SlideShare a Scribd company logo
1 of 15
ภู มิ ปั ญ ญ า ก า ร ส ร้ า ง ที่ อ ยู่ อ า
ศั ย ข อ ง ช า ว ใ ต้
ครูกฤษฎา
วิสัยรัตน์
โรงเรียนสอาดเผดิม
วิทยา จ.ชุมพร
ในการสร้างที่อยู่อาศัยของชาวภาคใต้ใน
สมัยก่อน จะมีลักษณะเป็นบ้านหรือเรือน
ซึ่งเรียกกันโดยสำาเนียงภาษาใต้ว่า
“ ”เริน ลักษณะของเรือนของชาวใต้มี 2
ลักษณะ คือ เรือนเครื่องผูกและเรือน
เครื่องสับ
 1. เรือนเครื่องผูก
 คือเรือนที่ใช้วัสดุต่าง ๆ ประกอบกันเช้ากับ
โครงสร้างและตัวเรือน โดยการผูกยึดด้วยเชือก
เถาวัลย์ วัสดุหลักมักเป็นไม้ไผ่และไม้ยืนต้นขนาด
เล็กที่ล้วนแล้วแต่หาได้ ภายในท้องถิ่นมีการปรับ
แปรวัสดุง่าย เพียงนำามาผูกยึด สอดสานเรียบร้อย
เข้าด้วยกันประกอบ กันเป็นเรือน เรือนเครื่องผูกมี
ขนาดเล็ก ยกพื้นไม่สูงมากนักมีขนาดเล็ก (2 ช่วง
เสา) ไม่มีความคง ทนถาวรและให้ความปลอดภัย
ไม่มากนัก
 เรือนไทยภาคใต้บำารุงรักษาและซ่อมแซมได้
ง่าย ส่วนประกอบแทบทุกส่วนของ เรือนไทย
ภาคใต้ และยิ่งเฉพาะเรือนเครื่องผูก เช่น
เครื่องมุง เครื่องกั้น พื้นเรือน และแม้แต่โครง
สร้างบางชิ้นสามารถถอดเปลี่ยนซ่อมแซมได้
เมื่อชำารุดหรือหมดอายุการใช้งาน คนใน
เรือนช่วยกัน ซ่อมแซมรักษาได้ง่าย รวมทั้ง
ยังปลูกสร้างต่อเติมได้ง่าย คนในครอบครัว
อย่างน้อยมีคนที่มีความ รู้ความสามารถเชิง
ช่างสามารถปลูกสร้างต่อเติมบ้านได้เอง โดย
 1.1 ภูมิปัญญาในการสร้างเรือนไทยเครื่องผูกของ
ชาวใต้ ปรากฏดังนี้
1.1.1 การใช้ตีนเสาหรือบาทเสา เกิดจากการศึกษา
ลักษณะธรรมชาติของ ท้องถิ่น เนื่องจากภาคใต้ฝน
ตกมาก ทำาให้ดินชื้นเสาบ้านที่ฝังดินจะ ผุเร็ว ทำาให้
อยู่อาศัยได้ไม่นาน
ประกอบกับมีตัวปลวกคอย
กัดกิน เสาบ้าน บางแห่ง
อาจใช้ตุ่มไหเล็ก ๆ ใส่
ทรายให้เต็ม แล้วควำ่าปากไหลง
 อนึ่ง การใช้ตีนเสาหรือบาทเสา ทำาให้เคลื่อนย้าย
บ้านได้ง่าย เมื่อไม่ต้องการจะอยู่อาศัย ณ จุดเดิม
อาจเป็นเพราะความเชื่อที่ทำา ให้เกิดเจ็บไข้ได้ป่วย
ก็จะไหว้วานให้เพื่อนบ้านช่วยหามเรือนไปตั้ง ณ
จุดอื่น เกิดสำานวน “ออกปากหามเริน”
 1.1.2 การใช้ฟากปูพื้นเรือน ฟากที่ปูพื้นเรือนอาจ
จะทำากับไม้ไผ่ หรือไม้ หมากผ่าตามยาวาของ
ลำาต้น เหลาให้กลมหรือแบนใช้หวานผูกรัด ให้
แน่น การจัดวางซี่ฟากวางไว้ห่างกันเล็กน้อย การปู
ฟากทำาให้ อากาศถ่ายเทได้สะดวกทำาให้ไม่ร้อน
และรักษาความสะอาดได้ดี
 1.1.3 การใช้ไม้ไผ่สานฝาทำาฝาบ้าน โดยการนำา
ไม้ไผ่มาผ่าซีกแล้วทุบให้ แบน นำามาสานเป็นฝา
กั้นบ้าน ช่องว่างระหว่างไม้ไผ่แต่ละอันจะทำา ให้
อากาศถ่ายเทได้สะดวก นอกจากนั้นการสานฝา
ลายต่าง ๆ ยังทำา ให้เกิดความสวยงามอีกด้วย
 1.1.4 วัสดุใช้มุงหลังคา เป็นวัสดุธรรมชาติที่หาได้
ในท้องถิ่น เช่น ใบไม้ ชนิดต่าง ๆ ใบหวายนั่ง ใบ
จาก ใบสาคู วัสดุเหล่านี้ไม่เก็บความ ร้อน ทำาให้
