SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 12
Baixar para ler offline
ประวัติศาสตร  การนับศักราช




                               การนับศักราช



                                      พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร  การนับศักราช




                          การนับศักราชแบบไทย
                          1. พุทธศักราช (พ.ศ.)
                          2. มหาศักราช (ม.ศ.)
                          3. จุลศักราช (จ.ศ.)
                          4. รัตนโกสินทรศก (ร.ศ.)


                                               พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร  การนับศักราช




                         การนับศักราชแบบสากล
                         1. คริสตศักราช (ค.ศ.)
                         2. ฮิจเราะหศักราช (ฮ.ศ.)




                                               พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร  การนับศักราช


         พุทธศักราช (พ.ศ.) ศักราชทางพระพุทธศาสนา
         มูลเหตุในการตั้งศักราช
              - การเสด็จปรินิพพานของพระพุทธเจาในวันขึ้น 15 ค่ํา
         เดือน 6
         จุดเริ่มตนในการนับศักราช มี 2 แบบ
              1. แบบไทย-ลาว-เขมร
         เริ่ม พ.ศ. 1 เมื่อพระพุทธเจาเสด็จปรินิพพานไปแลว 1 ป
                                                                                   http://203.155.220.238/program
                                                                                   _file/editor/160_r06.jpg


              2. แบบลังกา-พมา-อินเดีย เริ่ม พ.ศ. 1
         เมื่อปที่พระพุทธเจาปรินิพพานเลย (จึงมี พ.ศ. มากกวาไทย-ลาว-เขมร 1 ป)
         การใชในประเทศไทย
              - เริ่มตนนับพุทธศักราชมาตั้งแตสมัยพระนารายณมหาราช
              - ใชอยางเปนทางการ สมัย ร.6
              - สมัยจอมพล ป. เริ่มพุทธศักราช วันที่ 1 มกราคม ถึง 31 ธันวาคม
         เหมือนคริสตศักราช
                                                     พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร  การนับศักราช



         มหาศักราช (ม.ศ.)
         มูลเหตุในการตั้งศักราช
         - พระเจากนิษกะแหงอินเดียตั้งขึ้น
         จุดเริ่มตนในการนับศักราช
         - เริ่มตั้งแต พ.ศ. 622
         - กลุมประเทศเอเชียตะวันออกเฉียงใตรับมาจากอินเดีย              KANISHKA
                                                                         fl. in 2nd Century
            (ผานทางพราหมณ + พอคา)                                    AD
                                                                         King of India
         - ใชคํานวณทางโหราศาสตร                                        http://www.hyperhistory.co
                                                                         m/online_n2/people_n2/pp

         การใชในประเทศไทย
                                                                         ersons3_n2/images_ppers
                                                                         ons3/kanishka.gif


         - ไทยรับมาจากเขมร (ซึ่งเขมรรับมาจากอินเดีย)
         - ใชในสมัยสุโขทัย จนถึงอยุธยาตอนกลาง
         - พบมากในศิลาจารึก


                                                     พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร  การนับศักราช



            จุลศักราช (จ.ศ.)
            มูลเหตุในการตั้งศักราช
            - โปปะสิระหัน(โพพาสอระหัน) กษัตริยพมาไดตั้งขึ้น
             จุดเริ่มตนในการนับศักราช
            - เริ่มตั้งแต พ.ศ. 1182
            - ใชคํานวณทางโหราศาสตรบอกเวลาในจารึก พงศาวดาร
            การใชในประเทศไทย
            - ไทยรับมาจากพมา
            - ใชตั้งแต ลานนา - สุโขทัย
            - อยุธยา - รัชกาลที่ 5



