SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 25
Baixar para ler offline
แนะนํา Microsoft Excel



                  ครูพีรญา ดุนขุนทด
แนะนํา Microsoft Excel
      Microsoft Excel เป็ นโปรแกรมประเภท สเปรดชี ต
(spreadsheet) หรื อตารางคํานวณอิเล็กทรอนิกส์ทีใช้ เก็บบันทึก
ข้ อมูลในลักษณะต่างๆ
      ซึงส่วนใหญ่ มักเก็บข้ อมูลประเภทการคํานวณ โดยจะเก็บ
ข้ อมูลลงในตารางสีเหลียมทีเรี ยกว่า เซลล์ (Cell)  ทีสามารถ
นําเอาเซลมาอ้ างอิงใส่ในสูตร เพือให้ โปรแกรมคํานวณหาผลลัพธ์
จากข้ อมูลทีบันทึกไว้ ได้

                         ครูพีรญา ดุนขุนทด                     2
คุณสมบัตของโปรแกรม Excel
                    ิ
1.สร้ างและแสดงรายงานของข้ อมูล ตัวอักษร และตัวเลข โดยมี
   ความสามารถในการ จัดรูปแบบให้ สวยงามน่าอ่าน
2. อํานวยความสะดวกในด้ านการคํานวณต่าง ๆ
3. สร้ างแผนภูมิ (Chart) ในรูปแบบต่าง ๆ เพือใช้ ในการแสดงและ
   การเปรี ยบเทียบข้ อมูลได้ หลายรูปแบบ
4. มีระบบขอความช่วยเหลือ (Help) ทีจะคอยช่วยให้ คําแนะนํา ช่วย
   ให้ ผ้ ใช้ สามารถทํางานได้ อย่างสะดวกและรวดเร็ ว
          ู

                           ครูพีรญา ดุนขุนทด                    3
คุณสมบัตของโปรแกรม Excel
                  ิ

5. มีความสามารถในการค้ นหาและแทนทีข้ อมูล โดยโปรแกรม
   จะต้ องมี ความสามารถในการค้ นหาและแทนทีข้ อมูล
6. มีความสามารถในการจัดเรี ยงลําดับข้ อมูล
7. มีความสามารถในการจัดการข้ อมูลและฐานข้ อมูล



                        ครูพีรญา ดุนขุนทด              4
องค์ ประกอบทีสําคัญของ Excel 2007 ประกอบด้ วย
1. แม่ แบบใหม่
        แม่แบบใหม่จากเมนูเริ ม (Start) สร้ างเอกสาร Microsoft
   Office จะเปิ ดหน้ าต่าง แม่แบบใหม่ หรื อใช้ แม่แบบ Microsoft
   Office Online จากปุ่ ม Office




                            ครูพีรญา ดุนขุนทด                     5
องค์ ประกอบทีสําคัญของ Excel 2007 ประกอบด้ วย




                       ครูพีรญา ดุนขุนทด        6
องค์ ประกอบทีสําคัญของ Excel 2007 ประกอบด้ วย
 2. ปุ่ ม Office
     ปุ่ ม Office คือ ปุ่ มทีใช้ ควบคุมคําสังหลักเกียวกับการสร้ างแฟม การเปิ ด
                                                                    ้
 แฟ ม การ บัน ทึ ก การบัน ทึ ก เป็ น การพิ ม พ์ การส่ ง การจัด เตรี ย ม การ
   ้
 ประกาศ การปิ ด เอกสารล่าสุด และ ตัวเลือกของ Excel




                                   ครูพีรญา ดุนขุนทด                             7
องค์ ประกอบทีสําคัญของ Excel 2007 ประกอบด้ วย
 3. แถบเครื องมือใหม่ ทใช้ ควบคุมคําสังในโปรแกรม
                        ี
    3.1 Ribbon
    Ribbon คือ แถบเครื องมือชุดคําสังทีแบ่งเป็ นแท็บ ๆ อยูสวนบน
                                                         ่ ่
 ของหน้ าต่าง รองจากแถบชือ (Title bar) ซึงมาแทนแถบเมนูใน
 โปรแกรมเก่า




                                ครูพีรญา ดุนขุนทด                 8
องค์ ประกอบทีสําคัญของ Excel 2007 ประกอบด้ วย
  3.2 ปุ่ มคําสัง
  ปุ่ มคําสัง เป็ นปุ่ มไอคอนทีใช้ สงงาน ซึงอยูในกลุมชุดคําสังบนแท็บคําสัง
                                    ั         ่    ่
  3.3 แท็บคําสัง
   แท็บคําสัง คําสังต่าง ๆ จะแสดงและรวมอยูด้วยกัน เพือให้ สามารถหา
                                                     ่
  ปุ่ มคําสัง ทีต้ องการใช้ ได้ ตามต้ องการ เริ มต้ นมีอยู่ 7 แท็บ




