SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 84
NETWORK EQUIPMENT
อุ ป กรณ์ ก ารสื ่ อ สารข้ อ มู ล
อุ ป กรณ์ ท ี ่ จ ำ า เป็ น ต่ อ การสื ่ อ สารข้ อ มู ล
               คอมพิ ว เตอร์ ได้ แ ก่
              มั ล ติ เ พล็ ก ซ์ เ ซอร์
              คอนเซนเตรเตอร์
         ฟรอนต์ เ อ็ น โปรเซสเซอร์
                  คอนโทรลเลอร์
 รวมทั ้ ง อุ ป กรณ์ อ ื ่ น ๆ เช่ น เกตเวย์ เรา
  เตอร์ บริ ด จ์ รี พ ี ต เตอร์ โมเด็ ม เป็ น ต้ น
   พอร์ ต (Port) ปลั ๊ ก
    ชนิ ด หนึ ่ ง ที ่ ใ ช้ ก ั บ
    เครื ่ อ งคอมพิ ว เตอร์
    ซึ ่ ง มี ไ ว้ ส ำ า หรั บ การ
    เชื ่ อ มต่ อ อุ ป กรณ์ อ ื ่ น
    เข้ า กั บ เครื ่ อ ง
    คอมพิ ว เตอร์
    คอมพิ ว เตอร์ ท ุ ก
    เครื ่ อ งจะต้ อ งมี ช ่ อ ง
    ต่ อ เชื ่ อ มอุ ป กรณ์
   เป็ น อุ ป กรณ์ เ น็ ต เวิ ร ์ ค ที ่ ท ำ า หน้ า ที ่ ใ นการ
    รวบรวมสั ญ ญาณหรื อ ข้ อ มู ล จากแหล่ ง
    ต่ า งๆ ก่ อ นที ่ จ ะส่ ง ไปในสื ่ อ สั ญ ญาณ
    เดี ย วกั น โดยที ่ ไ ม่ ท ำ า ให้ เ กิ ด การ
    เปลี ่ ย นแปลงข้ อ มู ล ที ่ ฝ ั ่ ง ผู ้ ร ั บ ทำ า ให้ ก าร
    ใช้ ส ื ่ อ สั ญ ญาณที ่ ม ี อ ยู ่ เ ป็ น ไปอย่ า งมี
    ประสิ ท ธิ ภ าพ
มั ก ซ์ (MUX)
 เป็ น อุ ป กรณ์ ท ี ่ ร วบรวมสั ญ ญาณจากสาย
   สื ่ อ สารหลายเส้ น เข้ า ด้ ว ยกั น เพื ่ อ ส่ ง ออก
   ทางสายสื ่ อ สารเพี ย งเส้ น เดี ย ว
 ช่ อ งสั ญ ญาณในสายเส้ น ที ่ ส ่ ง ออกจา
   กมั ก ซ์ จ ะถู ก แบ่ ง ออกเป็ น ส่ ว น ๆ เพื ่ อ แบ่ ง
   ปั น ในการส่ ง สั ญ ญาณที ่ ร ั บ เข้ า มาจาก
   สายสื ่ อ สารเส้ น ต่ า ง ๆ
 มั ก ซ์ จ ะทำ า งานเป็ น คู ่ เ หมื อ นกั บ โมเด็ ม คื อ
   มี ม ั ก ซ์ ท ี ่ ผ ู ้ ส ่ ง หนึ ่ ง ตั ว และอี ก หนึ ่ ง ตั ว อยู ่
   ทางฝั ่ ง ผู ้ ร ั บ
 ข้ อ มู ล ที ่ ร ั บ เข้ า มาจากสายสื ่ อ สารทางฝั ่ ง
การผสมสั ญ ญาณแบบทั ่ ว ไป
 มั ก ซ์ ท ั ่ ว ไปใช้ ก ารผสมสั ญ ญาณออกเป็ น 4 ชนิ ด
   การผสมสั ญ ญาณตามความถี ่ - Frequency
     Division Multiplexing
   การผสมสั ญ ญาณตามช่ ว งเวลา - Time
     Division Multiplexing
   การผสมสั ญ ญาณตามค่ า สถิ ต ิ ข องเวลา
     ทำ า งาน -S tatistic Time Division Multiplexing
   การผสมสั ญ ญาณตามความยาวคลื ่ น ของ
     สั ญ ญาณ - Wavelength Division Multiplexing
การผสมสั ญ ญาณตามความถี ่ ( FDM)

เป็นแบบทีนิยมใช้กันมากที่สดโดยเฉพาะด้านวิทยุและ
           ่                  ุ
โทรทัศน์ โดยจะแบ่งช่องสัญญาณขาออกเป็นหลายช่อง
สัญญาณขนาดเล็กตามช่วงความถี่ของคลื่นสัญญาณ
และผู้รับก็จะปรับเพื่อรับคลื่นความถี่ทต้องการได้
                                      ี่
FDM process
Figure 6.5 FDM
demultiplexing example
การผสมสั ญ ญาณแบ่ ง ตามช่ ว งเวลา ( TDM)

ใช้ในการมัลติเพล็กซ์สัญญาณเสียงดิจิตอล เช่น แผ่นเพลง
C D ช่องสัญญาณรวมจะถูกแบ่งออกเป็นช่วงเวลาเล็กๆ สาย
สื่อสารแต่ละเส้นจะได้รับกำาหนดช่วงเวลาอย่างน้อยหนึ่งช่วง
และสามารถส่งสัญญาณเต็มขีดความสามารถของสาย โดย
สัญญาณทีมอัตราความเร็วตำ่าหลาย ๆ สัญญาณ เมือนำามา
           ่ ี                                  ่
มัลติเพล็กซ์รวมกันก็จะได้สัญญาณที่มี D ata Rate ทีสูงขึ้น
                                                  ่
   TDM แบ่ ง ได้ 2 ทาง คื อ S ynchronous,
    Asynchronous

S ynchronous TDM : S ync TDM
 ตัว Mu ltip le xe r จะเป็นตัวค้นหาว่า D e vice ไหน
  ต้องการส่งโดยไม่สนใจว่า D e vic e นีจะส่งหรือไม่
                                           ้
  หรือ D e vic e นีเสียหรือไม่ ซึ่งจุดนีทำาให้เสียเวลา
                    ้                   ้
  เกิดการ สินเปลืองทรัพยากร และจะแบ่งเวลาไปให้
              ้
  เครื่องอื่นไม่ได้จะถูกจองไว้เฉพาะเครื่อง
Inte rle ave d **
   TDM แบ่ ง ได้ 2 ทาง คื อ S ynchronous,
    Asynchronous

Asynchronous TDM หรื อ S TDM ( S tatistical
  Time Division Multiplexing)
 แบ่งตามเวลาด้วยสถิติ เป็นเทคนิคการปิดรูรั่วของ
  S ync h ronou s หลีกเลี่ยงขยะการเสียเปล่าของ
  ทรัพยากร ทำาให้ระบบโดยรวมดีขึ้น
การผสมสั ญ ญาณตามความยาวคลื ่ น ของ
              สั ญ ญาณ ( WDM)

       พัฒนาขึ้นสำาหรับใช้ส่งสัญญาณทังแบบอนาลอกและ
                                      ้
ดิจิตอลผ่านสายใยแก้วนำาแสง แต่ละช่องสัญญาณจะถูกแบ่ง
ตามความยาวคลื่นแสง ซึ่งมีหลักการเดียวกับ FD M เพียงแต่ในที่
นีใช้กับคลื่นแสงทีมีความถี่สูงกว่ามาก
  ้               ่
สามารถมีวงจรสื่อสาร 40 วงจร ขนาดวงจรละ 20 Gb p s ซึ่ง
รวมได้มากถึง 800 Gb p s
Figure 6.10   WDM
การผสมสั ญ ญาณแบบไร้ ส าย (Wire le s s
  C om m u nic ation)
 จำาเป็นต้องใช้เทคนิคการผสมสัญญาณเพือให้ผู้ใช้สามารถ
                                          ่
  ส่งข้อมูลออกมาได้ตลอดเวลาในขณะทียงมีช่องสัญญาณ
                                      ่ ั
  ว่าง ผู้ใช้จึงสามารถส่งสัญญาณได้หลายช่องสัญญาณ
 กล่าวคือแต่ละช่องสัญญาณมีผู้ใช้ได้หลายคน ซึ่งจะทำาให้
  ประสิทธิภาพในการใช้งานสูงขึ้น
การผสมสั ญ ญาณแบบไร้ ส าย
 วิธีการเดิมทีกำาหนดช่องสื่อสารแบบถาวรหรือกึงถาวร
                ่                                ่
  ให้แก่ผู้ใช้แต่ละคน ซึ่งผู้ใช้คนอื่นจะไม่สามารถใช้ช่อง
  สัญญาณนันได้แม้ว่าเจ้าของช่องสัญญาณจะไม่ได้
              ้
  ประโยชน์ใด ๆ
 วิธีการแบบนี้ได้แก่
     ▪ การผสมสัญญาณแบบ FD MA
     ▪ การผสมสัญญาณแบบ TD MA
     ▪ การผสมสัญญาณแบบ C D MA
การผสมสัญญาณแบบ FD MA
(Fre qu e nc y d ivis ion m u ltip le ac c e s s )
      ▪เป็นการผสมสัญญาณแบบเซลลูลาร์ ซึ่งเป็นการส่ง
 สัญญาณออกไปทุกทิศทางรอบสถานีหรืออุปกรณ์ส่ง ใน
 ยุคแรกนั้นมีจำานวนผู้ใช้ไม่มากนัก การใช้ช่องสัญญาณ
 ร่วมกันจึงไม่มีความจำาเป็น
การผสมสัญญาณแบบ TD MA
(Tim e D ivis ion Mu ltip le Ac c e s s )
▪ พัฒนาเพือเพิมประสิทธิภาพการใช้โทรศัพท์เซลลูลาร์แบบ
            ่   ่
  ดิจิทลโดยเฉพาะโดยสัญญาณคลื่นวิทยุจะถูกแบ่งออกเป็น
       ั
  ช่วงเวลา (Tim e S lot) เพื่อให้ผู้ใช้ในกลุ่มสามารถใช้คลื่น
  ความถี่เดียวกันในการสื่อสารพร้อมกัน
   การผสมสัญญาณแบบไร้สาย
     ▪ การผสมสัญญาณแบบ TDMA
     ▪ เทคโนโลยีสำาหรับผู้ใช้ทั่วไปอีกแบบ
       หนึ่งเรียกว่า Personal
       Communication Service (PCS)
       เป็นการสือสารระบบไร้สายในยุคที่สาม
                 ่
     ▪ ระบบนี้จะบันทึกข้อมูลของคนที่เป็น
       สมาชิกไว้ในอุปกรณ์บตรวงจร
                             ั
       อิเล็กทรอนิกส์ เช่น สมาร์ทการ์ด
การผสมสั ญ ญาณแบบ TDMA
▪การนำ า เทคโนโลยี TDMA มาใช้ ง าน
ร่ ว มกั บ FDMA ทำ า ให้ เ กิ ด ข้ อ ได้ เ ปรี ย บ
คื อ นอกจากจะใช้ ส ่ ง ข้ อ มู ล ที ่ เ ป็ น เสี ย ง
พู ด แล้ ว ยั ง สามารถใช้ ส ่ ง แฟกซ์ การ
ประชุ ม ผ่ า นวี ด ิ ท ั ศ น์ และข้ อ มู ล
อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ อ ื ่ น ๆ ได้ ช่ ว ยให้ ไ ม่ เ กิ ด
ปั ญ หาการรบกวนกั น เองของสั ญ ญาณ
(Interference) ระหว่ า งผู ้ ใ ช้ ช่ ว ยยื ด อายุ
การผสมสั ญ ญาณแบบไร้ ส าย
  ▪ การผสมสั ญ ญาณแบบ C D M A                  (C ode
   D iv is io n M u lt ip le A c c e s s )
  ▪ โทรศั พ ท์ ข องผู ้ ใ ช้ แ ต่ ล ะคนจะถู ก
    กำ า หนดรหั ส สั ญ ญาณคลื ่ น วิ ท ยุ เ ฉพาะ
    ตนที ่ ไ ม่ ซ ำ ้ า กั บ ผู ้ ใ ด สถานี ส ื ่ อ สารจะ
    ใช้ ร หั ส นี ้ เ ป็ น ส่ ว นหนึ ่ ง ของการรั บ - ส่ ง
    สั ญ ญาณ
  ▪ ระบบ C D M A สั ญ ญาณจะถู ก แบ่ ง ออก
    เป็ น หลายส่ ว นและถู ก ส่ ง ออกไปหลาย
    ความถี ่ พ ร้ อ มกั น
การผสมสั ญ ญาณแบบ M u l t i p l e
A c c e s s สำ า หรั บ การสื ่ อ สารไร้ ส าย
•FDMA (Frequency Division
Multiple Access)
ผู ้ ใ ช้ แ ต่ ล ะคนถู ก กำ า หนดช่ อ ง
สั ญ ญาณไว้ ล ่ ว งหน้ า
•TDMA (Time Division
Multiple Access)
ผู ้ ใ ช้ ใ นกลุ ่ ม สามารถใช้ ค ลื ่ น ความถี ่
เดี ย วกั น ในการสื ่ อ สารพร้ อ มๆกั น ได้
โดยกำ า หนดกลุ ่ ม ละ 3 คน
 มั ล ติ เ พล็ ก เซอร์ ส ามารถนำ า มาจั ด การ
  ใช้ ง านในการสื ่ อ สารข้ อ มู ล ได้ ห ลาย
  รู ป แบบ (Configurations)
 รู ป แบบที ่ ง ่ า ยที ่ ส ุ ด คื อ การนำ า มั ก ซ์ ส อง
  เครื ่ อ งมาต่ อ เข้ า ที ่ ฝ ั ่ ง โฮสต์ แ ละฝั ่ ง เท
  อร์ ม ิ น อลอย่ า งละเครื ่ อ งในลั ก ษณะ
  เดี ย วกั บ การใช้ โ มเด็ ม จำ า นวนสายที ่
  ต่ อ เข้ า กั บ มั ก ซ์ จ ะต้ อ งเท่ า กั บ จำ า นวนเท
  อร์ ม ิ น อลที ่ ม ี ใ ช้ ง าน และจำ า นวนสายต่ อ
   มั ก ซ์ ส ามารถนำ า มาดั ด แปลงเพื ่ อ ใช้
    ในการเชื ่ อ มต่ อ สายสื ่ อ สารความเร็ ว
    สู ง ระหว่ า งโฮสต์ ไ ด้ ในลั ก ษณะนี ้ จ ะ
    นำ า มั ก ซ์ ช นิ ด พิ เ ศษ เรี ย กว่ า อิ น เวอร์
    สมั ล ติ เ พล็ ก เซอร์ (Inverse
    Multiplexer)
 ข้ อ มู ล ที ่ ส ่ ง ออกมาจากโฮสต์ ท ั ้ ง สอง
  เครื ่ อ งมี ค วามเร็ ว 56 Kbps แต่ ส าย
  สื ่ อ สารมี ค วามเร็ ว เพี ย ง 9,600 bps
 ฝั ่ ง ผู ้ ส ่ ง จึ ง เข้ า มาแบ่ ง สั ญ ญาณ 56
  Kbps ออกเป็ น สั ญ ญาณขนาด 9,600
  bps ส่ ง ออกไปทางช่ อ งสั ญ ญาณ
  จำ า นวน 4 ช่ อ ง
 อิ น เวอร์ ส มั ล ติ เ พล็ ก เซอร์ ท างฝั ่ ง
  ผู ้ ร ั บ ก็ จ ะทำ า หน้ า ที ่ ร วมสั ญ ญาณ
 เรี ย กอี ก อย่ า งหนึ ่ ง ว่ า หน่ ว ยประมวล
  ผลทางการสื ่ อ สาร (Communications
  Processor)
 โดยมากจะเป็ น คอมพิ ว เตอร์ อ ี ก ตั ว
  หนึ ่ ง ที ่ ท ำ า หน้ า ที ่ เ ฉพาะ ส่ ว นใหญ่ จ ะ
  มี ห น่ ว ยความจำ า สำ า รองพ่ ว งติ ด อยู ่
  กั บ คอนเซนเทรเตอร์ ซึ ่ ง ทำ า หน้ า ที ่
  รวมข้ อ มู ล ที ่ ส ่ ง เข้ า มาด้ ว ยความเร็ ว
  ตำ ่ า จากนั ้ น จะนำ า ข้ อ มู ล ที ่ ร วมกั น
หลั ก การทำ า งานของคอนเซนเทรเตอร์