                                                     พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร  การนับศักราช




                                                                    รัตนโกสินทรศก (ร.ศ.)
                                                                     มูลเหตุในการตั้งศักราช
                                                                    - รัชกาลที่ 5 ทรงตั้งขึ้น
                                                                    จุดเริ่มตนในการนับศักราช
                                                                    - ปที่มีการตั้งกรุงรัตนโกสินทร พ.ศ. 2525
                                                                    การใชในประเทศไทย
                                                                    - เริ่มใช สมัยรัลกาลที่ 5
                                                                    - เลิกใช สมัยรัชกาลที่ 6
                                                                    - มีเฉพาะไทยเทานั้น

            http://www.thairetouch.com/web/oil_painting/king5.jpg




                                                                              พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร  การนับศักราช




                               การนับศักราชแบบสากล




                                            พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร  การนับศักราช



         คริสตศักราช (ค.ศ.)
         มูลเหตุในการตั้งศักราช
         - นับตั้งแตปที่พระเยซูประสูติ
         จุดเริ่มตนในการนับศักราช
         - ค.ศ. 1
         - เริ่มนับวันที่ 1 มกราคม - 31 ธันวาคม
         - กอนพระเยซูประสูติ เรียกวา กอนคริสตศักราช
           ภาษาอังกฤษใชคําวา B.C. = Before Christ                http://upload.wikimedia.org/wikipedia/co

           (บีฟอร ไครส)                                         mmons/thumb/7/7b/The_visit_of_the_wi
                                                                   se-men.jpg/506px-
                                                                   The_visit_of_the_wise-men.jpg

         - สําหรับ ค.ศ. ภาษาอังกฤษใช A.D. ยอมาจากภาษาละติน
           Anno Domini = ปแหงพระผู เปนเจา
         การใชในประเทศไทย
         - เปนศักราชสากลที่ใชกันทั่วโลก
         - บางทีเรียกวา ศักราชกลาง (Common Era) เพราะมีความเปนสากลที่สุด
                                                  พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร  การนับศักราช




       ฮิจเราะหศักราช (ฮ.ศ.)
       มูลเหตุในการตั้งศักราช                     http://api.ning.com/files/0rnzA*3Aic1ZOTjmkQCLKZvGsxL68NXl9mQz
                                                  hNBV5J3gjvg*v1Tu3cceFd5k91iearWdR2wmoeV13jmoUZfFw1N68mt
                                                  Ok6SA/Bedouins.jpg

       - นับตั้งแตปที่ทานมูฮําหมัดอพยพจากเมืองเมกกะ (เมืองเกิด) ไปเมืองเมดินา เพื่อ
       เผยแผและประกาศศาสนาอิสลาม
       การใชในประเทศไทย
       - เปนศักราชของศาสนาอิสลาม
       - เปนปที่ทําใหศาสนาอิสลามเปนที่รูจักทั่วโลก
                                                              พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร  การนับศักราช




                     ตารางการเทียบศักราช

                     ม.ศ. + 621    = พ.ศ.   ดังนั้น   พ.ศ. - 621                     = ม.ศ.
                     จ.ศ. + 1181   = พ.ศ.   ดังนั้น   พ.ศ. - 1181                    = จ.ศ.
                     ร.ศ. + 2324   = พ.ศ.   ดังนั้น   พ.ศ. - 2324                    = ร.ศ.
                     ค.ศ. + 543    = พ.ศ.   ดังนั้น   พ.ศ. - 543                     = ค.ศ.
                     ฮ.ศ. + 1122   = พ.ศ.   ดังนั้น   พ.ศ. - 1122                    = ฮ.ศ.