                                   ครูพีรญา ดุนขุนทด                         9
องค์ ประกอบทีสําคัญของ Excel 2007 ประกอบด้ วย
 3.4 แท็บคําสังตามบริบท
    แท็บคําสังตามบริ บท เป็ นแท็บคําสังทีจะปรากฏตามบริ บทของงาน คือ
 วัตถุที กําลังทํางานด้ วยหรื องานทีกําลังทําอยู่ แท็บนีจะมีสีสนและมีคําสัง
                                                               ั
 ทีเหมาะสําหรับนําไปใช้ กบสิงที เรากําลังทํางานอยูมากทีสุด
                           ั                          ่




                                  ครูพีรญา ดุนขุนทด                           10
องค์ ประกอบทีสําคัญของ Excel 2007 ประกอบด้ วย
 3.5 แถบเครืองมือด่ วน
    แถบเครื องมือด่วน เป็ นแถบเครื องมือมาตรฐานเดียวทีปรากฏใน Ribbon
 เพือให้ เข้ าถึงคําสังทีจําเป็ นมากทีสุดอย่างทันใจในคลิกเดียว เช่น บันทึก เลิก
 ทํา ฯลฯ โดยสามารถ เพิมเติมคําสังได้ จากรายการคําสังเพิมเติม... และการ
 เพิมโดยคลิกขวาทีปุ่ มคําสังของ Ribbon




                                    ครูพีรญา ดุนขุนทด                             11
องค์ ประกอบทีสําคัญของ Excel 2007 ประกอบด้ วย
  3.6 แถบเครืองมือขนาดเล็ก
     แถบเครื องมือขนาดเล็ก มีองค์ประกอบคล้ ายกับแถบเครื องมือ โดย
  จะปรากฏ เป็ นแบบโปร่งใสอยูเ่ หนือข้ อความทีเราเลือก เมือเลือนเมาส์
  ไปทีแถบเครื องมือ จะแสดงให้ เห็นชัด ขึน เพือให้ เราสามารถใช้ การ
  จัดรูปแบบได้ อย่างง่ายดาย เช่น ตัวหนาหรื อตัวเอียง หรื อเปลียนแบบ
  อักษร




                                 ครูพีรญา ดุนขุนทด                     12
การเรี ยกใช้ โปรแกรม Microsoft Excel
    การเรี ยกใช้ โปรแกรม Microsoft Excel นัน สามารถ
เรี ยกใช้ ได้ 2 วิธีง่ายๆ คือ
     1. Double Click         ทีหน้ า Desktop
     2. Click ปุ่ ม Start --> Programs --> Microsoft Excel




                            ครูพีรญา ดุนขุนทด                13
แนะนําหน้ าตาโปรแกรม Microsoft Excel




                  ครูพีรญา ดุนขุนทด
แถบเครื องมือ




      ครูพีรญา ดุนขุนทด   15
รู ปแบบการจัดเก็บข้ อมูล
ข้ อมูลทีบันทึกใน Excel จะถูกจัดเก็บไฟล์ ทเรี ยกว่ า Workbook ซึง
                                             ี
แต่ ละ workbook อาจประกอบด้ วยตารางข้ อมูลหลายหน้ า โดย
ตารางข้ อมูลแต่ ละหน้ านีมีชือเรี ยกว่ า Worksheet
การมีหลาย Worksheet ใน Workbook เดียวทําให้ เราสามารถจัด
ข้ อมูลได้ อย่ างเป็ นหมวดหมู่โดยแยกเก็บใน Worksheet ที
แตกต่ างกัน




                           ครูพีรญา ดุนขุนทด                        16
รู ปแบบการจัดเก็บข้ อมูล (ต่ อ)
ถึงแม้ ว่าในแต่ ละ Workbook หรื อในแต่ ละ Worksheet สามารถ
เก็บข้ อมูลได้ เป็ นจํานวนมาก โดยแต่ ละ Worksheet สามารถ
บันทึกข้ อมูลทีอยู่ในรู ปของตารางได้ มากถึง 256x65536 ช่ อง แต่
ก็ไม่ แนะนําให้ เก็บข้ อมูลทังหมดไว้ ใน Workbook เดียว เพราะ
เมือ Workbook มีขนาดใหญ่ จะทําให้ เครื องคอมพิวเตอร์ ต้องใช้
พืนทีในหน่ วยความจํามากขึน ซึงจะทําให้ Excel ทํางานช้ าลง
ดังนันจึงขอแนะนําให้ แยกเก็บข้ อมูลใน Workbook หลาย
Workbook โดยเฉพาะอย่ างยิง ถ้ าลักษณะของข้ อมูลไม่ เกียวข้ อง
กัน
                           ครูพีรญา ดุนขุนทด                      17
รู ปแบบการจัดเก็บข้ อมูล (ต่ อ)
Worksheet จะถูกแบ่ งเป็ นช่ องๆ ตามแนวแถว (Row)
และคอลัมน์ (Column) ช่ องเหล่ านีสามารถเก็บข้ อมูลได้
และทีมีชือเรี ยกว่ า “เซล” สําหรั บเซลทีมีกรอบเส้ นดําทึบ
ล้ อมรอบคือเซลทีพร้ อมรั บข้ อมูลทีเราพิมพ์ จากคีย์บอร์ ด
เมือเราต้ องการปอนข้ อมูลในเซลใดเราต้ องเลือนกรอบดํา
                 ้
ไปทีเซลนันก่ อนโดยใช้ เมาส์ หรื อคีย์บอร์ ด