1 ) การใช้บัฟเฟอร์ (Bu ffe ring)
- ข้อมูลที่สงมายังคอนเซนเทรเตอร์มาจากหลายอุปกรณ์และ
            ่
   หลายรูปแบบ
- จึงต้องมีการจัดเก็บข้อมูลด้วยบัฟเฟอร์ เพื่อผ่านการจัดการ
   ของ คอนเซนเทรเตอร์ต่อไป

 2) จองเนื้อทีหน่วยความจำาและควบคุมการจัดคิว
               ่
- มีขั้นตอนทีสลับซับซ้อนมาก
             ่
- ข้อมูลจากอุปกรณ์รับ-ส่งข้อมูลปลายทางหลาย ๆ เครื่องมีการ
  ส่งเข้ามาพร้อม ๆ กัน จึงใช้วิธีการจองเนือทีหน่วยความจำา
                                          ้ ่
  แบบไม่คงที่ (D ynam ic alloc ation) มีการจัดคิวการทำางานที่
  จัดการกับข้อมูลก่อนหลัง แล้วจึงส่งผ่านกระแสข้อมูลทีรวม
                                                      ่
  กันแล้วไปยังเครื่องคอมพิวเตอร์
หลั ก การทำ า งานของคอนเซนเทรเตอร์

3) รับข่าวสารจากอุปกรณ์รับส่งข้อมูลปลายทาง
- คอยตรวจสอบว่าเมือไรจะมี ข้อมูลส่งเข้ามา
                     ่
- การรอคอยข้อมูลเข้านีเป็นไปในลักษณะทีไม่แน่นอนว่าจะ
                       ้                ่
  เกิดขึ้นเมือใด และมาจากสายส่งเส้นไหน ดังนันจึงต้องมีการ
             ่                              ้
  ตรวจหา (S c an) ไปตามสายต่าง ๆ ด้วยความเร็วสูงเพือช่วย
                                                   ่
  ป้องกันสัญญาณสูญหายหรือผิดเพี้ยนไป

4) รวมข้อมูลเพือส่งผ่านในสายส่งความเร็วสูง
                ่
- รวมข้อมูลทีได้รับมาแล้วเปลี่ยนรหัส
              ่
- จากนันจัดข้อมูลเป็นกลุ่ม โดยจะต้องให้เครื่องคอมพิวเตอร์
       ้
  ทราบด้วยว่าข้อมูลกลุ่มนันมาจากสถานีไหน โดยเพิ่มรหัส
                          ้
  ประจำาสถานีไว้ทสวนต้นของกลุ่มข้อมูล จึงจะอยูในสภาพ
                   ี่ ่                         ่
  พร้อมที่จะส่งข้อมูล
หลั ก การทำ า งานของคอนเซนเทรเตอร์

5) ตรวจสอบข้อผิดพลาด
- ในการส่งข้อมูลด้วยความเร็วสูง แบบซิงโครนัส
จะมีการตรวจสอบโดยใช้แพริตี้บิต
   คอนเซ็นเทรเตอร์สามารถเชื่อมต่อเทอร์มินอลจำานวน
    หนึ่งเข้ากับโฮลต์หลายเครื่องเพื่อเพิมประสิทธิภาพ
                                        ่
    ในการทำางานได้
ฟร้อนท์เอนด์โปรเซสเซอร์ (Front-End Proce s s or; FEP)
 เครื่องคอมพิวเตอร์ชนิดหนึ่งทีมกจะวางไว้ทเดียวกันกับ
                               ่ ั             ี่
  เครื่องโฮสต์ (ห้องเดียวกัน หรือตั้งไว้ติดกัน)
 มีสายเชื่อมต่อเพียงเส้นเดียวไปยังโฮสต์
 เป็นคอมพิวเตอร์ชนิดหนึงจึงสามารถทำางานได้เหมือนกับ
                           ่
  คอมพิวเตอร์อื่น ๆ ทัวไป
                       ่
   วัตถุประสงค์หลักของการใช้เครื่องฟร้อนท์เอนด์
    โปรเซสเซอร์เป็นการแบ่งเบาภาระทางด้านการติดต่อระบบ
    เครือข่ายออกจากเครื่องโฮสต์

   แม้ว่าการประมวลผลหลักจะเกิดขึ้นทีเครื่องโฮสต์ แต่การ
                                      ่
    ตรวจสอบความผิดพลาดและการแก้ไขข้อมูลเบื้องต้นเป็น
    หน้าทีของเครื่อง ฟร้อนท์เอนด์โปรเซสเซอร์
          ่

   ถ้าข้อมูลทีผิดพลาดถูกส่งไปที่โฮสต์กอาจจะทำาให้เกิดผลเสีย
               ่                       ็
    หายร้ายแรงขึ้นได้ แต่ถาให้โฮสต์ตรวจสอบทุกอย่างก็จะ
                          ้
    เป็นการเพิ่มภาระงานให้กับโฮสต์
   สามารถตอบรับการติดต่อผ่านระบบเครือข่าย
    โทรศัพท์ได้โดยอัตโนมัติ
   สามารถรวบรวมข้อมูลเป็นตัวอักษรแต่ละตัวหรือ
    เป็นกลุ่มตัวอักษรจาก กระแสบิททีรับเข้ามาได้
                                   ่
   สามารถวิเคราะห์ผลทางสถิติของข้อมูลได้
   สามารถเปลี่ยนรหัสแทนข้อมูลเป็นแบบต่าง ๆ ได้
   สามารถตรวจข้อผิดพลาด แก้ไข รวมทั้งการส่งข้อมูล
    ใหม่ได้
   ควบคุมการรับ-ส่งข้อมูลจากเทอร์มนอลได้โดยตรง
                                     ิ
   เปลี่ยนรูปแบบข้อมูลเพือให้เหมาะกับการประมวลผล
                              ่
    ทีเครื่องโฮสต์ได้
      ่
   สามารถทำาการโพลลิ่งแทนโฮสต์ได้
        โพลลิ ่ ง คื อ การเลือกถามตามคิว (Q u e u e ) เช่น
    มี Te rm inal อยู่ 3 เครื่อง ระบบ p olling จะถาม
    Te rm inal ว่ามีข้อมูลหรือไม่ ถ้าไม่มก็หมดสิทธ์ ผ่าน
                                          ี
    ไป แล้วไปถาม Te rm inal 2 ว่ามีข้อมูลหรือไม่ ถ้ามีก็
    ทำาการถ่ายข้อมูลไปให้ p olling
        ข้อดี ของPolling คือ ไม่เกิดการชนกันของข้อมูล
    แต่ข้อเสียของ Polling คือหากอุปกรณ์ชำารุดอาจ
    ทำาให้ระบบเสียได้
   สามารถใช้โพรโทคอลหลายแบบเพื่อติดต่อกับเทอร์มนอล
                                                ิ
    แต่ละชนิดได้พร้อมกัน
   อนุญาตให้เทอร์มนอลสามารถแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างกัน
                    ิ
    โดยไม่ต้องส่งไปทีโฮสต์กอน
                      ่    ่
ชนิดทีโปรแกรมอยู่บนระบบปฏิบัติการ
      ่

   มีระบบปฏิบัติการและโปรแกรมควบคุมการทำางานต่างๆ
    เป็นตัวของตัวเอง จึงอาจมีการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นได้เสมอ
   เช่นฟร้อนท์เอนด์โปรเซสเซอร์ทใช้งานร่วมกับเครื่อง
                                  ี่
    เมนเฟรมของบริษัทไอบีเอ็ม (เช่น รุ่น 3704, 3750,
    3725 และ 3745) มีโปรแกรมชื่อ Ne twork C ontrol
    Program (NC P) ซึ่งทำาการควบคุมการทำางานและเครื่อง
    เทอร์มนอลที่มการใช้งาน วิธีการเชื่อมต่อและชนิด
           ิ      ี
    โปรแกรมทีเทอร์มนอลแต่ละตัวใช้ รวมทังข้อมูลสำาหรับ
              ่      ิ                    ้
    การรักษาความปลอดภัยของระบบ
ชนิดทีเก็บโปรแกรมไว้ในชิป
      ่

   โปรแกรมได้ถกใส่มาแล้วแต่เป็นแบบ Hard Wire d คือ
                 ู
    โปรแกรมจะถูกเก็บไว้ในคอมพิวเตอร์จึงไม่สามารถแก้ไข
    เปลี่ยนแปลงได้โดยง่าย
   ถูกออกแบบมาให้ทำางานเฉพาะอย่างควบคู่ไปกับเครื่อง
    โฮสต์บางรุ่นเท่านัน จึงสามารถทำางานร่วมกันได้ดีทสุด แต่
                      ้                              ี่
    เนืองจากไม่สามารถแก้ไขได้โดยง่าย ดังนันการ
       ่                                    ้
    เปลี่ยนแปลงเพียงเล็กน้อยทีเกิดขึ้นกับระบบเครือข่าย เช่น
                              ่
    การเพิ่มจำานวนเทอร์มนอล หรือเปลี่ยนแปลงอุปกรณ์เครือ
                          ิ
    ข่ายบางตัวก็อาจทำาให้เกิดความยุ่งยากขึ้นได้
คอนโทรลเลอร์ ( Controller)

   เป็นเสมือนการย่อส่วนเครื่อง ฟร้อนท์เอนด์
    โปรเซสเซอร์ลงมา
   มีหน้าทีการทำางานคล้าย ๆ กันแต่มขีดจำากัดมากกว่า
            ่                           ี
   คอนโทรลเลอร์ในปัจจุบันเพียงเครื่องเดียวสามารถ
    ควบคุมเทอร์มนอลได้เป็นจำานวนมาก ซึ่งอาจมีเครื่อง
                  ิ
    พีซี เครื่องแฟกซ์ เครื่องพิมพ์หรืออุปกรณ์อื่น ๆ ปนอยู่
    ด้วย โดยใช้สายสื่อสารเพียงเส้นเดียวเชื่อมต่อไปยัง
    โฮสต์
   เป็นอุปกรณ์ทใช้เปลี่ยน Protoc ol ให้โดยอัตโนมัติ
                 ี่
   โปรโทคอล (Protoc ol) คือกฎระเบียบสำาหรับการสื่อสาร
    ข้อมูลผ่านระบบเครือข่ายผู้ส่งและผู้รับข้อมูลจำาเป็นจะ
    ต้องใช้โปรโทคอล แบบเดียวกันจึงจะสามารถแลกเปลี่ยน
    ข้อมูลกันได้




          (EBC D IC )               (AS C II)
   Serial to LAN Converter
    Model : RS-LAN-1




   เป็นอุปกรณ์ที่พัฒนาขึ้น
    เพื่อใช้เเปลงระบบการรับ-
    ส่งข้อมูลผ่านทางพอร์ต
    อนุกรม ตามมาตรฐาน
ชนิ ด ของคอนเวอร์ เ ตอร์