                                                        พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
ประวัติศาสตร  การนับศักราช




                แหลงที่มาของขอมูล
                http://203.155.220.238/program_file/
                http://api.ning.com/
                http://th.wikipedia.org/wiki
                http://upload.wikimedia.org/wikipedia/
                http://www.hyperhistory.com/online_n2/if
                http://www.thairetouch.com/




                                                           พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

บท2ปฏิกิริยาเคมี
บท2ปฏิกิริยาเคมีบท2ปฏิกิริยาเคมี
บท2ปฏิกิริยาเคมีWichai Likitponrak
 
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์orasa1971
 
กัณฑ์มัทรี
กัณฑ์มัทรีกัณฑ์มัทรี
กัณฑ์มัทรีMilky' __
 
การทดลองภูเขาไฟระเบิด
การทดลองภูเขาไฟระเบิดการทดลองภูเขาไฟระเบิด
การทดลองภูเขาไฟระเบิดTaweesak Poochai
 
อารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดียอารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดียToey Songwatcharachai
 
รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5
รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5
รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5Nattayaporn Dokbua
 
เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์ 8
เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์ 8เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์ 8
เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์ 8Varin D' Reno
 
นิราศนรินทร์คำโคลง
นิราศนรินทร์คำโคลงนิราศนรินทร์คำโคลง
นิราศนรินทร์คำโคลงSurapong Klamboot
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7(4,10)
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7(4,10)การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7(4,10)
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7(4,10)mintmint2540
 
เข็มทิศและการใช้เข็มทิศ
เข็มทิศและการใช้เข็มทิศเข็มทิศและการใช้เข็มทิศ
เข็มทิศและการใช้เข็มทิศthnaporn999
 
ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์Jariya Jaiyot
 
ใบงานที่ 1 mind map
ใบงานที่ 1 mind mapใบงานที่ 1 mind map
ใบงานที่ 1 mind mapkrupornpana55
 
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชนบทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชนThepsatri Rajabhat University
 
เคาะสัญญาณ
เคาะสัญญาณเคาะสัญญาณ
เคาะสัญญาณAui Ounjai
 
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 2_บทที่ 6 แผนที่ภูมิประเทศและแผนที่ธรณีวิทยา
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 2_บทที่ 6 แผนที่ภูมิประเทศและแผนที่ธรณีวิทยาโลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 2_บทที่ 6 แผนที่ภูมิประเทศและแผนที่ธรณีวิทยา
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 2_บทที่ 6 แผนที่ภูมิประเทศและแผนที่ธรณีวิทยาsoysuwanyuennan
 

Mais procurados (20)

บท2ปฏิกิริยาเคมี
บท2ปฏิกิริยาเคมีบท2ปฏิกิริยาเคมี
บท2ปฏิกิริยาเคมี
 
หิน
หินหิน
หิน
 
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์
 
กัณฑ์มัทรี
กัณฑ์มัทรีกัณฑ์มัทรี
กัณฑ์มัทรี
 
การทดลองภูเขาไฟระเบิด
การทดลองภูเขาไฟระเบิดการทดลองภูเขาไฟระเบิด
การทดลองภูเขาไฟระเบิด
 
อารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดียอารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดีย
 
สนามแม่เหล็กไฟฟ้า
สนามแม่เหล็กไฟฟ้าสนามแม่เหล็กไฟฟ้า
สนามแม่เหล็กไฟฟ้า
 
อัตราเร็ว (Speed)
อัตราเร็ว (Speed)อัตราเร็ว (Speed)
อัตราเร็ว (Speed)
 
ศักราช
ศักราชศักราช
ศักราช
 
รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5
รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5
รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5
 
เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์ 8
เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์ 8เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์ 8
เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์ 8
 
นิราศนรินทร์คำโคลง
นิราศนรินทร์คำโคลงนิราศนรินทร์คำโคลง
นิราศนรินทร์คำโคลง
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7(4,10)
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7(4,10)การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7(4,10)
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7(4,10)
 
เข็มทิศและการใช้เข็มทิศ
เข็มทิศและการใช้เข็มทิศเข็มทิศและการใช้เข็มทิศ
เข็มทิศและการใช้เข็มทิศ
 
ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์
 
ใบงานที่ 1 mind map
ใบงานที่ 1 mind mapใบงานที่ 1 mind map
ใบงานที่ 1 mind map
 
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชนบทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
 