                        ครูพีรญา ดุนขุนทด                   18
รู ปแบบการจัดเก็บข้ อมูล (ต่ อ)
ในการสร้ างชีต (Worksheet) ของ Excel จะต้ องศึกษา
  เซลล์ (Cell) หมายถึง เส้ นแถวและเส้ นคอลัมน์ ตดกัน ทําให้ เกิด
                                                    ั
  ตารางเป็ นช่ องๆ แต่ ละช่ องจะมีชือกํากับไว้ เช่ น A1 คือ คอลัมน์
  ที A และอยู่แถวที 1 เป็ นต้ น




                              ครูพีรญา ดุนขุนทด                       19
รู ปแบบการจัดเก็บข้ อมูล (ต่ อ)
ในการสร้ างชีต (Worksheet) ของ Excel จะต้ องศึกษา
  ชีต (Worksheet) หมายถึงหลายๆ เซลล์ รวมเป็ น 1 ชีต ซึงเป็ น
  พืนทีทํางานทีเราสามารถเห็นได้ ทงหมด
                                 ั




                           ครูพีรญา ดุนขุนทด                   20
รู ปแบบการจัดเก็บข้ อมูล (ต่ อ)
ในการสร้ างชีต (Worksheet) ของ Excel จะต้ องศึกษา
  สมุดงาน (Workbook) หมายถึงแฟมข้ อมูลของ Excel นันเอง
                                 ้
  ซึงประกอบด้ วยหลายๆ ชีต เช่ น Sheet1,Sheet2,Sheet3
  สามารถเปลียนชือ Sheet เหล่ านีได้ และมีมากสุดถึง 255 ชีต
  รวมเป็ น 1 สมุดงาน




                           ครูพีรญา ดุนขุนทด                 21
การปิ ด Workbook
    หลังจากทีเราทําการบันทึกข้ อมูลใน Workbook แล้ วหากเรา
ไม่ ต้องใช้ Workbook นันต่ อไปก็ควรปิ ด Workbook นันเสีย โดยไปที
    เมนูแฟม --> ปิ ด
           ้
    หากยังไม่ ได้ บันทึกข้ อมูลใน Workbook ทีสังปิ ด Excel จะถามว่ า
    ต้ องการบันทึกข้ อมูลหรือไม่
                  Yes            ถ้ าต้ องการบันทึกข้ อมูล
                  No             ถ้ าไม่ ต้องการบันทึกข้ อมูล
                  Cancel         เพือยกเลิกคําสังปิ ด Workbook

                              ครูพีรญา ดุนขุนทด                        22
ออกจากโปรแกรม Microsoft Excel
   การออกจากโปรแกรม Microsoft Excel นัน สามารถ
ทําได้ 3 วิธีง่ายๆ คือ
   1. Double Click ทีแถบชือเรื องหรื อ Title Bar
   2. Click ทีมุมบนขวาของหน้ าต่ างโปรแกรม
   3. เลือกปุ่ ม Office --> ออกจาก Excel



                       ครูพีรญา ดุนขุนทด           23
ออกจากโปรแกรม Microsoft Excel




             ครูพีรญา ดุนขุนทด   24
“ The End ”



              ครูพีรญา ดุนขุนทด

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

ใบความรู้ที่ 4 การคำนวณในตารางงาน
ใบความรู้ที่  4 การคำนวณในตารางงานใบความรู้ที่  4 การคำนวณในตารางงาน
ใบความรู้ที่ 4 การคำนวณในตารางงานMeaw Sukee
 
แบบทดสอบ Powerpoint
แบบทดสอบ Powerpointแบบทดสอบ Powerpoint
แบบทดสอบ Powerpointpoomarin
 
อัจฉริยภาพ 8 ด้าน (ทฤษฎีพหุปัญญา)
อัจฉริยภาพ 8 ด้าน (ทฤษฎีพหุปัญญา) อัจฉริยภาพ 8 ด้าน (ทฤษฎีพหุปัญญา)
อัจฉริยภาพ 8 ด้าน (ทฤษฎีพหุปัญญา) Padvee Academy
 
ใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงานใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงานMypoom Poom
 
คู่มือ Thunkable
คู่มือ Thunkableคู่มือ Thunkable
คู่มือ ThunkableKhunakon Thanatee
 
ใบงานที่ 7 การคำนวณในตารางทำงาน
ใบงานที่ 7  การคำนวณในตารางทำงานใบงานที่ 7  การคำนวณในตารางทำงาน
ใบงานที่ 7 การคำนวณในตารางทำงานMeaw Sukee
 
สรุปผลการศึกษาค้นคว้า
สรุปผลการศึกษาค้นคว้าสรุปผลการศึกษาค้นคว้า
สรุปผลการศึกษาค้นคว้าGamonros
 
แบบทดสอบ Excel
แบบทดสอบ Excelแบบทดสอบ Excel
แบบทดสอบ Excelthanakornmaimai
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)Thitaree Samphao
 