   คอนเวอร์เตอร์มีอยู่หลายชนิด ชนิดที่มีใช้งานแพร่หลายมักจะถูก
    ออกแบบมาสำาหรับใช้ในการสื่อสารระหว่างอุปกรณ์สองชนิดที่
    แตกต่างกันโดยเฉพาะ คือไม่สามารถนำาไปใช้กับอุปกรณ์ชนิดอื่น
    ได้ สามารถติดตั้งไว้ที่ฝั่งโฮสต์หรือวางไว้ฝั่งผู้ใช้กได้
                                                         ็
   คอนเวอร์เตอร์อีกชนิดหนึ่งเป็นเพียงโปรแกรมทีติดตั้ง
                                                     ่
    ไว้ในโฮสต์
   ถูกเรียกใช้เพื่อสื่อสารกับผู้ใช้ แทนการติดตั้งอุปกรณ์
    เพิมเติม
        ่
   วิธีการนีช่วยลดปัญหาในเรื่องการบำารุงรักษาอุปกรณ์
             ้
    ทังในด้านจำานวนและชนิดทีต้องการ เพราะการใช้
      ้                           ่
    โปรแกรมนันสามารถแก้ไขหรือเปลี่ยนแปลงได้ง่าย
                ้
    กว่า แม้ว่าจะต้องใช้เวลาในการประมวลผลเพิมขึ้น  ่
    ก็ตาม
   หน้าทีหลักของเกตเวย์คือช่วยทำาให้เครือข่าย
          ่
    คอมพิวเตอร์ 2 เครือข่าย หรือมากกว่าทีมลักษณะไม่
                                           ่ ี
    เหมือนกัน (C onne c tivity) สามารถติดต่อกันได้เสมือน
    เป็นเครือข่ายเดียวกัน
   มักจะติดตั้งไว้ในระบบเครือข่ายเฉพาะบริเวณเพื่อใช้ใน
    การติดต่อสื่อสารกับระบบเครือข่ายอื่น หรือระบบเครือ
    ข่ายขนาดใหญ่ที่ใช้โพรโทคอลต่างชนิดกัน ดังนัน   ้
    เกตเวย์จึงทำาหน้าทีเป็นคอนเวอร์เตอร์ด้วย
                       ่
การเชื่อมต่อระหว่างเครือข่ายย่อย (S u b ne twork ) ของ
     วงจรเสมือน (Virtu al) 2 เครือข่าย

-    มีตัวรีเลย์ทำาหน้าทีอยูระหว่างจุดเชื่อมต่อของเครือข่าย
                         ่ ่
     เพือให้สามารถทำาการเปลี่ยนแพ็กเกตจากเครือข่ายหนึ่ง
        ่
     ไปอีกเครือข่ายหนึง จัดการโดยผู้ดแลเครือข่ายของ
                          ่               ู
     แต่ละเครือข่ายและใช้โพรโทคอลบนสายร่วมกันใช้โพร
     โทคอล X.75 แพ็กเกตของข้อมูลจะต้องเดินไปตาม
     ลำาดับของเกตเวย์จะมีการทำางานภายในเป็นแบบดาต้า
     แกรม
-
การเชื่อมต่อแบบดาต้าแกรม
 ข้อมูลสามารถเดินทางผ่าน เกตเวย์ระหว่างเครือข่ายได้
  โดยจะต้องมีการรวมรูปแบบโพรโทคอลในชั้นดาต้าลิงค์
  (D ata Link Laye r) ในการส่งผ่านข้อมูล
 ในการส่งผ่านข้อมูลนัน ดาต้าแกรมจะทำาการนำาข้อมูลที่
                       ้
  ได้รับจากส่วนหัวและส่วนหางเพื่อสร้างเป็นเฟรมและ
  เฟรมนีถูกส่งผ่านไปยังเครือข่ายที่ 1 เมือดาต้าไปถึง
         ้                               ่
  เกตเวย์ ข้อมูลส่วนหัวและส่วนหางของชั้นดาต้าลิงค์จะ
  ถูกถอดออกเหลือแต่ดาต้าแกรมล้วน ๆ อีกครั้ง
การเชื่อมต่อแบบดาต้าแกรม

    เมือเดินทางไปยังเครือข่ายที่ 2 จะมีการแยกเฟรมทีแตก
        ่                                           ่
     ต่างกันออกไปของแต่ละเกตเวย์
    กระบวนการแยกและรวมเฟรมนีจะทำาซำ้าไปมาจนกระทัง
                                    ้                  ่
     ดาต้าแกรมไปถึงโฮสต์ปลายทางแต่ละเครือข่าย
เกตเวย์ แ บบอะซิ ง โครนั ส
 ทำาหน้าที่เปลี่ยนรูปแบบข้อมูลของเครือข่ายแลนให้
  เป็นแบบอะซิงโครนัสก่อนส่งออกไปสู่สายสื่อสาร
  เพือติดต่อกับอุปกรณ์ อื่น ๆ ภายนอกเครือข่าย
     ่
 ทำาหน้าที่รับข้อมูลจากอุปกรณ์อะซิงโครนัส เช่น
  โมเด็มแบบอะซิงโครนัส เพื่อเปลี่ยนรูปแบบข้อมูล
  มาเป็นแบบทีใช้อยูในเครือข่ายแลน
                 ่    ่
 เกตเวย์แบบอะซิงโครนัสทีรู้จักกันดี ได้แก่
                            ่
   X.25 เกตเวย์
   T-1 เกตเวย์
   เกตเวย์ที่รวมโมเด็มอะซิงโครนัสอยู่ในเครื่องเดียวกัน
เกตเวย์ แ บบซิ ง โครนั ส

   ทำาหน้าที่ในการช่วยให้ผู้ใช้ (Us e r) ภายในเครือข่ายLAN
    ให้สามารถ ติดต่อกับคอมพิวเตอร์เมนเฟรมภายนอกเครือ
    ข่ายโดยผ่านทางโมเด็มแบบซิงโครนัส
   เกตเวย์แบบซิงโครนัสทีรู้จักกันดี ได้แก่
                           ่
     เกตเวย์ เอสเอ็นเอ (S ys te m Ne twork Arch ite ctu re ;
      S NA)
     เกตเวย์แบบอาร์เจอี (Re m ote Job Entry; RJE)
เกตเวย์ แ บบซิ ง โครนั ส

   ทำาหน้าที่เป็นอุปกรณ์เพือให้เครื่องพีซในเครือข่ายทำางาน
                            ่             ี
    “เสมือน” เป็นเทอร์มนอลของเครื่องเมนเฟรมภายนอก
                        ิ
    เครือข่าย
   ส่วนทำาหน้าทีเป็นฟรอนด์เอ็นโปรเซสเซอร์ โดยจะสนับ
                  ่
    สนุนโพรโทคอลแบบซิงโครนัส เช่น BIS YN หรือ S D LC
    เป็นต้น
   ทำาหน้าที่แปลง Pack age ของเครือข่ายหนึงให้เครือข่า
                                               ่
    ยอื่นๆ เข้าใจ
   การติดต่อข้ามเครือข่ายกัน หรือรวมหลาย ๆ เครือข่าย
    เข้าด้วยกันเรียกว่าเครือข่ายอินเทอร์เน็ต โดยแต่ละเครือ
    ข่ายจะเรียกว่าเครือข่ายย่อย (S u b ne twork)
   ทำาหน้าที่ในการเชื่อมโยงแต่ละเครือข่ายเข้าด้วยกันตาม
    มาตรฐาน IS O เรียกว่า IWU (Inte r Working Unit)
    อุปกรณ์ IWU ดังกล่าวนีมี 2 แบบ คือ
                            ้
         ▪ เราเตอร์
         ▪ บริดจ์
   สามารถหาช่องทางเชื่อมต่อ ระหว่างสองจุดไกลๆ ทีดี     ่
    ทีสุดให้ ใช้ในระบบเครือข่ายขนาดใหญ่เท่านั้น
      ่
   ภายในจะมีหน่วยความจำาขนาดใหญ่ เพื่อจดจำา IP
    ad d re s s ของทังโลก โดยจำาเฉพาะใกล้ๆ ถ้าไกลออก
                     ้
    ไปจะส่งสัญญาณไปเช็คจาก rou te r ตัวถัดไปเรื่อยๆ
    จนกว่าจะถึง IP ad d re s s ทีต้องการ แล้วจึงสร้างช่อง
                                 ่
    ทางเสมือนให้สองเครื่องเชื่อมต่อกันได้
   ทำางานใน Laye r3 (Network Layer)
   เป็นอุปกรณ์ทมกจะใช้ในการเชื่อมต่อวงแลนเข้าด้วย
                   ี่ ั
    กัน ทำาให้สามารถขยายขอบเขตของ LAN ออกไปได้
    เรื่อยๆ โดยทีประสิทธิภาพรวมของระบบ ไม่ลดลงมาก
                 ่
    นัก
   มักจะถูกใช้ในการเชื่อมเครือข่ายย่อย ๆ ในองค์กร
    เข้าด้วยกันเป็นเครือข่ายใหญ่ เพียงเครือข่ายเดียว
    เพือให้เครือข่ายย่อยๆ เหล่านันสามารถติดต่อ
        ่                        ้
    กับเครือข่ายย่อยอื่นๆ ได้
   ทำางานใน Laye r2 (Data Link Layer)
หน้ า ที ่ แ ละลั ก ษณะที ่ ส ำ า คั ญ ของบริ ด จ์
   Router
     ทำางานในชั้น Network Layer มีการทำางานทีซับซ้อน
                                              ่
     กว่าบริดจ์ โดย Router จะคำานวณหาเส้นทางทีดที่สุดใน
                                                 ่ ี
     การส่งข้อมูล ใช้ข้อมูลหมายเลขทีอยู่ IP Address
                                    ่
   Bridge
     ทำางานในชั้น Data Link Layer ใช้ข้อมูลจากหมายเลข
     MAC Address
   เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ในการเปลี่ยนตัวกลางนำาสัญญาณจาก
    ตัวกลางหนึ่งไปยังอีกตัวกลางหนึ่ง

   การใช้รีพตเตอร์จะทำาให้เครือข่ายทั้งสอง เสมือนเชื่อมกัน
              ี
    โดยที่สัญญาณจะวิ่งทะลุถึงกันได้หมด รีพตเตอร์จึงไม่มีการ
                                           ี
    กันข้อมูล มีประโยชน์ในการเชือมต่อความยาวในการส่ง
                                 ่
    ข้อมูลให้ยาวขึ้น

   ทำางานในชั้นที่1 Ph ys ic al Laye r

   ทำาหน้าที่รับสัญญาณดิจิตอลเข้ามาแล้วสร้างใหม่
    (Re ge ne rate ) ให้เป็นเหมือนสัญญาณ (ข้อมูล) เดิมที่สงมา
                                                          ่
    จากต้นทาง จากนั้นค่อยส่งต่อออกไปยังอุปกรณ์ตัวอื่น
   มีหน้าทีแปลงสัญญาณข้อมูลจากสัญญาณดิจิทลเป็น
            ่                                ั
    สัญญาณอนาลอก และการแปลงสัญญาณอนาลอกเป็น
    สัญญาณดิจิทล ั
   โมเด็มในปัจจุบันส่วนใหญ่จะมีชิปประมวลผล (Proce s s or)
    และหน่วยความจำา (RO M) อยูในตัวเครื่อง
                               ่
   โมเด็มทีเป็นอุปกรณ์ต่อพ่วงภายนอกเครื่อง
            ่
    คอมพิวเตอร์ (Exte rnal Mod e m )
   โมเด็มทีเป็นแผงวงจรต่อพ่วงเข้ากับแผงวงจรหลักใน
              ่
    เครื่องคอมพิวเตอร์ (Inte rnal Mod e m )
1 ) ความเร็วในการรับ– ส่งสัญญาณ หมายถึง อัตรา
    (Rate ) ที่โมเด็มสามารถทำาการแลกเปลี่ยนข้อมูลกับโมเด็ม
    อื่น ๆ มีหน่วยเป็นบิต /วินาที (b p s ) หรือกิโลบิต/วินาที
    (kb p s ) ในการบอกถึงความเร็วของโมเด็มเพือให้ง่ายใน
                                                   ่
    การพูดและจดจำา

-   2) ความสามารถในการบีบอัดข้อมูล ข้อมูลข่าวสารทีส่ง      ่
    ออกไปบนโมเด็มนัน สามารถทำาให้มขนาดกะทัดรัด ด้วย
                       ้                   ี
    วิธีการบีบอัดข้อมูล (C om p re s s ion) ทำาให้สามารถส่ง
    ข้อมูลได้ครั้งละเป็นจำานวนมาก ๆ
3) ความสามารถในการใช้เป็นโทรสาร
โมเด็มรุ่นใหม่ ๆ สามารถส่งและรับ โทรสาร (Fax
C ap ab ilitie s ) ได้ดีเช่นเดียวกับการรับและส่งข้อมูล
หากมีซอฟต์แวร์ทเหมาะสมแล้วก็จะสามารถใช้แฟกซ์
                      ี่
โมเด็มเป็นเครื่องพิมพ์ (Printe r) ได้ เมือพิมพ์เข้าไปที่
                                          ่
แฟกซ์โมเด็มก็จะส่งเอกสารไปยังเครื่องโทรสารทีปลาย   ่
ทางได้
4) ความสามารถในการควบคุมความผิดพลาด โมเด็มจะใช้
   วิธีการควบคุมความผิดพลาด(Error C ontrol) ต่าง ๆ
   มากมายหลายวิธีในการตรวจสอบเพือการยืนยันว่าจะ
                                       ่
   ไม่มข้อมูลใดๆ สูญหายไประหว่างการส่งถ่ายข้อมูลจาก
        ี
   คอมพิวเตอร์เครื่องหนึงไปยังอีกเครื่องหนึง
                         ่                 ่
5 ) ออกแบบให้ใช้ได้ทั้งภายในและภายนอก โมเด็มที่
   จำาหน่ายในท้องตลาด ทัว ๆ ไป จะมีอยู่ 2 รูปแบบ คือ
                           ่
   โมเด็มแบบติดตั้งภายนอก (Exte rnal Mod e m ) และแบบ
   ติดตั้งภายใน (Inte rnal Mod e m )
6) สามารถใช้กบอินเตอร์เฟสต่าง ๆ ทีใช้มาตรฐาน IEEE
                ั                 ่
  หรือ C C ITT ได้