เคาะสัญญาณ
เคาะสัญญาณเคาะสัญญาณ
เคาะสัญญาณ
 
ใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครู
ใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครูใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครู
ใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครู
 
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 2_บทที่ 6 แผนที่ภูมิประเทศและแผนที่ธรณีวิทยา
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 2_บทที่ 6 แผนที่ภูมิประเทศและแผนที่ธรณีวิทยาโลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 2_บทที่ 6 แผนที่ภูมิประเทศและแผนที่ธรณีวิทยา
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 2_บทที่ 6 แผนที่ภูมิประเทศและแผนที่ธรณีวิทยา
 

Destaque

Mobile First, Web Second
Mobile First, Web SecondMobile First, Web Second
Mobile First, Web SecondIT Weekend
 
презентация2
презентация2презентация2
презентация2137nvk
 
IBM CDS Overview
IBM CDS OverviewIBM CDS Overview
IBM CDS OverviewJean Tan
 
Обзор платформы JAZZ
Обзор платформы JAZZОбзор платформы JAZZ
Обзор платформы JAZZIT Weekend
 
Jäsen 360 jäsentiedolla johtamisen työkalu seurakuntien käyttöön
Jäsen 360 jäsentiedolla johtamisen työkalu seurakuntien käyttöönJäsen 360 jäsentiedolla johtamisen työkalu seurakuntien käyttöön
Jäsen 360 jäsentiedolla johtamisen työkalu seurakuntien käyttöönjasen360
 
ใบงานที่3
ใบงานที่3ใบงานที่3
ใบงานที่3Yokyok' Nnp
 
обдарованість і її значимість для розвитку особистості
обдарованість і її значимість для розвитку особистостіобдарованість і її значимість для розвитку особистості
обдарованість і її значимість для розвитку особистостіkalyna1996
 

Destaque (9)

選挙カフェ
選挙カフェ選挙カフェ
選挙カフェ
 
Connect bnl ct
Connect bnl ctConnect bnl ct
Connect bnl ct
 
Mobile First, Web Second
Mobile First, Web SecondMobile First, Web Second
Mobile First, Web Second
 
презентация2
презентация2презентация2
презентация2
 
IBM CDS Overview
IBM CDS OverviewIBM CDS Overview
IBM CDS Overview
 
Обзор платформы JAZZ
Обзор платформы JAZZОбзор платформы JAZZ
Обзор платформы JAZZ
 
Jäsen 360 jäsentiedolla johtamisen työkalu seurakuntien käyttöön
Jäsen 360 jäsentiedolla johtamisen työkalu seurakuntien käyttöönJäsen 360 jäsentiedolla johtamisen työkalu seurakuntien käyttöön
Jäsen 360 jäsentiedolla johtamisen työkalu seurakuntien käyttöön
 
ใบงานที่3
ใบงานที่3ใบงานที่3
ใบงานที่3
 
обдарованість і її значимість для розвитку особистості
обдарованість і її значимість для розвитку особистостіобдарованість і її значимість для розвитку особистості
обдарованість і її значимість для розвитку особистості
 

Semelhante a 02การนับศักราช

10กรุงรัตนโกสินทร์ร5
10กรุงรัตนโกสินทร์ร510กรุงรัตนโกสินทร์ร5
10กรุงรัตนโกสินทร์ร5JulPcc CR
 
10กรุงรัตนโกสินทร์ร5 (1)
10กรุงรัตนโกสินทร์ร5 (1)10กรุงรัตนโกสินทร์ร5 (1)
10กรุงรัตนโกสินทร์ร5 (1)JulPcc CR
 
10กรุงรัตนโกสินทร์ร5 (1)
10กรุงรัตนโกสินทร์ร5 (1)10กรุงรัตนโกสินทร์ร5 (1)
10กรุงรัตนโกสินทร์ร5 (1)JulPcc CR
 