ข้อสอบโปรแกรมสำเร็จรูป
ข้อสอบโปรแกรมสำเร็จรูปข้อสอบโปรแกรมสำเร็จรูป
ข้อสอบโปรแกรมสำเร็จรูปpeter dontoom
 
ใบงานที่ 8 การสร้างแผนภูมิ
ใบงานที่ 8 การสร้างแผนภูมิใบงานที่ 8 การสร้างแผนภูมิ
ใบงานที่ 8 การสร้างแผนภูมิMeaw Sukee
 
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12  การสังเคราะห์แสงบทที่ 12  การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสงPinutchaya Nakchumroon
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำNinna Natsu
 
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์Kittiya GenEnjoy
 
สารบัญโครงงานคอม
สารบัญโครงงานคอมสารบัญโครงงานคอม
สารบัญโครงงานคอมkand-2539
 
ตัวอย่างงานบทที่ 3 DFD Diagram
ตัวอย่างงานบทที่ 3 DFD Diagramตัวอย่างงานบทที่ 3 DFD Diagram
ตัวอย่างงานบทที่ 3 DFD Diagramrubtumproject.com
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องTheeraWat JanWan
 

Mais procurados (20)

ใบความรู้ที่ 4 การคำนวณในตารางงาน
ใบความรู้ที่  4 การคำนวณในตารางงานใบความรู้ที่  4 การคำนวณในตารางงาน
ใบความรู้ที่ 4 การคำนวณในตารางงาน
 
แบบทดสอบ Powerpoint
แบบทดสอบ Powerpointแบบทดสอบ Powerpoint
แบบทดสอบ Powerpoint
 
อัจฉริยภาพ 8 ด้าน (ทฤษฎีพหุปัญญา)
อัจฉริยภาพ 8 ด้าน (ทฤษฎีพหุปัญญา) อัจฉริยภาพ 8 ด้าน (ทฤษฎีพหุปัญญา)
อัจฉริยภาพ 8 ด้าน (ทฤษฎีพหุปัญญา)
 
ใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงานใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงาน
 
แบบฝึกหัดที่ 3 Microsoft PowerPoint
แบบฝึกหัดที่ 3 Microsoft PowerPointแบบฝึกหัดที่ 3 Microsoft PowerPoint
แบบฝึกหัดที่ 3 Microsoft PowerPoint
 
คู่มือ Thunkable
คู่มือ Thunkableคู่มือ Thunkable
คู่มือ Thunkable
 
ใบงานที่ 7 การคำนวณในตารางทำงาน
ใบงานที่ 7  การคำนวณในตารางทำงานใบงานที่ 7  การคำนวณในตารางทำงาน
ใบงานที่ 7 การคำนวณในตารางทำงาน
 
สรุปผลการศึกษาค้นคว้า
สรุปผลการศึกษาค้นคว้าสรุปผลการศึกษาค้นคว้า
สรุปผลการศึกษาค้นคว้า
 
แบบทดสอบ Excel
แบบทดสอบ Excelแบบทดสอบ Excel
แบบทดสอบ Excel
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
 
ข้อสอบโปรแกรมสำเร็จรูป
ข้อสอบโปรแกรมสำเร็จรูปข้อสอบโปรแกรมสำเร็จรูป
ข้อสอบโปรแกรมสำเร็จรูป
 
ใบงานที่ 8 การสร้างแผนภูมิ
ใบงานที่ 8 การสร้างแผนภูมิใบงานที่ 8 การสร้างแผนภูมิ
ใบงานที่ 8 การสร้างแผนภูมิ
 
แบบทดสอบคอมพิวเตอร์ ชุดที่ 4
แบบทดสอบคอมพิวเตอร์  ชุดที่  4แบบทดสอบคอมพิวเตอร์  ชุดที่  4
แบบทดสอบคอมพิวเตอร์ ชุดที่ 4
 
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12  การสังเคราะห์แสงบทที่ 12  การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ
 
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
 
สารบัญโครงงานคอม
สารบัญโครงงานคอมสารบัญโครงงานคอม
สารบัญโครงงานคอม
 
ตัวอย่างงานบทที่ 3 DFD Diagram
ตัวอย่างงานบทที่ 3 DFD Diagramตัวอย่างงานบทที่ 3 DFD Diagram
ตัวอย่างงานบทที่ 3 DFD Diagram
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
บทที่ 5 การแปลง er diagram ให้เป็น table
บทที่ 5 การแปลง er diagram ให้เป็น tableบทที่ 5 การแปลง er diagram ให้เป็น table
บทที่ 5 การแปลง er diagram ให้เป็น table
 

Semelhante a การใช้งานโปรแกรม Excel เบื้องต้น

การใช้โปรแกรม Microsoft Excel 2007
การใช้โปรแกรม Microsoft Excel 2007การใช้โปรแกรม Microsoft Excel 2007
การใช้โปรแกรม Microsoft Excel 2007Orasa Deethung
 
เอกสารประกอบการเรียน โปรแกรม Microsoft Excel 2010
เอกสารประกอบการเรียน โปรแกรม Microsoft Excel 2010 เอกสารประกอบการเรียน โปรแกรม Microsoft Excel 2010
เอกสารประกอบการเรียน โปรแกรม Microsoft Excel 2010 kanidta vatanyoo
 
กรอบเนื้อหาแผนที่2
กรอบเนื้อหาแผนที่2กรอบเนื้อหาแผนที่2
กรอบเนื้อหาแผนที่2Wittayakorn Yasingthong
 
ใบความรู้ที่ 2 การป้อนและแก้ไขข้อมูล
ใบความรู้ที่ 2  การป้อนและแก้ไขข้อมูลใบความรู้ที่ 2  การป้อนและแก้ไขข้อมูล
ใบความรู้ที่ 2 การป้อนและแก้ไขข้อมูลMeaw Sukee
 
เอกสารประกอบการเรียนวิชา การใช้โปรแกรมคำนวน Excel
เอกสารประกอบการเรียนวิชา การใช้โปรแกรมคำนวน Excelเอกสารประกอบการเรียนวิชา การใช้โปรแกรมคำนวน Excel
เอกสารประกอบการเรียนวิชา การใช้โปรแกรมคำนวน ExcelLerdrit Dangrathok
 
5632010002 , 5632010013
5632010002 , 56320100135632010002 , 5632010013
5632010002 , 5632010013Oil Lovery AS
 
5632010002 , 5632010013
5632010002 , 56320100135632010002 , 5632010013
5632010002 , 5632010013Oil Lovery AS
 
บทที่ 1 เผยแพร่ผลงานทางวิชาการ
บทที่ 1 เผยแพร่ผลงานทางวิชาการบทที่ 1 เผยแพร่ผลงานทางวิชาการ
บทที่ 1 เผยแพร่ผลงานทางวิชาการkanidta vatanyoo
 
การใช้โปรแกรมตารางงาน-การเริ่มใช้โปรแกรม Microsoft Excel 2007
การใช้โปรแกรมตารางงาน-การเริ่มใช้โปรแกรม Microsoft Excel 2007การใช้โปรแกรมตารางงาน-การเริ่มใช้โปรแกรม Microsoft Excel 2007
การใช้โปรแกรมตารางงาน-การเริ่มใช้โปรแกรม Microsoft Excel 2007sudachit maneechote
 
Microsoft office excel 2007
Microsoft office excel 2007Microsoft office excel 2007
Microsoft office excel 2007Wee Jay
 
Microsoft office excel 2007
Microsoft office excel 2007Microsoft office excel 2007
Microsoft office excel 2007Wee Jay
 

Semelhante a การใช้งานโปรแกรม Excel เบื้องต้น (20)

Intro microsoft excel
Intro microsoft excelIntro microsoft excel
Intro microsoft excel
 
บท1
บท1บท1
บท1
 
การใช้โปรแกรม Microsoft Excel 2007
การใช้โปรแกรม Microsoft Excel 2007การใช้โปรแกรม Microsoft Excel 2007
การใช้โปรแกรม Microsoft Excel 2007
 
เอกสารประกอบการเรียน โปรแกรม Microsoft Excel 2010
เอกสารประกอบการเรียน โปรแกรม Microsoft Excel 2010 เอกสารประกอบการเรียน โปรแกรม Microsoft Excel 2010
เอกสารประกอบการเรียน โปรแกรม Microsoft Excel 2010
 
กรอบเนื้อหาแผนที่2
กรอบเนื้อหาแผนที่2กรอบเนื้อหาแผนที่2
กรอบเนื้อหาแผนที่2
 
Excel2003
Excel2003Excel2003
Excel2003
 
ใบความรู้ที่ 2 การป้อนและแก้ไขข้อมูล
ใบความรู้ที่ 2  การป้อนและแก้ไขข้อมูลใบความรู้ที่ 2  การป้อนและแก้ไขข้อมูล
ใบความรู้ที่ 2 การป้อนและแก้ไขข้อมูล
 
Excel
Excel Excel
Excel
 
เอกสารประกอบการเรียนวิชา การใช้โปรแกรมคำนวน Excel
เอกสารประกอบการเรียนวิชา การใช้โปรแกรมคำนวน Excelเอกสารประกอบการเรียนวิชา การใช้โปรแกรมคำนวน Excel
เอกสารประกอบการเรียนวิชา การใช้โปรแกรมคำนวน Excel
 
Excel (1)
Excel (1)Excel (1)
Excel (1)
 
5632010002 , 5632010013
5632010002 , 56320100135632010002 , 5632010013
5632010002 , 5632010013
 
5632010002 , 5632010013
5632010002 , 56320100135632010002 , 5632010013
5632010002 , 5632010013
 
Lesson 1
Lesson 1Lesson 1
Lesson 1
 
Excel
ExcelExcel
Excel
 
บทที่ 1 เผยแพร่ผลงานทางวิชาการ
บทที่ 1 เผยแพร่ผลงานทางวิชาการบทที่ 1 เผยแพร่ผลงานทางวิชาการ
บทที่ 1 เผยแพร่ผลงานทางวิชาการ
 