บ้านเรือนไม่ร้อนน่าอยู่อาศัย นอกจากนี้หลังคา
บ้านจะ ใช้หลังคาแหลม คือหน้าจั่วสูง ทำาให้นำ้าฝน
ไหลลงอย่างรวดเร็ว หลัง คาไม่ทานนำ้า ไม่ซึมซับ
นำ้า ทำาให้ผุช้า ชาวบ้านมักจะเลือกใช้ใบจาก ใบ
สาคู เพราะผิวใบลื่นและหนา ลักษณะหลังคา
หลังคาแหลม หน้าชั่วสูง
 1.1.5 บันไดเรือนไทยเครื่องผูก การมีใต้ถุนเรือน
สูงโล่ง จะต้องทำาบันได
ให้สามารถขึ้นเรือนได้
สะดวก บันไดเรือนไทยเครื่อผูก
จะสามารถยกลากขึ้นเรือน
ได้เพื่อสัตว์ร้าย ภายหลัง
เพื่อสร้างเรือนไทยเครื่อง
สับแล้ว บ้านก็ได้จัดสร้าง
ถาวรนับว่าเป็นภูมิปัญญา
ในการ พัฒนาที่อยู่อาศัย
 1.1.6 นอกชาน นอกจากตัวเรือนแล้ว ภูมิปัญญา
ของช่างพื้นบ้านและชาว บ้านยังคำานึงถึงประโยชน์
ใช้สอยของพื้นที่บ้านเรือนด้วย เช่น สานกระบุง
ตะกร้า หรือ นันทนาการต่าง ๆ การมีใต้ถุนบ้านที่
สูงโล่ง ทำาให้เดินผ่านได้สะดวก สามารถทำางาน
อดิเรกได้ หรือเก็บวัสดุอุปกรณ์ เครื่องมือประกอบ
อาชีพได้
 2. เรือนเครื่องสับ
 เป็นเรือนที่เกิดขึ้นหลังเรือนเครื่องผูก เนื่องจาก
เครื่องมือเครื่องใช้ ในการแปรรูปไม่พัฒนา ยังใช้
ขวาน เลื่อย สำาหรับตัดโค่น และตัดแต่งต้นไม้ให้
เป็นเหลี่ยมได้ง่าย เรือนเครื่องสับจึงใช้ไม้เหลี่ยม
ขั้นแรกอาจมีแค่ มีด พร้า ขวาน สำาหรับสับตกแต่ง
จึงเรียกเรือนที่ ใช้ซึ่งสับ ตกแต่งด้วยขวาน และ
มีดพร้าว่า เรือนเครื่องสับ
 2.1 ใต้ถุนสูงโล่ง มีต้นเสารอง เป็นภูมิปัญญาใน
การสร้างเรือนไทยเครื่องสับ ของชาวใต้ เป็นเรือน
ที่ให้ความมั่นคงถาวรและปลอดภัยมากกว่าเรือน
เครื่องผูก เรือนไทยภาคใต้ มีใต้ถุนสูงโล่ง ใช้เป็น
งานหัตถกรรมได้ เช่น ทำาเครื่องจักสานต่าง ๆ
ทำางานแกะสลักไม้ งานแกะ ฉลุหนัง เครื่องมือ
เครื่องใช้ หรือแม้แต่โลหะ เครื่องเงินเครื่องเหล็ก
ใต้ถุนสูงยังสามารถใช้เป็นที่ เลี้ยงสัตว์ได้ด้วย ทำา
คอก ทำาเล้า บางเรือนใช้ใต้ถุนเป็นที่ผูกล่าม ม้า วัว
ควาย ในช่วงกลางคืน เพื่อสะดวกแก่การปกป้อง
 2.2 ช่องลม การใช้ช่องลม เรือนเครื่องสับจะใช้ฝา
กั้นกระดานลมสะพัดผ่านได้ ยาก ภายในตัวเรือน
อาจจะร้อนอบอ้าว ช่วงพื้นบ้านจึงต้องเว้นช่องลม
เอาไว้ เพื่อระบายอากาศ โดยจะเว้นไว้ที่ขื่อ คือการ
ใช้ขื่อสองชั้น ซึ่งเรียกว่า “คอสอง” นอกจากนั้น
อาจพิจารณาใส่ช่องลม ที่ส่วนอื่นของบ้านก็ได้
เพื่อให้ระบายอากาศได้มากขึ้น ช่องลมจะกั้นด้วย
ระแนงถี่หรือห่างขึ้นอยู่ กับความต้องการและความ
สวยงามของลวดลายและรูปแบบที่ประดิษฐ์ขึ้น
 2.3 การใช้เดือย ใช้ลิ่มแทนตะปู เนื่องจากตะปูหา
ยาก และยังขึ้นสนิทอีกด้วย ทำาให้ต้อง
 ซ่อมแซมบ่อย ช่างพื้น
บ้านจึงหาวิธีแก้ปัญหาด้วย
 การ บาก เจาะ ต่อไม้ เข้า
มุมไว้ฝัง แกนหมุน เปิด
 ปิด ประตู หน้าต่าง รวมถึง
การถอดกลอนแทนการ
 ใช้ตะปู นอกจากนี้การใช้
การ บาก เจาะ เข้าเดือย ใส่