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 รJulPcc CR
 
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 รJulPcc CR
 
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 รJulPcc CR
 
13รัตนโกสินทร์ตอนต้นร8
13รัตนโกสินทร์ตอนต้นร813รัตนโกสินทร์ตอนต้นร8
13รัตนโกสินทร์ตอนต้นร8JulPcc CR
 
13รัตนโกสินทร์ตอนต้นร8
13รัตนโกสินทร์ตอนต้นร813รัตนโกสินทร์ตอนต้นร8
13รัตนโกสินทร์ตอนต้นร8JulPcc CR
 
12รัตนโกสินทร์ตอนต้นร7
12รัตนโกสินทร์ตอนต้นร712รัตนโกสินทร์ตอนต้นร7
12รัตนโกสินทร์ตอนต้นร7JulPcc CR
 
12รัตนโกสินทร์ตอนต้นร7
12รัตนโกสินทร์ตอนต้นร712รัตนโกสินทร์ตอนต้นร7
12รัตนโกสินทร์ตอนต้นร7JulPcc CR
 
03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย
03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย
03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทยJulPcc CR
 
03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย
03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย
03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทยJulPcc CR
 
05อาณาจักรโบราณในประเทศไทย
05อาณาจักรโบราณในประเทศไทย05อาณาจักรโบราณในประเทศไทย
05อาณาจักรโบราณในประเทศไทยJulPcc CR
 
05อาณาจักรโบราณในประเทศไทย
05อาณาจักรโบราณในประเทศไทย05อาณาจักรโบราณในประเทศไทย
05อาณาจักรโบราณในประเทศไทยJulPcc CR
 
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
04ประวัติชนชาติไทย
04ประวัติชนชาติไทย04ประวัติชนชาติไทย
04ประวัติชนชาติไทยJulPcc CR
 
08กรุงธนบุรี
08กรุงธนบุรี08กรุงธนบุรี
08กรุงธนบุรีJulPcc CR
 
08กรุงธนบุรี
08กรุงธนบุรี08กรุงธนบุรี
08กรุงธนบุรีJulPcc CR
 
08กรุงธนบุรี
08กรุงธนบุรี08กรุงธนบุรี
08กรุงธนบุรีJulPcc CR
 

Semelhante a 02การนับศักราช (20)

10กรุงรัตนโกสินทร์ร5
10กรุงรัตนโกสินทร์ร510กรุงรัตนโกสินทร์ร5
10กรุงรัตนโกสินทร์ร5
 
10กรุงรัตนโกสินทร์ร5 (1)
10กรุงรัตนโกสินทร์ร5 (1)10กรุงรัตนโกสินทร์ร5 (1)
10กรุงรัตนโกสินทร์ร5 (1)
 
10กรุงรัตนโกสินทร์ร5 (1)
10กรุงรัตนโกสินทร์ร5 (1)10กรุงรัตนโกสินทร์ร5 (1)
10กรุงรัตนโกสินทร์ร5 (1)
 
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร
 
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร
 
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร
 
13รัตนโกสินทร์ตอนต้นร8
13รัตนโกสินทร์ตอนต้นร813รัตนโกสินทร์ตอนต้นร8
13รัตนโกสินทร์ตอนต้นร8
 
13รัตนโกสินทร์ตอนต้นร8
13รัตนโกสินทร์ตอนต้นร813รัตนโกสินทร์ตอนต้นร8
13รัตนโกสินทร์ตอนต้นร8
 
12รัตนโกสินทร์ตอนต้นร7
12รัตนโกสินทร์ตอนต้นร712รัตนโกสินทร์ตอนต้นร7
12รัตนโกสินทร์ตอนต้นร7
 
12รัตนโกสินทร์ตอนต้นร7
12รัตนโกสินทร์ตอนต้นร712รัตนโกสินทร์ตอนต้นร7
12รัตนโกสินทร์ตอนต้นร7
 
03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย
03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย
03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย
 
03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย
03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย
03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย
 