7) สามารถรับและส่งข่าวสารได้ทงเสียง ภาพ ข้อความ
                             ั้
  และข้อมูลได้
จำาแนกตามลักษณะการติดตั้งและการใช้งานแบ่งได้
  เป็น 4 ประเภท
1 ) โมเด็มชนิด PC MC IA และ C e llu lar Mod e m โมเด็ม
  แบบ PC MC IA หรือ PC C ard เป็นโมเด็มทีมขนาดเล็ก
                                            ่ ี
  ทีสุด มีขนาดเท่าบัตรเครดิต ได้รับการออกแบบเพือใช้
    ่                                             ่
  กับคอมพิวเตอร์แบบโน้ตบุ๊กส่วนประกอบของโมเด็มชนิด
  นีจะมีลักษณะคล้ายกับโมเด็มชนิดติดตั้งภายใน
      ้
จำาแนกตามลักษณะการติดตั้งและการใช้งานแบ่งได้
 เป็น 4 ประเภท
2) โมเด็มชนิดกระเป๋า (Poc k e t Mod e m ) โมเด็มขนาด
 เล็กประกอบด้วยวงจรเหมือนโมเด็มชนิดติดตั้งภายนอก
 โมเด็มชนิดนีมีความเหมาะสมกับคอมพิวเตอร์ชนิด
             ้
 Lap top และชนิดโน้ตบุ๊ก
จำาแนกตามลักษณะการติดตั้งและการใช้งานแบ่งได้
 เป็น 4 ประเภท
3) โมเด็มชนิดติดตั้งภายนอก โมเด็มชนิดนีมลักษณะการ
                                        ้ ี
 เชื่อมต่อกับคอมพิวเตอร์อยูภายนอก โมเด็มชนิดนีติดตั้ง
                           ่                    ้
 ผ่านพอร์ตอนุกรม (S e rial) และพอร์ตยูเอสบี (US B)
จำาแนกตามลักษณะการติดตั้งและการใช้งานแบ่งได้
 เป็น 4 ประเภท
4) โมเด็มชนิดติดตั้งภายใน โมเด็มชนิดนีติดตั้งอยู่
                                      ้
 ภายในคอมพิวเตอร์มลักษณะเป็นแผงวงจรนำามาเสียบ
                      ี
 กับเมนบอร์ดภายในคอมพิวเตอร์หรือลักษณะเป็นการ์ด
 เสียบลงในช่องเสียบ (S lot ) ภายในคอมพิวเตอร์
โมเด็มทัวไปที่ใช้งานกันอยูนั้นเรียกว่า
         ่                 ่
  ดาต้า/แฟกซ์(D ata/Fax)
 ส่งได้เฉพาะข้อมูล และโทรสาร
 การส่งข้อมูลนั้นจะส่งเป็นสัญญาณดิจิทลั
 ชิปที่ใช้งานประมวลผลเฉพาะข้อมูลและโทรสาร

โมเด็มอีกประเภทหนึงทีเพิมคุณสมบัติการประมวลผลเสียงได้
                      ่ ่ ่
  เรียกว่า ดาต้า/แฟกซ์/วอย (D ata/Fax/Voice )
 โมเด็มนีจะเพิ่มส่วนของตัวแปลงสัญญาณเสียงพูดเป็นอนา
           ้
  ลอกให้เป็นดิจิทลทีประมวลผลได้ (Analog to D igital
                   ั ่
  C onve rte r; AD C )
   ปัจจุบันโมเด็มทีเป็นทีนิยมเป็นโมเด็มประเภทแรกเท่านัน
                    ่     ่                              ้
    คือ ประเภททีทำางานเป็นเครื่องตอบและรับอัตโนมัติได้ แต่
                  ่
    ประเภททีส่งเสียง (Voic e ) พร้อมกับส่งข้อมูล (D ata) ได้
              ่
    นำามาทำาเป็นระบบตอบโทรศัพท์อัตโนมัติ (Au tom atic
    Ans we ring Matc h ing )
เครื่องตรวจสอบอุปกรณ์ (D iagnos tic Equ ip m e nt)
 อุปกรณ์ตรวจสภาพสายสื่อสาร (Line Monitor)
     ตรวจนับปริมาณข้อมูลที่ถูกส่งออกไปแล้วคำานวณเป็นตัวเลข
      ทางสถิติที่ต้องการ
     รวบรวมข้อมูลที่เกิดขึ้นทังหมดจากอุปกรณ์ต่าง ๆ เช่น มัลติ
                               ้
      เพล็กเซอร์ คอนเซ็นเทรเตอร์ คอนโทรลเลอร์ และข้อมูลจาก
      โปรแกรมควบคุมเครือข่าย เพือแสดงผลออกทาง หน้าจอ ซึ่ง
                                   ่
      เจ้าหน้าที่เทคนิคสามารถนำาข้อมูลนี้ไปใช้ในการค้นหาจุด
      บกพร่องหรืออุปกรณ์ที่เสียหายได้

   กล่องตรวจสอบสัญญาณ (Bre akou t Box)
เครื่องตรวจสอบอุปกรณ์ (D iagnos tic Equ ip m e nt)
 กล่องตรวจสอบสัญญาณ (Bre akou t Box)
   การส่งสัญญาณผ่านสายสื่อสารโดยเฉพาะสายลวดทองแดง
    นั้นมักจะอยู่ในรูปของแรงดันไฟฟ้า ซึ่งการส่งสัญญาณที่
    สมบูรณ์จะต้องมีขนาดแรงดันไฟฟ้าที่เหมาะสม สายสัญญาณที่
    ต่อผ่านกล่อง ตรวจสอบสัญญาณนี้จะส่งแรงดันไฟฟ้าที่เกิดขึ้น
    ผ่านอุปกรณ์ภายในตัวอุปกรณ์ฯ จึงสามารถแสดงให้เห็น
    สภาพของสัญญาณที่ดีและไม่ดีที่เกิดขึ้นได้
อุปกรณ์รวมพอร์ตและเลือกพอร์ต
 ในกรณีทจำาเป็นต้องต่ออุปกรณ์หลายชนิดเข้ากับโฮสต์
             ี่
   ทีอาจมีจำานวนพอร์ตไม่เพียงพอก็อาจใช้อุปกรณ์รวม
     ่
   พอร์ต (Port C onc e ntrator) ช่วยได้ เช่น โฮสต์มี
   พอร์ตเพียงพอร์ตเดียว จึงต้องใช้อุปกรณ์รวมพอร์ตมา
   เชื่อมต่อระหว่างโฮสต์เข้ากับมัลติเพล็กเซอร์
Network equipment
Network equipment

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

การสื่อสารบทที่ 3 เทคโนโลยีการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารบทที่ 3 เทคโนโลยีการสื่อสารข้อมูลการสื่อสารบทที่ 3 เทคโนโลยีการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารบทที่ 3 เทคโนโลยีการสื่อสารข้อมูลBebearjang1
 
หน่วยที่ 8 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 8 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์หน่วยที่ 8 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 8 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์jzturbo
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์bosskrittachai boss
 
คู่มือระบบเครือข่าย
คู่มือระบบเครือข่ายคู่มือระบบเครือข่าย
คู่มือระบบเครือข่ายssrithai
 
บทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่าย
บทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่ายบทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่าย
บทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่ายPokypoky Leonardo
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์nipaporn333
 
Ch4 communication and network
Ch4 communication and networkCh4 communication and network
Ch4 communication and networkNittaya Intarat
 
%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77
%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77
%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77Tophit Sampootong
 
ระบบสื่อสารข้อมูลของเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบสื่อสารข้อมูลของเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลของเครือข่ายคอมพิวเตอร์Manas Panjai
 
การสื่อสารและระบบเครือข่าย (Communication and Network)
การสื่อสารและระบบเครือข่าย (Communication and Network)การสื่อสารและระบบเครือข่าย (Communication and Network)
การสื่อสารและระบบเครือข่าย (Communication and Network)supatra2011
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ Sirinat Sansom
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.5/8
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.5/8ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.5/8
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.5/8Nuttapat Sukcharoen
 
ระบบเครือข่ายคอมผิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมผิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมผิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมผิวเตอร์nuchanad
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์Mind's Am'i
 
พื้นฐานโครงข่ายสำหรับ Call Center Staffs
พื้นฐานโครงข่ายสำหรับ Call Center Staffsพื้นฐานโครงข่ายสำหรับ Call Center Staffs
พื้นฐานโครงข่ายสำหรับ Call Center StaffsChideeHom
 
หน่วยที่ 1 พื้นฐานการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
หน่วยที่ 1 พื้นฐานการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายหน่วยที่ 1 พื้นฐานการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
หน่วยที่ 1 พื้นฐานการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายTa Khanittha
 
ใบงานหน่วยที่ 1
ใบงานหน่วยที่ 1ใบงานหน่วยที่ 1
ใบงานหน่วยที่ 1watnawong
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.1
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.1เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.1
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.1Morn Suwanno
 
กลุ่ม5 เครือข่ายคอมพิวเตอร์และการสื่อสาร
กลุ่ม5 เครือข่ายคอมพิวเตอร์และการสื่อสารกลุ่ม5 เครือข่ายคอมพิวเตอร์และการสื่อสาร
กลุ่ม5 เครือข่ายคอมพิวเตอร์และการสื่อสารPeerapat Thungsuk
 

Mais procurados (20)

การสื่อสารบทที่ 3 เทคโนโลยีการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารบทที่ 3 เทคโนโลยีการสื่อสารข้อมูลการสื่อสารบทที่ 3 เทคโนโลยีการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารบทที่ 3 เทคโนโลยีการสื่อสารข้อมูล
 
หน่วยที่ 8 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 8 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์หน่วยที่ 8 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 8 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
คู่มือระบบเครือข่าย
คู่มือระบบเครือข่ายคู่มือระบบเครือข่าย
คู่มือระบบเครือข่าย
 
บทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่าย
บทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่ายบทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่าย
บทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่าย
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
Ch4 communication and network
Ch4 communication and networkCh4 communication and network
Ch4 communication and network
 
%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77
%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77
%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77
 
ระบบสื่อสารข้อมูลของเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบสื่อสารข้อมูลของเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลของเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
การสื่อสารและระบบเครือข่าย (Communication and Network)
การสื่อสารและระบบเครือข่าย (Communication and Network)การสื่อสารและระบบเครือข่าย (Communication and Network)
การสื่อสารและระบบเครือข่าย (Communication and Network)
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.5/8
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.5/8ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.5/8
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.5/8
 
ระบบเครือข่ายคอมผิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมผิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมผิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมผิวเตอร์
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
พื้นฐานโครงข่ายสำหรับ Call Center Staffs
พื้นฐานโครงข่ายสำหรับ Call Center Staffsพื้นฐานโครงข่ายสำหรับ Call Center Staffs
พื้นฐานโครงข่ายสำหรับ Call Center Staffs
 
หน่วยที่ 1 พื้นฐานการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
หน่วยที่ 1 พื้นฐานการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายหน่วยที่ 1 พื้นฐานการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
หน่วยที่ 1 พื้นฐานการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
 
Data communication and network
Data communication and networkData communication and network
Data communication and network
 
ใบงานหน่วยที่ 1
ใบงานหน่วยที่ 1ใบงานหน่วยที่ 1
ใบงานหน่วยที่ 1
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.1
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.1เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.1
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.1
 
กลุ่ม5 เครือข่ายคอมพิวเตอร์และการสื่อสาร
กลุ่ม5 เครือข่ายคอมพิวเตอร์และการสื่อสารกลุ่ม5 เครือข่ายคอมพิวเตอร์และการสื่อสาร
กลุ่ม5 เครือข่ายคอมพิวเตอร์และการสื่อสาร
 

Semelhante a Network equipment

Data communication and network
Data communication and networkData communication and network
Data communication and networkNidzy Krajangpat
 
2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์Meaw Sukee
 
ใบความรู้ที่ 3
ใบความรู้ที่ 3ใบความรู้ที่ 3
ใบความรู้ที่ 3Nattapon
 
Network01 12
Network01 12Network01 12
Network01 12paween
 
ระบบเครือข่ายมหาวิทยาลัยแม่โจ้ แพร่
ระบบเครือข่ายมหาวิทยาลัยแม่โจ้ แพร่ระบบเครือข่ายมหาวิทยาลัยแม่โจ้ แพร่
ระบบเครือข่ายมหาวิทยาลัยแม่โจ้ แพร่alisa1421
 
ระบบเครือข่ายมหาวิทยาลัยแม่โจ้ แพร่
ระบบเครือข่ายมหาวิทยาลัยแม่โจ้ แพร่ระบบเครือข่ายมหาวิทยาลัยแม่โจ้ แพร่
ระบบเครือข่ายมหาวิทยาลัยแม่โจ้ แพร่Paweena Man
 
ความหมายของเครือข่ายคอมพิวเตอร์1.1
ความหมายของเครือข่ายคอมพิวเตอร์1.1ความหมายของเครือข่ายคอมพิวเตอร์1.1
ความหมายของเครือข่ายคอมพิวเตอร์1.1Rang Keerati
 
เทอม 1 คาบ 7บทบาทของการสื่อสาร
เทอม 1 คาบ 7บทบาทของการสื่อสารเทอม 1 คาบ 7บทบาทของการสื่อสาร
เทอม 1 คาบ 7บทบาทของการสื่อสารMrpopovic Popovic
 
ใบงานหน่วยที่ 2 ทิศทางการส่งและชนิดของสัญญาณข้อมูล
ใบงานหน่วยที่ 2 ทิศทางการส่งและชนิดของสัญญาณข้อมูลใบงานหน่วยที่ 2 ทิศทางการส่งและชนิดของสัญญาณข้อมูล
ใบงานหน่วยที่ 2 ทิศทางการส่งและชนิดของสัญญาณข้อมูลwatnawong
 
Lesson3 ระบบเครือข่ายและการสื่อสาร (1)
Lesson3 ระบบเครือข่ายและการสื่อสาร (1)Lesson3 ระบบเครือข่ายและการสื่อสาร (1)
Lesson3 ระบบเครือข่ายและการสื่อสาร (1)Aqilla Madaka
 