More Related Content

What's hot

แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อแบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
krupornpana55
 
พระเวสสันดร กัณฑ์มัทรี 30 35
พระเวสสันดร กัณฑ์มัทรี 30 35พระเวสสันดร กัณฑ์มัทรี 30 35
พระเวสสันดร กัณฑ์มัทรี 30 35
Milky' __
 
บ้านเรือนไทย 4 ภาค
บ้านเรือนไทย 4 ภาคบ้านเรือนไทย 4 ภาค
บ้านเรือนไทย 4 ภาค
peter dontoom
 
คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์
คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์
คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์
พัน พัน
 
ศิลปะไทย
ศิลปะไทยศิลปะไทย
ศิลปะไทย
Tonkao Limsila
 
ธาตุกัมมันตรังสี
ธาตุกัมมันตรังสีธาตุกัมมันตรังสี
ธาตุกัมมันตรังสี
พัน พัน
 
6.2 หลักการผลิตสินค้าและบริการอย่างมีประสิทธิภาพ
6.2 หลักการผลิตสินค้าและบริการอย่างมีประสิทธิภาพ6.2 หลักการผลิตสินค้าและบริการอย่างมีประสิทธิภาพ
6.2 หลักการผลิตสินค้าและบริการอย่างมีประสิทธิภาพ
krupeem
 
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลยใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
thnaporn999
 
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทย
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทยข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทย
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทย
Suriyawaranya Asatthasonthi
 
Taxonomy(อนุกรมวิทฐาน)
Taxonomy(อนุกรมวิทฐาน)Taxonomy(อนุกรมวิทฐาน)
Taxonomy(อนุกรมวิทฐาน)
firstnarak
 

What's hot (20)

แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อแบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
 
พระเวสสันดร กัณฑ์มัทรี 30 35
พระเวสสันดร กัณฑ์มัทรี 30 35พระเวสสันดร กัณฑ์มัทรี 30 35
พระเวสสันดร กัณฑ์มัทรี 30 35
 