05อาณาจักรโบราณในประเทศไทย
05อาณาจักรโบราณในประเทศไทย05อาณาจักรโบราณในประเทศไทย
05อาณาจักรโบราณในประเทศไทย
 
05อาณาจักรโบราณในประเทศไทย
05อาณาจักรโบราณในประเทศไทย05อาณาจักรโบราณในประเทศไทย
05อาณาจักรโบราณในประเทศไทย
 
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
 
04ประวัติชนชาติไทย
04ประวัติชนชาติไทย04ประวัติชนชาติไทย
04ประวัติชนชาติไทย
 
08กรุงธนบุรี
08กรุงธนบุรี08กรุงธนบุรี
08กรุงธนบุรี
 
08กรุงธนบุรี
08กรุงธนบุรี08กรุงธนบุรี
08กรุงธนบุรี
 
08กรุงธนบุรี
08กรุงธนบุรี08กรุงธนบุรี
08กรุงธนบุรี
 
Brands so(o net)
Brands so(o net)Brands so(o net)
Brands so(o net)
 

Mais de JulPcc CR

11กรุงรัตนโกสินทร์ร6
11กรุงรัตนโกสินทร์ร611กรุงรัตนโกสินทร์ร6
11กรุงรัตนโกสินทร์ร6JulPcc CR
 
16ภูมิปัญญาไทย
16ภูมิปัญญาไทย16ภูมิปัญญาไทย
16ภูมิปัญญาไทยJulPcc CR
 
11กรุงรัตนโกสินทร์ร6
11กรุงรัตนโกสินทร์ร611กรุงรัตนโกสินทร์ร6
11กรุงรัตนโกสินทร์ร6JulPcc CR
 
07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยา07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยาJulPcc CR
 
06อาณาจักรสุโขทัย
06อาณาจักรสุโขทัย06อาณาจักรสุโขทัย
06อาณาจักรสุโขทัยJulPcc CR
 
02การนับศักราช
02การนับศักราช02การนับศักราช
02การนับศักราชJulPcc CR
 
01ความหมายประวัติศาสตร์
01ความหมายประวัติศาสตร์01ความหมายประวัติศาสตร์
01ความหมายประวัติศาสตร์JulPcc CR
 
15การเปลี่ยนแปลงการปกครอง2475
15การเปลี่ยนแปลงการปกครอง247515การเปลี่ยนแปลงการปกครอง2475
15การเปลี่ยนแปลงการปกครอง2475JulPcc CR
 
01ความหมายประวัติศาสตร์
01ความหมายประวัติศาสตร์01ความหมายประวัติศาสตร์
01ความหมายประวัติศาสตร์JulPcc CR
 
07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยา07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยาJulPcc CR
 
06อาณาจักรสุโขทัย
06อาณาจักรสุโขทัย06อาณาจักรสุโขทัย
06อาณาจักรสุโขทัยJulPcc CR
 
07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยา07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยาJulPcc CR
 

Mais de JulPcc CR (12)

11กรุงรัตนโกสินทร์ร6
11กรุงรัตนโกสินทร์ร611กรุงรัตนโกสินทร์ร6
11กรุงรัตนโกสินทร์ร6
 
16ภูมิปัญญาไทย
16ภูมิปัญญาไทย16ภูมิปัญญาไทย
16ภูมิปัญญาไทย
 
11กรุงรัตนโกสินทร์ร6
11กรุงรัตนโกสินทร์ร611กรุงรัตนโกสินทร์ร6
11กรุงรัตนโกสินทร์ร6
 
07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยา07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยา
 
06อาณาจักรสุโขทัย
06อาณาจักรสุโขทัย06อาณาจักรสุโขทัย
06อาณาจักรสุโขทัย
 
02การนับศักราช
02การนับศักราช02การนับศักราช
02การนับศักราช
 
01ความหมายประวัติศาสตร์
01ความหมายประวัติศาสตร์01ความหมายประวัติศาสตร์
01ความหมายประวัติศาสตร์
 