IT Excel 2010
IT Excel 2010IT Excel 2010
IT Excel 2010
 
การใช้โปรแกรมตารางงาน-การเริ่มใช้โปรแกรม Microsoft Excel 2007
การใช้โปรแกรมตารางงาน-การเริ่มใช้โปรแกรม Microsoft Excel 2007การใช้โปรแกรมตารางงาน-การเริ่มใช้โปรแกรม Microsoft Excel 2007
การใช้โปรแกรมตารางงาน-การเริ่มใช้โปรแกรม Microsoft Excel 2007
 
Microsoft office excel 2007
Microsoft office excel 2007Microsoft office excel 2007
Microsoft office excel 2007
 
Microsoft office excel 2007
Microsoft office excel 2007Microsoft office excel 2007
Microsoft office excel 2007
 
P2 r
P2 rP2 r
P2 r
 

Mais de Meaw Sukee (20)

Pix2
Pix2Pix2
Pix2
 
Pix
PixPix
Pix
 
Report
ReportReport
Report
 
Google classroom
Google classroomGoogle classroom
Google classroom
 
Plan10
Plan10Plan10
Plan10
 
Plan9
Plan9Plan9
Plan9
 
Plan
PlanPlan
Plan
 
Edit
EditEdit
Edit
 
Problem
ProblemProblem
Problem
 
Peeraya
PeerayaPeeraya
Peeraya
 
ตัวอย่างเล่ม
ตัวอย่างเล่มตัวอย่างเล่ม
ตัวอย่างเล่ม
 
Cal 190856
Cal 190856Cal 190856
Cal 190856
 
Total pub
Total pubTotal pub
Total pub
 
Public
PublicPublic
Public
 
Total pub
Total pubTotal pub
Total pub
 
Bro
BroBro
Bro
 
Training_edmodo
Training_edmodoTraining_edmodo
Training_edmodo
 
Frame
FrameFrame
Frame
 
Frame
FrameFrame
Frame
 
Table
TableTable
Table
 

การใช้งานโปรแกรม Excel เบื้องต้น

  • 1. แนะนํา Microsoft Excel ครูพีรญา ดุนขุนทด
  • 2. แนะนํา Microsoft Excel Microsoft Excel เป็ นโปรแกรมประเภท สเปรดชี ต (spreadsheet) หรื อตารางคํานวณอิเล็กทรอนิกส์ทีใช้ เก็บบันทึก ข้ อมูลในลักษณะต่างๆ ซึงส่วนใหญ่ มักเก็บข้ อมูลประเภทการคํานวณ โดยจะเก็บ ข้ อมูลลงในตารางสีเหลียมทีเรี ยกว่า เซลล์ (Cell) ทีสามารถ นําเอาเซลมาอ้ างอิงใส่ในสูตร เพือให้ โปรแกรมคํานวณหาผลลัพธ์ จากข้ อมูลทีบันทึกไว้ ได้ ครูพีรญา ดุนขุนทด 2
  • 3. คุณสมบัตของโปรแกรม Excel ิ 1.สร้ างและแสดงรายงานของข้ อมูล ตัวอักษร และตัวเลข โดยมี ความสามารถในการ จัดรูปแบบให้ สวยงามน่าอ่าน 2. อํานวยความสะดวกในด้ านการคํานวณต่าง ๆ 3. สร้ างแผนภูมิ (Chart) ในรูปแบบต่าง ๆ เพือใช้ ในการแสดงและ การเปรี ยบเทียบข้ อมูลได้ หลายรูปแบบ 4. มีระบบขอความช่วยเหลือ (Help) ทีจะคอยช่วยให้ คําแนะนํา ช่วย ให้ ผ้ ใช้ สามารถทํางานได้ อย่างสะดวกและรวดเร็ ว ู ครูพีรญา ดุนขุนทด 3
  • 4. คุณสมบัตของโปรแกรม Excel ิ 5. มีความสามารถในการค้ นหาและแทนทีข้ อมูล โดยโปรแกรม จะต้ องมี ความสามารถในการค้ นหาและแทนทีข้ อมูล 6. มีความสามารถในการจัดเรี ยงลําดับข้ อมูล 7. มีความสามารถในการจัดการข้ อมูลและฐานข้ อมูล ครูพีรญา ดุนขุนทด 4
  • 5. องค์ ประกอบทีสําคัญของ Excel 2007 ประกอบด้ วย 1. แม่ แบบใหม่ แม่แบบใหม่จากเมนูเริ ม (Start) สร้ างเอกสาร Microsoft Office จะเปิ ดหน้ าต่าง แม่แบบใหม่ หรื อใช้ แม่แบบ Microsoft Office Online จากปุ่ ม Office ครูพีรญา ดุนขุนทด 5
  • 6. องค์ ประกอบทีสําคัญของ Excel 2007 ประกอบด้ วย ครูพีรญา ดุนขุนทด 6
  • 7. องค์ ประกอบทีสําคัญของ Excel 2007 ประกอบด้ วย 2. ปุ่ ม Office ปุ่ ม Office คือ ปุ่ มทีใช้ ควบคุมคําสังหลักเกียวกับการสร้ างแฟม การเปิ ด ้ แฟ ม การ บัน ทึ ก การบัน ทึ ก เป็ น การพิ ม พ์ การส่ ง การจัด เตรี ย ม การ ้ ประกาศ การปิ ด เอกสารล่าสุด และ ตัวเลือกของ Excel ครูพีรญา ดุนขุนทด 7
  • 8. องค์ ประกอบทีสําคัญของ Excel 2007 ประกอบด้ วย 3. แถบเครื องมือใหม่ ทใช้ ควบคุมคําสังในโปรแกรม ี 3.1 Ribbon Ribbon คือ แถบเครื องมือชุดคําสังทีแบ่งเป็ นแท็บ ๆ อยูสวนบน ่ ่ ของหน้ าต่าง รองจากแถบชือ (Title bar) ซึงมาแทนแถบเมนูใน โปรแกรมเก่า ครูพีรญา ดุนขุนทด 8
  • 9. องค์ ประกอบทีสําคัญของ Excel 2007 ประกอบด้ วย 3.2 ปุ่ มคําสัง ปุ่ มคําสัง เป็ นปุ่ มไอคอนทีใช้ สงงาน ซึงอยูในกลุมชุดคําสังบนแท็บคําสัง ั ่ ่ 3.3 แท็บคําสัง แท็บคําสัง คําสังต่าง ๆ จะแสดงและรวมอยูด้วยกัน เพือให้ สามารถหา ่ ปุ่ มคําสัง ทีต้ องการใช้ ได้ ตามต้ องการ เริ มต้ นมีอยู่ 7 แท็บ ครูพีรญา ดุนขุนทด 9
  • 10. องค์ ประกอบทีสําคัญของ Excel 2007 ประกอบด้ วย 3.4 แท็บคําสังตามบริบท แท็บคําสังตามบริ บท เป็ นแท็บคําสังทีจะปรากฏตามบริ บทของงาน คือ วัตถุที กําลังทํางานด้ วยหรื องานทีกําลังทําอยู่ แท็บนีจะมีสีสนและมีคําสัง ั ทีเหมาะสําหรับนําไปใช้ กบสิงที เรากําลังทํางานอยูมากทีสุด ั ่ ครูพีรญา ดุนขุนทด 10
  • 11. องค์ ประกอบทีสําคัญของ Excel 2007 ประกอบด้ วย 3.5 แถบเครืองมือด่ วน แถบเครื องมือด่วน เป็ นแถบเครื องมือมาตรฐานเดียวทีปรากฏใน Ribbon เพือให้ เข้ าถึงคําสังทีจําเป็ นมากทีสุดอย่างทันใจในคลิกเดียว เช่น บันทึก เลิก ทํา ฯลฯ โดยสามารถ เพิมเติมคําสังได้ จากรายการคําสังเพิมเติม... และการ เพิมโดยคลิกขวาทีปุ่ มคําสังของ Ribbon ครูพีรญา ดุนขุนทด 11
  • 12. องค์ ประกอบทีสําคัญของ Excel 2007 ประกอบด้ วย 3.6 แถบเครืองมือขนาดเล็ก แถบเครื องมือขนาดเล็ก มีองค์ประกอบคล้ ายกับแถบเครื องมือ โดย จะปรากฏ เป็ นแบบโปร่งใสอยูเ่ หนือข้ อความทีเราเลือก เมือเลือนเมาส์ ไปทีแถบเครื องมือ จะแสดงให้ เห็นชัด ขึน เพือให้ เราสามารถใช้ การ จัดรูปแบบได้ อย่างง่ายดาย เช่น ตัวหนาหรื อตัวเอียง หรื อเปลียนแบบ อักษร ครูพีรญา ดุนขุนทด 12
  • 13. การเรี ยกใช้ โปรแกรม Microsoft Excel การเรี ยกใช้ โปรแกรม Microsoft Excel นัน สามารถ เรี ยกใช้ ได้ 2 วิธีง่ายๆ คือ 1. Double Click ทีหน้ า Desktop 2. Click ปุ่ ม Start --> Programs --> Microsoft Excel ครูพีรญา ดุนขุนทด 13
  • 14. แนะนําหน้ าตาโปรแกรม Microsoft Excel ครูพีรญา ดุนขุนทด
  • 15. แถบเครื องมือ ครูพีรญา ดุนขุนทด 15
  • 16. รู ปแบบการจัดเก็บข้ อมูล ข้ อมูลทีบันทึกใน Excel จะถูกจัดเก็บไฟล์ ทเรี ยกว่ า Workbook ซึง ี แต่ ละ workbook อาจประกอบด้ วยตารางข้ อมูลหลายหน้ า โดย ตารางข้ อมูลแต่ ละหน้ านีมีชือเรี ยกว่ า Worksheet การมีหลาย Worksheet ใน Workbook เดียวทําให้ เราสามารถจัด ข้ อมูลได้ อย่ างเป็ นหมวดหมู่โดยแยกเก็บใน Worksheet ที แตกต่ างกัน ครูพีรญา ดุนขุนทด 16