บ้านเรือนไทย 4 ภาค
บ้านเรือนไทย 4 ภาคบ้านเรือนไทย 4 ภาค
บ้านเรือนไทย 4 ภาค
 
ประวัติศาสตร์สมัยใหม่
ประวัติศาสตร์สมัยใหม่ประวัติศาสตร์สมัยใหม่
ประวัติศาสตร์สมัยใหม่
 
คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์
คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์
คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์
 
ศิลปะไทย
ศิลปะไทยศิลปะไทย
ศิลปะไทย
 
ใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสงใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสง
 
อิเหนา
อิเหนาอิเหนา
อิเหนา
 
ปลายภาค ม1
ปลายภาค ม1ปลายภาค ม1
ปลายภาค ม1
 
ภูมิปัญญาสมัยสุโขทัย+569+55t2his p04 f11-1page
ภูมิปัญญาสมัยสุโขทัย+569+55t2his p04 f11-1pageภูมิปัญญาสมัยสุโขทัย+569+55t2his p04 f11-1page
ภูมิปัญญาสมัยสุโขทัย+569+55t2his p04 f11-1page
 
ธาตุกัมมันตรังสี
ธาตุกัมมันตรังสีธาตุกัมมันตรังสี
ธาตุกัมมันตรังสี
 
6.2 หลักการผลิตสินค้าและบริการอย่างมีประสิทธิภาพ
6.2 หลักการผลิตสินค้าและบริการอย่างมีประสิทธิภาพ6.2 หลักการผลิตสินค้าและบริการอย่างมีประสิทธิภาพ
6.2 หลักการผลิตสินค้าและบริการอย่างมีประสิทธิภาพ
 
อารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดียอารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดีย
 
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลยใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
 
อารยธรรมจีน
อารยธรรมจีนอารยธรรมจีน
อารยธรรมจีน
 
Cell
CellCell
Cell
 
การลำเลี้ยงน้ำและอาหารในพืช
การลำเลี้ยงน้ำและอาหารในพืชการลำเลี้ยงน้ำและอาหารในพืช
การลำเลี้ยงน้ำและอาหารในพืช
 
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทย
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทยข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทย
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทย
 
สารบัญ
สารบัญสารบัญ
สารบัญ
 
Taxonomy(อนุกรมวิทฐาน)
Taxonomy(อนุกรมวิทฐาน)Taxonomy(อนุกรมวิทฐาน)
Taxonomy(อนุกรมวิทฐาน)
 

เรือนไทยภาคใต้

  • 1. ภู มิ ปั ญ ญ า ก า ร ส ร้ า ง ที่ อ ยู่ อ า ศั ย ข อ ง ช า ว ใ ต้ ครูกฤษฎา วิสัยรัตน์ โรงเรียนสอาดเผดิม วิทยา จ.ชุมพร
  • 3.  1. เรือนเครื่องผูก  คือเรือนที่ใช้วัสดุต่าง ๆ ประกอบกันเช้ากับ โครงสร้างและตัวเรือน โดยการผูกยึดด้วยเชือก เถาวัลย์ วัสดุหลักมักเป็นไม้ไผ่และไม้ยืนต้นขนาด เล็กที่ล้วนแล้วแต่หาได้ ภายในท้องถิ่นมีการปรับ แปรวัสดุง่าย เพียงนำามาผูกยึด สอดสานเรียบร้อย เข้าด้วยกันประกอบ กันเป็นเรือน เรือนเครื่องผูกมี ขนาดเล็ก ยกพื้นไม่สูงมากนักมีขนาดเล็ก (2 ช่วง เสา) ไม่มีความคง ทนถาวรและให้ความปลอดภัย ไม่มากนัก
  • 4.  เรือนไทยภาคใต้บำารุงรักษาและซ่อมแซมได้ ง่าย ส่วนประกอบแทบทุกส่วนของ เรือนไทย ภาคใต้ และยิ่งเฉพาะเรือนเครื่องผูก เช่น เครื่องมุง เครื่องกั้น พื้นเรือน และแม้แต่โครง สร้างบางชิ้นสามารถถอดเปลี่ยนซ่อมแซมได้ เมื่อชำารุดหรือหมดอายุการใช้งาน คนใน เรือนช่วยกัน ซ่อมแซมรักษาได้ง่าย รวมทั้ง ยังปลูกสร้างต่อเติมได้ง่าย คนในครอบครัว อย่างน้อยมีคนที่มีความ รู้ความสามารถเชิง ช่างสามารถปลูกสร้างต่อเติมบ้านได้เอง โดย
  • 5.  1.1 ภูมิปัญญาในการสร้างเรือนไทยเครื่องผูกของ ชาวใต้ ปรากฏดังนี้ 1.1.1 การใช้ตีนเสาหรือบาทเสา เกิดจากการศึกษา ลักษณะธรรมชาติของ ท้องถิ่น เนื่องจากภาคใต้ฝน ตกมาก ทำาให้ดินชื้นเสาบ้านที่ฝังดินจะ ผุเร็ว ทำาให้ อยู่อาศัยได้ไม่นาน ประกอบกับมีตัวปลวกคอย กัดกิน เสาบ้าน บางแห่ง อาจใช้ตุ่มไหเล็ก ๆ ใส่ ทรายให้เต็ม แล้วควำ่าปากไหลง
  • 6.  อนึ่ง การใช้ตีนเสาหรือบาทเสา ทำาให้เคลื่อนย้าย บ้านได้ง่าย เมื่อไม่ต้องการจะอยู่อาศัย ณ จุดเดิม อาจเป็นเพราะความเชื่อที่ทำา ให้เกิดเจ็บไข้ได้ป่วย ก็จะไหว้วานให้เพื่อนบ้านช่วยหามเรือนไปตั้ง ณ จุดอื่น เกิดสำานวน “ออกปากหามเริน”
  • 7.  1.1.2 การใช้ฟากปูพื้นเรือน ฟากที่ปูพื้นเรือนอาจ จะทำากับไม้ไผ่ หรือไม้ หมากผ่าตามยาวาของ ลำาต้น เหลาให้กลมหรือแบนใช้หวานผูกรัด ให้ แน่น การจัดวางซี่ฟากวางไว้ห่างกันเล็กน้อย การปู ฟากทำาให้ อากาศถ่ายเทได้สะดวกทำาให้ไม่ร้อน และรักษาความสะอาดได้ดี
  • 8.  1.1.3 การใช้ไม้ไผ่สานฝาทำาฝาบ้าน โดยการนำา ไม้ไผ่มาผ่าซีกแล้วทุบให้ แบน นำามาสานเป็นฝา กั้นบ้าน ช่องว่างระหว่างไม้ไผ่แต่ละอันจะทำา ให้ อากาศถ่ายเทได้สะดวก นอกจากนั้นการสานฝา ลายต่าง ๆ ยังทำา ให้เกิดความสวยงามอีกด้วย
  • 9.  1.1.4 วัสดุใช้มุงหลังคา เป็นวัสดุธรรมชาติที่หาได้ ในท้องถิ่น เช่น ใบไม้ ชนิดต่าง ๆ ใบหวายนั่ง ใบ จาก ใบสาคู วัสดุเหล่านี้ไม่เก็บความ ร้อน ทำาให้ บ้านเรือนไม่ร้อนน่าอยู่อาศัย นอกจากนี้หลังคา บ้านจะ ใช้หลังคาแหลม คือหน้าจั่วสูง ทำาให้นำ้าฝน ไหลลงอย่างรวดเร็ว หลัง คาไม่ทานนำ้า ไม่ซึมซับ นำ้า ทำาให้ผุช้า ชาวบ้านมักจะเลือกใช้ใบจาก ใบ สาคู เพราะผิวใบลื่นและหนา ลักษณะหลังคา หลังคาแหลม หน้าชั่วสูง
  • 10.  1.1.5 บันไดเรือนไทยเครื่องผูก การมีใต้ถุนเรือน สูงโล่ง จะต้องทำาบันได ให้สามารถขึ้นเรือนได้ สะดวก บันไดเรือนไทยเครื่อผูก จะสามารถยกลากขึ้นเรือน ได้เพื่อสัตว์ร้าย ภายหลัง เพื่อสร้างเรือนไทยเครื่อง สับแล้ว บ้านก็ได้จัดสร้าง ถาวรนับว่าเป็นภูมิปัญญา ในการ พัฒนาที่อยู่อาศัย
  • 11.  1.1.6 นอกชาน นอกจากตัวเรือนแล้ว ภูมิปัญญา ของช่างพื้นบ้านและชาว บ้านยังคำานึงถึงประโยชน์ ใช้สอยของพื้นที่บ้านเรือนด้วย เช่น สานกระบุง ตะกร้า หรือ นันทนาการต่าง ๆ การมีใต้ถุนบ้านที่ สูงโล่ง ทำาให้เดินผ่านได้สะดวก สามารถทำางาน อดิเรกได้ หรือเก็บวัสดุอุปกรณ์ เครื่องมือประกอบ อาชีพได้
  • 12.  2. เรือนเครื่องสับ  เป็นเรือนที่เกิดขึ้นหลังเรือนเครื่องผูก เนื่องจาก เครื่องมือเครื่องใช้ ในการแปรรูปไม่พัฒนา ยังใช้ ขวาน เลื่อย สำาหรับตัดโค่น และตัดแต่งต้นไม้ให้ เป็นเหลี่ยมได้ง่าย เรือนเครื่องสับจึงใช้ไม้เหลี่ยม ขั้นแรกอาจมีแค่ มีด พร้า ขวาน สำาหรับสับตกแต่ง จึงเรียกเรือนที่ ใช้ซึ่งสับ ตกแต่งด้วยขวาน และ มีดพร้าว่า เรือนเครื่องสับ
  • 13.  2.1 ใต้ถุนสูงโล่ง มีต้นเสารอง เป็นภูมิปัญญาใน การสร้างเรือนไทยเครื่องสับ ของชาวใต้ เป็นเรือน ที่ให้ความมั่นคงถาวรและปลอดภัยมากกว่าเรือน เครื่องผูก เรือนไทยภาคใต้ มีใต้ถุนสูงโล่ง ใช้เป็น งานหัตถกรรมได้ เช่น ทำาเครื่องจักสานต่าง ๆ ทำางานแกะสลักไม้ งานแกะ ฉลุหนัง เครื่องมือ เครื่องใช้ หรือแม้แต่โลหะ เครื่องเงินเครื่องเหล็ก ใต้ถุนสูงยังสามารถใช้เป็นที่ เลี้ยงสัตว์ได้ด้วย ทำา คอก ทำาเล้า บางเรือนใช้ใต้ถุนเป็นที่ผูกล่าม ม้า วัว ควาย ในช่วงกลางคืน เพื่อสะดวกแก่การปกป้อง
  • 14.  2.2 ช่องลม การใช้ช่องลม เรือนเครื่องสับจะใช้ฝา กั้นกระดานลมสะพัดผ่านได้ ยาก ภายในตัวเรือน อาจจะร้อนอบอ้าว ช่วงพื้นบ้านจึงต้องเว้นช่องลม เอาไว้ เพื่อระบายอากาศ โดยจะเว้นไว้ที่ขื่อ คือการ ใช้ขื่อสองชั้น ซึ่งเรียกว่า “คอสอง” นอกจากนั้น อาจพิจารณาใส่ช่องลม ที่ส่วนอื่นของบ้านก็ได้ เพื่อให้ระบายอากาศได้มากขึ้น ช่องลมจะกั้นด้วย ระแนงถี่หรือห่างขึ้นอยู่ กับความต้องการและความ สวยงามของลวดลายและรูปแบบที่ประดิษฐ์ขึ้น
  • 15.  2.3 การใช้เดือย ใช้ลิ่มแทนตะปู เนื่องจากตะปูหา ยาก และยังขึ้นสนิทอีกด้วย ทำาให้ต้อง  ซ่อมแซมบ่อย ช่างพื้น บ้านจึงหาวิธีแก้ปัญหาด้วย  การ บาก เจาะ ต่อไม้ เข้า มุมไว้ฝัง แกนหมุน เปิด  ปิด ประตู หน้าต่าง รวมถึง การถอดกลอนแทนการ  ใช้ตะปู นอกจากนี้การใช้ การ บาก เจาะ เข้าเดือย ใส่