Semelhante a Network equipment (20)

Data communication and network
Data communication and networkData communication and network
Data communication and network
 
Network
NetworkNetwork
Network
 
Network
NetworkNetwork
Network
 
2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
ใบความรู้ที่ 3
ใบความรู้ที่ 3ใบความรู้ที่ 3
ใบความรู้ที่ 3
 
Network01 12
Network01 12Network01 12
Network01 12
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
Datacom
DatacomDatacom
Datacom
 
Supichaya
SupichayaSupichaya
Supichaya
 
Network
NetworkNetwork
Network
 
Protocol
ProtocolProtocol
Protocol
 
Protocol
ProtocolProtocol
Protocol
 
ระบบเครือข่ายมหาวิทยาลัยแม่โจ้ แพร่
ระบบเครือข่ายมหาวิทยาลัยแม่โจ้ แพร่ระบบเครือข่ายมหาวิทยาลัยแม่โจ้ แพร่
ระบบเครือข่ายมหาวิทยาลัยแม่โจ้ แพร่
 
ระบบเครือข่ายมหาวิทยาลัยแม่โจ้ แพร่
ระบบเครือข่ายมหาวิทยาลัยแม่โจ้ แพร่ระบบเครือข่ายมหาวิทยาลัยแม่โจ้ แพร่
ระบบเครือข่ายมหาวิทยาลัยแม่โจ้ แพร่
 
ความหมายของเครือข่ายคอมพิวเตอร์1.1
ความหมายของเครือข่ายคอมพิวเตอร์1.1ความหมายของเครือข่ายคอมพิวเตอร์1.1
ความหมายของเครือข่ายคอมพิวเตอร์1.1
 
รายงาน
รายงานรายงาน
รายงาน
 
เทอม 1 คาบ 7บทบาทของการสื่อสาร
เทอม 1 คาบ 7บทบาทของการสื่อสารเทอม 1 คาบ 7บทบาทของการสื่อสาร
เทอม 1 คาบ 7บทบาทของการสื่อสาร
 
ใบงานหน่วยที่ 2 ทิศทางการส่งและชนิดของสัญญาณข้อมูล
ใบงานหน่วยที่ 2 ทิศทางการส่งและชนิดของสัญญาณข้อมูลใบงานหน่วยที่ 2 ทิศทางการส่งและชนิดของสัญญาณข้อมูล
ใบงานหน่วยที่ 2 ทิศทางการส่งและชนิดของสัญญาณข้อมูล
 
3 g
3 g      3 g
3 g
 
Lesson3 ระบบเครือข่ายและการสื่อสาร (1)
Lesson3 ระบบเครือข่ายและการสื่อสาร (1)Lesson3 ระบบเครือข่ายและการสื่อสาร (1)
Lesson3 ระบบเครือข่ายและการสื่อสาร (1)
 

Mais de Nittaya Intarat

Mais de Nittaya Intarat (20)

Normalization
NormalizationNormalization
Normalization
 
Normalization
NormalizationNormalization
Normalization
 
Local area network
Local area networkLocal area network
Local area network
 
E r diagram
E r diagramE r diagram
E r diagram
 
Data tranmission
Data tranmissionData tranmission
Data tranmission
 
Media
MediaMedia
Media
 
Database architecture
Database architectureDatabase architecture
Database architecture
 
Data management pub
Data management pubData management pub
Data management pub
 
Data management
Data managementData management
Data management
 
Data management
Data managementData management
Data management
 
Data communication
Data communicationData communication
Data communication
 
Opac exam
Opac examOpac exam
Opac exam
 
Ch5 database system
Ch5 database systemCh5 database system
Ch5 database system
 
Ch3 information technology
Ch3 information  technologyCh3 information  technology
Ch3 information technology
 
Ch3 in fo re_source
Ch3 in fo re_sourceCh3 in fo re_source
Ch3 in fo re_source
 
Information sources 1
Information  sources 1Information  sources 1
Information sources 1
 
Ch2 ระบบสารสนเทศ
Ch2 ระบบสารสนเทศCh2 ระบบสารสนเทศ
Ch2 ระบบสารสนเทศ
 
Ch2 องค์การและระบบสารสนเทศ
Ch2 องค์การและระบบสารสนเทศCh2 องค์การและระบบสารสนเทศ
Ch2 องค์การและระบบสารสนเทศ
 
Ch1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการ
Ch1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการCh1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการ
Ch1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการ
 