  • 17. รู ปแบบการจัดเก็บข้ อมูล (ต่ อ) ถึงแม้ ว่าในแต่ ละ Workbook หรื อในแต่ ละ Worksheet สามารถ เก็บข้ อมูลได้ เป็ นจํานวนมาก โดยแต่ ละ Worksheet สามารถ บันทึกข้ อมูลทีอยู่ในรู ปของตารางได้ มากถึง 256x65536 ช่ อง แต่ ก็ไม่ แนะนําให้ เก็บข้ อมูลทังหมดไว้ ใน Workbook เดียว เพราะ เมือ Workbook มีขนาดใหญ่ จะทําให้ เครื องคอมพิวเตอร์ ต้องใช้ พืนทีในหน่ วยความจํามากขึน ซึงจะทําให้ Excel ทํางานช้ าลง ดังนันจึงขอแนะนําให้ แยกเก็บข้ อมูลใน Workbook หลาย Workbook โดยเฉพาะอย่ างยิง ถ้ าลักษณะของข้ อมูลไม่ เกียวข้ อง กัน ครูพีรญา ดุนขุนทด 17
  • 18. รู ปแบบการจัดเก็บข้ อมูล (ต่ อ) Worksheet จะถูกแบ่ งเป็ นช่ องๆ ตามแนวแถว (Row) และคอลัมน์ (Column) ช่ องเหล่ านีสามารถเก็บข้ อมูลได้ และทีมีชือเรี ยกว่ า “เซล” สําหรั บเซลทีมีกรอบเส้ นดําทึบ ล้ อมรอบคือเซลทีพร้ อมรั บข้ อมูลทีเราพิมพ์ จากคีย์บอร์ ด เมือเราต้ องการปอนข้ อมูลในเซลใดเราต้ องเลือนกรอบดํา ้ ไปทีเซลนันก่ อนโดยใช้ เมาส์ หรื อคีย์บอร์ ด ครูพีรญา ดุนขุนทด 18
  • 19. รู ปแบบการจัดเก็บข้ อมูล (ต่ อ) ในการสร้ างชีต (Worksheet) ของ Excel จะต้ องศึกษา เซลล์ (Cell) หมายถึง เส้ นแถวและเส้ นคอลัมน์ ตดกัน ทําให้ เกิด ั ตารางเป็ นช่ องๆ แต่ ละช่ องจะมีชือกํากับไว้ เช่ น A1 คือ คอลัมน์ ที A และอยู่แถวที 1 เป็ นต้ น ครูพีรญา ดุนขุนทด 19
  • 20. รู ปแบบการจัดเก็บข้ อมูล (ต่ อ) ในการสร้ างชีต (Worksheet) ของ Excel จะต้ องศึกษา ชีต (Worksheet) หมายถึงหลายๆ เซลล์ รวมเป็ น 1 ชีต ซึงเป็ น พืนทีทํางานทีเราสามารถเห็นได้ ทงหมด ั ครูพีรญา ดุนขุนทด 20
  • 21. รู ปแบบการจัดเก็บข้ อมูล (ต่ อ) ในการสร้ างชีต (Worksheet) ของ Excel จะต้ องศึกษา สมุดงาน (Workbook) หมายถึงแฟมข้ อมูลของ Excel นันเอง ้ ซึงประกอบด้ วยหลายๆ ชีต เช่ น Sheet1,Sheet2,Sheet3 สามารถเปลียนชือ Sheet เหล่ านีได้ และมีมากสุดถึง 255 ชีต รวมเป็ น 1 สมุดงาน ครูพีรญา ดุนขุนทด 21
  • 22. การปิ ด Workbook หลังจากทีเราทําการบันทึกข้ อมูลใน Workbook แล้ วหากเรา ไม่ ต้องใช้ Workbook นันต่ อไปก็ควรปิ ด Workbook นันเสีย โดยไปที เมนูแฟม --> ปิ ด ้ หากยังไม่ ได้ บันทึกข้ อมูลใน Workbook ทีสังปิ ด Excel จะถามว่ า ต้ องการบันทึกข้ อมูลหรือไม่ Yes ถ้ าต้ องการบันทึกข้ อมูล No ถ้ าไม่ ต้องการบันทึกข้ อมูล Cancel เพือยกเลิกคําสังปิ ด Workbook ครูพีรญา ดุนขุนทด 22
  • 23. ออกจากโปรแกรม Microsoft Excel การออกจากโปรแกรม Microsoft Excel นัน สามารถ ทําได้ 3 วิธีง่ายๆ คือ 1. Double Click ทีแถบชือเรื องหรื อ Title Bar 2. Click ทีมุมบนขวาของหน้ าต่ างโปรแกรม 3. เลือกปุ่ ม Office --> ออกจาก Excel ครูพีรญา ดุนขุนทด 23
  • 24. ออกจากโปรแกรม Microsoft Excel ครูพีรญา ดุนขุนทด 24
  • 25. “ The End ” ครูพีรญา ดุนขุนทด