15การเปลี่ยนแปลงการปกครอง2475
15การเปลี่ยนแปลงการปกครอง247515การเปลี่ยนแปลงการปกครอง2475
15การเปลี่ยนแปลงการปกครอง2475
 
01ความหมายประวัติศาสตร์
01ความหมายประวัติศาสตร์01ความหมายประวัติศาสตร์
01ความหมายประวัติศาสตร์
 
07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยา07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยา
 
06อาณาจักรสุโขทัย
06อาณาจักรสุโขทัย06อาณาจักรสุโขทัย
06อาณาจักรสุโขทัย
 
07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยา07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยา
 

02การนับศักราช

  • 1. ประวัติศาสตร การนับศักราช การนับศักราช พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 2. ประวัติศาสตร การนับศักราช การนับศักราชแบบไทย 1. พุทธศักราช (พ.ศ.) 2. มหาศักราช (ม.ศ.) 3. จุลศักราช (จ.ศ.) 4. รัตนโกสินทรศก (ร.ศ.) พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 3. ประวัติศาสตร การนับศักราช การนับศักราชแบบสากล 1. คริสตศักราช (ค.ศ.) 2. ฮิจเราะหศักราช (ฮ.ศ.) พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 4. ประวัติศาสตร การนับศักราช พุทธศักราช (พ.ศ.) ศักราชทางพระพุทธศาสนา มูลเหตุในการตั้งศักราช - การเสด็จปรินิพพานของพระพุทธเจาในวันขึ้น 15 ค่ํา เดือน 6 จุดเริ่มตนในการนับศักราช มี 2 แบบ 1. แบบไทย-ลาว-เขมร เริ่ม พ.ศ. 1 เมื่อพระพุทธเจาเสด็จปรินิพพานไปแลว 1 ป http://203.155.220.238/program _file/editor/160_r06.jpg 2. แบบลังกา-พมา-อินเดีย เริ่ม พ.ศ. 1 เมื่อปที่พระพุทธเจาปรินิพพานเลย (จึงมี พ.ศ. มากกวาไทย-ลาว-เขมร 1 ป) การใชในประเทศไทย - เริ่มตนนับพุทธศักราชมาตั้งแตสมัยพระนารายณมหาราช - ใชอยางเปนทางการ สมัย ร.6 - สมัยจอมพล ป. เริ่มพุทธศักราช วันที่ 1 มกราคม ถึง 31 ธันวาคม เหมือนคริสตศักราช พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 5. ประวัติศาสตร การนับศักราช มหาศักราช (ม.ศ.) มูลเหตุในการตั้งศักราช - พระเจากนิษกะแหงอินเดียตั้งขึ้น จุดเริ่มตนในการนับศักราช - เริ่มตั้งแต พ.ศ. 622 - กลุมประเทศเอเชียตะวันออกเฉียงใตรับมาจากอินเดีย KANISHKA fl. in 2nd Century (ผานทางพราหมณ + พอคา) AD King of India - ใชคํานวณทางโหราศาสตร http://www.hyperhistory.co m/online_n2/people_n2/pp การใชในประเทศไทย ersons3_n2/images_ppers ons3/kanishka.gif - ไทยรับมาจากเขมร (ซึ่งเขมรรับมาจากอินเดีย) - ใชในสมัยสุโขทัย จนถึงอยุธยาตอนกลาง - พบมากในศิลาจารึก พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 6. ประวัติศาสตร การนับศักราช จุลศักราช (จ.ศ.) มูลเหตุในการตั้งศักราช - โปปะสิระหัน(โพพาสอระหัน) กษัตริยพมาไดตั้งขึ้น จุดเริ่มตนในการนับศักราช - เริ่มตั้งแต พ.