Db architecture
Db architectureDb architecture
Db architecture
 

Network equipment

  • 1. NETWORK EQUIPMENT อุ ป กรณ์ ก ารสื ่ อ สารข้ อ มู ล
  • 2. อุ ป กรณ์ ท ี ่ จ ำ า เป็ น ต่ อ การสื ่ อ สารข้ อ มู ล คอมพิ ว เตอร์ ได้ แ ก่  มั ล ติ เ พล็ ก ซ์ เ ซอร์  คอนเซนเตรเตอร์  ฟรอนต์ เ อ็ น โปรเซสเซอร์  คอนโทรลเลอร์  รวมทั ้ ง อุ ป กรณ์ อ ื ่ น ๆ เช่ น เกตเวย์ เรา เตอร์ บริ ด จ์ รี พ ี ต เตอร์ โมเด็ ม เป็ น ต้ น
  • 3. พอร์ ต (Port) ปลั ๊ ก ชนิ ด หนึ ่ ง ที ่ ใ ช้ ก ั บ เครื ่ อ งคอมพิ ว เตอร์ ซึ ่ ง มี ไ ว้ ส ำ า หรั บ การ เชื ่ อ มต่ อ อุ ป กรณ์ อ ื ่ น เข้ า กั บ เครื ่ อ ง คอมพิ ว เตอร์ คอมพิ ว เตอร์ ท ุ ก เครื ่ อ งจะต้ อ งมี ช ่ อ ง ต่ อ เชื ่ อ มอุ ป กรณ์
  • 4.
  • 5. เป็ น อุ ป กรณ์ เ น็ ต เวิ ร ์ ค ที ่ ท ำ า หน้ า ที ่ ใ นการ รวบรวมสั ญ ญาณหรื อ ข้ อ มู ล จากแหล่ ง ต่ า งๆ ก่ อ นที ่ จ ะส่ ง ไปในสื ่ อ สั ญ ญาณ เดี ย วกั น โดยที ่ ไ ม่ ท ำ า ให้ เ กิ ด การ เปลี ่ ย นแปลงข้ อ มู ล ที ่ ฝ ั ่ ง ผู ้ ร ั บ ทำ า ให้ ก าร ใช้ ส ื ่ อ สั ญ ญาณที ่ ม ี อ ยู ่ เ ป็ น ไปอย่ า งมี ประสิ ท ธิ ภ าพ
  • 6. มั ก ซ์ (MUX)  เป็ น อุ ป กรณ์ ท ี ่ ร วบรวมสั ญ ญาณจากสาย สื ่ อ สารหลายเส้ น เข้ า ด้ ว ยกั น เพื ่ อ ส่ ง ออก ทางสายสื ่ อ สารเพี ย งเส้ น เดี ย ว  ช่ อ งสั ญ ญาณในสายเส้ น ที ่ ส ่ ง ออกจา กมั ก ซ์ จ ะถู ก แบ่ ง ออกเป็ น ส่ ว น ๆ เพื ่ อ แบ่ ง ปั น ในการส่ ง สั ญ ญาณที ่ ร ั บ เข้ า มาจาก สายสื ่ อ สารเส้ น ต่ า ง ๆ  มั ก ซ์ จ ะทำ า งานเป็ น คู ่ เ หมื อ นกั บ โมเด็ ม คื อ มี ม ั ก ซ์ ท ี ่ ผ ู ้ ส ่ ง หนึ ่ ง ตั ว และอี ก หนึ ่ ง ตั ว อยู ่ ทางฝั ่ ง ผู ้ ร ั บ  ข้ อ มู ล ที ่ ร ั บ เข้ า มาจากสายสื ่ อ สารทางฝั ่ ง
  • 7.
  • 8. การผสมสั ญ ญาณแบบทั ่ ว ไป  มั ก ซ์ ท ั ่ ว ไปใช้ ก ารผสมสั ญ ญาณออกเป็ น 4 ชนิ ด  การผสมสั ญ ญาณตามความถี ่ - Frequency Division Multiplexing  การผสมสั ญ ญาณตามช่ ว งเวลา - Time Division Multiplexing  การผสมสั ญ ญาณตามค่ า สถิ ต ิ ข องเวลา ทำ า งาน -S tatistic Time Division Multiplexing  การผสมสั ญ ญาณตามความยาวคลื ่ น ของ สั ญ ญาณ - Wavelength Division Multiplexing
  • 9. การผสมสั ญ ญาณตามความถี ่ ( FDM) เป็นแบบทีนิยมใช้กันมากที่สดโดยเฉพาะด้านวิทยุและ ่ ุ โทรทัศน์ โดยจะแบ่งช่องสัญญาณขาออกเป็นหลายช่อง สัญญาณขนาดเล็กตามช่วงความถี่ของคลื่นสัญญาณ และผู้รับก็จะปรับเพื่อรับคลื่นความถี่ทต้องการได้ ี่
  • 12. การผสมสั ญ ญาณแบ่ ง ตามช่ ว งเวลา ( TDM) ใช้ในการมัลติเพล็กซ์สัญญาณเสียงดิจิตอล เช่น แผ่นเพลง C D ช่องสัญญาณรวมจะถูกแบ่งออกเป็นช่วงเวลาเล็กๆ สาย สื่อสารแต่ละเส้นจะได้รับกำาหนดช่วงเวลาอย่างน้อยหนึ่งช่วง และสามารถส่งสัญญาณเต็มขีดความสามารถของสาย โดย สัญญาณทีมอัตราความเร็วตำ่าหลาย ๆ สัญญาณ เมือนำามา ่ ี ่ มัลติเพล็กซ์รวมกันก็จะได้สัญญาณที่มี D ata Rate ทีสูงขึ้น ่
  • 13. TDM แบ่ ง ได้ 2 ทาง คื อ S ynchronous, Asynchronous S ynchronous TDM : S ync TDM  ตัว Mu ltip le xe r จะเป็นตัวค้นหาว่า D e vice ไหน ต้องการส่งโดยไม่สนใจว่า D e vic e นีจะส่งหรือไม่ ้ หรือ D e vic e นีเสียหรือไม่ ซึ่งจุดนีทำาให้เสียเวลา ้ ้ เกิดการ สินเปลืองทรัพยากร และจะแบ่งเวลาไปให้ ้ เครื่องอื่นไม่ได้จะถูกจองไว้เฉพาะเครื่อง
  • 14. Inte rle ave d **
  • 15. TDM แบ่ ง ได้ 2 ทาง คื อ S ynchronous, Asynchronous Asynchronous TDM หรื อ S TDM ( S tatistical Time Division Multiplexing)  แบ่งตามเวลาด้วยสถิติ เป็นเทคนิคการปิดรูรั่วของ S ync h ronou s หลีกเลี่ยงขยะการเสียเปล่าของ ทรัพยากร ทำาให้ระบบโดยรวมดีขึ้น
  • 16.
  • 17.
  • 18. การผสมสั ญ ญาณตามความยาวคลื ่ น ของ สั ญ ญาณ ( WDM) พัฒนาขึ้นสำาหรับใช้ส่งสัญญาณทังแบบอนาลอกและ ้ ดิจิตอลผ่านสายใยแก้วนำาแสง แต่ละช่องสัญญาณจะถูกแบ่ง ตามความยาวคลื่นแสง ซึ่งมีหลักการเดียวกับ FD M เพียงแต่ในที่ นีใช้กับคลื่นแสงทีมีความถี่สูงกว่ามาก ้ ่ สามารถมีวงจรสื่อสาร 40 วงจร ขนาดวงจรละ 20 Gb p s ซึ่ง รวมได้มากถึง 800 Gb p s
  • 19. Figure 6.10 WDM
  • 20. การผสมสั ญ ญาณแบบไร้ ส าย (Wire le s s C om m u nic ation)  จำาเป็นต้องใช้เทคนิคการผสมสัญญาณเพือให้ผู้ใช้สามารถ ่ ส่งข้อมูลออกมาได้ตลอดเวลาในขณะทียงมีช่องสัญญาณ ่ ั ว่าง ผู้ใช้จึงสามารถส่งสัญญาณได้หลายช่องสัญญาณ  กล่าวคือแต่ละช่องสัญญาณมีผู้ใช้ได้หลายคน ซึ่งจะทำาให้ ประสิทธิภาพในการใช้งานสูงขึ้น
  • 21. การผสมสั ญ ญาณแบบไร้ ส าย  วิธีการเดิมทีกำาหนดช่องสื่อสารแบบถาวรหรือกึงถาวร ่ ่ ให้แก่ผู้ใช้แต่ละคน ซึ่งผู้ใช้คนอื่นจะไม่สามารถใช้ช่อง สัญญาณนันได้แม้ว่าเจ้าของช่องสัญญาณจะไม่ได้ ้ ประโยชน์ใด ๆ  วิธีการแบบนี้ได้แก่ ▪ การผสมสัญญาณแบบ FD MA ▪ การผสมสัญญาณแบบ TD MA ▪ การผสมสัญญาณแบบ C D MA
  • 22. การผสมสัญญาณแบบ FD MA (Fre qu e nc y d ivis ion m u ltip le ac c e s s ) ▪เป็นการผสมสัญญาณแบบเซลลูลาร์ ซึ่งเป็นการส่ง สัญญาณออกไปทุกทิศทางรอบสถานีหรืออุปกรณ์ส่ง ใน ยุคแรกนั้นมีจำานวนผู้ใช้ไม่มากนัก การใช้ช่องสัญญาณ ร่วมกันจึงไม่มีความจำาเป็น
  • 23. การผสมสัญญาณแบบ TD MA (Tim e D ivis ion Mu ltip le Ac c e s s ) ▪ พัฒนาเพือเพิมประสิทธิภาพการใช้โทรศัพท์เซลลูลาร์แบบ ่ ่ ดิจิทลโดยเฉพาะโดยสัญญาณคลื่นวิทยุจะถูกแบ่งออกเป็น ั ช่วงเวลา (Tim e S lot) เพื่อให้ผู้ใช้ในกลุ่มสามารถใช้คลื่น ความถี่เดียวกันในการสื่อสารพร้อมกัน
  • 24. การผสมสัญญาณแบบไร้สาย ▪ การผสมสัญญาณแบบ TDMA ▪ เทคโนโลยีสำาหรับผู้ใช้ทั่วไปอีกแบบ หนึ่งเรียกว่า Personal Communication Service (PCS) เป็นการสือสารระบบไร้สายในยุคที่สาม ่ ▪ ระบบนี้จะบันทึกข้อมูลของคนที่เป็น สมาชิกไว้ในอุปกรณ์บตรวงจร ั อิเล็กทรอนิกส์ เช่น สมาร์ทการ์ด
  • 25. การผสมสั ญ ญาณแบบ TDMA ▪การนำ า เทคโนโลยี TDMA มาใช้ ง าน ร่ ว มกั บ FDMA ทำ า ให้ เ กิ ด ข้ อ ได้ เ ปรี ย บ คื อ นอกจากจะใช้ ส ่ ง ข้ อ มู ล ที ่ เ ป็ น เสี ย ง พู ด แล้ ว ยั ง สามารถใช้ ส ่ ง แฟกซ์ การ ประชุ ม ผ่ า นวี ด ิ ท ั ศ น์ และข้ อ มู ล อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ อ ื ่ น ๆ ได้ ช่ ว ยให้ ไ ม่ เ กิ ด ปั ญ หาการรบกวนกั น เองของสั ญ ญาณ (Interference) ระหว่ า งผู ้ ใ ช้ ช่ ว ยยื ด อายุ
  • 26. การผสมสั ญ ญาณแบบไร้ ส าย ▪ การผสมสั ญ ญาณแบบ C D M A (C ode D iv is io n M u lt ip le A c c e s s ) ▪ โทรศั พ ท์ ข องผู ้ ใ ช้ แ ต่ ล ะคนจะถู ก กำ า หนดรหั ส สั ญ ญาณคลื ่ น วิ ท ยุ เ ฉพาะ ตนที ่ ไ ม่ ซ ำ ้ า กั บ ผู ้ ใ ด สถานี ส ื ่ อ สารจะ ใช้ ร หั ส นี ้ เ ป็ น ส่ ว นหนึ ่ ง ของการรั บ - ส่ ง สั ญ ญาณ ▪ ระบบ C D M A สั ญ ญาณจะถู ก แบ่ ง ออก เป็ น หลายส่ ว นและถู ก ส่ ง ออกไปหลาย ความถี ่ พ ร้ อ มกั น
  • 27. การผสมสั ญ ญาณแบบ M u l t i p l e A c c e s s สำ า หรั บ การสื ่ อ สารไร้ ส าย •FDMA (Frequency Division Multiple Access) ผู ้ ใ ช้ แ ต่ ล ะคนถู ก กำ า หนดช่ อ ง สั ญ ญาณไว้ ล ่ ว งหน้ า •TDMA (Time Division Multiple Access) ผู ้ ใ ช้ ใ นกลุ ่ ม สามารถใช้ ค ลื ่ น ความถี ่ เดี ย วกั น ในการสื ่ อ สารพร้ อ มๆกั น ได้ โดยกำ า หนดกลุ ่ ม ละ 3 คน
  • 28.  มั ล ติ เ พล็ ก เซอร์ ส ามารถนำ า มาจั ด การ ใช้ ง านในการสื ่ อ สารข้ อ มู ล ได้ ห ลาย รู ป แบบ (Configurations)  รู ป แบบที ่ ง ่ า ยที ่ ส ุ ด คื อ การนำ า มั ก ซ์ ส อง เครื ่ อ งมาต่ อ เข้ า ที ่ ฝ ั ่ ง โฮสต์ แ ละฝั ่ ง เท อร์ ม ิ น อลอย่ า งละเครื ่ อ งในลั ก ษณะ เดี ย วกั บ การใช้ โ มเด็ ม จำ า นวนสายที ่ ต่ อ เข้ า กั บ มั ก ซ์ จ ะต้ อ งเท่ า กั บ จำ า นวนเท อร์ ม ิ น อลที ่ ม ี ใ ช้ ง าน และจำ า นวนสายต่ อ
  • 29. มั ก ซ์ ส ามารถนำ า มาดั ด แปลงเพื ่ อ ใช้ ในการเชื ่ อ มต่ อ สายสื ่ อ สารความเร็ ว สู ง ระหว่ า งโฮสต์ ไ ด้ ในลั ก ษณะนี ้ จ ะ นำ า มั ก ซ์ ช นิ ด พิ เ ศษ เรี ย กว่ า อิ น เวอร์ สมั ล ติ เ พล็ ก เซอร์ (Inverse Multiplexer)
  • 30.  ข้ อ มู ล ที ่ ส ่ ง ออกมาจากโฮสต์ ท ั ้ ง สอง เครื ่ อ งมี ค วามเร็ ว 56 Kbps แต่ ส าย สื ่ อ สารมี ค วามเร็ ว เพี ย ง 9,600 bps  ฝั ่ ง ผู ้ ส ่ ง จึ ง เข้ า มาแบ่ ง สั ญ ญาณ 56 Kbps ออกเป็ น สั ญ ญาณขนาด 9,600 bps ส่ ง ออกไปทางช่ อ งสั ญ ญาณ จำ า นวน 4 ช่ อ ง  อิ น เวอร์ ส มั ล ติ เ พล็ ก เซอร์ ท างฝั ่ ง ผู ้ ร ั บ ก็ จ ะทำ า หน้ า ที ่ ร วมสั ญ ญาณ
  • 31.
  • 32.  เรี ย กอี ก อย่ า งหนึ ่ ง ว่ า หน่ ว ยประมวล ผลทางการสื ่ อ สาร (Communications Processor)  โดยมากจะเป็ น คอมพิ ว เตอร์ อ ี ก ตั ว หนึ ่ ง ที ่ ท ำ า หน้ า ที ่ เ ฉพาะ ส่ ว นใหญ่ จ ะ มี ห น่ ว ยความจำ า สำ า รองพ่ ว งติ ด อยู ่ กั บ คอนเซนเทรเตอร์ ซึ ่ ง ทำ า หน้ า ที ่ รวมข้ อ มู ล ที ่ ส ่ ง เข้ า มาด้ ว ยความเร็ ว ตำ ่ า จากนั ้ น จะนำ า ข้ อ มู ล ที ่ ร วมกั น
  • 33.
  • 34.
  • 35. หลั ก การทำ า งานของคอนเซนเทรเตอร์ 1 ) การใช้บัฟเฟอร์ (Bu ffe ring) - ข้อมูลที่สงมายังคอนเซนเทรเตอร์มาจากหลายอุปกรณ์และ ่ หลายรูปแบบ - จึงต้องมีการจัดเก็บข้อมูลด้วยบัฟเฟอร์ เพื่อผ่านการจัดการ ของ คอนเซนเทรเตอร์ต่อไป 2) จองเนื้อทีหน่วยความจำาและควบคุมการจัดคิว ่ - มีขั้นตอนทีสลับซับซ้อนมาก ่ - ข้อมูลจากอุปกรณ์รับ-ส่งข้อมูลปลายทางหลาย ๆ เครื่องมีการ ส่งเข้ามาพร้อม ๆ กัน จึงใช้วิธีการจองเนือทีหน่วยความจำา ้ ่ แบบไม่คงที่ (D ynam ic alloc ation) มีการจัดคิวการทำางานที่ จัดการกับข้อมูลก่อนหลัง แล้วจึงส่งผ่านกระแสข้อมูลทีรวม ่ กันแล้วไปยังเครื่องคอมพิวเตอร์
  • 36. หลั ก การทำ า งานของคอนเซนเทรเตอร์ 3) รับข่าวสารจากอุปกรณ์รับส่งข้อมูลปลายทาง - คอยตรวจสอบว่าเมือไรจะมี ข้อมูลส่งเข้ามา ่ - การรอคอยข้อมูลเข้านีเป็นไปในลักษณะทีไม่แน่นอนว่าจะ ้ ่ เกิดขึ้นเมือใด และมาจากสายส่งเส้นไหน ดังนันจึงต้องมีการ ่ ้ ตรวจหา (S c an) ไปตามสายต่าง ๆ ด้วยความเร็วสูงเพือช่วย ่ ป้องกันสัญญาณสูญหายหรือผิดเพี้ยนไป 4) รวมข้อมูลเพือส่งผ่านในสายส่งความเร็วสูง ่ - รวมข้อมูลทีได้รับมาแล้วเปลี่ยนรหัส ่ - จากนันจัดข้อมูลเป็นกลุ่ม โดยจะต้องให้เครื่องคอมพิวเตอร์ ้ ทราบด้วยว่าข้อมูลกลุ่มนันมาจากสถานีไหน โดยเพิ่มรหัส ้ ประจำาสถานีไว้ทสวนต้นของกลุ่มข้อมูล จึงจะอยูในสภาพ ี่ ่ ่ พร้อมที่จะส่งข้อมูล
  • 37. หลั ก การทำ า งานของคอนเซนเทรเตอร์ 5) ตรวจสอบข้อผิดพลาด - ในการส่งข้อมูลด้วยความเร็วสูง แบบซิงโครนัส จะมีการตรวจสอบโดยใช้แพริตี้บิต
  • 38. คอนเซ็นเทรเตอร์สามารถเชื่อมต่อเทอร์มินอลจำานวน หนึ่งเข้ากับโฮลต์หลายเครื่องเพื่อเพิมประสิทธิภาพ ่ ในการทำางานได้
  • 39. ฟร้อนท์เอนด์โปรเซสเซอร์ (Front-End Proce s s or; FEP)  เครื่องคอมพิวเตอร์ชนิดหนึ่งทีมกจะวางไว้ทเดียวกันกับ ่ ั ี่ เครื่องโฮสต์ (ห้องเดียวกัน หรือตั้งไว้ติดกัน)  มีสายเชื่อมต่อเพียงเส้นเดียวไปยังโฮสต์  เป็นคอมพิวเตอร์ชนิดหนึงจึงสามารถทำางานได้เหมือนกับ ่ คอมพิวเตอร์อื่น ๆ ทัวไป ่
  • 40. วัตถุประสงค์หลักของการใช้เครื่องฟร้อนท์เอนด์ โปรเซสเซอร์เป็นการแบ่งเบาภาระทางด้านการติดต่อระบบ เครือข่ายออกจากเครื่องโฮสต์  แม้ว่าการประมวลผลหลักจะเกิดขึ้นทีเครื่องโฮสต์ แต่การ ่ ตรวจสอบความผิดพลาดและการแก้ไขข้อมูลเบื้องต้นเป็น หน้าทีของเครื่อง ฟร้อนท์เอนด์โปรเซสเซอร์ ่  ถ้าข้อมูลทีผิดพลาดถูกส่งไปที่โฮสต์กอาจจะทำาให้เกิดผลเสีย ่ ็ หายร้ายแรงขึ้นได้ แต่ถาให้โฮสต์ตรวจสอบทุกอย่างก็จะ ้ เป็นการเพิ่มภาระงานให้กับโฮสต์
  • 41. สามารถตอบรับการติดต่อผ่านระบบเครือข่าย โทรศัพท์ได้โดยอัตโนมัติ  สามารถรวบรวมข้อมูลเป็นตัวอักษรแต่ละตัวหรือ เป็นกลุ่มตัวอักษรจาก กระแสบิททีรับเข้ามาได้ ่  สามารถวิเคราะห์ผลทางสถิติของข้อมูลได้  สามารถเปลี่ยนรหัสแทนข้อมูลเป็นแบบต่าง ๆ ได้  สามารถตรวจข้อผิดพลาด แก้ไข รวมทั้งการส่งข้อมูล ใหม่ได้  ควบคุมการรับ-ส่งข้อมูลจากเทอร์มนอลได้โดยตรง ิ
  • 42. เปลี่ยนรูปแบบข้อมูลเพือให้เหมาะกับการประมวลผล ่ ทีเครื่องโฮสต์ได้ ่  สามารถทำาการโพลลิ่งแทนโฮสต์ได้ โพลลิ ่ ง คื อ การเลือกถามตามคิว (Q u e u e ) เช่น มี Te rm inal อยู่ 3 เครื่อง ระบบ p olling จะถาม Te rm inal ว่ามีข้อมูลหรือไม่ ถ้าไม่มก็หมดสิทธ์ ผ่าน ี ไป แล้วไปถาม Te rm inal 2 ว่ามีข้อมูลหรือไม่ ถ้ามีก็ ทำาการถ่ายข้อมูลไปให้ p olling ข้อดี ของPolling คือ ไม่เกิดการชนกันของข้อมูล แต่ข้อเสียของ Polling คือหากอุปกรณ์ชำารุดอาจ ทำาให้ระบบเสียได้
  • 43. สามารถใช้โพรโทคอลหลายแบบเพื่อติดต่อกับเทอร์มนอล ิ แต่ละชนิดได้พร้อมกัน  อนุญาตให้เทอร์มนอลสามารถแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างกัน ิ โดยไม่ต้องส่งไปทีโฮสต์กอน ่ ่
  • 44. ชนิดทีโปรแกรมอยู่บนระบบปฏิบัติการ ่  มีระบบปฏิบัติการและโปรแกรมควบคุมการทำางานต่างๆ เป็นตัวของตัวเอง จึงอาจมีการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นได้เสมอ  เช่นฟร้อนท์เอนด์โปรเซสเซอร์ทใช้งานร่วมกับเครื่อง ี่ เมนเฟรมของบริษัทไอบีเอ็ม (เช่น รุ่น 3704, 3750, 3725 และ 3745) มีโปรแกรมชื่อ Ne twork C ontrol Program (NC P) ซึ่งทำาการควบคุมการทำางานและเครื่อง เทอร์มนอลที่มการใช้งาน วิธีการเชื่อมต่อและชนิด ิ ี โปรแกรมทีเทอร์มนอลแต่ละตัวใช้ รวมทังข้อมูลสำาหรับ ่ ิ ้ การรักษาความปลอดภัยของระบบ
  • 45. ชนิดทีเก็บโปรแกรมไว้ในชิป ่  โปรแกรมได้ถกใส่มาแล้วแต่เป็นแบบ Hard Wire d คือ ู โปรแกรมจะถูกเก็บไว้ในคอมพิวเตอร์จึงไม่สามารถแก้ไข เปลี่ยนแปลงได้โดยง่าย  ถูกออกแบบมาให้ทำางานเฉพาะอย่างควบคู่ไปกับเครื่อง โฮสต์บางรุ่นเท่านัน จึงสามารถทำางานร่วมกันได้ดีทสุด แต่ ้ ี่ เนืองจากไม่สามารถแก้ไขได้โดยง่าย ดังนันการ ่ ้ เปลี่ยนแปลงเพียงเล็กน้อยทีเกิดขึ้นกับระบบเครือข่าย เช่น ่ การเพิ่มจำานวนเทอร์มนอล หรือเปลี่ยนแปลงอุปกรณ์เครือ ิ ข่ายบางตัวก็อาจทำาให้เกิดความยุ่งยากขึ้นได้
  • 46. คอนโทรลเลอร์ ( Controller)  เป็นเสมือนการย่อส่วนเครื่อง ฟร้อนท์เอนด์ โปรเซสเซอร์ลงมา  มีหน้าทีการทำางานคล้าย ๆ กันแต่มขีดจำากัดมากกว่า ่ ี  คอนโทรลเลอร์ในปัจจุบันเพียงเครื่องเดียวสามารถ ควบคุมเทอร์มนอลได้เป็นจำานวนมาก ซึ่งอาจมีเครื่อง ิ พีซี เครื่องแฟกซ์ เครื่องพิมพ์หรืออุปกรณ์อื่น ๆ ปนอยู่ ด้วย โดยใช้สายสื่อสารเพียงเส้นเดียวเชื่อมต่อไปยัง โฮสต์
  • 47.
  • 48. เป็นอุปกรณ์ทใช้เปลี่ยน Protoc ol ให้โดยอัตโนมัติ ี่  โปรโทคอล (Protoc ol) คือกฎระเบียบสำาหรับการสื่อสาร ข้อมูลผ่านระบบเครือข่ายผู้ส่งและผู้รับข้อมูลจำาเป็นจะ ต้องใช้โปรโทคอล แบบเดียวกันจึงจะสามารถแลกเปลี่ยน ข้อมูลกันได้ (EBC D IC ) (AS C II)
  • 49. Serial to LAN Converter Model : RS-LAN-1  เป็นอุปกรณ์ที่พัฒนาขึ้น เพื่อใช้เเปลงระบบการรับ- ส่งข้อมูลผ่านทางพอร์ต อนุกรม ตามมาตรฐาน
  • 50. ชนิ ด ของคอนเวอร์ เ ตอร์  คอนเวอร์เตอร์มีอยู่หลายชนิด ชนิดที่มีใช้งานแพร่หลายมักจะถูก ออกแบบมาสำาหรับใช้ในการสื่อสารระหว่างอุปกรณ์สองชนิดที่ แตกต่างกันโดยเฉพาะ คือไม่สามารถนำาไปใช้กับอุปกรณ์ชนิดอื่น ได้ สามารถติดตั้งไว้ที่ฝั่งโฮสต์หรือวางไว้ฝั่งผู้ใช้กได้ ็
  • 51. คอนเวอร์เตอร์อีกชนิดหนึ่งเป็นเพียงโปรแกรมทีติดตั้ง ่ ไว้ในโฮสต์  ถูกเรียกใช้เพื่อสื่อสารกับผู้ใช้ แทนการติดตั้งอุปกรณ์ เพิมเติม ่  วิธีการนีช่วยลดปัญหาในเรื่องการบำารุงรักษาอุปกรณ์ ้ ทังในด้านจำานวนและชนิดทีต้องการ เพราะการใช้ ้ ่ โปรแกรมนันสามารถแก้ไขหรือเปลี่ยนแปลงได้ง่าย ้ กว่า แม้ว่าจะต้องใช้เวลาในการประมวลผลเพิมขึ้น ่ ก็ตาม
  • 52. หน้าทีหลักของเกตเวย์คือช่วยทำาให้เครือข่าย ่ คอมพิวเตอร์ 2 เครือข่าย หรือมากกว่าทีมลักษณะไม่ ่ ี เหมือนกัน (C onne c tivity) สามารถติดต่อกันได้เสมือน เป็นเครือข่ายเดียวกัน  มักจะติดตั้งไว้ในระบบเครือข่ายเฉพาะบริเวณเพื่อใช้ใน การติดต่อสื่อสารกับระบบเครือข่ายอื่น หรือระบบเครือ ข่ายขนาดใหญ่ที่ใช้โพรโทคอลต่างชนิดกัน ดังนัน ้ เกตเวย์จึงทำาหน้าทีเป็นคอนเวอร์เตอร์ด้วย ่
  • 53.
  • 54. การเชื่อมต่อระหว่างเครือข่ายย่อย (S u b ne twork ) ของ วงจรเสมือน (Virtu al) 2 เครือข่าย - มีตัวรีเลย์ทำาหน้าทีอยูระหว่างจุดเชื่อมต่อของเครือข่าย ่ ่ เพือให้สามารถทำาการเปลี่ยนแพ็กเกตจากเครือข่ายหนึ่ง ่ ไปอีกเครือข่ายหนึง จัดการโดยผู้ดแลเครือข่ายของ ่ ู แต่ละเครือข่ายและใช้โพรโทคอลบนสายร่วมกันใช้โพร โทคอล X.75 แพ็กเกตของข้อมูลจะต้องเดินไปตาม ลำาดับของเกตเวย์จะมีการทำางานภายในเป็นแบบดาต้า แกรม -
  • 55. การเชื่อมต่อแบบดาต้าแกรม  ข้อมูลสามารถเดินทางผ่าน เกตเวย์ระหว่างเครือข่ายได้ โดยจะต้องมีการรวมรูปแบบโพรโทคอลในชั้นดาต้าลิงค์ (D ata Link Laye r) ในการส่งผ่านข้อมูล  ในการส่งผ่านข้อมูลนัน ดาต้าแกรมจะทำาการนำาข้อมูลที่ ้ ได้รับจากส่วนหัวและส่วนหางเพื่อสร้างเป็นเฟรมและ เฟรมนีถูกส่งผ่านไปยังเครือข่ายที่ 1 เมือดาต้าไปถึง ้ ่ เกตเวย์ ข้อมูลส่วนหัวและส่วนหางของชั้นดาต้าลิงค์จะ ถูกถอดออกเหลือแต่ดาต้าแกรมล้วน ๆ อีกครั้ง
  • 56. การเชื่อมต่อแบบดาต้าแกรม  เมือเดินทางไปยังเครือข่ายที่ 2 จะมีการแยกเฟรมทีแตก ่ ่ ต่างกันออกไปของแต่ละเกตเวย์  กระบวนการแยกและรวมเฟรมนีจะทำาซำ้าไปมาจนกระทัง ้ ่ ดาต้าแกรมไปถึงโฮสต์ปลายทางแต่ละเครือข่าย
  • 57. เกตเวย์ แ บบอะซิ ง โครนั ส  ทำาหน้าที่เปลี่ยนรูปแบบข้อมูลของเครือข่ายแลนให้ เป็นแบบอะซิงโครนัสก่อนส่งออกไปสู่สายสื่อสาร เพือติดต่อกับอุปกรณ์ อื่น ๆ ภายนอกเครือข่าย ่  ทำาหน้าที่รับข้อมูลจากอุปกรณ์อะซิงโครนัส เช่น โมเด็มแบบอะซิงโครนัส เพื่อเปลี่ยนรูปแบบข้อมูล มาเป็นแบบทีใช้อยูในเครือข่ายแลน ่ ่  เกตเวย์แบบอะซิงโครนัสทีรู้จักกันดี ได้แก่ ่  X.25 เกตเวย์  T-1 เกตเวย์  เกตเวย์ที่รวมโมเด็มอะซิงโครนัสอยู่ในเครื่องเดียวกัน
  • 58. เกตเวย์ แ บบซิ ง โครนั ส  ทำาหน้าที่ในการช่วยให้ผู้ใช้ (Us e r) ภายในเครือข่ายLAN ให้สามารถ ติดต่อกับคอมพิวเตอร์เมนเฟรมภายนอกเครือ ข่ายโดยผ่านทางโมเด็มแบบซิงโครนัส  เกตเวย์แบบซิงโครนัสทีรู้จักกันดี ได้แก่ ่  เกตเวย์ เอสเอ็นเอ (S ys te m Ne twork Arch ite ctu re ; S NA)  เกตเวย์แบบอาร์เจอี (Re m ote Job Entry; RJE)
  • 59. เกตเวย์ แ บบซิ ง โครนั ส  ทำาหน้าที่เป็นอุปกรณ์เพือให้เครื่องพีซในเครือข่ายทำางาน ่ ี “เสมือน” เป็นเทอร์มนอลของเครื่องเมนเฟรมภายนอก ิ เครือข่าย  ส่วนทำาหน้าทีเป็นฟรอนด์เอ็นโปรเซสเซอร์ โดยจะสนับ ่ สนุนโพรโทคอลแบบซิงโครนัส เช่น BIS YN หรือ S D LC เป็นต้น
  • 60. ทำาหน้าที่แปลง Pack age ของเครือข่ายหนึงให้เครือข่า ่ ยอื่นๆ เข้าใจ  การติดต่อข้ามเครือข่ายกัน หรือรวมหลาย ๆ เครือข่าย เข้าด้วยกันเรียกว่าเครือข่ายอินเทอร์เน็ต โดยแต่ละเครือ ข่ายจะเรียกว่าเครือข่ายย่อย (S u b ne twork)  ทำาหน้าที่ในการเชื่อมโยงแต่ละเครือข่ายเข้าด้วยกันตาม มาตรฐาน IS O เรียกว่า IWU (Inte r Working Unit) อุปกรณ์ IWU ดังกล่าวนีมี 2 แบบ คือ ้ ▪ เราเตอร์ ▪ บริดจ์
  • 61. สามารถหาช่องทางเชื่อมต่อ ระหว่างสองจุดไกลๆ ทีดี ่ ทีสุดให้ ใช้ในระบบเครือข่ายขนาดใหญ่เท่านั้น ่  ภายในจะมีหน่วยความจำาขนาดใหญ่ เพื่อจดจำา IP ad d re s s ของทังโลก โดยจำาเฉพาะใกล้ๆ ถ้าไกลออก ้ ไปจะส่งสัญญาณไปเช็คจาก rou te r ตัวถัดไปเรื่อยๆ จนกว่าจะถึง IP ad d re s s ทีต้องการ แล้วจึงสร้างช่อง ่ ทางเสมือนให้สองเครื่องเชื่อมต่อกันได้  ทำางานใน Laye r3 (Network Layer)
  • 62.
  • 63. เป็นอุปกรณ์ทมกจะใช้ในการเชื่อมต่อวงแลนเข้าด้วย ี่ ั กัน ทำาให้สามารถขยายขอบเขตของ LAN ออกไปได้ เรื่อยๆ โดยทีประสิทธิภาพรวมของระบบ ไม่ลดลงมาก ่ นัก  มักจะถูกใช้ในการเชื่อมเครือข่ายย่อย ๆ ในองค์กร เข้าด้วยกันเป็นเครือข่ายใหญ่ เพียงเครือข่ายเดียว เพือให้เครือข่ายย่อยๆ เหล่านันสามารถติดต่อ ่ ้ กับเครือข่ายย่อยอื่นๆ ได้  ทำางานใน Laye r2 (Data Link Layer)
  • 64. หน้ า ที ่ แ ละลั ก ษณะที ่ ส ำ า คั ญ ของบริ ด จ์
  • 65.
  • 66. Router  ทำางานในชั้น Network Layer มีการทำางานทีซับซ้อน ่ กว่าบริดจ์ โดย Router จะคำานวณหาเส้นทางทีดที่สุดใน ่ ี การส่งข้อมูล ใช้ข้อมูลหมายเลขทีอยู่ IP Address ่  Bridge  ทำางานในชั้น Data Link Layer ใช้ข้อมูลจากหมายเลข MAC Address
  • 67. เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ในการเปลี่ยนตัวกลางนำาสัญญาณจาก ตัวกลางหนึ่งไปยังอีกตัวกลางหนึ่ง  การใช้รีพตเตอร์จะทำาให้เครือข่ายทั้งสอง เสมือนเชื่อมกัน ี โดยที่สัญญาณจะวิ่งทะลุถึงกันได้หมด รีพตเตอร์จึงไม่มีการ ี กันข้อมูล มีประโยชน์ในการเชือมต่อความยาวในการส่ง ่ ข้อมูลให้ยาวขึ้น  ทำางานในชั้นที่1 Ph ys ic al Laye r  ทำาหน้าที่รับสัญญาณดิจิตอลเข้ามาแล้วสร้างใหม่ (Re ge ne rate ) ให้เป็นเหมือนสัญญาณ (ข้อมูล) เดิมที่สงมา ่ จากต้นทาง จากนั้นค่อยส่งต่อออกไปยังอุปกรณ์ตัวอื่น
  • 68. มีหน้าทีแปลงสัญญาณข้อมูลจากสัญญาณดิจิทลเป็น ่ ั สัญญาณอนาลอก และการแปลงสัญญาณอนาลอกเป็น สัญญาณดิจิทล ั  โมเด็มในปัจจุบันส่วนใหญ่จะมีชิปประมวลผล (Proce s s or) และหน่วยความจำา (RO M) อยูในตัวเครื่อง ่
  • 69. โมเด็มทีเป็นอุปกรณ์ต่อพ่วงภายนอกเครื่อง ่ คอมพิวเตอร์ (Exte rnal Mod e m )  โมเด็มทีเป็นแผงวงจรต่อพ่วงเข้ากับแผงวงจรหลักใน ่ เครื่องคอมพิวเตอร์ (Inte rnal Mod e m )
  • 70. 1 ) ความเร็วในการรับ– ส่งสัญญาณ หมายถึง อัตรา (Rate ) ที่โมเด็มสามารถทำาการแลกเปลี่ยนข้อมูลกับโมเด็ม อื่น ๆ มีหน่วยเป็นบิต /วินาที (b p s ) หรือกิโลบิต/วินาที (kb p s ) ในการบอกถึงความเร็วของโมเด็มเพือให้ง่ายใน ่ การพูดและจดจำา - 2) ความสามารถในการบีบอัดข้อมูล ข้อมูลข่าวสารทีส่ง ่ ออกไปบนโมเด็มนัน สามารถทำาให้มขนาดกะทัดรัด ด้วย ้ ี วิธีการบีบอัดข้อมูล (C om p re s s ion) ทำาให้สามารถส่ง ข้อมูลได้ครั้งละเป็นจำานวนมาก ๆ
  • 71. 3) ความสามารถในการใช้เป็นโทรสาร โมเด็มรุ่นใหม่ ๆ สามารถส่งและรับ โทรสาร (Fax C ap ab ilitie s ) ได้ดีเช่นเดียวกับการรับและส่งข้อมูล หากมีซอฟต์แวร์ทเหมาะสมแล้วก็จะสามารถใช้แฟกซ์ ี่ โมเด็มเป็นเครื่องพิมพ์ (Printe r) ได้ เมือพิมพ์เข้าไปที่ ่ แฟกซ์โมเด็มก็จะส่งเอกสารไปยังเครื่องโทรสารทีปลาย ่ ทางได้
  • 72. 4) ความสามารถในการควบคุมความผิดพลาด โมเด็มจะใช้ วิธีการควบคุมความผิดพลาด(Error C ontrol) ต่าง ๆ มากมายหลายวิธีในการตรวจสอบเพือการยืนยันว่าจะ ่ ไม่มข้อมูลใดๆ สูญหายไประหว่างการส่งถ่ายข้อมูลจาก ี คอมพิวเตอร์เครื่องหนึงไปยังอีกเครื่องหนึง ่ ่ 5 ) ออกแบบให้ใช้ได้ทั้งภายในและภายนอก โมเด็มที่ จำาหน่ายในท้องตลาด ทัว ๆ ไป จะมีอยู่ 2 รูปแบบ คือ ่ โมเด็มแบบติดตั้งภายนอก (Exte rnal Mod e m ) และแบบ ติดตั้งภายใน (Inte rnal Mod e m )
  • 73. 6) สามารถใช้กบอินเตอร์เฟสต่าง ๆ ทีใช้มาตรฐาน IEEE ั ่ หรือ C C ITT ได้ 7) สามารถรับและส่งข่าวสารได้ทงเสียง ภาพ ข้อความ ั้ และข้อมูลได้
  • 74. จำาแนกตามลักษณะการติดตั้งและการใช้งานแบ่งได้ เป็น 4 ประเภท 1 ) โมเด็มชนิด PC MC IA และ C e llu lar Mod e m โมเด็ม แบบ PC MC IA หรือ PC C ard เป็นโมเด็มทีมขนาดเล็ก ่ ี ทีสุด มีขนาดเท่าบัตรเครดิต ได้รับการออกแบบเพือใช้ ่ ่ กับคอมพิวเตอร์แบบโน้ตบุ๊กส่วนประกอบของโมเด็มชนิด นีจะมีลักษณะคล้ายกับโมเด็มชนิดติดตั้งภายใน ้
  • 75. จำาแนกตามลักษณะการติดตั้งและการใช้งานแบ่งได้ เป็น 4 ประเภท 2) โมเด็มชนิดกระเป๋า (Poc k e t Mod e m ) โมเด็มขนาด เล็กประกอบด้วยวงจรเหมือนโมเด็มชนิดติดตั้งภายนอก โมเด็มชนิดนีมีความเหมาะสมกับคอมพิวเตอร์ชนิด ้ Lap top และชนิดโน้ตบุ๊ก
  • 76. จำาแนกตามลักษณะการติดตั้งและการใช้งานแบ่งได้ เป็น 4 ประเภท 3) โมเด็มชนิดติดตั้งภายนอก โมเด็มชนิดนีมลักษณะการ ้ ี เชื่อมต่อกับคอมพิวเตอร์อยูภายนอก โมเด็มชนิดนีติดตั้ง ่ ้ ผ่านพอร์ตอนุกรม (S e rial) และพอร์ตยูเอสบี (US B)
  • 77. จำาแนกตามลักษณะการติดตั้งและการใช้งานแบ่งได้ เป็น 4 ประเภท 4) โมเด็มชนิดติดตั้งภายใน โมเด็มชนิดนีติดตั้งอยู่ ้ ภายในคอมพิวเตอร์มลักษณะเป็นแผงวงจรนำามาเสียบ ี กับเมนบอร์ดภายในคอมพิวเตอร์หรือลักษณะเป็นการ์ด เสียบลงในช่องเสียบ (S lot ) ภายในคอมพิวเตอร์
  • 78. โมเด็มทัวไปที่ใช้งานกันอยูนั้นเรียกว่า ่ ่ ดาต้า/แฟกซ์(D ata/Fax)  ส่งได้เฉพาะข้อมูล และโทรสาร  การส่งข้อมูลนั้นจะส่งเป็นสัญญาณดิจิทลั  ชิปที่ใช้งานประมวลผลเฉพาะข้อมูลและโทรสาร โมเด็มอีกประเภทหนึงทีเพิมคุณสมบัติการประมวลผลเสียงได้ ่ ่ ่ เรียกว่า ดาต้า/แฟกซ์/วอย (D ata/Fax/Voice )  โมเด็มนีจะเพิ่มส่วนของตัวแปลงสัญญาณเสียงพูดเป็นอนา ้ ลอกให้เป็นดิจิทลทีประมวลผลได้ (Analog to D igital ั ่ C onve rte r; AD C )
  • 79. ปัจจุบันโมเด็มทีเป็นทีนิยมเป็นโมเด็มประเภทแรกเท่านัน ่ ่ ้ คือ ประเภททีทำางานเป็นเครื่องตอบและรับอัตโนมัติได้ แต่ ่ ประเภททีส่งเสียง (Voic e ) พร้อมกับส่งข้อมูล (D ata) ได้ ่ นำามาทำาเป็นระบบตอบโทรศัพท์อัตโนมัติ (Au tom atic Ans we ring Matc h ing )
  • 80. เครื่องตรวจสอบอุปกรณ์ (D iagnos tic Equ ip m e nt)  อุปกรณ์ตรวจสภาพสายสื่อสาร (Line Monitor)  ตรวจนับปริมาณข้อมูลที่ถูกส่งออกไปแล้วคำานวณเป็นตัวเลข ทางสถิติที่ต้องการ  รวบรวมข้อมูลที่เกิดขึ้นทังหมดจากอุปกรณ์ต่าง ๆ เช่น มัลติ ้ เพล็กเซอร์ คอนเซ็นเทรเตอร์ คอนโทรลเลอร์ และข้อมูลจาก โปรแกรมควบคุมเครือข่าย เพือแสดงผลออกทาง หน้าจอ ซึ่ง ่ เจ้าหน้าที่เทคนิคสามารถนำาข้อมูลนี้ไปใช้ในการค้นหาจุด บกพร่องหรืออุปกรณ์ที่เสียหายได้  กล่องตรวจสอบสัญญาณ (Bre akou t Box)
  • 81. เครื่องตรวจสอบอุปกรณ์ (D iagnos tic Equ ip m e nt)  กล่องตรวจสอบสัญญาณ (Bre akou t Box)  การส่งสัญญาณผ่านสายสื่อสารโดยเฉพาะสายลวดทองแดง นั้นมักจะอยู่ในรูปของแรงดันไฟฟ้า ซึ่งการส่งสัญญาณที่ สมบูรณ์จะต้องมีขนาดแรงดันไฟฟ้าที่เหมาะสม สายสัญญาณที่ ต่อผ่านกล่อง ตรวจสอบสัญญาณนี้จะส่งแรงดันไฟฟ้าที่เกิดขึ้น ผ่านอุปกรณ์ภายในตัวอุปกรณ์ฯ จึงสามารถแสดงให้เห็น สภาพของสัญญาณที่ดีและไม่ดีที่เกิดขึ้นได้
  • 82. อุปกรณ์รวมพอร์ตและเลือกพอร์ต  ในกรณีทจำาเป็นต้องต่ออุปกรณ์หลายชนิดเข้ากับโฮสต์ ี่ ทีอาจมีจำานวนพอร์ตไม่เพียงพอก็อาจใช้อุปกรณ์รวม ่ พอร์ต (Port C onc e ntrator) ช่วยได้ เช่น โฮสต์มี พอร์ตเพียงพอร์ตเดียว จึงต้องใช้อุปกรณ์รวมพอร์ตมา เชื่อมต่อระหว่างโฮสต์เข้ากับมัลติเพล็กเซอร์

