SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 7
Baixar para ler offline
การกําเนิดปโตรเลียม




                                            เมื่อหลายลานป ทะเลเต็มไปดวยสัตว และพืชเล็ก ๆ จําพวกจุลินทรีย เมื่อ
สิ่งมีชีวิตตายลงจํานวนมหาศาล ก็จะตกลงสูกนทะเล และถูกทับถมดวยโคลน และทราย




                                           แมน้ํา จะพัดพากรวดทราย และโคลนสูทะเล ปละหลายแสนตัน ซึ่งกรวด
ทราย และโคลน จะทับถมสัตว และพืชสลับทับซอนกัน เปนชั้น ๆ อยูตลอดเวลา นับเปนลานป




                                            การทับถมของชั้นตะกอนตาง ๆ มากขึ้น จะหนานับรอยฟุต ทําใหเพิ่ม
น้ําหนักความกดและบีบอัด จนทําใหทราย และชั้นโคลน กลายเปนหินทราย และหินดินดาน ตลอดจนเกิดกลั่นสลายตัว
ของสัตว และพืชทะเล เปนน้ํามันดิบ และกาซธรรมชาติ
น้ํามันดิบ และกาซธรรมชาติ มีความเบา จะเคลื่อนยาย ไปกักเก็บอยูในชั้น
หินเนื้อพรุน เฉพาะบริเวณที่สูงของโครงสรางแตละแหง และจะถูกกักไวดวยชั้นหินเนื้อแนน ที่ปดทับอยู

           (รูปจาก หนังสือธรณีวิทยาจังหวัดเชียงใหม และพื้นที่ใกลเคียง, กรมทรัพยากรธรณี 2539, หนา 203)



นักธรณีวิทยาสวนใหญมีแนวความคิดวา ปโตรเลียมนาจะมีแหลงกําเนิดมาจากสารอินทรีย ทําใหการศึกษามุงหากําเนิดของ
น้ํามันที่เปนแบบอยางหรือตัวแทนของน้ํามันสวนใหญที่พบและผลิตในอุตสาหกรรม ดังนั้นจะเห็นไดวาแหลงปโตรเลียม
สวนใหญในโลกมักมีความเกี่ยวของกับหินตะกอนที่สะสมในทะเล แตในประเทศไทยพบทั้งในหินตะกอนที่สะสมในทะเล
และไมไดสะสมในทะเล เนื่องจากหินตะกอนจะมีสวนประกอบของสารอินทรียมากกวาหินประเภทอื่นๆ พวกสิ่งมีชีวิตแต
ละประเภทจะมีสารอินทรียแตกตางกันเชน

    -    Marine&Lacustrine Plankton ประกอบดวย โปรตีน และคารโบไฮเดรต ถึง 50% และ Lipid 25%
    -    Bacteria ประกอบดวย โปรตีนและ Lipids
    -    Landplant ประกอบดวย Cellulose, Lignin, Waxes, Resin และ Lipid เล็กนอย

เมื่อสิ่งมีชีวิตสิ้นสภาพและถูกพัดพามาพรอมกับตะกอนลงสูแองสะสมตะกอน บางสวนของซากสิ่งมีชีวิตถูกทําลาย โดย
ขบวนการเติมออกซิเจน(Oxidation) บางก็ถูกทําลาย และเปนอาหารจุลินทรีย สวนที่เหลือจะถูก preserved ไดตองอาศัยการ
ตกทับถมอยางรวดเร็วและลักษณะของตะกอนที่ปดทับ ซึ่งตองการสภาพแวดลอมแบบไมมีออกซิเจน(Reducing)

                              รูปที่ 1 แสดงการถูกเก็บรักษาและถูกทําลายของสารอินทรีย ในตะกอน




                   ตางๆ
สารอินทรียที่สะสมดินโคลน ชองวางระหวางเม็ดตะกอนมีขนาดเล็ก ทําใหมีออกซิเจนนอย

                                             เกิดสภาพแวดลอมแบบ Anaerobic




                          สารอินทรียที่สะสมในตะกอนที่มีรูพรุนขนาดใหญ จะเกิดปฏิกิริยาออกซิเดชั่น

                                                 ทําใหสารอินทรียถูกทําลาย

                       (รูปจาก Petroleum Formation and Occurrence 2nd editor, Tissot & Welte, 1984)



พวกอินทรียสารที่มากับตะกอนทับถมตัวแลวจะถูกทําลายโดยพวกจุลินทรีย การเปลี่ยนแปลงนี้จะกอใหเกิดกาซ CO2,
H2O, CH4, H2S สุดทายจะได Insoluble Kerogen ซึ่งเปน Common form ของสารอินทรีย ไปเปนคีโรเจน มี 3 ขั้นตอน รูปที่
2

    1. Microbial Activity กระบวนการเหลานี้เกิดเปนขั้นตอนแรกในระดับใกลพื้นผิว เปนขั้นตอนที่จุลินทรียทําลาย
       ยอยสลาย สารอินทรียเริ่มตนในตะกอน ถาโดยวิธี Aerobic จะเปนการทําลายสารอินทรียโดยตรง จะไดกาซ CO2
       และ H2O แตถาเปน Anaerobic Method จะสลายสารอินทรียบางสวนโดยวิธี Fermentation จะไดกาซ CH4,
       Amino Acids และน้ําตาล
    2. Polycondendsation เมื่อเวลาผานไประดับลึกลงมากขึ้น กรดอะมิโนและน้ําตาล ไมสามารถทนสภาพที่เปลี่ยนไปก็
       จะรวมตัวกันเปนโมเลกุลใหญขึ้น
    3. Insolubilization เปนขบวนการที่ทําใหโพลีเมอร ที่เกิดขึ้นกลายเปนกรดอิวมิกและฟลูวิก และจะเปลี่ยนเปนฮิวมิน
       เมื่อมีการอัดแนนเพิ่มมากขึ้น ขั้นตอนนี้จะเกิดที่ระดับความลึกหลายรอยเมตร และใชเวลาหลายลานป และผล
       สุดทายจะได ที่เรียกวา Kerogen

                   รูปที่ 2 รูปแบบทั่วไปของวิวัฒนาการของสารอินทรีย จากการสะสมตัวในตะกอน
                               จากขบวนการ Diagenesis, Catagenesis จนถึง Metagenesis
(รูปจาก Petroleum Formation and Occurrence 2nd editor, Tissot & Welte, 1984)

ประเภทของ Kerogen จะเปนตัวกําหนดชนิดของปโตรเลียม รูปที่ 3 เชน
       Type I เปน Kerogen ที่มีสวนประกอบ H/C สูงและคา O/C ต่ํา เปน Kerogen ที่มาจากสารอินทรียพวก Algae ใน
       สภาวะแวดลอมแบบทะเลสาบ หรือบริเวณชายฝง ที่สามารถเกิด Algal Bloom ได จะใหน้ํามันชนิดพาราฟน Type
       II เปน Kerogen ที่มีสวนประกอบ H/C ปานกลาง และอัตราสวน O/C คอนขางต่ํา มักจะพบในพวกหิน ตะกอนที่
       สะสมในทะเล ไดอินทรียสารพวกสาหราย Organism และ Higher Plants จะใหน้ํามันชนิดแนฟทาและอะโรมาติก
       Type III เปน Kerogen ชนิด H/C และ O/C ในอัตราต่ํา สารอินทรียสวนใหญเปนพวก Land Plants โดยเฉพาะ
       พวกเซลลูโลส และ woody materials Kerogen ชนิดนี้จะใหกาซ

                     รูปที่ 3 สวนประกอบพื้นฐานและชวงการเกิดของกรด Humic และ Kerogen
                                    จากเริ่มแรก (Immature Ancient Sediment)
(รูปจาก Petroleum Formation and Occurrence 2nd editor, Tissot & Welte, 1984)

เมื่อตะกอนที่สะสมตัวจมลึกลงไปเรื่อยๆ ตามเวลานั้นจะมีการเปลี่ยนแปลงของอินทรียสารในตะกอนตามไปดวย การ
เปลี่ยนแปลงนี้แบงออกไดเปน 3 ชวง คือ Diagenesis, Catagenesis และ Metagenesis รูปที่ 4 ซึ่งจะเปนตัวกําหนดอายุของ
Kerogen วานอยหรือมากเกินไปที่จะใหปโตรเลียม Kerogen ที่อยูภายใตสภาวะการสะสมตัวที่จัดวาเปน Mature Kerogen
คือ อุณหภูมิ ระหวาง 60-120oC จะสามารถผลิตน้ํามันและกาซไดดี และถาอุณหภูมเิ พิ่มสูงขึ้นเปน 120-225 oC ตามระดับ
ความลึกนั้น จะเปนการผลิตกาซเปนหลัก ถาอุณหภูมิสูงกวานี้ก็จะไมสามารถผลิตไดอีกตอไป คือสิ้นสภาพของ Kerogen
กลายเปนสาร inert หรือ graphite ตอไป Organic Diagenesis จัดเปนชวงที่เรียกไดวา Immature stage เกิดในชวงระดับความ
ลึกจากพื้นผิวลงไปจนถึงระดับความลึกประมาณ 1,000 เมตร หรือ กวาไมมากนักระดับความกดดันและอุณหภูมิคอนขางต่ํา
คือ ต่ํากวา 50-60 oC เริ่มตนดวย Microbial Degradation เปลี่ยนแปลงสารอินทรียเริ่มตน ตามดวย Polymerzation และ
Condensation แปลงสารเริ่มตนไปเปน Fulvic acids, Humic Acids และ Humins และได Products พวก CH4, CO2, H2O
และ H2S ออกมาดวย Catagenesis จัดอยูในชวงที่เรียกวา mature stage มีสภาพแวดลอมที่เหมาะสมสําหรับ Kerogen ที่จะ
ผลิตน้ํามันออกมา นอกจากนี้ถายังมีพวก Humin เหลืออยู ก็จะถูกแปลงไปเปน Kerogen และผลิตเปนน้ํามันตอไป ระดับ
ความลึกของ Catagenesis หรือบางทีก็เรียกเปน oil window จะอยูตั้งแต 1,000 เมตร กวาไปจนถึงระดับ 3,000 เมตร
Metagenesis เปนชวงที่เรียกวา Over mature stage เกิดขึ้นในระดับที่ลึกมากทั้งความกดดัน และอุณหภูมิมากกวา 150 oC ซึ่ง
จะทําใหปริมาณ Oxygen และ Hydrogen ที่เคยมีอยูใน Kerogen สลายออกไปเกือบหมด จึงไมสามารถแยกชนิด Kerogen วา
เปน Type I, II หรือ III ได เพราะสารสวนใหญที่เหลือคือ คารบอน เมื่อ Kerogen ใหปโตรเลียมแลวจะตองเคลื่อนที่ออกจาก
แหลงกําเนิดไปยังหินกักเก็บปโตรเลียม ซึ่งมี ความสามารถในการซึมผานที่ดีกวาและสะสมตัวตอไป การเคลื่อนที่จาก
แหลงกําเนิดจนกวาจะพนจากหินตนกําเนิดนี้จัดเปน primary migration เมื่อเคลื่อนเขาสูหินกักเก็บแลว และเคลื่อนตอไป
จนกวาจะถูกโครงสรางกักเก็บ เปนการเคลื่อนที่แบบ secondary migration สวนการเคลื่อนที่จากแหลงเก็บกักแรกไปยัง
แหลงกักเก็บอื่นๆ หรือตอๆ ไป อาจเรียกไดวาเปน Tertiary Migration
รูปที่ 4 รูปแบบทั่วไปของการวิวัฒนาการของ Kerogen




(รูปจาก Petroleum Formation and Occurrence 2nd editor, Tissot & Welte, 1984)

                แสดงแหลงที่มาของสารประกอบไฮโดรคารบอน
(รูปจาก Petroleum Formation and Occurrence 2nd editor, Tissot & Welte, 1984)

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์oraneehussem
 
กำเนิดปิโตรเลียม
กำเนิดปิโตรเลียมกำเนิดปิโตรเลียม
กำเนิดปิโตรเลียมMeen Jaturaporn
 
เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์ 8
เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์ 8เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์ 8
เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์ 8Varin D' Reno
 
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์orasa1971
 
ปิโตรเลียม (Petroleum)
ปิโตรเลียม (Petroleum)ปิโตรเลียม (Petroleum)
ปิโตรเลียม (Petroleum)พัน พัน
 
กำเนิดปิโตรเลียม
กำเนิดปิโตรเลียมกำเนิดปิโตรเลียม
กำเนิดปิโตรเลียมBoom Rattamanee Boom
 
(C ai)เชื้อเพลงิซากดึกดำบรรพ์ 29,30
(C ai)เชื้อเพลงิซากดึกดำบรรพ์ 29,30(C ai)เชื้อเพลงิซากดึกดำบรรพ์ 29,30
(C ai)เชื้อเพลงิซากดึกดำบรรพ์ 29,30PamPaul
 
ปิโตรเลียม
ปิโตรเลียมปิโตรเลียม
ปิโตรเลียมkritsadaporn
 
ก๊าซเรือนกระจกจากนาข้าว
ก๊าซเรือนกระจกจากนาข้าวก๊าซเรือนกระจกจากนาข้าว
ก๊าซเรือนกระจกจากนาข้าวMate Soul-All
 
การสำรวจปิโตรเลียม
การสำรวจปิโตรเลียมการสำรวจปิโตรเลียม
การสำรวจปิโตรเลียมSutisa Tantikulwijit
 
7.องค์ความรู้ด้านพลังงาน
7.องค์ความรู้ด้านพลังงาน7.องค์ความรู้ด้านพลังงาน
7.องค์ความรู้ด้านพลังงานKobwit Piriyawat
 
อุตสาหกรรมปุ๋ย
อุตสาหกรรมปุ๋ยอุตสาหกรรมปุ๋ย
อุตสาหกรรมปุ๋ยPiyapong Chaichana
 
การสังเคราะห์ด้วยแสง การค้นคว้า (T)
การสังเคราะห์ด้วยแสง การค้นคว้า (T)การสังเคราะห์ด้วยแสง การค้นคว้า (T)
การสังเคราะห์ด้วยแสง การค้นคว้า (T)Thitaree Samphao
 

Mais procurados (18)

บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์
 
กำเนิดปิโตรเลียม
กำเนิดปิโตรเลียมกำเนิดปิโตรเลียม
กำเนิดปิโตรเลียม
 
เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์ 8
เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์ 8เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์ 8
เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์ 8
 
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์
 
06.ถ่านหิน
06.ถ่านหิน06.ถ่านหิน
06.ถ่านหิน
 
ปิโตรเลียม (Petroleum)
ปิโตรเลียม (Petroleum)ปิโตรเลียม (Petroleum)
ปิโตรเลียม (Petroleum)
 
กำเนิดปิโตรเลียม
กำเนิดปิโตรเลียมกำเนิดปิโตรเลียม
กำเนิดปิโตรเลียม
 
(C ai)เชื้อเพลงิซากดึกดำบรรพ์ 29,30
(C ai)เชื้อเพลงิซากดึกดำบรรพ์ 29,30(C ai)เชื้อเพลงิซากดึกดำบรรพ์ 29,30
(C ai)เชื้อเพลงิซากดึกดำบรรพ์ 29,30
 
ปิโตรเลียม
ปิโตรเลียมปิโตรเลียม
ปิโตรเลียม
 
ก๊าซเรือนกระจกจากนาข้าว
ก๊าซเรือนกระจกจากนาข้าวก๊าซเรือนกระจกจากนาข้าว
ก๊าซเรือนกระจกจากนาข้าว
 
การสำรวจปิโตรเลียม
การสำรวจปิโตรเลียมการสำรวจปิโตรเลียม
การสำรวจปิโตรเลียม
 
7.องค์ความรู้ด้านพลังงาน
7.องค์ความรู้ด้านพลังงาน7.องค์ความรู้ด้านพลังงาน
7.องค์ความรู้ด้านพลังงาน
 
ดิน
ดินดิน
ดิน
 
อุตสาหกรรมปุ๋ย
อุตสาหกรรมปุ๋ยอุตสาหกรรมปุ๋ย
อุตสาหกรรมปุ๋ย
 
Petroleum
PetroleumPetroleum
Petroleum
 
14.พืช C4 and CAM
14.พืช C4 and CAM14.พืช C4 and CAM
14.พืช C4 and CAM
 
07.น้ำมัน
07.น้ำมัน07.น้ำมัน
07.น้ำมัน
 
การสังเคราะห์ด้วยแสง การค้นคว้า (T)
การสังเคราะห์ด้วยแสง การค้นคว้า (T)การสังเคราะห์ด้วยแสง การค้นคว้า (T)
การสังเคราะห์ด้วยแสง การค้นคว้า (T)
 

Semelhante a กำเนิดปิโตรเลียม

แผ่นดินไหว
แผ่นดินไหวแผ่นดินไหว
แผ่นดินไหวsangkom
 
โลกร้อน222
โลกร้อน222โลกร้อน222
โลกร้อน222sangkom
 
โลกร้อน222
โลกร้อน222โลกร้อน222
โลกร้อน222sangkom
 
ปิโตรเลียม
ปิโตรเลียมปิโตรเลียม
ปิโตรเลียมkritsadaporn
 
ปิโตรเลียม
ปิโตรเลียมปิโตรเลียม
ปิโตรเลียมkritsadaporn
 
ปิโตรเลียม
ปิโตรเลียมปิโตรเลียม
ปิโตรเลียมkritsadaporn
 
โครงงานวิทย์ งานคอม
โครงงานวิทย์  งานคอม โครงงานวิทย์  งานคอม
โครงงานวิทย์ งานคอม Aungkana Na Na
 
งานนำเสนLlอ32
งานนำเสนLlอ32งานนำเสนLlอ32
งานนำเสนLlอ32Papawadee Yatra
 
โครงงานวิทย์ (งานคอม)
โครงงานวิทย์ (งานคอม)โครงงานวิทย์ (งานคอม)
โครงงานวิทย์ (งานคอม)Aungkana Na Na
 
โลกร้อน
โลกร้อนโลกร้อน
โลกร้อนsudsanguan
 
โครงงาน แบงค์
โครงงาน แบงค์โครงงาน แบงค์
โครงงาน แบงค์Aungkana Na Na
 
การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของโลก
การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของโลกการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของโลก
การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของโลกdnavaroj
 
สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อมสมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อมthunchanok
 
การลดภาวะโลกร้อน
การลดภาวะโลกร้อนการลดภาวะโลกร้อน
การลดภาวะโลกร้อนjzuzu2536
 

Semelhante a กำเนิดปิโตรเลียม (20)

Global warmin-t
Global warmin-tGlobal warmin-t
Global warmin-t
 
แผ่นดินไหว
แผ่นดินไหวแผ่นดินไหว
แผ่นดินไหว
 
โลกร้อน222
โลกร้อน222โลกร้อน222
โลกร้อน222
 
โลกร้อน222
โลกร้อน222โลกร้อน222
โลกร้อน222
 
ปิโตรเลียม
ปิโตรเลียมปิโตรเลียม
ปิโตรเลียม
 
ปิโตรเลียม
ปิโตรเลียมปิโตรเลียม
ปิโตรเลียม
 
ปิโตรเลียม
ปิโตรเลียมปิโตรเลียม
ปิโตรเลียม
 
โครงงานวิทย์ งานคอม
โครงงานวิทย์  งานคอม โครงงานวิทย์  งานคอม
โครงงานวิทย์ งานคอม
 
02 global warming
02 global warming02 global warming
02 global warming
 
งานนำเสนLlอ32
งานนำเสนLlอ32งานนำเสนLlอ32
งานนำเสนLlอ32
 
โครงงานวิทย์ (งานคอม)
โครงงานวิทย์ (งานคอม)โครงงานวิทย์ (งานคอม)
โครงงานวิทย์ (งานคอม)
 
โลกร้อน
โลกร้อนโลกร้อน
โลกร้อน
 
โครงงาน แบงค์
โครงงาน แบงค์โครงงาน แบงค์
โครงงาน แบงค์
 
การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของโลก
การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของโลกการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของโลก
การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของโลก
 
Physical geology 1 3
Physical geology 1 3Physical geology 1 3
Physical geology 1 3
 
Sc103 fanal#2
Sc103 fanal#2Sc103 fanal#2
Sc103 fanal#2
 
สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อมสมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
 
ปิโตรเคมี
ปิโตรเคมีปิโตรเคมี
ปิโตรเคมี
 
การลดภาวะโลกร้อน
การลดภาวะโลกร้อนการลดภาวะโลกร้อน
การลดภาวะโลกร้อน
 
Climate change2009
Climate change2009Climate change2009
Climate change2009
 

Mais de Boom Rattamanee Boom

รายวิชาเคมีพื้นฐาน1
รายวิชาเคมีพื้นฐาน1รายวิชาเคมีพื้นฐาน1
รายวิชาเคมีพื้นฐาน1Boom Rattamanee Boom
 
รายวิชาเคมีพื้นฐาน
รายวิชาเคมีพื้นฐานรายวิชาเคมีพื้นฐาน
รายวิชาเคมีพื้นฐานBoom Rattamanee Boom
 
รายวิชาเคมีพื้นฐาน
รายวิชาเคมีพื้นฐานรายวิชาเคมีพื้นฐาน
รายวิชาเคมีพื้นฐานBoom Rattamanee Boom
 
การ์ตูนชีวมวล
การ์ตูนชีวมวลการ์ตูนชีวมวล
การ์ตูนชีวมวลBoom Rattamanee Boom
 
การ์ตูนชีวมวล
การ์ตูนชีวมวลการ์ตูนชีวมวล
การ์ตูนชีวมวลBoom Rattamanee Boom
 
การ์ตูนชีวมวล
การ์ตูนชีวมวลการ์ตูนชีวมวล
การ์ตูนชีวมวลBoom Rattamanee Boom
 
อ่านการ์ตูนปิโตรเลียม
อ่านการ์ตูนปิโตรเลียมอ่านการ์ตูนปิโตรเลียม
อ่านการ์ตูนปิโตรเลียมBoom Rattamanee Boom
 
กรดนิวคลีอิกมีรูป
กรดนิวคลีอิกมีรูปกรดนิวคลีอิกมีรูป
กรดนิวคลีอิกมีรูปBoom Rattamanee Boom
 
กรดนิวคลีอิกมีรูป
กรดนิวคลีอิกมีรูปกรดนิวคลีอิกมีรูป
กรดนิวคลีอิกมีรูปBoom Rattamanee Boom
 
กรดนิวคลีอิก
กรดนิวคลีอิกกรดนิวคลีอิก
กรดนิวคลีอิกBoom Rattamanee Boom
 
กรดนิวคลีอิก
กรดนิวคลีอิกกรดนิวคลีอิก
กรดนิวคลีอิกBoom Rattamanee Boom
 
ไขมัน คืออะไร
ไขมัน คืออะไรไขมัน คืออะไร
ไขมัน คืออะไรBoom Rattamanee Boom
 
ไขมัน คืออะไร
ไขมัน คืออะไรไขมัน คืออะไร
ไขมัน คืออะไรBoom Rattamanee Boom
 
ไขมัน คืออะไร
ไขมัน คืออะไรไขมัน คืออะไร
ไขมัน คืออะไรBoom Rattamanee Boom
 
คาร์โบไฮเดรต
คาร์โบไฮเดรตคาร์โบไฮเดรต
คาร์โบไฮเดรตBoom Rattamanee Boom
 

Mais de Boom Rattamanee Boom (20)

คำแนะนำ
คำแนะนำคำแนะนำ
คำแนะนำ
 
คำแนะนำ
คำแนะนำคำแนะนำ
คำแนะนำ
 
รายวิชาเคมีพื้นฐาน1
รายวิชาเคมีพื้นฐาน1รายวิชาเคมีพื้นฐาน1
รายวิชาเคมีพื้นฐาน1
 
รายวิชาเคมีพื้นฐาน
รายวิชาเคมีพื้นฐานรายวิชาเคมีพื้นฐาน
รายวิชาเคมีพื้นฐาน
 
รายวิชาเคมีพื้นฐาน
รายวิชาเคมีพื้นฐานรายวิชาเคมีพื้นฐาน
รายวิชาเคมีพื้นฐาน
 
เคมีคืออะไร
เคมีคืออะไรเคมีคืออะไร
เคมีคืออะไร
 
เคมีคืออะไร
เคมีคืออะไรเคมีคืออะไร
เคมีคืออะไร
 
การ์ตูนชีวมวล
การ์ตูนชีวมวลการ์ตูนชีวมวล
การ์ตูนชีวมวล
 
การ์ตูนชีวมวล
การ์ตูนชีวมวลการ์ตูนชีวมวล
การ์ตูนชีวมวล
 
การ์ตูนชีวมวล
การ์ตูนชีวมวลการ์ตูนชีวมวล
การ์ตูนชีวมวล
 
อ่านการ์ตูนปิโตรเลียม
อ่านการ์ตูนปิโตรเลียมอ่านการ์ตูนปิโตรเลียม
อ่านการ์ตูนปิโตรเลียม
 
ปิโตรเลียม
ปิโตรเลียมปิโตรเลียม
ปิโตรเลียม
 
กรดนิวคลีอิกมีรูป
กรดนิวคลีอิกมีรูปกรดนิวคลีอิกมีรูป
กรดนิวคลีอิกมีรูป
 
กรดนิวคลีอิกมีรูป
กรดนิวคลีอิกมีรูปกรดนิวคลีอิกมีรูป
กรดนิวคลีอิกมีรูป
 
กรดนิวคลีอิก
กรดนิวคลีอิกกรดนิวคลีอิก
กรดนิวคลีอิก
 
กรดนิวคลีอิก
กรดนิวคลีอิกกรดนิวคลีอิก
กรดนิวคลีอิก
 
ไขมัน คืออะไร
ไขมัน คืออะไรไขมัน คืออะไร
ไขมัน คืออะไร
 
ไขมัน คืออะไร
ไขมัน คืออะไรไขมัน คืออะไร
ไขมัน คืออะไร
 
ไขมัน คืออะไร
ไขมัน คืออะไรไขมัน คืออะไร
ไขมัน คืออะไร
 
คาร์โบไฮเดรต
คาร์โบไฮเดรตคาร์โบไฮเดรต
คาร์โบไฮเดรต
 

กำเนิดปิโตรเลียม

  • 1. การกําเนิดปโตรเลียม เมื่อหลายลานป ทะเลเต็มไปดวยสัตว และพืชเล็ก ๆ จําพวกจุลินทรีย เมื่อ สิ่งมีชีวิตตายลงจํานวนมหาศาล ก็จะตกลงสูกนทะเล และถูกทับถมดวยโคลน และทราย แมน้ํา จะพัดพากรวดทราย และโคลนสูทะเล ปละหลายแสนตัน ซึ่งกรวด ทราย และโคลน จะทับถมสัตว และพืชสลับทับซอนกัน เปนชั้น ๆ อยูตลอดเวลา นับเปนลานป การทับถมของชั้นตะกอนตาง ๆ มากขึ้น จะหนานับรอยฟุต ทําใหเพิ่ม น้ําหนักความกดและบีบอัด จนทําใหทราย และชั้นโคลน กลายเปนหินทราย และหินดินดาน ตลอดจนเกิดกลั่นสลายตัว ของสัตว และพืชทะเล เปนน้ํามันดิบ และกาซธรรมชาติ
  • 2. น้ํามันดิบ และกาซธรรมชาติ มีความเบา จะเคลื่อนยาย ไปกักเก็บอยูในชั้น หินเนื้อพรุน เฉพาะบริเวณที่สูงของโครงสรางแตละแหง และจะถูกกักไวดวยชั้นหินเนื้อแนน ที่ปดทับอยู (รูปจาก หนังสือธรณีวิทยาจังหวัดเชียงใหม และพื้นที่ใกลเคียง, กรมทรัพยากรธรณี 2539, หนา 203) นักธรณีวิทยาสวนใหญมีแนวความคิดวา ปโตรเลียมนาจะมีแหลงกําเนิดมาจากสารอินทรีย ทําใหการศึกษามุงหากําเนิดของ น้ํามันที่เปนแบบอยางหรือตัวแทนของน้ํามันสวนใหญที่พบและผลิตในอุตสาหกรรม ดังนั้นจะเห็นไดวาแหลงปโตรเลียม สวนใหญในโลกมักมีความเกี่ยวของกับหินตะกอนที่สะสมในทะเล แตในประเทศไทยพบทั้งในหินตะกอนที่สะสมในทะเล และไมไดสะสมในทะเล เนื่องจากหินตะกอนจะมีสวนประกอบของสารอินทรียมากกวาหินประเภทอื่นๆ พวกสิ่งมีชีวิตแต ละประเภทจะมีสารอินทรียแตกตางกันเชน - Marine&Lacustrine Plankton ประกอบดวย โปรตีน และคารโบไฮเดรต ถึง 50% และ Lipid 25% - Bacteria ประกอบดวย โปรตีนและ Lipids - Landplant ประกอบดวย Cellulose, Lignin, Waxes, Resin และ Lipid เล็กนอย เมื่อสิ่งมีชีวิตสิ้นสภาพและถูกพัดพามาพรอมกับตะกอนลงสูแองสะสมตะกอน บางสวนของซากสิ่งมีชีวิตถูกทําลาย โดย ขบวนการเติมออกซิเจน(Oxidation) บางก็ถูกทําลาย และเปนอาหารจุลินทรีย สวนที่เหลือจะถูก preserved ไดตองอาศัยการ ตกทับถมอยางรวดเร็วและลักษณะของตะกอนที่ปดทับ ซึ่งตองการสภาพแวดลอมแบบไมมีออกซิเจน(Reducing) รูปที่ 1 แสดงการถูกเก็บรักษาและถูกทําลายของสารอินทรีย ในตะกอน ตางๆ
  • 3. สารอินทรียที่สะสมดินโคลน ชองวางระหวางเม็ดตะกอนมีขนาดเล็ก ทําใหมีออกซิเจนนอย เกิดสภาพแวดลอมแบบ Anaerobic สารอินทรียที่สะสมในตะกอนที่มีรูพรุนขนาดใหญ จะเกิดปฏิกิริยาออกซิเดชั่น ทําใหสารอินทรียถูกทําลาย (รูปจาก Petroleum Formation and Occurrence 2nd editor, Tissot & Welte, 1984) พวกอินทรียสารที่มากับตะกอนทับถมตัวแลวจะถูกทําลายโดยพวกจุลินทรีย การเปลี่ยนแปลงนี้จะกอใหเกิดกาซ CO2, H2O, CH4, H2S สุดทายจะได Insoluble Kerogen ซึ่งเปน Common form ของสารอินทรีย ไปเปนคีโรเจน มี 3 ขั้นตอน รูปที่ 2 1. Microbial Activity กระบวนการเหลานี้เกิดเปนขั้นตอนแรกในระดับใกลพื้นผิว เปนขั้นตอนที่จุลินทรียทําลาย ยอยสลาย สารอินทรียเริ่มตนในตะกอน ถาโดยวิธี Aerobic จะเปนการทําลายสารอินทรียโดยตรง จะไดกาซ CO2 และ H2O แตถาเปน Anaerobic Method จะสลายสารอินทรียบางสวนโดยวิธี Fermentation จะไดกาซ CH4, Amino Acids และน้ําตาล 2. Polycondendsation เมื่อเวลาผานไประดับลึกลงมากขึ้น กรดอะมิโนและน้ําตาล ไมสามารถทนสภาพที่เปลี่ยนไปก็ จะรวมตัวกันเปนโมเลกุลใหญขึ้น 3. Insolubilization เปนขบวนการที่ทําใหโพลีเมอร ที่เกิดขึ้นกลายเปนกรดอิวมิกและฟลูวิก และจะเปลี่ยนเปนฮิวมิน เมื่อมีการอัดแนนเพิ่มมากขึ้น ขั้นตอนนี้จะเกิดที่ระดับความลึกหลายรอยเมตร และใชเวลาหลายลานป และผล สุดทายจะได ที่เรียกวา Kerogen รูปที่ 2 รูปแบบทั่วไปของวิวัฒนาการของสารอินทรีย จากการสะสมตัวในตะกอน จากขบวนการ Diagenesis, Catagenesis จนถึง Metagenesis
  • 4. (รูปจาก Petroleum Formation and Occurrence 2nd editor, Tissot & Welte, 1984) ประเภทของ Kerogen จะเปนตัวกําหนดชนิดของปโตรเลียม รูปที่ 3 เชน Type I เปน Kerogen ที่มีสวนประกอบ H/C สูงและคา O/C ต่ํา เปน Kerogen ที่มาจากสารอินทรียพวก Algae ใน สภาวะแวดลอมแบบทะเลสาบ หรือบริเวณชายฝง ที่สามารถเกิด Algal Bloom ได จะใหน้ํามันชนิดพาราฟน Type II เปน Kerogen ที่มีสวนประกอบ H/C ปานกลาง และอัตราสวน O/C คอนขางต่ํา มักจะพบในพวกหิน ตะกอนที่ สะสมในทะเล ไดอินทรียสารพวกสาหราย Organism และ Higher Plants จะใหน้ํามันชนิดแนฟทาและอะโรมาติก Type III เปน Kerogen ชนิด H/C และ O/C ในอัตราต่ํา สารอินทรียสวนใหญเปนพวก Land Plants โดยเฉพาะ พวกเซลลูโลส และ woody materials Kerogen ชนิดนี้จะใหกาซ รูปที่ 3 สวนประกอบพื้นฐานและชวงการเกิดของกรด Humic และ Kerogen จากเริ่มแรก (Immature Ancient Sediment)
  • 5. (รูปจาก Petroleum Formation and Occurrence 2nd editor, Tissot & Welte, 1984) เมื่อตะกอนที่สะสมตัวจมลึกลงไปเรื่อยๆ ตามเวลานั้นจะมีการเปลี่ยนแปลงของอินทรียสารในตะกอนตามไปดวย การ เปลี่ยนแปลงนี้แบงออกไดเปน 3 ชวง คือ Diagenesis, Catagenesis และ Metagenesis รูปที่ 4 ซึ่งจะเปนตัวกําหนดอายุของ Kerogen วานอยหรือมากเกินไปที่จะใหปโตรเลียม Kerogen ที่อยูภายใตสภาวะการสะสมตัวที่จัดวาเปน Mature Kerogen คือ อุณหภูมิ ระหวาง 60-120oC จะสามารถผลิตน้ํามันและกาซไดดี และถาอุณหภูมเิ พิ่มสูงขึ้นเปน 120-225 oC ตามระดับ ความลึกนั้น จะเปนการผลิตกาซเปนหลัก ถาอุณหภูมิสูงกวานี้ก็จะไมสามารถผลิตไดอีกตอไป คือสิ้นสภาพของ Kerogen กลายเปนสาร inert หรือ graphite ตอไป Organic Diagenesis จัดเปนชวงที่เรียกไดวา Immature stage เกิดในชวงระดับความ ลึกจากพื้นผิวลงไปจนถึงระดับความลึกประมาณ 1,000 เมตร หรือ กวาไมมากนักระดับความกดดันและอุณหภูมิคอนขางต่ํา คือ ต่ํากวา 50-60 oC เริ่มตนดวย Microbial Degradation เปลี่ยนแปลงสารอินทรียเริ่มตน ตามดวย Polymerzation และ Condensation แปลงสารเริ่มตนไปเปน Fulvic acids, Humic Acids และ Humins และได Products พวก CH4, CO2, H2O และ H2S ออกมาดวย Catagenesis จัดอยูในชวงที่เรียกวา mature stage มีสภาพแวดลอมที่เหมาะสมสําหรับ Kerogen ที่จะ ผลิตน้ํามันออกมา นอกจากนี้ถายังมีพวก Humin เหลืออยู ก็จะถูกแปลงไปเปน Kerogen และผลิตเปนน้ํามันตอไป ระดับ ความลึกของ Catagenesis หรือบางทีก็เรียกเปน oil window จะอยูตั้งแต 1,000 เมตร กวาไปจนถึงระดับ 3,000 เมตร Metagenesis เปนชวงที่เรียกวา Over mature stage เกิดขึ้นในระดับที่ลึกมากทั้งความกดดัน และอุณหภูมิมากกวา 150 oC ซึ่ง จะทําใหปริมาณ Oxygen และ Hydrogen ที่เคยมีอยูใน Kerogen สลายออกไปเกือบหมด จึงไมสามารถแยกชนิด Kerogen วา เปน Type I, II หรือ III ได เพราะสารสวนใหญที่เหลือคือ คารบอน เมื่อ Kerogen ใหปโตรเลียมแลวจะตองเคลื่อนที่ออกจาก แหลงกําเนิดไปยังหินกักเก็บปโตรเลียม ซึ่งมี ความสามารถในการซึมผานที่ดีกวาและสะสมตัวตอไป การเคลื่อนที่จาก แหลงกําเนิดจนกวาจะพนจากหินตนกําเนิดนี้จัดเปน primary migration เมื่อเคลื่อนเขาสูหินกักเก็บแลว และเคลื่อนตอไป จนกวาจะถูกโครงสรางกักเก็บ เปนการเคลื่อนที่แบบ secondary migration สวนการเคลื่อนที่จากแหลงเก็บกักแรกไปยัง แหลงกักเก็บอื่นๆ หรือตอๆ ไป อาจเรียกไดวาเปน Tertiary Migration
  • 6. รูปที่ 4 รูปแบบทั่วไปของการวิวัฒนาการของ Kerogen (รูปจาก Petroleum Formation and Occurrence 2nd editor, Tissot & Welte, 1984) แสดงแหลงที่มาของสารประกอบไฮโดรคารบอน
  • 7. (รูปจาก Petroleum Formation and Occurrence 2nd editor, Tissot & Welte, 1984)