SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 14
Baixar para ler offline
เฉลยข้อสอบการประเมินความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์
ประจาปี 2554 (TME) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
ข้อ 1. ตอบ 8
นาย A นึก 1, 2 และ 3a
ส่วนนาย B นึก 2, 3 และ 4b
เนื่องจากจานวนที่นาย A และนาย B นึกตรงกันมีสองจานวน คือ 2 และ 3
แสดงว่า นาย A จะต้องนึก 3 ด้วย นั่นคือ 3 3a หรือ 6a
เนื่องจากจานวนที่นาย B นึกแต่นาย A ไม่ได้นึก มีเพียงจานวนเดียว คือ 6
แสดงว่า นาย B จะต้องนึก 6 ด้วย นั่นคือ 4 6b หรือ 2b
ดังนั้น 8a b
ข้อ 2. ตอบ 18
2 2
10111 101 2
10010
4 1
2 2
18
ข้อ 1. ตอบ 8 ข้อ 2. ตอบ 18 ข้อ 3. ตอบ 10
ข้อ 4. ตอบ 32 ข้อ 5. ตอบ 39 ข้อ 6. ตอบ 7
ข้อ 7. ตอบ 8 ข้อ 8. ตอบ 68 ข้อ 9. ตอบ 170
ข้อ 10. ตอบ 11 ข้อ 11. ตอบ 18 ข้อ 12. ตอบ 10
ข้อ 13. ตอบ 10 ข้อ 14. ตอบ 72 ข้อ 15. ตอบ 25
ข้อ 16. ตอบ 11 ข้อ 17. ตอบ 84 ข้อ 18. ตอบ 115
ข้อ 19. ตอบ 30 ข้อ 20. ตอบ 9 ข้อ 21. ตอบ 499
ข้อ 22. ตอบ 36 ข้อ 23. ตอบ 180 ข้อ 24. ตอบ 90
ข้อ 25. ตอบ 45 ข้อ 26. ตอบ 64 ข้อ 27. ตอบ 225
ข้อ 28. ตอบ 210 ข้อ 29. ตอบ 54 ข้อ 30. ตอบ 34
2
ข้อ 3. ตอบ 10
2 3 3
3
2 5
2 2 5
3
3 3
10
ข้อ 4. ตอบ 32
a คือจานวนที่มีค่าน้อยกว่า 4 อยู่ 8 นั่นคือ 4 8a หรือ 12a
b คือจานวนที่เป็นส่วนกลับของ 2
3
2 นั่นคือ 1
2
2
3
b หรือ 3
8
b
จะได้ 3
12 32
8
a b
ข้อ 5. ตอบ 39
แทน 2, 3x y ลงใน 2(3 ) 3( 3 )x y x y
จะได้ 2(6 3) 3(2 9) 39
ข้อ 6. ตอบ 7
3 3 2 2x x นั่นคือ 5x
แทน 5x ลงใน 6 3 14ax x
จะได้ 5 6a 15 14
5a 35
a 7
ข้อ 7. ตอบ 8
จากโจทย์กาหนดให้ 4y ax เมื่อ a เป็นค่าคงตัว
ถ้า 1x จะได้ 2y
นั่นคือ 2 4a
a 2 -------- (1)
ถ้า 5x จะได้ y m
และจาก (1) จะได้
m 2 5 4
m 14
3
ถ้า 1x จะได้ y n
และจาก (1) จะได้
นั่นคือ n 2 4
n 6
ดังนั้น 14 6 8m n
ข้อ 8. ตอบ 68
สูตร
ให้ a แทนคะแนนรวมของนักเรียนกลุ่มที่ 1
และ b แทนคะแนนรวมของนักเรียนกลุ่มที่ 2
นั่นคือ 62 8 496a
72 12 864b
ดังนั้น ค่าเฉลี่ยคะแนนวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนทั้งหมดจะได้ 496 864
68
8 12
ข้อ 9. ตอบ 170
จากรูป 180 (40 75 ) 65x
65 40 105y
ดังนั้น 65 105 170x y
ค่าเฉลี่ย คะแนนรวม
จานวนนักเรียนทั้งหมด
4
ข้อ 10. ตอบ 11
จากรูป 3a ได้แก่ DC, HG, EF
4b ได้แก่ DH, EH, CG, FG
ดังนั้น 2 3 8 11a b
ข้อ 11. ตอบ 18
นักเรียนห้องหนึ่งมี 48 คน
มี 16 คน ชอบเล่นฟุตบอล
มี 20 คน ชอบเล่นแบดมินตัน
มี 10 คน ชอบเล่นฟุตบอล แต่ไม่ชอบเล่นแบดมินตัน
นั่นคือ มีนักเรียนที่ชอบเล่นทั้งฟุตบอลหรือแบดมินตัน (ชอบเล่นประเภทเดียว หรือ ทั้ง
สองประเภทก็ได้) 20 10 30 คน
ดังนั้น มีนักเรียนที่ไม่ชอบเล่นฟุตบอล และไม่ชอบเล่นแบดมินตัน 48 30 18 คน
ข้อ 12. ตอบ 10
(i) a เป็นจานวนบวก และ b เป็นจานวนลบ
แสดงว่า a a และ b b -------- (1)
(ii) ค่าสัมบูรณ์ของ a เป็น 3 เท่าของค่าสัมบูรณ์ของ b
นั่นคือ a 3 b
จาก (1) จะได้ a 3b -------- (2)
(iii) a มีค่ามากกว่า b อยู่ 20
นั่นคือ a b 20
แทนค่า a จาก (2) จะได้
3b b 20 -------- (3)
4b 20
b 5
5
แทน 5b ลงใน (2) จะได้ 15a
ดังนั้น 15 5 10a b
ข้อ 13. ตอบ 10
3(2 5)x 4( 3 2) 5(2 7)x x
6 15x 12 8 10 35x x
8x 28
x
7
2
นั่นคือ 7
2
a
ดังนั้น 2 3 7 3 10a
ข้อ 14. ตอบ 72
จากโจทย์ กำหนดจำนวนนับสองหลักจำนวนหนึ่ง
สมมติว่าเป็น “ab ” เมื่อ a และ b เป็นเลขโดด
ซึ่งจานวนนับนี้มีค่าเท่ากับ 10a b -------- (1)
จานวนนับสามหลักที่ได้จากการเติม 6 ไว้ทางขวาสุด คือ “ 6ab ”
ซึ่งมีค่าเท่ากับ 100 10 6a b
จานวนนับสามหลักที่ได้จากการเติม 6 ไว้ทางซ้ายสุด คือ “6ab ”
ซึ่งมีค่าเท่ากับ 600 10a b
จากโจทย์“ 6ab ” มีค่ามากกว่า “6ab ” อยู่ 54 นั่นคือ
(100 10 6) (600 10 ) 54
90 9 648
10 72
a b a b
a b
a b
ดังนั้น จานวนนับสองหลักที่กาหนดให้ คือ 72
6
C
ข้อ 15. ตอบ 25
ต้องการเตรียมน้าเกลือที่มีความเข้มข้น 15% ปริมาณ 800 g
นั่นคือ มีเกลืออยู่ในน้าเกลือ 15
800 120
100
กรัม
ส่วนผสมที่ 1 น้าเกลือที่มีความเข้มข้น 9% ปริมาณ 500 กรัม
นั่นคือ มีเกลืออยู่ในน้าเกลือ 9
500 45
100
กรัม
ส่วนผสมที่ 2 น้าเกลือที่มีความเข้มข้น %x ปริมาณ 800 500 300 กรัม
นั่นคือ มีเกลืออยู่ในน้าเกลือ 300 3
100
x
x กรัม
จากข้อความข้างต้น จะได้ 120 45 3x
75 3x
x 25
ข้อ 16. ตอบ 11
เมื่อแทน 6x ลงใน 2y x จะได้ 12y
เมื่อแทน 6x ลงใน b
y x
a
จะได้ 6b
y
a
500 g
800 g
300 g
+ =
7
นั่นคือ 6
AB 12
b
a
พิจารณารูปสามเหลี่ยม AOB โดยให้ด้าน AB เป็นฐาน
จะเห็นว่าส่วนสูงของรูปสามเหลี่ยมคือ OC ยาว 6 หน่วย
โจทย์กาหนดให้พื้นที่ของรูปสามเหลี่ยม AOB เท่ากับ 21 ตารางหน่วย
ดังนั้น
21
1 6
12 6
2
b
a
7
6
12
b
a
b
a
5
6
นั่นคือ 5b และ 6a
ดังนั้น 5 6 11a b
ข้อ 17. ตอบ 84
x (ลิตร) 0.1 0.2 0.3 0.4 0.5 0.6 …
y (ชั่วโมง) a 40 b 20 …
ปริมาณเชื้อเพลิงทั้งหมด = อัตราการใช้เชื้อเพลิง ช่วงเวลาที่ใช้เชื้อเพลิงได้
ถ้าใช้เชื้อเพลิงในอัตรา 0.3 ลิตร ต่อ 1 ชั่วโมง จะสามารถใช้ได้ 40 ชั่วโมง
นั่นคือ มีเชื้อเพลิงทั้งหมด 0.3 40 12 ลิตร
ถ้าใช้เชื้อเพลิงในอัตรา 0.2 ลิตร ต่อ 1 ชั่วโมง จะสามารถใช้ได้ a ชั่วโมง
นั่นคือ 0.2 12a จึงได้ 12
60
0.2
a
ถ้าใช้เชื้อเพลิงในอัตรา 0.5 ลิตร ต่อ 1 ชั่วโมง จะสามารถใช้ได้ b ชั่วโมง
นั่นคือ 0.5 12b จึงได้ 12
24
0.5
b ชั่วโมง
ดังนั้น 60 24 84a b
8
5 หน่วย a หน่วย
15 หน่วย
5 หน่วย
a หน่วย
15 หน่วย
ข้อ 18. ตอบ 115
ให้ a แทนค่ากึ่งกลางของช่วงคะแนนที่มีนักเรียนมากที่สุด
ช่วงคะแนนที่มีนักเรียนมากที่สุด คือ 80 90
นั่นคือ 85a
ให้ b แทนจานวนนักเรียนของช่วงคะแนนนั้น
นั่นคือ 15b
ดังนั้น 2 85 30 115a b
ข้อ 19. ตอบ 30
ให้ BC 3AB 2CD
จากรูป AD = AB+BC+CD
55 =
1 1
BC+BC+ BC
3 2
55 =
11
BC
6
BC = 30
ข้อ 20. ตอบ 9
จะสร้างรูปสามเหลี่ยม โดยมีความยาวแต่ละด้านเป็น 5 หน่วย 15 หน่วย และ a หน่วย
โดยที่ a เป็นจานวนเต็ม
ซึ่งจะเป็นไปได้เมื่อ 15 5a และ 15 5a
นั่นคือ 10a และ 20a
ค่าที่เป็นไปได้ของ a ได้แก่ 11, 12, 13, 14, 15, 16, 17, 18, 19 ซึ่งมีทั้งหมด 9 จานวน