ศ. 1182 - ใชคํานวณทางโหราศาสตรบอกเวลาในจารึก พงศาวดาร การใชในประเทศไทย - ไทยรับมาจากพมา - ใชตั้งแต ลานนา - สุโขทัย - อยุธยา - รัชกาลที่ 5 พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 7. ประวัติศาสตร การนับศักราช รัตนโกสินทรศก (ร.ศ.) มูลเหตุในการตั้งศักราช - รัชกาลที่ 5 ทรงตั้งขึ้น จุดเริ่มตนในการนับศักราช - ปที่มีการตั้งกรุงรัตนโกสินทร พ.ศ. 2525 การใชในประเทศไทย - เริ่มใช สมัยรัลกาลที่ 5 - เลิกใช สมัยรัชกาลที่ 6 - มีเฉพาะไทยเทานั้น http://www.thairetouch.com/web/oil_painting/king5.jpg พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 8. ประวัติศาสตร การนับศักราช การนับศักราชแบบสากล พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 9. ประวัติศาสตร การนับศักราช คริสตศักราช (ค.ศ.) มูลเหตุในการตั้งศักราช - นับตั้งแตปที่พระเยซูประสูติ จุดเริ่มตนในการนับศักราช - ค.ศ. 1 - เริ่มนับวันที่ 1 มกราคม - 31 ธันวาคม - กอนพระเยซูประสูติ เรียกวา กอนคริสตศักราช ภาษาอังกฤษใชคําวา B.C. = Before Christ http://upload.wikimedia.org/wikipedia/co (บีฟอร ไครส)  mmons/thumb/7/7b/The_visit_of_the_wi se-men.jpg/506px- The_visit_of_the_wise-men.jpg - สําหรับ ค.ศ. ภาษาอังกฤษใช A.D. ยอมาจากภาษาละติน Anno Domini = ปแหงพระผู เปนเจา การใชในประเทศไทย - เปนศักราชสากลที่ใชกันทั่วโลก - บางทีเรียกวา ศักราชกลาง (Common Era) เพราะมีความเปนสากลที่สุด พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 10. ประวัติศาสตร การนับศักราช ฮิจเราะหศักราช (ฮ.ศ.) มูลเหตุในการตั้งศักราช http://api.ning.com/files/0rnzA*3Aic1ZOTjmkQCLKZvGsxL68NXl9mQz hNBV5J3gjvg*v1Tu3cceFd5k91iearWdR2wmoeV13jmoUZfFw1N68mt Ok6SA/Bedouins.jpg - นับตั้งแตปที่ทานมูฮําหมัดอพยพจากเมืองเมกกะ (เมืองเกิด) ไปเมืองเมดินา เพื่อ เผยแผและประกาศศาสนาอิสลาม การใชในประเทศไทย - เปนศักราชของศาสนาอิสลาม - เปนปที่ทําใหศาสนาอิสลามเปนที่รูจักทั่วโลก พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 11. ประวัติศาสตร การนับศักราช ตารางการเทียบศักราช ม.ศ. + 621 = พ.ศ. ดังนั้น พ.ศ. - 621 = ม.ศ. จ.ศ. + 1181 = พ.ศ. ดังนั้น พ.ศ. - 1181 = จ.ศ. ร.ศ. + 2324 = พ.ศ. ดังนั้น พ.ศ. - 2324 = ร.ศ. ค.ศ. + 543 = พ.ศ. ดังนั้น พ.ศ. - 543 = ค.ศ. ฮ.ศ. + 1122 = พ.ศ. ดังนั้น พ.ศ. - 1122 = ฮ.ศ. พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
  • 12. ประวัติศาสตร การนับศักราช แหลงที่มาของขอมูล http://203.155.220.238/program_file/ http://api.ning.com/ http://th.wikipedia.org/wiki http://upload.wikimedia.org/wikipedia/ http://www.hyperhistory.com/online_n2/if http://www.thairetouch.com/ พัฒนาโดย ผูชวยศาสตราจารยกนก จันทรทอง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร