ศึกษาในประเด็นหัวข้อดังต่อไปนี้ 1. การพัฒนาสมรรถนะในการปฏิบัติในหน้าที่ครูชานาญการพิเศษ หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เทคนิคการออกแบบการเรียนรูเพื่อพัฒนาผู้เรียน ้ หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ภาวะผูนาทางวิชาการ ้ 2. การวิเคราะห์บทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบและวางแผนพัฒนา คุณภาพการ ปฏิบัติงานของครูชานาญการพิเศษ หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 ความเป็นครู หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การวางแผนกลยุทธ์เพื่อพัฒนาคุณภาพผูเรียน ้
5.
บทที่ 2
การพัฒนาสมรรถนะในการปฏิบัติในหน้าที่ครูชานาญการ หน่วยการเรียนรู้ท่ี 1 เทคนิคการออกแบบการเรียนรู้เพื่อพัฒนาผู้เรียน 1. การวิเคราะห์และพัฒนาหลักสูตร การวิเคราะห์หลักสูตรเป็นการวิเคราะห์รายละเอียดต่าง ๆ หลักสูตร เพื่อนาหลักสูตรไปสู่ การปฏิบัติและการจัด การเรี ย นการสอน ของครู โดยศึ ก ษาวิเ คราะห์ เ กี่ย วกั บ วิสัย ทัศน์ หลัก การ จุดหมาย สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด และ สาระการเรียนรู้ การพัฒนาหลักสูตร ทฤษฎีการพัฒนาหลักสูตรของนักการศึกษาอีกหลายท่าน แต่ขอเสนอทฤษฎีของการพัฒนา หลักสูตรโดย Tyler (1949, p. 68 ) ที่ให้ขอคิดเกี่ยวกับการพัฒนาหลักสูตรและการสอนว่าควรจะตอบ ้ คาถามพืนฐาน 4 ประการ คือ ้ 1) มีความมุงหมายทางการศึกษาอะไรบ้างที่โรงเรียนควรจะแสวงหา ่ 2) มีประสบการณ์ทางการศึกษาอย่างไรที่จะช่วยให้บรรลุจุดประสงค์ที่หนด 3) จะจัดประสบการณ์ทางการศึกษาอย่างไร จึงจะทาให้การสอนมีประสิทธิภาพ 4) จะประเมินผลประสิทธิภาพของประสบการณ์ในการเรียนอย่างไร จึงจะตัดสินได้ว่า บรรลุถึงจุดประสงค์ที่กาหนดไว้ ดังรูปแบบการพัฒนาหลักสูตรของ Tyler 2. การออกแบบการจัดการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับและบริบทของสถานศึกษา เนื่องการจัดการเรียนการสอน ครูต้องจัดการเรียนการสอนให้สอดคล้องกับหลักสูตร และ บริบ ทของานศึก ษา รูป แบบการออกแบบกรจัด การเรีย นรู้จึง เป็นการออกแบบการจั ดการเรีย นรู้ อิงมาตรฐาน ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ.2551 สาหรับการออกแบบหน่วยการเรียนรูอิงมาตรฐาน ควรมีสิ่งที่ครูจะต้องคานึงและถามตัวเองให้ ้ ได้ เสมอ คือ 1) ทาการวางเป้าหมาย ในการเรียนรู้ของหน่วยเชื่อมโยงกับมาตรฐาน/ตัวชีวัดหรือไม่ ้ 2) ได้กาหนดชิ้นงาน/ภารงาน รวมทั้ง การประเมินชิ้นงาน/ภารงาน ที่สะท้อนว่านักเรียน บรรลุมาตรฐาน/ตัวชีวัดหรือไม่ ้ 3) ได้จัดกิจกรรมการเรียนการสอน ที่สามารถนาพาให้นักเรียนทุกคนทาชิ้นงาน/ภารงาน ได้หรือไม่ และนักเรียนจะเกิดคุณภาพได้ตามเป้าหมายที่วางไว้หรือไม่ ดังนันการออกแบบหน่วยการเรียนรู้อิงมาตรฐาน ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ้ พุทธศักราช 2551 จึงได้นาแนวคิด Backward Design มาใช้ ซึ่งเป็นการออกแบบการเรียนรู้ที่นา เป้าหมายสุดท้ายของผูเรียนมาเป็นจุดเริ่มต้นในการออกแบบ นั่นก็คือ มาตรฐานการเรียนรู้หรือตัวชี้วัด ้
6.
แล้วนามาวางแผนการจัดกิจกรรมเพื่อเป็นเครื่องมือที่นาไปสู่การสร้างผลงานหลักฐาน/ร่องรอยแห่ง การเรียนรู้ของผู้เรียนนั่นเอง จากแนวคิดของ Wiggins
และ McTighe ซึ่งเป็นนักวัดผลที่วงการศึกษา ไทยรู้จักกันค่อนข้างมาก ได้แก้ปัญหาความไม่เชื่อมโยงระหว่างหลักสูตรกับการประเมินผลของผู้เรียน ว่า จะวัดและประเมินผลผู้เรียนอย่างไรจึงจะแสดงถึงความเข้าใจที่ลึกซึ้ง(Enduring Understanding) ตามที่หลักสูตรกาหนดได้อย่างไร ความเข้าใจที่ลึกซึ้ง (Enduring Understanding) ที่ Wiggins และ McTighe ได้เขียนไว้ว่าเมื่อผู้เรียนเกิดความเข้าใจที่ลึกซึ้งแล้วจะสามารถทาในสิ่งต่อไปนี้ได้ มี 6 ด้าน คือ 1) สามารถอธิบาย (Can explain) 2) สามารถแปลความ (Can interpret) 3) สามารถประยุกต์ใช้ (Can apply) 4) สามารถมีมุมมองที่หลากหลาย (Can perspective) 5) สามารถเข้าใจผู้อื่น (Can empathize) โดยผู้เรียนเป็นผู้ที่เข้าใจผู้อื่น สนองตอบและยอมรับความคิดเห็นของผู้อื่น เป็นผู้ที่มีความ ละเอียดอ่อนรู้สกถึงความรูสึกนึกคิดของผู้เกี่ยวข้อง 6) สามารถรู้จักตนเอง (Can self-knowledge) ึ ้ 3. การออกแบบการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ กระทรวงศึกษาธิการ (2546:15-16) ได้นาเสนอหลักการประเมินผลการเรียนที่เน้นผู้เรียนเป็น สาคัญ (Learner-centered assessment) ซึ่งนามาใช้เป็นหลักในการประเมินตามสภาพจริงไว้ดังนี้ 1) จุดหมายเบืองต้นของการประเมินผู้เรียนคือ เพื่อพัฒนาการเรียนรูของผู้เรียน ้ ้ 2) การประเมิน ควรเปิด โอกาสให้ผู้เ รี ย นได้ แสดงความสามารถที่แ ท้จริง ออกมา และ สะท้อนให้เห็นถึงแรงจูงใจและความตังใจในการเรียนรู้ พร้อมทั้งส่งเสริมให้ผู้เรียนรู้จักก ากับ ดูแล และ ้ ประเมินการเรียนรู้ด้วยตนเอง 3) การประเมินผลควรอาศัยข้อมูลจากการปฏิบัติภาระงานที่มีความหมาย สอดคล้องกับ สภาพจริง (Authentic tasks) และสอดคล้องกับหลักสูตรและการเรียน การสอนในชันเรียน ้ 4) การประเมินและตัดสินผลการเรียนไม่ควรใช้ข้อมูลจากผลการสอบด้วยแบบทดสอบ เพียงอย่างเดียว เพราะไม่เป็นธรรมกับผูเรียนที่ความหลากหลายด้านความสามารถและผลสัมฤทธิ์ ้ 5) การประเมินในชันเรียนควรกระทาอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้ได้ข้อมูลระยะยาวในการใช้เป็น ้ หลักฐานการพัฒนาและความก้าวหน้าของผูเรียน ้ 6) การประเมินผลควรรวมถึงการวัดแรงจูงใจ เจตคติ และปฏิกิรยาทางจิตพิสัย (Affective ิ reaction) ของผู้เรียนต่อหลักสูตรและการเรียนการสอน นอกเหนือไปจากการวัดด้านความรู้ ทักษะทาง ปัญญา และยุทธศาสตร์การคิด 7) การประเมินผลควรครอบคลุมถึงตัวอย่างผลงาน (Exhibits) แฟ้มสะสมงาน (Portfolios) และการปฏิบัติจริง นอกเหนือไปจากการทดสอบแบบ Paper-and-pencil 8) ผลการประเมิ น ควรให้ ข้ อ มู ล ป้ อ นกลั บ ที่ ชั ด เจน เข้ า ใจง่ า ย และเป็ น ปั จ จุ บั น แก่ ผูเกี่ยวข้องในระดับต่าง ๆ ้
7.
9) การประเมินไม่ควรถือความถูก -ผิด
ของคาตอบอย่างเคร่งครัดและคับแคบ แต่ควร พิจารณาถึงคาตอบที่เป็นไปได้และสมเหตุสมผล และเปิดโอกาสให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้จากความ ผิดพลาด 10) การประเมินควรเปิด โอกาสให้ผู้เ รีย นได้แสดงออกซึ่งความรู้และความเข้าใจอย่า ง สร้างสรรค์ และไม่ควรจากัดเพียงแค่โจทย์ปัญหาและคาตอบที่ได้เตรียมไว้ล่วงหน้า สรุปได้วาในการประเมินตามสภาพจริง ผู้สอนต้องอาศัยข้อมูลการประเมินจากการปฏิบัติภาระ ่ งานที่มีความหมาย และสอดคล้องกับสภาพจริง (Authentic tasks) ผู้สอนต้องมีความยืดหยุ่นในการ ประเมินสูง โดยการให้โอกาสแก่ผู้เรียนได้แสดงศักยภาพของตนเองออกมาอย่างหลากหลายและเต็มที่ เสียก่อน แล้วจึงประเมินผู้เรียนให้ครอบคลุมทุกด้านทั้งแรงจูงใจ เจตคติ และปฏิกิริยาทางจิตพิสัย ซึ่ง อาจจะต้องพิจารณาจากตัวอย่าง ผลงาน(Exhibits) แฟ้มสะสมงาน (Portfolios) และการปฏิบัติจริง หน่วยการเรียนรู้ท่ี 2 ภาวะนาทางวิชาการ 1. การเป็นผู้นาทางวิชาการ ผู้นา คือ “บุคคลที่มีความรู้ความสามารถในการใช้ปัญญาชี้นา เพื่อปฏิบัติงานให้เกิดประโยชน์ บรรลุตามเป้าหมายและวัตถุประสงค์ ต่อองค์กรและต่อตนเอง โดยอาศัยเทคโนโลยี หรือนวัตกรรมให้ เกิดการเปลี่ยนแปลงไปสู่ในทิศทางที่พึงประสงค์” ผู้นาทางวิชาการ จึงหมายถึง บุคคลที่มีความรู้ความสามารถในทางวิชาการ ที่สามารถชี้นา ด้วยปัญญา เพื่อปฏิบัติงานให้เกิดประโยชน์ บรรลุตามเป้าหมายและวัตถุประสงค์ ต่อองค์กรและต่อ ตนเอง โดยอาศัยเทคโนโลยี หรือนวัตกรรมให้เ กิดการเปลี่ย นแปลงไปสู่ในทิศทางที่พึงประสงค์บ ท หลักการ ทฤษฎี และความถูกต้องตามเชิงวิชาการ ขั้นตอนการพัฒนาภาวะผู้นาทางวิชาการ มีดังนี้ 1) ศึกษาสารวจตนเอง 2)เลือกคุณสมบัติ พฤติก รรมใดพฤติก รรมหนึ่ง เพีย งพฤติก รรมเดีย วในการพัฒนาแต่ละครั้ง 3)ก าหนดวัตถุป ระสงค์ พฤติกรรม / คุณลักษณะที่ตนต้องการเปลี่ยนแปลง 4)หาความรู้ในการพัฒนาพฤติกรรม / คุณลักษณะ เหล่ า นั้ น จั ด ท าแผนปฏิ บั ติ ก ารที่ ส ามารถด าเนิ น การได้ อ ย่ า งต่ อ เนื่ อ ง ให้ ร ะบุ วั นเวลาที่ จ ะปฏิ บั ติ ช่วงเวลาที่จะใช้ทั้งหมด วิธีการที่กาหนดขั้นตอนไว้ชัดเจน 5)ปฏิบัติการตามแผนที่กาหนดไว้บันทึกผลที่ เกิดขึ้นทุกครั้งที่ปฏิบัติ 6)เมื่อประสบผลสาเร็จตามวัตถุประสงค์หาทางเผยแพร่นวัตกรรมที่ค้นพบ 2. การสร้างบรรยากาศในชั้นเรียน บรรยากาศชั้นเรียนเรียนต้องมีลักษณะทางกายภาพที่อานวยความสะดวกต่อการจัดกิจกรรม การเรียนรูสร้างความสนใจใฝ่รู้และศรัทธาต่อการเรียน นอกจากนี้ปฏิสัมพันธ์ระหว่างกลุ่มนักเรียนและ ้ ระหว่างครูกับนักเรียน ความรักและศรัทธาที่ครูและนักเรียนมีต่อกัน การเรียนที่ร่ืนรมย์ปราศจากความ กลัวและวิตกกังวล สิ่งเหล่านี้จะช่วยสร้างบรรยากาศการเรียนได้ดี ดังนั้นจึงสามารถแบ่งประเภทของ บรรยากาศในชั้น เรี ย นได้ 2 ประเภทคือ 1) บรรยากาศทางกายภาพ 2) บรรยากาศทาง จิตวิทยา บรรยากาศทั้ง 2 ประเภท นี้ มีสวนส่งเสริมการเรียนรู้ทั้งสิ้น ่
8.
บรรยากาศทางกายภาพ (Physical Atmosphere)
บรรยากาศทางกายภาพหรือบรรยากาศทางด้านวัตถุ หมายถึง การจัดสภาพแวดล้อมต่าง ๆ ภายในห้องเรียนให้เป็นระเบียบเรียบร้อย น่าดู มีความสะอาด มีเครื่องใช้ และสิ่งอานวยความสะดวก ต่าง ๆ ที่จะส่งเสริมให้การเรียนของนักเรียนสะดวกขึ้น เช่น ห้องเรียนมีขนาดเหมาะสม แสงเข้าถูกทาง และมีแสงสว่างเพียงพอ กระดานดามีขนาดเหมาะสม โต๊ะเก้าอีมีขนาดเหมาะสมกับวัยนักเรียน เป็นต้น ้ บรรยากาศทางจิตวิทยา (Psychological Atmosphere) บรรยากาศทางจิตวิทยา หมายถึง บรรยากาศทางด้านจิตใจที่นักเรียนรู้สึกสบายใจ มีความ อบอุ่น มีความเป็นกันเอง มีความสัมพันธ์อันดีต่อกัน และมีความรักความศรัทธาต่อผู้สอน ตลอดจนมี อิสระในความกล้าแสดงออกอย่างมีระเบียบวินัยในชั้นเรียน 3. นวัตกรรมการบริหารจัดการชั้นเรียนแนวใหม่ การบริหารจัดการชั้นเรียนเป็นสิ่งสาคัญอันดับต้น ๆ อันจะเป็นแรงกระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดความ กระตื อ รื อ ร้ น ในการเรี ย นการสอน ร่ ว มกิ จ กรรมต่ า ง ๆ ภายในห้ อ งเรี ย นและน าไปสู่ ก ารประสบ ความสาเร็จในการจัดการเรียนการสอนที่มีประสิทธิภาพและได้ประสิทธิผลสูงสุด ชั้นเรียนแบบนวัตกรรม เป็นชั้นเรียนที่เอื้ออานวยต่อการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยใช้ เทคนิควิธีการแบบสอนใหม่ ๆ เช่น การเรียนรู้แบบร่วมมือ แบบโฟร์แมท แบบสตอรี่ไลน์ แบบโครงงาน เป็นต้น ซึ่งทาให้นักเรียนจะมีอิสระในการเรียน อาจเรียนเป็นกลุ่ม หรือเป็น รายบุคคล การจัดชั้นเรียน จึงมีรูปแบบการจัดโต๊ะเก้าอี้ในลักษณะต่าง ๆ ไม่จาเป็นต้องเรียนแถวหันหน้าเข้าหาครู เช่น จัดเป็นรูป ตัวที ตัวยู วงกลมหรือจัดเป็นกลุ่ม ลักษณะการจัดชั้นเรียน การจัดชั้นเรียนแบบนวัตกรรมนี้ โต๊ะครูไม่จาเป็นต้องอยู่หน้าชั้น อาจ เคลื่อนย้ายไปตามมุนต่าง ๆ การจัดโต๊ะนักเรียนจะเปลี่ยนรูปแบบไปตามลักษณะการจัด กิจกรรมการ เรียนการสอนของครู ส่วนใหญ่นิยมจัดโต๊ะเป็นกลุ่ม เพื่อให้นักเรียนปฏิบัติกิจกรรร่วมกัน มีการจัดศูนย์ สนใจ มีสื่อการสอนในรูปของชุดการสอนของครู ส่วนใหญ่นิยมจัดโต๊ะเป็นกลุ่ม เพื่อให้นักเรียนปฏิบัติ กิจกรรมร่วมกัน มีการจัดศูนย์สนใจ มีสื่อการสอนในรูปของชุดการสอน หรือเครื่ องช่วยสอนต่าง ๆ ไว้ ให้ นั ก เรี ย นศึ ก ษาด้ ว ยตนเอง หรื อ ศึ ก ษาร่ ว มกั บ เพื่ อ น มี ก ารตกแต่ ง ผนั ง ห้ อ งและเปลี่ ย นแปลง สภาพแวดล้อมให้เหมาะสมกับเรื่องที่นักเรียนกาลังเรียน 4. จิตวิทยาการเรียนรู้ท่เหมาะสมกับผู้เรียน ี ทฤษฎีการเรียนรู้มีอทธิพลต่อการจัดการเรียนการสอนมาก เพราะจะเป็นแนวทางในการกาหนด ิ ปรัชญาการศึกษาและการจัดประสบการณ์ เนื่องจากทฤษฎีการเรียนรู้เป็นสิ่งที่อธิบายถึงกระบวนการ วิธีการและเงื่อนไขที่จะทาให้เกิดการเรียนรู้และตรวจสอบว่าพฤติกรรมของมนุษย์ มีการเปลี่ยนแปลง ได้อย่างไร ทฤษฎีการเรียนรู้ท่ีสาคัญ แบ่งออกได้ 2 กลุ่มใหญ่ๆ คือ ทฤษฎีกลุ่มสัมพันธ์ต่อเนื่อง (Associative Theories) ทฤษฎีกลุ่มความรูความเข้าใจ (Cognitive Theories) ้
9.
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มสัมพันธ์ต่อเนื่อง ทฤษฎีนี้เห็นว่าการเรียนรู้เกิดจากการเชื่อมโยงระหว่าง สิ่งเร้า (Stimulus)
และการตอบสนอง (Response) ปัจจุบันเรียกนักทฤษฎีกลุ่มนี้ว่า "พฤติกรรมนิยม" (Behaviorism) ซึ่งเน้นเกี่ยวกับกระบวนการเปลี่ยนแปลง พฤติกรรมที่มองเห็น และสังเกตได้มากกว่า กระบวนการคิด และปฏิกิริยาภายในของผู้เรียน ตัวอย่างการนามาประยุกต์ใช้ 1)ครูควรใช้หลักการ เรี ย นรู้ จากทฤษฎี ป ลู ก ฝัง ความรู้ สึก และเจตคติ ที่ ดีต่ อเนื้ อหาวิ ช า กิจ กรรมนั ก เรี ย น ครู ผู้ส อนและ สิ่งแวดล้อมอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องให้เกิดในตัวผู้เรียน 2) ครูสามารถป้องกันความรู้สึกล้มเหลว ผิดหวัง และ วิตกกังวลของผู้เรียนได้โดยการส่งเสริมให้กาลังใจในการเรียนและการทากิจกรรม ไม่คาดหวังผลเลิศ จากผู้เรียน และหลีกเลี่ยงการใช้อารมณ์หรือลงโทษผู้เรียนอย่างรุนแรงจนเกิดการวางเงื่อนไขขึ้น 3) การเสริมแรงและ การลงโทษ 4) การปรับพฤติกรรม และ การแต่งพฤติกรรม ทฤษฎี ก ารเรี ย นรู้ ก ลุ่ ม ความรู้ ค วามเข้ า ใจ ทฤษฎี ก ารเรี ย นรู้ ที่ ม องเห็ น ความส าคั ญ ของ กระบวนการคิดซึ่งเกิดขึ้นภายในตัวบุคคลในระหว่างการเรียนรู้มากกว่าสิ่งเร้าและการตอบสนอง นัก ทฤษฎีกลุ่มนี้เชื่อว่า พฤติกรรมหรือการตอบสนองใดๆ ที่บุคคลแสดงออกมานั้นต้องผ่านกระบวนการ คิดที่เกิดขึ้นระหว่างที่มีสิ่งเร้าและการตอบสนอง ซึ่งหมายถึงการหยั่งเห็น (Insight) คือความรู้ความ เข้าใจในการแก้ปัญหา โดยการจัดระบบการรับรู้แล้วเชื่อมโยงกับประสบการณ์เดิม ตัวอย่างการนามา ประยุกต์ใช้ 1) ครูควรสร้างบรรยากาศการเรียนที่เป็นกันเอง และมีอิสระที่จะให้ผู้เรียนแสดงความ คิดเห็นอย่างเต็มที่ทั้งที่ถูกและผิด เพื่อให้ผู้เรียนมองเห็นความสัมพันธ์ของข้อมูล และเกิดการหยั่งเห็น 2) เปิดโอกาสให้มีการอภิปรายในชั้นเรียน 3)การกาหนดบทเรียนควรมีโครงสร้างที่มีระบบเป็นขั้นตอน เนื้อหามีความสอดคล้องต่อเนื่องกัน 5. การให้คาปรึกษา คาแนะนา และข้อเสนอแนะ หลักการของการให้การปรึกษา (Counseling) แบบสร้างแรงจูงใจ มีความเชื่อว่ามนุษย์ทุกคนมีศักยภาพ ที่จ ะเปลี่ย นแปลงตนเองได้ บทบาทของผู้ ใ ห้ก ารปรึ ก ษาจึ ง เป็ น การช่ ว ยให้ผู้ รั บ บริก ารมี โ อกาสใช้ ศักยภาพพัฒนากระบวนการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมให้เกิดขึ้นได้ ประกอบด้วยหลักการสาคัญดังนี้ (1.) แสดงความเข้าใจผู้รับบริการ (Express Empathy) โดยการฟังที่ตั้งใจจะเข้าใจความรู้สึก ไม่ตัดสินใจ ไม่ วิจารณ์ ช่วยให้เข้าใจถึงความลังเล และมีเหตุผลในการสร้างแรงจูงใจที่จะเปลี่ยนแปลง ( 2.) ช่วยให้ การรับบริการเห็นถึงความขัดแย้ง (Develop Discrepancy) ทาให้ช่องว่างระหว่างพฤติกรรมปัจจุบัน กับ สิ่งที่ต้องบรรลุ จะช่วยให้การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมได้ (3.) หลีกเลี่ยงการทะเลอะวิวาทขัดแย้งหรือ เอาชนะ (Avoid Argumentation) ซึ่งถือว่าเป็นสิ่งไร้ป ระโยชน์ (4.)โอนตามแรงต้าน (Roll with Resistance) เพื่อเปลี่ยนการรับรู้หรือมุมมองของผู้รับบริการ แต่ไม่ได้บังคับให้เห็นคล้อยตาม (5.) สนับสนุนความเชื่อมั่นในความสามารถของตนเองของผู้รับบริการ (Support Seif - Efficacy) โดยสื่อให้ ผูรับบริการรูว่าสามารถประสบความสาเร็จได้ ซึ่งเป็นแรงจูงใจที่สาคัญยิ่ง (6)สาหรับรูปแบบของการให้ ้ ้ คาปรึกษาแบ่งได้ เป็น 2 ประเภท คือ (1) การให้คาปรึกษารายบุคคล (Individual Counseling)และ (2) การให้คาปรึกษาแบบกลุ่ม(Group Counseling)
10.
บทที่ 3
การวิเคราะห์บทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบและวางแผนพัฒนาคุณภาพการปฏิบัติงานของ ครูชานาญการพิเศษ หน่วยการเรียนรู้ท่ี 3 ความเป็นครู 1. พัฒนาจิตวิญญาณของความเป็นครูเพื่อสร้างเสริมคุณธรรมจริยธรรม การพัฒนาจิตวิญญาณของความเป็นครูควรต้องคานึงถึงความต้องการและความคาดหวังที่มี ต่อการทางานของตนให้ประสบผลสาเร็จ โดยจะมีแนวทางและวิธีการในการสร้างความสาเร็จในหน้าที่ การงานที่แตกต่างกันไป บางท่านชอบเอาใจและหาวิธีการต่างๆ เพื่อสร้างความพึงพอใจจากหัวหน้า งานหรือผูเข้ารับบริการ เพราะคิดว่าสามารถสนับสนุนความส าเร็จที่เกิดขึ้นให้กับตนเองได้แต่บางท่าน ้ ประสบความสาเร็จได้ จากการสนับสนุนของผู้ร่วมงานโดยพยายามทาทุกวิถีทาง ให้สมาชิกรักใคร่เพื่อ จะได้สนับสนุนให้ตนเองประสบความสาเร็จใน และก็ยังมีอีกหลายต่อหลายคนที่มีความต้องการและ ความมุ่งหวังที่จะให้หน้าที่ การงานของตนประสบความสาเร็จด้วความสามารถและฝีมือของตัวเอง ความสาเร็จด้วยฝีมือของเราเองจะเป็นสิ่งที่น่าภาคภูมิใจที่สุดในชีวิต ดังนั้นการพัฒนาจิตวิญญาณ ความเป็นครูในเบืองต้นจึงขอนาเสนอเทคนิคและวิธีการเพื่อการสร้างความสาเร็จในการทางานในฐานะ ้ วิชาชีพครู ซึ่งจัดเป็นวิชาชีพชั้นสูงด้วยหลักการของ " D-E-V-EL-O-P " ดังนี้ Development : ไม่ หยุดยั้งการพัฒนา Endurance : มุ่งเน้นความอดทน Versatile : หลากหลายความสามารถ Love : รัก งานที่ทา Organizing : จัดการเป็นเลิศ Positive Thinking : คิดแต่ทางบวก 2. วินัยและจรรยาบรรณวิชาชีพครู จรรยาบรรณครู พ.ศ. 2539 1) ให้กาลังใจในการศึกษาเล่าเรียนแก่ศษย์โดยเสมอหน้า ิ 2) ครูต้องอบรม สั่งสอน ฝึกฝน สร้างเสริมความรู้ ทักษะและนิสัย ที่ถูกต้องดีงาม ให้ เกิดแก่ศิษย์ อย่างเต็มความสามารถด้วยความบริสุทธิ์ใจ 3) ครูต้องประพฤติ ปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดีแก่ศิษย์ทั้งทางกาย วาจา และจิตใจ 4) ครูต้องไม่กระทาตนเป็นปฏิปักษ์ตอความเจริญทางกาย สติปัญญา จิตใจ อารมณ์ ่ และสังคมของศิษย์ 5) ครูต้องไม่แสวงหาประโยชน์อันเป็นอามิสสินจ้างจากศิษ ย์ ในการปฏิบัติหน้าที่ ตามปกติ และไม่ใช้ให้ศษย์กระทาการใด ๆ อันเป็นการหาผลประโยชน์ ให้แก่ตนโดยมิชอบ ิ 6) ครูย่อมพัฒนาตนเองทั้งทางด้านวิชาชีพ ด้านบุคลิกภาพและวิสัยทัศน์ให้ทันต่อการ พัฒนาทาง วิทยาการเศรษฐกิจสังคมและการเมืองอยู่เสมอ 7) ครูย่อมรักและศรัทธาในวิชาชีพครูและเป็นสมาชิกที่ดต่อองค์กรวิชาชีพครู ี 8) ครูพึงช่วยเหลือเกื้อกูลครูและชุมชนในทางสร้างสรรค์
11.
9) ครูพึง ประพฤติ
ปฏิ บัติต น เป็ นผู้น าในการอนุรั ก ษ์ และพั ฒนาภูมิปั ญ ญา และ วัฒนธรรมไทย 3. หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง “เศรษฐกิจพอเพียง” เป็นปรัชญาที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงมีพระราชดารัสชี้แนะ แนวทาง การดาเนินชีวิตแก่พสกนิกรชาวไทย กรอบแนวคิด เป็นปรัชญาที่ชี้แนะแนวทางการดารงอยู่ และปฏิบัติตนในทางที่ค วรจะเป็นโดยมีพื้นฐานมาจากวิถีชีวิตดั้งเดิมของสังคมไทย สามารถนามา ประยุกต์ใช้ได้ตลอดเวลา และเป็นการมองโลกเชิงระบบที่มีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา มุ่งเน้นการ รอดพ้นจากภัยและวิกฤติ เพื่อความมั่นคงและความยั่งยืนของการพัฒนา คุณลักษณะ เศรษฐกิจ พอเพียงสามารถนามาประยุกต์ใช้กับการปฏิบัติตนได้ในทุกระดับ โดยเน้นการปฏิบัติบนทางสายกลาง และการพัฒนาอย่างเป็นขั้นตอน คานิยาม ความพอเพียงจะต้องประกอบด้วย 3 คุณลักษณะพร้อม ๆ กัน ดังนี้ 1) ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดีที่ไม่น้อยเกิดไปและไม่มากเกินไป โดยไม่ เบียดเบียนตนเองและผู้อื่น เช่น การผลิตและการบริโภคที่อยู่ในระดับพอประมาณ 2) ความมีเหตุผล หมายถึง การตัดสินใจเกี่ยวกับระดับของความพอเพียงนั้นจะต้อง เป็นไปอย่างมีเหตุผล โดยพิจารณาจากเหตุปัจจัยที่เกี่ยวข้องตลอดจนคานึงถึงผลที่คาดว่าจะเกิดขึ้น จากการกระทานั้น ๆ อย่างรอบคอบ 3) การมีภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว หมายถึง การเตรียมตัวให้พร้อมรับผลกระทบ และการ เปลี่ยนแปลงด้านต่าง ๆ ที่จะเกิดขึ้นโดยคานึงถึงความเป็นไปได้ของสถานการณ์ต่าง ๆ ที่คาดว่าจะ เกิดขึ้นในอนาคตทั้งใกล้และไกล เงื่อนไข การตัดสินใจและการดาเนินกิจกรรมต่าง ๆ ให้อยู่ในระดับพอเพียงนั้น ต้องอาศัยทั้ง ความรุ้ และคุณธรรมเป็นพืนฐาน กล่าวคือ 1. เงื่อนไขความรู้ 2. เงื่อนไขความธรรม มีความตระหนักใน ้ คุณธรรม หน่วยการเรียนรู้ท่ี 4 การวางแผนกลยุทธ์เพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียน 1. การวิเคราะห์บทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบเพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียน หน้าที่และความรับผิดชอบของครูเป็นส่วนสาคัญยิ่งในการประกอบวิชาชีพครูและการดารง ความเป็นครูของครูแต่ละคน งานครูอาจกาหนดได้ว่ามีงานสอนงานอบรม และงานพัฒนาศิษย์ให้ บรรลุ ต ามวั ต ถุ ป ระสงค์ ข องหลั ก สู ต รและแผนการศึ ก ษาแห่ ง ชาติ ครู ต้ อ งมี ห น้ า ที่ แ ละรั บ ผิ ด ชอบ มากมายกว้ า งขวางยิ่ ง งานสอนเป็ น หน้ า ที่ ค รู ที่ มุ่ ง ไปที่ ศิ ษ ย์ ใ นด้ า นการให้ ข้ อ มู ล การให้ เ นื้ อ หา ความรู้ เป็นการเผชิญกันระหว่างครูกับศิษย์ งานอบรมเป็นการจัดกระบวนการเรียนให้ศิษย์ได้มี ประสบการณ์ต่างๆที่ครูวางแผนไว้เพื่อให้ศิษย์เติบโตและอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข ส่วนงานพัฒนา ศิษย์นั้นครูมีหน้าที่และความรับผิดชอบมากมายทั้งงานที่ต้องสัมผัสกับบุคคลภายนอกโรงเรียนและ รวมถึงตัวครูเองด้วย
12.
หน้าที่ตามภาระกิจของงานครู หน้าที่และความรับผิดชอบของครูจากคาว่า TEACHERS
สรุป ได้ดังนี้ T = Teaching and Training การสั่งสอนและการฝึกฝนอบรม E = Ethics Instruction การ อบรมคุณธรรมและจริยธรรม A = Action Research การค้นคว้าวิจัยหรือการแสวงหาความรู้ ใหม่ๆ C = Cultural Heritage การถ่ายทอดวัฒนธรรม H = Human Relationship การสร้าง มนุษยสัมพันธ์ E = Extra Jobs การปฏิบัติหน้าที่พิเศษต่างๆ R = Reporting and Counseling การ รายงานผลและการแนะแนว S = Student Activities การจัดกิจกรรมนักเรียน 2. การวางแผนกลยุทธ์เพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียน การวางแผน เป็ น กระบวนการก าหนดทางเลื อ กที่ จ ะด าเนิ น การในอนาคต เพื่ อ ให้ บ รรลุ วัตถุประสงค์ที่ตองการ โดยวิธีการที่ให้ประโยชน์สูงสุด ้ ขั้นตอนการวางแผนกลยุทธ์เพื่อพัฒนาคุณภาพผูเรียน ้ 1) ศึก ษารวบรวมข้อมูล สารเทศ โดยศึกษา แผนยุ ท ธศาสตร์ แผนพัฒนาคุณภาพของ กระทรวงศึกษาธิการ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา และ สถานศึกษา ศึกษาหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 หลักสูตรสถานศึกษา 2) การวางแผนและนาแผนไปปฏิบัติ โดยใช้วงจร " Deming " คือวงจรบริหารงานคุณภาพ ประกอบด้วย 4 ขั้นตอน คือ PDCA 3. การวิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียน พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2)พ.ศ. 2554 ได้ กาหนดให้นาการวิจัยมาใช้การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ ดังนี้ 1) การวิจัยในกระบวนการเรียนรู้ มุ่งให้ผู้เรียนทาวิจัย เพื่อใช้กระบวนการวิจัยเป็นส่วน หนึ่งของการเรียนรู้ ผู้เรียนสามารถวิจัยในเรื่องที่สนใจหรือต้องการหาความรู้หรื อต้องการแก้ไขปัญหา การเรียนรู้ 2) การวิจัยพัฒนาการเรียนรู้ มุ่งให้ผู้สอนสามารถทาวิจัย เพื่อพัฒนาการเรียนรู้ด้วย การศึกษาวิเคราะห์ปัญหาการเรียนรู้ วางแผนแก้ไขปัญหาการเรียนรู้ เก็บรวบรวมข้อมูล และวิเคราะห์ ข้อมูลอย่างเป็นระบบ ผู้ส อนสามารถท าวิจัยและพัฒนานวัตกรรมการศึกษาที่นาไปสู่คุณภาพการ เรียนรู้ 3) การวิจัยพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา มุ่งให้ผู้บริหารทาการวิจัยและนา ผลการวิจัยมาประกอบการตัดสินใจ รวมทั้งจัดทานโยบายและวางแผนบริหารจัดการสถานศึกษาให้ เป็นองค์กรที่นาไป สู่คุณภาพการจัดการศึกษา และเป็นแหล่งสร้างเสริมประสบการณ์เรียนรู้ของผู้เรียน อย่างมีคุณภาพ กระบวนการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ มี 5 ขั้นตอน ดังนี้ ขั้นตอนที่ 1 วิเคราะห์ความต้องการ/ พัฒนาการเรียนรู้ ขั้นตอนที่ 2 วางแผนการจัดการเรียนรู้ ขั้นตอนที่ 3 จัดกิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นตอน ที่ 4 ประเมินผลการเรียนรู้ ขั้นตอนที่ 5 ทารายงานผลการเรียนรู้
13.
บทที่ 4
บทสรุป ในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ในฐานะของผูปฏิบัติหน้าที่ขาราชการครู จึงต้องคานึกถึง ้ ้ การพัฒนาศักยภาพผูเรียน ให้เป็นไปตาม พ.ร.บ. การศึกษา เพื่อให้ผู้เรียนบรรลุตามเป้าหมายของการ ้ จัดการศึกษา ดังนั้นก กระบวนการที่ครูต้องทาให้อย่างเป็นระบบเพื่อให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้ มี คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และสมรรถนะตามที่หลักสูตรกาหนด มีดังนี้ 1. วิเคราะห์หลักสูตร บริบทพืนฐานด้านผู้เรียน สถานที่ การจัดชั้นเรียน ้ 2. วางแผน ออกแบบการเรียนจัดการเรียนรู้ 3. ทาแผนการจัดการเรียนรู้ 4. จัดกิจกรรมการเรียนรู้ โดยใช้ สื่อ กระบวนการที่หลากหลาย 5. ประเมินผลการจัดการเรียนรู้ 6. วิเคราะห์ปัญหา จุดพัฒนา หรือแก้ปัญหาโดยใช้กระบวนการวิจัยในชั้นเรียน
14.
บรรณานุกรม Tyler, R. W.
(1949). Basic principles of curriculum and instruction. London: Kluwer Academic Publishers. จิตรศรา ดาด้า ทรงนาศึก เข้าถึงเมื่อ 25 กันยายน 2555 http://www.learners.in.th/blogs/posts/511425 ชัยวัฒน์ สุทธิรตน์ ,บทความ เข้าถึงเมื่อ 25 กันยายน 2555 ั http://office.nu.ac.th/edu_teach/ASS/Download/vchk-การออกแบบการวัดและประเมินผล การเรียนรู้- อ.ชัยวัฒน์ -new.pdf พรรณี ชูทัย เจนจิต . 2538 . จิตวิทยาการเรียนการสอน. พิมพ์ครั้งที่ 4 ; กรุงเทพ , บริษัท คอมแพคท์พริ้นท์จากัด. บุหงา วชิระศักดิ์มงคล ,บทความ ภาวะผูนาทางวิชาการ : ภาวะผูนาทางวิชาการ รองศาสตราจารย์ ้ ้ http://office.nu.ac.th/edu_teach/ASS/Download/vchk-B1.ภาวะผูนาทางวิชาการ.pdf ้ อัจฉรา ธรรมาภรณ์ .2531. จิตวิทยาการเรียนรู้. ปัตตานี : คณะศึกษาศาสตร์ หาวิทยาลัยสงขลา นครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี, 2531. http://office.nu.ac.th/edu_teach/ASS/Download/vchk-ความเป็นครู-อ.ภูฟ้า.pdf เข้าถึงเมื่อ 28 กันยายน 2555 http://www.moobankru.com/special_subject3.html เข้าถึงเมื่อ 24 กันยายน 2555 http://www.inspect9.moe.go.th/economic_king80.htm เข้าถึงเมื่อ 22 กันยายน 2555 http://panchalee.wordpress.com/2011/06/17/การวิจัยเพื่อพัฒนา เข้าถึงเมื่อ 25 กันยายน 2555 http://inded.rmutsv.ac.th/datapdf/08/2010-08-09_07-52-43_chaiya.pdf เข้าถึงเมื่อ 25 กันยายน 2555
Baixar agora