80 81 82 83 84 85 86 87 88 89 90
a
9
ข้อ 21. ตอบ 499
พิจารณาตัวอย่าง 123450000 ซึ่งสามารถเขียนได้ในรูป
4
123450000 12345 10
ในอีกนัยหนึ่ง การนับจานวนเลขโดด 0 ที่ต่อเนื่องมาตั้งแต่หลักหน่วยก็คือ
การนับว่ามี 10 เป็นตัวประกอบทั้งสิ้นกี่จานวนนั่นเอง
ยิ่งกว่านี้ เนื่องจาก 10 2 5 เราจึงสามารถนับได้จากจานวน 2 และ 5 ที่เป็นตัวประกอบ
พิจารณา 1 2 3 2004
ผลคูณนี้ จะมีจานวน 2 ที่เป็นตัวประกอบ มากกว่า จานวน 5 ที่เป็นตัวประกอบอยู่มาก
จึงเพียงพอที่จะนับจานวน 5 ที่เป็นตัวประกอบในผลคูณนี้ ซึ่งจะมาจากตัวคูณ
5,10,15, ,2000
ซึ่งมีทั้งหมด 400 จานวน นั่นคือ
400
5 10 15 2000 5 1 2 3 400 (1)
ต่อไปพิจารณาผลคูณ 1 2 3 400 ซึ่งจะนับจานวน 5 ที่เป็นตัวประกอบ
ได้จาก 5,10,15, ,400 รวม 80 จานวน นั่นคือ
80
5 10 15 400 5 1 2 3 80 (2)
ต่อไปพิจารณาผลคูณ 1 2 3 80 ซึ่งจะนับจานวน 5 ที่เป็นตัวประกอบ
ได้จาก 5,10,15, ,80 รวม 16 จานวน นั่นคือ
16
5 10 15 80 5 1 2 3 16 (3)
และท้ายสุด ผลคูณ 1 2 3 16 จะนับจานวน 5 ที่เป็นตัวประกอบได้จาก
3
5 10 5 1 2 (4)
จาก (1), (2), (3) และ (4) จึงสรุปได้ว่า 1 2 3 2004 จะมี 5 ทั้งหมด
400 80 16 3 499 ตัว
ดังนั้น 1 2 3 2004 มีเลขโดด 0 ต่อเนื่องมาตั้งแต่หลักหน่วย 499 ตัว
10
ข้อ 22. ตอบ 36
ให้ ,x y เป็นจานวนนับ
(i) ตัวหารร่วมมากของ x และ y คือ 6
ให้ 6x a , 6y b โดยที่ ,a b เป็นจานวนนับ และห.ร.ม. ของ ,a b เป็น 1
(ii) 2
288x xy -------- (1)
เมื่อแทน 6x a , 6y b ลงใน (1)
จะได้ 2
36 36a ab 288
( )a a b 8
กรณีที่ 1 ถ้า 1a จะได้ 7b
กรณีที่ 2 ถ้า 2a จะได้ 2b เป็นไปไม่ได้เพราะห.ร.ม. ของ ,a b ไม่เป็น 1
จากกรณีที่ 1 จะได้ 6x และ 42y
ดังนั้น 6 42 36x y
ข้อ 23. ตอบ 180
จานวนเต็มสามหลักที่ได้จากการเรียงสลับเลขโดดสามตัวคือ 5,6,7 ได้แก่
567, 576, 657, 675, 756, 765 -------- (1)
เนื่องจากผลคูณของจานวนเต็มสองจานวนที่มีค่าเรียงถัดกัน จะได้ จานวนคู่
ดังนั้น M ต้องเป็นจานวนคู่ ซึ่งจาก (1) เป็นไปได้สองจานวน คือ 576 และ 756
6 2 3 2 2
576 2 3 (2 3) 24
2 3 3 2
756 2 3 7 3 (2 7) 27 28
จะได้ 756M
ยิ่งกว่านี้ นอกจาก 576 แล้วไม่มีจานวนใดใน (1) ที่เป็นจานวนเต็มยกกาลังสองอีก
จึงได้ 576N
ดังนั้น 756 576 180M N
ข้อ 24. ตอบ 90
ให้ x แทนขั้นบันไดทั้งหมด
ยองฮีใช้เวลาขึ้นบันไดแต่ละขั้น 1 วินาที
ชอลซูใช้เวลาขึ้นบันไดแต่ละขั้น 2
3
วินาที
เนื่องจาก เวลาที่ยองฮีใช้ขึ้นบันไดทั้งหมด เวลาที่ยองฮีใช้ขึ้นบันไดทั้งหมด 30
x
2
30
3
x
11
1
3
x 30
x 90
ข้อ 25. ตอบ 45
ขนาดของมุมภายในหนึ่งมุมของรูปหกเหลี่ยมด้านเท่ามุมเท่า คือ 120
ขนาดของมุมภายในหนึ่งมุมของรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส คือ 90
ลากเส้นตรงที่ขนานกับเส้นตรง ,l m และผ่านจุด E, F ทาให้เกิดมุมต่าง ๆ ดังรูป
ดังนั้น ˆEFG 180 (100 35 ) 45
ข้อ 26. ตอบ 64
หา *a b จากตารางต่อไปนี้
จากตาราง *a b มีค่าที่แตกต่างกันทั้งหมด 6 จานวน ได้แก่ 2, 0, 1, 2, 3, 4
นั่นคือ 6n
ดังนั้น 6
2 64
ข้อ 27. ตอบ 225
ให้ระยะทางจากทางขึ้นบันได ถึงบันไดขั้นสุดท้ายขั้นบันไดเป็น x เมตร
อัตราเร็วของบันไดเลื่อนที่เลื่อนขึ้นเป็น
150
x
เมตร ต่อ วินาที
ซียองวิ่งลงบันไดเลื่อนนี้ในขณะที่หยุดทางานด้วยอัตราเร็ว
90
x
เมตร ต่อ วินาที
ถ้าซียองวิ่งลงบันไดเลื่อนที่กาลังเลื่อนขึ้น เขาลงมาด้วยอัตราความเร็ว
12
90 150 225
x x x
เมตร ต่อ วินาที
ดังนั้น เวลาที่ซียองใช้ในการวิ่งลงบันไดเลื่อนที่กาลังเลื่อนขึ้น คือ 225 วินาที
ข้อ 28. ตอบ 210
จากเงื่อนไข
(i) นักเรียนที่มีเลขประจาตัวเป็น 1 จะได้ลูกอม 1 เม็ด
(ii) นักเรียนที่มีเลขประจาตัวเป็น a b จะได้รับลูกอมเท่ากับ
จานวนลูกอมของนักเรียนที่มีเลขประจาตัวเป็น a รวมกับ
จานวนลูกอมของนักเรียนที่มีเลขประจาตัวเป็น b
และรวมกับผลคูณของ a กับ b
a b เลขประจาตัว a
ได้ลูกอม
เลขประจาตัว b
ได้ลูกอม
ab เลขประจาตัว a b ได้
ลูกอม
2 1 1 1 1 1 1 1 1 3
4 2 2 3 3 4 3 3 4 10
8 4 4 10 10 16 10 10 16 36
16 8 8 36 36 64 36 36 64 136
20 16 4 136 10 64 136 10 64 210
ดังนั้น นักเรียนที่มีเลขประจาตัวเป็น 20 จะได้รับลูกอม 210 เม็ด
ข้อ 29. ตอบ 54
6
R
5
R
4
R
3
R
2
R
1
R
13
จากรูป นาข้อมูลมาเขียนตาราง จะได้
แถวในแนวเส้นทแยง จานวนจุดในแถว จานวนจุดสะสม
1
R 1 1
2
R 2 3
3
R 3 6
4
R 4 10
5
R 5 15
6
R 6 21
7
R 7 28
8
R 8 36
9
R 9 45
10
R 10 55
11
R 11 66
12
R 12 78
13
R 13 91
14
R 14 105
แสดงว่า จุดที่ 100 จะต้องอยู่ในแนวเส้น 14
R
พิจารณาเส้น 13
R จุดที่ 91 จะอยู่ที่พิกัด (1, 13)
พิจารณาเส้น 14
R จะได้
จุดที่ พิกัด
105 (1, 14)
104 (2, 13)
103 (3, 12)
102 (4, 11)
101 (5, 10)
100 (6, 9)
จะได้ 6a และ 9b
ดังนั้น 54ab
14
ข้อ 30. ตอบ 34
ตัวคูณร่วมน้อยของ 10, 15, 18 คือ 90
ให้ความยาวของแท่งไม้เท่ากับ 90 หน่วย
แบ่งแท่งไม้แบบที่ 1
การแบ่งแท่งไม้เป็น 10 ส่วนเท่ากัน จะได้จานวนขีด 9 ขีด โดย
ขีดที่ 1 2 3 4 5 6 7 8 9
ตาแหน่งที่
(หน่วย)
9 18 27 36 45 54 63 72 81
แบ่งแท่งไม้แบบที่ 2
การแบ่งแท่งไม้เป็น 15 ส่วนเท่ากัน จะได้จานวนขีด 14 ขีด โดย
ขีดที่ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14
ตาแหน่งที่
(หน่วย)
6 12 18 24 30 36 42 48 54 60 66 72 78 84
แบ่งแท่งไม้แบบที่ 3
การแบ่งแท่งไม้เป็น 18 ส่วนเท่ากัน จะได้จานวนขีด 17 ขีด โดยแต่ละขีดจะอยู่
ในตาแหน่งที่ (หน่วย) ดังนี้
5, 10, 15, 20, 25, 30, 35, 40, 45, 50, 55, 60, 65, 70, 75, 80, 85, 90
ขั้นที่ 1
จากการแบ่งแท่งไม้แบบที่ 1 และแบบที่ 2 ตาแหน่งของขีดต่าง ๆ ได้แก่
6, 9, 12, 18, 24, 27, 30, 36, 42, 45, 48, 54, 60, 63, 66, 72, 78, 81, 84
นั่นคือ จานวนขีดทั้งหมดจากการแบ่งแท่งไม้แบบที่ 1 และแบบที่ 2 คือ 19 ขีด
ขั้นที่ 2
พิจารณาการแบ่งแท่งไม้แบบที่ 3 และตาแหน่งของขีดต่าง ๆ ในขั้นที่ 1
จะมีตาแหน่งของขีดที่ซ้ากัน คือ 30, 45, 60
จะได้จานวนขีดทั้งหมดจากการแบ่งแท่งไม้ทั้งสามแบบ เป็น 19 17 3 33 ขีด
ดังนั้น เมื่อตัดแท่งไม้ตามขีดที่เขียนไว้ จะได้แท่งไม้ทั้งหมด 33 1 34 แท่ง

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

เฉลย กสพท. คณิตศาสตร์ 2557
เฉลย กสพท. คณิตศาสตร์ 2557เฉลย กสพท. คณิตศาสตร์ 2557
เฉลย กสพท. คณิตศาสตร์ 2557Tonson Lalitkanjanakul
 
Pat1 ก.พ. 61
Pat1 ก.พ. 61Pat1 ก.พ. 61
Pat1 ก.พ. 619GATPAT1
 
7 วิชาสามัญ คณิต 57+เฉลย
7 วิชาสามัญ  คณิต 57+เฉลย7 วิชาสามัญ  คณิต 57+เฉลย
7 วิชาสามัญ คณิต 57+เฉลยsm_anukul
 
เฉลยคณิต 50
เฉลยคณิต 50เฉลยคณิต 50
เฉลยคณิต 50Chawasanan Yisu
 
ตัวอย่างข้อสอบ Las 8คณิตศาสตร์ม.1
ตัวอย่างข้อสอบ Las 8คณิตศาสตร์ม.1ตัวอย่างข้อสอบ Las 8คณิตศาสตร์ม.1
ตัวอย่างข้อสอบ Las 8คณิตศาสตร์ม.1ทับทิม เจริญตา
 
9 วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 2 2562
9 วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 2 25629 วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 2 2562
9 วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 2 25629GATPAT1
 
รวมแบบฝึกหัด(การบ้าน)
รวมแบบฝึกหัด(การบ้าน)รวมแบบฝึกหัด(การบ้าน)
รวมแบบฝึกหัด(การบ้าน)Jirathorn Buenglee
 
เฉลย Ent48 คณิตศาสตร์1
เฉลย Ent48 คณิตศาสตร์1เฉลย Ent48 คณิตศาสตร์1
เฉลย Ent48 คณิตศาสตร์1Unity' Aing
 
แบบฝึกหัดเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
แบบฝึกหัดเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวแบบฝึกหัดเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
แบบฝึกหัดเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวJirathorn Buenglee
 
Pat1 มีค57 type
Pat1 มีค57 typePat1 มีค57 type
Pat1 มีค57 typeTKAomerz
 
ตัวอย่างข้อสอบ Las คณิตศาสตร์ม.2
ตัวอย่างข้อสอบ Las คณิตศาสตร์ม.2ตัวอย่างข้อสอบ Las คณิตศาสตร์ม.2
ตัวอย่างข้อสอบ Las คณิตศาสตร์ม.2ทับทิม เจริญตา
 
Test o net ม.6 51
Test o net ม.6 51Test o net ม.6 51
Test o net ม.6 51seelopa
 
คำชี้แจง 2 สมบัติของการเท่ากัน
คำชี้แจง 2 สมบัติของการเท่ากัน คำชี้แจง 2 สมบัติของการเท่ากัน
คำชี้แจง 2 สมบัติของการเท่ากัน ธิดา ก๋าคำ
 
Pretest เรขาคณิตวิเคราะห์
Pretest เรขาคณิตวิเคราะห์Pretest เรขาคณิตวิเคราะห์
Pretest เรขาคณิตวิเคราะห์nongyao9
 

Mais procurados (20)

เฉลย กสพท. คณิตศาสตร์ 2557
เฉลย กสพท. คณิตศาสตร์ 2557เฉลย กสพท. คณิตศาสตร์ 2557
เฉลย กสพท. คณิตศาสตร์ 2557
 
Pat1 ก.พ. 61
Pat1 ก.พ. 61Pat1 ก.พ. 61
Pat1 ก.พ. 61
 
Pat1 set1
Pat1 set1Pat1 set1
Pat1 set1
 
7 วิชาสามัญ คณิต 57+เฉลย
7 วิชาสามัญ  คณิต 57+เฉลย7 วิชาสามัญ  คณิต 57+เฉลย
7 วิชาสามัญ คณิต 57+เฉลย
 
เฉลยคณิต 50
เฉลยคณิต 50เฉลยคณิต 50
เฉลยคณิต 50
 
ตัวอย่างข้อสอบ Las 8คณิตศาสตร์ม.1
ตัวอย่างข้อสอบ Las 8คณิตศาสตร์ม.1ตัวอย่างข้อสอบ Las 8คณิตศาสตร์ม.1
ตัวอย่างข้อสอบ Las 8คณิตศาสตร์ม.1
 
9 วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 2 2562
9 วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 2 25629 วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 2 2562
9 วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 2 2562
 
รวมแบบฝึกหัด(การบ้าน)
รวมแบบฝึกหัด(การบ้าน)รวมแบบฝึกหัด(การบ้าน)
รวมแบบฝึกหัด(การบ้าน)
 
9 วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 2 2559
9 วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 2 25599 วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 2 2559
9 วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 2 2559
 
เฉลย Ent48 คณิตศาสตร์1
เฉลย Ent48 คณิตศาสตร์1เฉลย Ent48 คณิตศาสตร์1
เฉลย Ent48 คณิตศาสตร์1
 
Pat1 มี.ค. 58
Pat1 มี.ค. 58Pat1 มี.ค. 58
Pat1 มี.ค. 58
 
ข้อสอบโควตา
ข้อสอบโควตาข้อสอบโควตา
ข้อสอบโควตา
 
แบบฝึกหัดเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
แบบฝึกหัดเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวแบบฝึกหัดเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
แบบฝึกหัดเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 
Satit tue134008
Satit tue134008Satit tue134008
Satit tue134008
 
Pat1 มีค57 type
Pat1 มีค57 typePat1 มีค57 type
Pat1 มีค57 type
 
ตัวอย่างข้อสอบ Las คณิตศาสตร์ม.2
ตัวอย่างข้อสอบ Las คณิตศาสตร์ม.2ตัวอย่างข้อสอบ Las คณิตศาสตร์ม.2
ตัวอย่างข้อสอบ Las คณิตศาสตร์ม.2
 
Test o net ม.6 51
Test o net ม.6 51Test o net ม.6 51
Test o net ม.6 51
 
คำชี้แจง 2 สมบัติของการเท่ากัน
คำชี้แจง 2 สมบัติของการเท่ากัน คำชี้แจง 2 สมบัติของการเท่ากัน
คำชี้แจง 2 สมบัติของการเท่ากัน
 
Pretest เรขาคณิตวิเคราะห์
Pretest เรขาคณิตวิเคราะห์Pretest เรขาคณิตวิเคราะห์
Pretest เรขาคณิตวิเคราะห์
 
9 วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 2 2560
9 วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 2 25609 วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 2 2560
9 วิชาสามัญ คณิตศาสตร์ 2 2560
 

Destaque

แบบฝึกหัด เรื่อง สมการและอสมการพหุนาม ชุดที่ 2
แบบฝึกหัด เรื่อง สมการและอสมการพหุนาม ชุดที่ 2แบบฝึกหัด เรื่อง สมการและอสมการพหุนาม ชุดที่ 2
แบบฝึกหัด เรื่อง สมการและอสมการพหุนาม ชุดที่ 2คุณครูพี่อั๋น
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 1 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 1 ชุดที่ 1ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 1 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 1 ชุดที่ 1คุณครูพี่อั๋น
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 2 ชุดที่ 2
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 2 ชุดที่ 2ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 2 ชุดที่ 2
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 2 ชุดที่ 2คุณครูพี่อั๋น
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 2 ชุดที่ 2
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 2 ชุดที่ 2ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 2 ชุดที่ 2
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 2 ชุดที่ 2คุณครูพี่อั๋น
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 1 ชุดที่ 2
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 1 ชุดที่ 2ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 1 ชุดที่ 2
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 1 ชุดที่ 2คุณครูพี่อั๋น
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1คุณครูพี่อั๋น
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 2 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 2 ชุดที่ 1ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 2 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 2 ชุดที่ 1คุณครูพี่อั๋น
 
แบบฝึกหัด เรื่อง สมการและอสมการพหุนาม ชุดที่ 1
แบบฝึกหัด เรื่อง สมการและอสมการพหุนาม ชุดที่ 1แบบฝึกหัด เรื่อง สมการและอสมการพหุนาม ชุดที่ 1
แบบฝึกหัด เรื่อง สมการและอสมการพหุนาม ชุดที่ 1คุณครูพี่อั๋น
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 1 ชุดที่ 2
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 1 ชุดที่ 2ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 1 ชุดที่ 2
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 1 ชุดที่ 2คุณครูพี่อั๋น
 
Cahier 2 avance
Cahier 2 avanceCahier 2 avance
Cahier 2 avancechema
 
Tax Efficient Investing For Life
Tax Efficient Investing For LifeTax Efficient Investing For Life
Tax Efficient Investing For Lifeguesta5e2f9
 
Kompan New Corocord Space Nets
Kompan New Corocord Space NetsKompan New Corocord Space Nets
Kompan New Corocord Space NetsJamie Carter
 
Presentation manufacturing (low melting alloy)
Presentation manufacturing (low melting alloy)Presentation manufacturing (low melting alloy)
Presentation manufacturing (low melting alloy)Laila Suria
 

Destaque (20)

I30201 1-ส่วนหน้า
I30201 1-ส่วนหน้าI30201 1-ส่วนหน้า
I30201 1-ส่วนหน้า
 
I30201 2-แผนการสอน
I30201 2-แผนการสอนI30201 2-แผนการสอน
I30201 2-แผนการสอน
 
แบบฝึกหัด เรื่อง สมการและอสมการพหุนาม ชุดที่ 2
แบบฝึกหัด เรื่อง สมการและอสมการพหุนาม ชุดที่ 2แบบฝึกหัด เรื่อง สมการและอสมการพหุนาม ชุดที่ 2
แบบฝึกหัด เรื่อง สมการและอสมการพหุนาม ชุดที่ 2
 
เซต เล่ม 2
เซต เล่ม 2เซต เล่ม 2
เซต เล่ม 2
 
เซต เล่ม 1
เซต เล่ม 1เซต เล่ม 1
เซต เล่ม 1
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 1 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 1 ชุดที่ 1ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 1 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 1 ชุดที่ 1
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 2 ชุดที่ 2
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 2 ชุดที่ 2ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 2 ชุดที่ 2
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 2 ชุดที่ 2
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 2 ชุดที่ 2
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 2 ชุดที่ 2ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 2 ชุดที่ 2
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 2 ชุดที่ 2
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 1 ชุดที่ 2
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 1 ชุดที่ 2ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 1 ชุดที่ 2
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 1 ชุดที่ 2
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 2 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 2 ชุดที่ 1ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 2 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 2 ชุดที่ 1
 
แบบฝึกหัด เรื่อง สมการและอสมการพหุนาม ชุดที่ 1
แบบฝึกหัด เรื่อง สมการและอสมการพหุนาม ชุดที่ 1แบบฝึกหัด เรื่อง สมการและอสมการพหุนาม ชุดที่ 1
แบบฝึกหัด เรื่อง สมการและอสมการพหุนาม ชุดที่ 1
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 1 ชุดที่ 2
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 1 ชุดที่ 2ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 1 ชุดที่ 2
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 1 ชุดที่ 2
 
Kurikulum Viti
Kurikulum VitiKurikulum Viti
Kurikulum Viti
 
Cahier 2 avance
Cahier 2 avanceCahier 2 avance
Cahier 2 avance
 
The Sign - Broj 1
The Sign - Broj 1The Sign - Broj 1
The Sign - Broj 1
 
Tax Efficient Investing For Life
Tax Efficient Investing For LifeTax Efficient Investing For Life
Tax Efficient Investing For Life
 
Kompan New Corocord Space Nets
Kompan New Corocord Space NetsKompan New Corocord Space Nets
Kompan New Corocord Space Nets
 
Presentation manufacturing (low melting alloy)
Presentation manufacturing (low melting alloy)Presentation manufacturing (low melting alloy)
Presentation manufacturing (low melting alloy)
 
Путь стартапа
Путь стартапаПуть стартапа
Путь стартапа
 

Semelhante a Ans_TME54_jh1

แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนAon Narinchoti
 
ข้อสอบ pre o-net ชุดที่ 5
ข้อสอบ pre o-net ชุดที่ 5ข้อสอบ pre o-net ชุดที่ 5
ข้อสอบ pre o-net ชุดที่ 5benjalakpitayaschool
 
ลำดับเลขคณิต
ลำดับเลขคณิตลำดับเลขคณิต
ลำดับเลขคณิตaoynattaya
 
ข้อสอบภาค ก-ครูผู้ช่วย-100-ข้อ-พร้อมเฉลย-
ข้อสอบภาค ก-ครูผู้ช่วย-100-ข้อ-พร้อมเฉลย-ข้อสอบภาค ก-ครูผู้ช่วย-100-ข้อ-พร้อมเฉลย-
ข้อสอบภาค ก-ครูผู้ช่วย-100-ข้อ-พร้อมเฉลย-มะดาโอะ มะเซ็ง
 
แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ
แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ
แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ sawed kodnara
 
ข้อสอบ PAT 1 ปี 53
ข้อสอบ PAT 1 ปี 53ข้อสอบ PAT 1 ปี 53
ข้อสอบ PAT 1 ปี 53Jamescoolboy
 
ตัวอย่างข้อสอบ Pre o net คณิตศาสตร์ม.6
ตัวอย่างข้อสอบ Pre o net คณิตศาสตร์ม.6ตัวอย่างข้อสอบ Pre o net คณิตศาสตร์ม.6
ตัวอย่างข้อสอบ Pre o net คณิตศาสตร์ม.6ทับทิม เจริญตา
 
แนวข้อสอบทหารอากาศวิชาคณิตศาสตร์
แนวข้อสอบทหารอากาศวิชาคณิตศาสตร์แนวข้อสอบทหารอากาศวิชาคณิตศาสตร์
แนวข้อสอบทหารอากาศวิชาคณิตศาสตร์Kapong007
 
แบบทดสอบก่อนและหลังเรียน
แบบทดสอบก่อนและหลังเรียนแบบทดสอบก่อนและหลังเรียน
แบบทดสอบก่อนและหลังเรียนaoynattaya
 
7 สามัญ คณิต
7 สามัญ คณิต7 สามัญ คณิต
7 สามัญ คณิตMashmallow Korn
 
คณิตศาสตร์ 24 2
คณิตศาสตร์ 24 2 คณิตศาสตร์ 24 2
คณิตศาสตร์ 24 2 krookay2012
 
คณิตศาสตร์(วิทย์)
คณิตศาสตร์(วิทย์)คณิตศาสตร์(วิทย์)
คณิตศาสตร์(วิทย์)N-nut Piacker
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์
ข้อสอบคณิตศาสตร์ข้อสอบคณิตศาสตร์
ข้อสอบคณิตศาสตร์Worawalanyrc
 

Semelhante a Ans_TME54_jh1 (20)

แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
 
ข้อสอบ pre o-net ชุดที่ 5
ข้อสอบ pre o-net ชุดที่ 5ข้อสอบ pre o-net ชุดที่ 5
ข้อสอบ pre o-net ชุดที่ 5
 
ลำดับเลขคณิต
ลำดับเลขคณิตลำดับเลขคณิต
ลำดับเลขคณิต
 
ข้อสอบภาค ก-ครูผู้ช่วย-100-ข้อ-พร้อมเฉลย-
ข้อสอบภาค ก-ครูผู้ช่วย-100-ข้อ-พร้อมเฉลย-ข้อสอบภาค ก-ครูผู้ช่วย-100-ข้อ-พร้อมเฉลย-
ข้อสอบภาค ก-ครูผู้ช่วย-100-ข้อ-พร้อมเฉลย-
 
Ctms25912
Ctms25912Ctms25912
Ctms25912
 
แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ
แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ
แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ
 
Per o-net math3
Per o-net math3Per o-net math3
Per o-net math3
 
Pat1 53
Pat1 53Pat1 53
Pat1 53
 
ข้อสอบ PAT 1 ปี 53
ข้อสอบ PAT 1 ปี 53ข้อสอบ PAT 1 ปี 53
ข้อสอบ PAT 1 ปี 53
 
ตัวอย่างข้อสอบ Pre o net คณิตศาสตร์ม.6
ตัวอย่างข้อสอบ Pre o net คณิตศาสตร์ม.6ตัวอย่างข้อสอบ Pre o net คณิตศาสตร์ม.6
ตัวอย่างข้อสอบ Pre o net คณิตศาสตร์ม.6
 
แนวข้อสอบทหารอากาศวิชาคณิตศาสตร์
แนวข้อสอบทหารอากาศวิชาคณิตศาสตร์แนวข้อสอบทหารอากาศวิชาคณิตศาสตร์
แนวข้อสอบทหารอากาศวิชาคณิตศาสตร์
 
3
33
3
 
แบบทดสอบก่อนและหลังเรียน
แบบทดสอบก่อนและหลังเรียนแบบทดสอบก่อนและหลังเรียน
แบบทดสอบก่อนและหลังเรียน
 
7 สามัญ คณิต
7 สามัญ คณิต7 สามัญ คณิต
7 สามัญ คณิต
 
7SAMAN#56
7SAMAN#567SAMAN#56
7SAMAN#56
 
คณิตศาสตร์ 24 2
คณิตศาสตร์ 24 2 คณิตศาสตร์ 24 2
คณิตศาสตร์ 24 2
 
คณิตศาสตร์(วิทย์)
คณิตศาสตร์(วิทย์)คณิตศาสตร์(วิทย์)
คณิตศาสตร์(วิทย์)
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์
ข้อสอบคณิตศาสตร์ข้อสอบคณิตศาสตร์
ข้อสอบคณิตศาสตร์
 
201308021105301
201308021105301201308021105301
201308021105301
 
K04
K04K04
K04
 

Mais de คุณครูพี่อั๋น

การตั้งคำถาม และแหล่งข้อมูล
การตั้งคำถาม และแหล่งข้อมูลการตั้งคำถาม และแหล่งข้อมูล
การตั้งคำถาม และแหล่งข้อมูลคุณครูพี่อั๋น
 
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิดแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิดคุณครูพี่อั๋น
 
สาระย่อ ทำไมเด็กไทยพูดภาษอังกฤษไม่ได้
สาระย่อ ทำไมเด็กไทยพูดภาษอังกฤษไม่ได้สาระย่อ ทำไมเด็กไทยพูดภาษอังกฤษไม่ได้
สาระย่อ ทำไมเด็กไทยพูดภาษอังกฤษไม่ได้คุณครูพี่อั๋น
 
ทำไมเด็กไทยพูดภาษอังกฤษไม่ได้
ทำไมเด็กไทยพูดภาษอังกฤษไม่ได้ทำไมเด็กไทยพูดภาษอังกฤษไม่ได้
ทำไมเด็กไทยพูดภาษอังกฤษไม่ได้คุณครูพี่อั๋น
 
สองรางวัลระดับชาติจากการนำ Social media มาใช้เป็นส่วนหนึ่ง
สองรางวัลระดับชาติจากการนำ Social media มาใช้เป็นส่วนหนึ่งสองรางวัลระดับชาติจากการนำ Social media มาใช้เป็นส่วนหนึ่ง
สองรางวัลระดับชาติจากการนำ Social media มาใช้เป็นส่วนหนึ่งคุณครูพี่อั๋น
 
รวมข้อสอบคณิตศาสตร์เตรียมทหาร ม.3
รวมข้อสอบคณิตศาสตร์เตรียมทหาร ม.3รวมข้อสอบคณิตศาสตร์เตรียมทหาร ม.3
รวมข้อสอบคณิตศาสตร์เตรียมทหาร ม.3คุณครูพี่อั๋น
 
แยกเรื่อง 04-เลขยกกำลัง (และราก) pwk
แยกเรื่อง 04-เลขยกกำลัง (และราก) pwkแยกเรื่อง 04-เลขยกกำลัง (และราก) pwk
แยกเรื่อง 04-เลขยกกำลัง (และราก) pwkคุณครูพี่อั๋น
 
(ร่าง) เกณฑ์การแข่งขันทักษะภาษาเขมร
(ร่าง) เกณฑ์การแข่งขันทักษะภาษาเขมร(ร่าง) เกณฑ์การแข่งขันทักษะภาษาเขมร
(ร่าง) เกณฑ์การแข่งขันทักษะภาษาเขมรคุณครูพี่อั๋น
 
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1คุณครูพี่อั๋น
 

Mais de คุณครูพี่อั๋น (20)

Tangram
TangramTangram
Tangram
 
Course syllabus
Course syllabusCourse syllabus
Course syllabus
 
02 roman numeral
02 roman numeral02 roman numeral
02 roman numeral
 
01 history of numbers and numerals
01 history of numbers and numerals01 history of numbers and numerals
01 history of numbers and numerals
 
การตั้งคำถาม และแหล่งข้อมูล
การตั้งคำถาม และแหล่งข้อมูลการตั้งคำถาม และแหล่งข้อมูล
การตั้งคำถาม และแหล่งข้อมูล
 
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิดแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
 
สาระย่อ ทำไมเด็กไทยพูดภาษอังกฤษไม่ได้
สาระย่อ ทำไมเด็กไทยพูดภาษอังกฤษไม่ได้สาระย่อ ทำไมเด็กไทยพูดภาษอังกฤษไม่ได้
สาระย่อ ทำไมเด็กไทยพูดภาษอังกฤษไม่ได้
 
ทำไมเด็กไทยพูดภาษอังกฤษไม่ได้
ทำไมเด็กไทยพูดภาษอังกฤษไม่ได้ทำไมเด็กไทยพูดภาษอังกฤษไม่ได้
ทำไมเด็กไทยพูดภาษอังกฤษไม่ได้
 
สองรางวัลระดับชาติจากการนำ Social media มาใช้เป็นส่วนหนึ่ง
สองรางวัลระดับชาติจากการนำ Social media มาใช้เป็นส่วนหนึ่งสองรางวัลระดับชาติจากการนำ Social media มาใช้เป็นส่วนหนึ่ง
สองรางวัลระดับชาติจากการนำ Social media มาใช้เป็นส่วนหนึ่ง
 
รวมข้อสอบคณิตศาสตร์เตรียมทหาร ม.3
รวมข้อสอบคณิตศาสตร์เตรียมทหาร ม.3รวมข้อสอบคณิตศาสตร์เตรียมทหาร ม.3
รวมข้อสอบคณิตศาสตร์เตรียมทหาร ม.3
 
แยกเรื่อง 04-เลขยกกำลัง (และราก) pwk
แยกเรื่อง 04-เลขยกกำลัง (และราก) pwkแยกเรื่อง 04-เลขยกกำลัง (และราก) pwk
แยกเรื่อง 04-เลขยกกำลัง (และราก) pwk
 
Mathematics vocabulary slide
Mathematics vocabulary slideMathematics vocabulary slide
Mathematics vocabulary slide
 
Geometric figures
Geometric figuresGeometric figures
Geometric figures
 
Mathematics vocabulary
Mathematics vocabularyMathematics vocabulary
Mathematics vocabulary
 
ผลการแข่งขันโครงงาน
ผลการแข่งขันโครงงานผลการแข่งขันโครงงาน
ผลการแข่งขันโครงงาน
 
(ร่าง) เกณฑ์การแข่งขันทักษะภาษาเขมร
(ร่าง) เกณฑ์การแข่งขันทักษะภาษาเขมร(ร่าง) เกณฑ์การแข่งขันทักษะภาษาเขมร
(ร่าง) เกณฑ์การแข่งขันทักษะภาษาเขมร
 
รวมข้อสอบโอเน็ต คณิต ม.6
รวมข้อสอบโอเน็ต คณิต ม.6รวมข้อสอบโอเน็ต คณิต ม.6
รวมข้อสอบโอเน็ต คณิต ม.6
 
สูตรรูปเรขาคณิตสองมิติ
สูตรรูปเรขาคณิตสองมิติสูตรรูปเรขาคณิตสองมิติ
สูตรรูปเรขาคณิตสองมิติ
 
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1
 
แยกเรื่อง 05-ฟังก์ชัน
แยกเรื่อง 05-ฟังก์ชันแยกเรื่อง 05-ฟังก์ชัน
แยกเรื่อง 05-ฟังก์ชัน
 

Ans_TME54_jh1

  • 1. เฉลยข้อสอบการประเมินความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ ประจาปี 2554 (TME) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ข้อ 1. ตอบ 8 นาย A นึก 1, 2 และ 3a ส่วนนาย B นึก 2, 3 และ 4b เนื่องจากจานวนที่นาย A และนาย B นึกตรงกันมีสองจานวน คือ 2 และ 3 แสดงว่า นาย A จะต้องนึก 3 ด้วย นั่นคือ 3 3a หรือ 6a เนื่องจากจานวนที่นาย B นึกแต่นาย A ไม่ได้นึก มีเพียงจานวนเดียว คือ 6 แสดงว่า นาย B จะต้องนึก 6 ด้วย นั่นคือ 4 6b หรือ 2b ดังนั้น 8a b ข้อ 2. ตอบ 18 2 2 10111 101 2 10010 4 1 2 2 18 ข้อ 1. ตอบ 8 ข้อ 2. ตอบ 18 ข้อ 3. ตอบ 10 ข้อ 4. ตอบ 32 ข้อ 5. ตอบ 39 ข้อ 6. ตอบ 7 ข้อ 7. ตอบ 8 ข้อ 8. ตอบ 68 ข้อ 9. ตอบ 170 ข้อ 10. ตอบ 11 ข้อ 11. ตอบ 18 ข้อ 12. ตอบ 10 ข้อ 13. ตอบ 10 ข้อ 14. ตอบ 72 ข้อ 15. ตอบ 25 ข้อ 16. ตอบ 11 ข้อ 17. ตอบ 84 ข้อ 18. ตอบ 115 ข้อ 19. ตอบ 30 ข้อ 20. ตอบ 9 ข้อ 21. ตอบ 499 ข้อ 22. ตอบ 36 ข้อ 23. ตอบ 180 ข้อ 24. ตอบ 90 ข้อ 25. ตอบ 45 ข้อ 26. ตอบ 64 ข้อ 27. ตอบ 225 ข้อ 28. ตอบ 210 ข้อ 29. ตอบ 54 ข้อ 30. ตอบ 34
  • 2. 2 ข้อ 3. ตอบ 10 2 3 3 3 2 5 2 2 5 3 3 3 10 ข้อ 4. ตอบ 32 a คือจานวนที่มีค่าน้อยกว่า 4 อยู่ 8 นั่นคือ 4 8a หรือ 12a b คือจานวนที่เป็นส่วนกลับของ 2 3 2 นั่นคือ 1 2 2 3 b หรือ 3 8 b จะได้ 3 12 32 8 a b ข้อ 5. ตอบ 39 แทน 2, 3x y ลงใน 2(3 ) 3( 3 )x y x y จะได้ 2(6 3) 3(2 9) 39 ข้อ 6. ตอบ 7 3 3 2 2x x นั่นคือ 5x แทน 5x ลงใน 6 3 14ax x จะได้ 5 6a 15 14 5a 35 a 7 ข้อ 7. ตอบ 8 จากโจทย์กาหนดให้ 4y ax เมื่อ a เป็นค่าคงตัว ถ้า 1x จะได้ 2y นั่นคือ 2 4a a 2 -------- (1) ถ้า 5x จะได้ y m และจาก (1) จะได้ m 2 5 4 m 14
  • 3. 3 ถ้า 1x จะได้ y n และจาก (1) จะได้ นั่นคือ n 2 4 n 6 ดังนั้น 14 6 8m n ข้อ 8. ตอบ 68 สูตร ให้ a แทนคะแนนรวมของนักเรียนกลุ่มที่ 1 และ b แทนคะแนนรวมของนักเรียนกลุ่มที่ 2 นั่นคือ 62 8 496a 72 12 864b ดังนั้น ค่าเฉลี่ยคะแนนวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนทั้งหมดจะได้ 496 864 68 8 12 ข้อ 9. ตอบ 170 จากรูป 180 (40 75 ) 65x 65 40 105y ดังนั้น 65 105 170x y ค่าเฉลี่ย คะแนนรวม จานวนนักเรียนทั้งหมด
  • 4. 4 ข้อ 10. ตอบ 11 จากรูป 3a ได้แก่ DC, HG, EF 4b ได้แก่ DH, EH, CG, FG ดังนั้น 2 3 8 11a b ข้อ 11. ตอบ 18 นักเรียนห้องหนึ่งมี 48 คน มี 16 คน ชอบเล่นฟุตบอล มี 20 คน ชอบเล่นแบดมินตัน มี 10 คน ชอบเล่นฟุตบอล แต่ไม่ชอบเล่นแบดมินตัน นั่นคือ มีนักเรียนที่ชอบเล่นทั้งฟุตบอลหรือแบดมินตัน (ชอบเล่นประเภทเดียว หรือ ทั้ง สองประเภทก็ได้) 20 10 30 คน ดังนั้น มีนักเรียนที่ไม่ชอบเล่นฟุตบอล และไม่ชอบเล่นแบดมินตัน 48 30 18 คน ข้อ 12. ตอบ 10 (i) a เป็นจานวนบวก และ b เป็นจานวนลบ แสดงว่า a a และ b b -------- (1) (ii) ค่าสัมบูรณ์ของ a เป็น 3 เท่าของค่าสัมบูรณ์ของ b นั่นคือ a 3 b จาก (1) จะได้ a 3b -------- (2) (iii) a มีค่ามากกว่า b อยู่ 20 นั่นคือ a b 20 แทนค่า a จาก (2) จะได้ 3b b 20 -------- (3) 4b 20 b 5
  • 5. 5 แทน 5b ลงใน (2) จะได้ 15a ดังนั้น 15 5 10a b ข้อ 13. ตอบ 10 3(2 5)x 4( 3 2) 5(2 7)x x 6 15x 12 8 10 35x x 8x 28 x 7 2 นั่นคือ 7 2 a ดังนั้น 2 3 7 3 10a ข้อ 14. ตอบ 72 จากโจทย์ กำหนดจำนวนนับสองหลักจำนวนหนึ่ง สมมติว่าเป็น “ab ” เมื่อ a และ b เป็นเลขโดด ซึ่งจานวนนับนี้มีค่าเท่ากับ 10a b -------- (1) จานวนนับสามหลักที่ได้จากการเติม 6 ไว้ทางขวาสุด คือ “ 6ab ” ซึ่งมีค่าเท่ากับ 100 10 6a b จานวนนับสามหลักที่ได้จากการเติม 6 ไว้ทางซ้ายสุด คือ “6ab ” ซึ่งมีค่าเท่ากับ 600 10a b จากโจทย์“ 6ab ” มีค่ามากกว่า “6ab ” อยู่ 54 นั่นคือ (100 10 6) (600 10 ) 54 90 9 648 10 72 a b a b a b a b ดังนั้น จานวนนับสองหลักที่กาหนดให้ คือ 72
  • 6. 6 C ข้อ 15. ตอบ 25 ต้องการเตรียมน้าเกลือที่มีความเข้มข้น 15% ปริมาณ 800 g นั่นคือ มีเกลืออยู่ในน้าเกลือ 15 800 120 100 กรัม ส่วนผสมที่ 1 น้าเกลือที่มีความเข้มข้น 9% ปริมาณ 500 กรัม นั่นคือ มีเกลืออยู่ในน้าเกลือ 9 500 45 100 กรัม ส่วนผสมที่ 2 น้าเกลือที่มีความเข้มข้น %x ปริมาณ 800 500 300 กรัม นั่นคือ มีเกลืออยู่ในน้าเกลือ 300 3 100 x x กรัม จากข้อความข้างต้น จะได้ 120 45 3x 75 3x x 25 ข้อ 16. ตอบ 11 เมื่อแทน 6x ลงใน 2y x จะได้ 12y เมื่อแทน 6x ลงใน b y x a จะได้ 6b y a 500 g 800 g 300 g + =
  • 7. 7 นั่นคือ 6 AB 12 b a พิจารณารูปสามเหลี่ยม AOB โดยให้ด้าน AB เป็นฐาน จะเห็นว่าส่วนสูงของรูปสามเหลี่ยมคือ OC ยาว 6 หน่วย โจทย์กาหนดให้พื้นที่ของรูปสามเหลี่ยม AOB เท่ากับ 21 ตารางหน่วย ดังนั้น 21 1 6 12 6 2 b a 7 6 12 b a b a 5 6 นั่นคือ 5b และ 6a ดังนั้น 5 6 11a b ข้อ 17. ตอบ 84 x (ลิตร) 0.1 0.2 0.3 0.4 0.5 0.6 … y (ชั่วโมง) a 40 b 20 … ปริมาณเชื้อเพลิงทั้งหมด = อัตราการใช้เชื้อเพลิง ช่วงเวลาที่ใช้เชื้อเพลิงได้ ถ้าใช้เชื้อเพลิงในอัตรา 0.3 ลิตร ต่อ 1 ชั่วโมง จะสามารถใช้ได้ 40 ชั่วโมง นั่นคือ มีเชื้อเพลิงทั้งหมด 0.3 40 12 ลิตร ถ้าใช้เชื้อเพลิงในอัตรา 0.2 ลิตร ต่อ 1 ชั่วโมง จะสามารถใช้ได้ a ชั่วโมง นั่นคือ 0.2 12a จึงได้ 12 60 0.2 a ถ้าใช้เชื้อเพลิงในอัตรา 0.5 ลิตร ต่อ 1 ชั่วโมง จะสามารถใช้ได้ b ชั่วโมง นั่นคือ 0.5 12b จึงได้ 12 24 0.5 b ชั่วโมง ดังนั้น 60 24 84a b
  • 8. 8 5 หน่วย a หน่วย 15 หน่วย 5 หน่วย a หน่วย 15 หน่วย ข้อ 18. ตอบ 115 ให้ a แทนค่ากึ่งกลางของช่วงคะแนนที่มีนักเรียนมากที่สุด ช่วงคะแนนที่มีนักเรียนมากที่สุด คือ 80 90 นั่นคือ 85a ให้ b แทนจานวนนักเรียนของช่วงคะแนนนั้น นั่นคือ 15b ดังนั้น 2 85 30 115a b ข้อ 19. ตอบ 30 ให้ BC 3AB 2CD จากรูป AD = AB+BC+CD 55 = 1 1 BC+BC+ BC 3 2 55 = 11 BC 6 BC = 30 ข้อ 20. ตอบ 9 จะสร้างรูปสามเหลี่ยม โดยมีความยาวแต่ละด้านเป็น 5 หน่วย 15 หน่วย และ a หน่วย โดยที่ a เป็นจานวนเต็ม ซึ่งจะเป็นไปได้เมื่อ 15 5a และ 15 5a นั่นคือ 10a และ 20a ค่าที่เป็นไปได้ของ a ได้แก่ 11, 12, 13, 14, 15, 16, 17, 18, 19 ซึ่งมีทั้งหมด 9 จานวน 80 81 82 83 84 85 86 87 88 89 90 a
  • 9. 9 ข้อ 21. ตอบ 499 พิจารณาตัวอย่าง 123450000 ซึ่งสามารถเขียนได้ในรูป 4 123450000 12345 10 ในอีกนัยหนึ่ง การนับจานวนเลขโดด 0 ที่ต่อเนื่องมาตั้งแต่หลักหน่วยก็คือ การนับว่ามี 10 เป็นตัวประกอบทั้งสิ้นกี่จานวนนั่นเอง ยิ่งกว่านี้ เนื่องจาก 10 2 5 เราจึงสามารถนับได้จากจานวน 2 และ 5 ที่เป็นตัวประกอบ พิจารณา 1 2 3 2004 ผลคูณนี้ จะมีจานวน 2 ที่เป็นตัวประกอบ มากกว่า จานวน 5 ที่เป็นตัวประกอบอยู่มาก จึงเพียงพอที่จะนับจานวน 5 ที่เป็นตัวประกอบในผลคูณนี้ ซึ่งจะมาจากตัวคูณ 5,10,15, ,2000 ซึ่งมีทั้งหมด 400 จานวน นั่นคือ 400 5 10 15 2000 5 1 2 3 400 (1) ต่อไปพิจารณาผลคูณ 1 2 3 400 ซึ่งจะนับจานวน 5 ที่เป็นตัวประกอบ ได้จาก 5,10,15, ,400 รวม 80 จานวน นั่นคือ 80 5 10 15 400 5 1 2 3 80 (2) ต่อไปพิจารณาผลคูณ 1 2 3 80 ซึ่งจะนับจานวน 5 ที่เป็นตัวประกอบ ได้จาก 5,10,15, ,80 รวม 16 จานวน นั่นคือ 16 5 10 15 80 5 1 2 3 16 (3) และท้ายสุด ผลคูณ 1 2 3 16 จะนับจานวน 5 ที่เป็นตัวประกอบได้จาก 3 5 10 5 1 2 (4) จาก (1), (2), (3) และ (4) จึงสรุปได้ว่า 1 2 3 2004 จะมี 5 ทั้งหมด 400 80 16 3 499 ตัว ดังนั้น 1 2 3 2004 มีเลขโดด 0 ต่อเนื่องมาตั้งแต่หลักหน่วย 499 ตัว
  • 10. 10 ข้อ 22. ตอบ 36 ให้ ,x y เป็นจานวนนับ (i) ตัวหารร่วมมากของ x และ y คือ 6 ให้ 6x a , 6y b โดยที่ ,a b เป็นจานวนนับ และห.ร.ม. ของ ,a b เป็น 1 (ii) 2 288x xy -------- (1) เมื่อแทน 6x a , 6y b ลงใน (1) จะได้ 2 36 36a ab 288 ( )a a b 8 กรณีที่ 1 ถ้า 1a จะได้ 7b กรณีที่ 2 ถ้า 2a จะได้ 2b เป็นไปไม่ได้เพราะห.ร.ม. ของ ,a b ไม่เป็น 1 จากกรณีที่ 1 จะได้ 6x และ 42y ดังนั้น 6 42 36x y ข้อ 23. ตอบ 180 จานวนเต็มสามหลักที่ได้จากการเรียงสลับเลขโดดสามตัวคือ 5,6,7 ได้แก่ 567, 576, 657, 675, 756, 765 -------- (1) เนื่องจากผลคูณของจานวนเต็มสองจานวนที่มีค่าเรียงถัดกัน จะได้ จานวนคู่ ดังนั้น M ต้องเป็นจานวนคู่ ซึ่งจาก (1) เป็นไปได้สองจานวน คือ 576 และ 756 6 2 3 2 2 576 2 3 (2 3) 24 2 3 3 2 756 2 3 7 3 (2 7) 27 28 จะได้ 756M ยิ่งกว่านี้ นอกจาก 576 แล้วไม่มีจานวนใดใน (1) ที่เป็นจานวนเต็มยกกาลังสองอีก จึงได้ 576N ดังนั้น 756 576 180M N ข้อ 24. ตอบ 90 ให้ x แทนขั้นบันไดทั้งหมด ยองฮีใช้เวลาขึ้นบันไดแต่ละขั้น 1 วินาที ชอลซูใช้เวลาขึ้นบันไดแต่ละขั้น 2 3 วินาที เนื่องจาก เวลาที่ยองฮีใช้ขึ้นบันไดทั้งหมด เวลาที่ยองฮีใช้ขึ้นบันไดทั้งหมด 30 x 2 30 3 x
  • 11. 11 1 3 x 30 x 90 ข้อ 25. ตอบ 45 ขนาดของมุมภายในหนึ่งมุมของรูปหกเหลี่ยมด้านเท่ามุมเท่า คือ 120 ขนาดของมุมภายในหนึ่งมุมของรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส คือ 90 ลากเส้นตรงที่ขนานกับเส้นตรง ,l m และผ่านจุด E, F ทาให้เกิดมุมต่าง ๆ ดังรูป ดังนั้น ˆEFG 180 (100 35 ) 45 ข้อ 26. ตอบ 64 หา *a b จากตารางต่อไปนี้ จากตาราง *a b มีค่าที่แตกต่างกันทั้งหมด 6 จานวน ได้แก่ 2, 0, 1, 2, 3, 4 นั่นคือ 6n ดังนั้น 6 2 64 ข้อ 27. ตอบ 225 ให้ระยะทางจากทางขึ้นบันได ถึงบันไดขั้นสุดท้ายขั้นบันไดเป็น x เมตร อัตราเร็วของบันไดเลื่อนที่เลื่อนขึ้นเป็น 150 x เมตร ต่อ วินาที ซียองวิ่งลงบันไดเลื่อนนี้ในขณะที่หยุดทางานด้วยอัตราเร็ว 90 x เมตร ต่อ วินาที ถ้าซียองวิ่งลงบันไดเลื่อนที่กาลังเลื่อนขึ้น เขาลงมาด้วยอัตราความเร็ว
  • 12. 12 90 150 225 x x x เมตร ต่อ วินาที ดังนั้น เวลาที่ซียองใช้ในการวิ่งลงบันไดเลื่อนที่กาลังเลื่อนขึ้น คือ 225 วินาที ข้อ 28. ตอบ 210 จากเงื่อนไข (i) นักเรียนที่มีเลขประจาตัวเป็น 1 จะได้ลูกอม 1 เม็ด (ii) นักเรียนที่มีเลขประจาตัวเป็น a b จะได้รับลูกอมเท่ากับ จานวนลูกอมของนักเรียนที่มีเลขประจาตัวเป็น a รวมกับ จานวนลูกอมของนักเรียนที่มีเลขประจาตัวเป็น b และรวมกับผลคูณของ a กับ b a b เลขประจาตัว a ได้ลูกอม เลขประจาตัว b ได้ลูกอม ab เลขประจาตัว a b ได้ ลูกอม 2 1 1 1 1 1 1 1 1 3 4 2 2 3 3 4 3 3 4 10 8 4 4 10 10 16 10 10 16 36 16 8 8 36 36 64 36 36 64 136 20 16 4 136 10 64 136 10 64 210 ดังนั้น นักเรียนที่มีเลขประจาตัวเป็น 20 จะได้รับลูกอม 210 เม็ด ข้อ 29. ตอบ 54 6 R 5 R 4 R 3 R 2 R 1 R
  • 13. 13 จากรูป นาข้อมูลมาเขียนตาราง จะได้ แถวในแนวเส้นทแยง จานวนจุดในแถว จานวนจุดสะสม 1 R 1 1 2 R 2 3 3 R 3 6 4 R 4 10 5 R 5 15 6 R 6 21 7 R 7 28 8 R 8 36 9 R 9 45 10 R 10 55 11 R 11 66 12 R 12 78 13 R 13 91 14 R 14 105 แสดงว่า จุดที่ 100 จะต้องอยู่ในแนวเส้น 14 R พิจารณาเส้น 13 R จุดที่ 91 จะอยู่ที่พิกัด (1, 13) พิจารณาเส้น 14 R จะได้ จุดที่ พิกัด 105 (1, 14) 104 (2, 13) 103 (3, 12) 102 (4, 11) 101 (5, 10) 100 (6, 9) จะได้ 6a และ 9b ดังนั้น 54ab
  • 14. 14 ข้อ 30. ตอบ 34 ตัวคูณร่วมน้อยของ 10, 15, 18 คือ 90 ให้ความยาวของแท่งไม้เท่ากับ 90 หน่วย แบ่งแท่งไม้แบบที่ 1 การแบ่งแท่งไม้เป็น 10 ส่วนเท่ากัน จะได้จานวนขีด 9 ขีด โดย ขีดที่ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 ตาแหน่งที่ (หน่วย) 9 18 27 36 45 54 63 72 81 แบ่งแท่งไม้แบบที่ 2 การแบ่งแท่งไม้เป็น 15 ส่วนเท่ากัน จะได้จานวนขีด 14 ขีด โดย ขีดที่ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 ตาแหน่งที่ (หน่วย) 6 12 18 24 30 36 42 48 54 60 66 72 78 84 แบ่งแท่งไม้แบบที่ 3 การแบ่งแท่งไม้เป็น 18 ส่วนเท่ากัน จะได้จานวนขีด 17 ขีด โดยแต่ละขีดจะอยู่ ในตาแหน่งที่ (หน่วย) ดังนี้ 5, 10, 15, 20, 25, 30, 35, 40, 45, 50, 55, 60, 65, 70, 75, 80, 85, 90 ขั้นที่ 1 จากการแบ่งแท่งไม้แบบที่ 1 และแบบที่ 2 ตาแหน่งของขีดต่าง ๆ ได้แก่ 6, 9, 12, 18, 24, 27, 30, 36, 42, 45, 48, 54, 60, 63, 66, 72, 78, 81, 84 นั่นคือ จานวนขีดทั้งหมดจากการแบ่งแท่งไม้แบบที่ 1 และแบบที่ 2 คือ 19 ขีด ขั้นที่ 2 พิจารณาการแบ่งแท่งไม้แบบที่ 3 และตาแหน่งของขีดต่าง ๆ ในขั้นที่ 1 จะมีตาแหน่งของขีดที่ซ้ากัน คือ 30, 45, 60 จะได้จานวนขีดทั้งหมดจากการแบ่งแท่งไม้ทั้งสามแบบ เป็น 19 17 3 33 ขีด ดังนั้น เมื่อตัดแท่งไม้ตามขีดที่เขียนไว้ จะได้แท่งไม้ทั้งหมด 33 1 34 แท่ง