Notas do Editor

  1. การมัลติเพล็กซ์แบบแบ่งความถี่ จะอนุญาตให้ผู้ส่งหรือสถานีส่งจำนวนหลาย ๆ สถานี และสถานีฝ่ายรับสามารถสื่อสารร่วมกันอยู่บนสายสัญญาณเดียวกันได้ ด้วยการใช้เทคนิคแบบแอนะล็อกที่ข้องเกี่ยวกับแบนด์วิดธ์ของลิงก์ หรือตัวกลางส่งข้อมูลเป็นสำคัญ โดยสัญญาณต่าง ๆ จะถูกสร้างขึ้นจากแต่ละสถานีส่ง ด้วยการมอดูเลตกับสัญญาณพาหะให้มีความถี่ที่แตกต่างกันบนตัวกลาง กล่าวคือ แบนด์วิดธ์ของลิงก์จะมีการแบ่งส่วนเป็นย่านความถี่ย่อย ( Sub Channel) ให้เพียงพอกับแบนด์วิดธ์ที่มีอยู่ อย่างไรก็ตาม แต่ละแชนแนลก็จะมีแบนด์วิดธ์ที่ไม่ได้ถูกใช้หรือที่เรียกว่า Guard Band เพื่อป้องกันไม่ให้แต่ละแชนแนลเกิดการแทรกแซงสัญญาณระหว่างกัน
  2. การมัลติเพล็กซ์แบบแบ่งเวลา เหมาะกับสัญญาณแทนข้อมูลแบบดิจิตอล เนื่องจากสัญญาณดิจิตอลนั้นจะมีช่วงเวลาที่แน่นอนของบิตแต่ละบิต จึงทำให้สามรถมัลติเพล็กซ์แบบแบ่งเวลาให้มีความสอดคล้องกับเวลาของบิตได้ แต่อย่างไรก็ตาม การมัลติเพล็กซ์แบบแบ่งเลานี้จะข้องเกี่ยวกับอัตราความเร็ว ( Data Rate) ของตัวกลางส่งข้อมูลเป็นสำคัญ โดยสัญญาณที่มีอัตราความเร็วต่ำหลาย ๆ สัญญาณ เมื่อนำมามัลติเพล็กซ์รวมกันก็จะได้สัญญาณที่มี Data Rate ที่สูงขึ้น โดยการมัลติเพล็กซ์แบบแบ่งเวลานี้ ยังสามารถแบ่งย่อยออกเป็น “ การมัลติเพล็กซ์แบบแบ่งเวลาในรูปแบบซิงโครนัส” และ “ การมัลติเพล็กซ์แบบแบ่งเวลาในรูปแบบสถิติ”
  3. ซิงโครนัสทีดีเอ็ม ( Sync TDM) จะอนุญาตให้ข้อมูลจากแต่ละแหล่งมาหมุนเวียนเพื่อส่งข้อมูลไปบนสายส่งข้อมูลความเร็วสูง ด้วยการใช้หลักการเดียวกับ Round-Robin เช่น มีจำนวน n ที่อินพุตเข้ามา ซิงโครนัสทีดีเอ็มก็จะให้ชิ้นส่วนของข้อมูล เช่น ไบต์ข้อมูล จากอุปกรณ์ส่งผ่านไปยังสายส่งข้อมูลความเร็วสูง จากนั้นก็ให้อุปกรณ์ที่จะอินพุตในลำดับถัดไปส่งไบต์ข้อมูลผ่านสายส่งข้อมูลความเร็วสูงหมุนเวียนต่อไปเรื่อย ๆ และจะเกิดอะไรขึ้ น หากสถานีผู้ส่งบางสถานีที่ไม่ต้องการส่งข้อมูลในช่วงเวลาขณะนั้น จะเห็นได้ว่ามีเพียงยูสเซอร์ A เท่านั้นที่ต้องการส่งข้อมูล ในขณะที่ยูสเซอร์อื่น ๆ ไม่มีข้อมูลที่ต้องการส่งหรือเรียกว่าอยู่ในสถานะ Idle ดังนั้น หากสถานีอื่น ๆ ที่ไม่ไดมีการส่งข้อมูล มัลติเพล็กเซอร์ก็จะทำการส่งสลอต ( Slot) ข้อมูลของสถานีที่ Idle ผ่านสายส่งข้อมูลด้วยความเร็วสูง โดยสลอตดังกล่าวนี้จะเป็นสลอตว่าง ซึ่งการส่งสลอตว่างออกไปก็เพื่อจุดประสงค์ให้คงลำดับเหมือนเดิม โดยตัวอย่างการซิงโครนัสทีดีเอ็มที่นิยมใช้กันในปัจจุบัน เช่น T-1 Multiplexing, ISDN Multiplexing และ SONET เป็นต้น
  4. 1. จะได้เวลาในการส่งเท่ากันทุกตัว 2. ถึงแม้ผู้ส่งไม่มีอะไรจะส่งก็ต้องจองเวลาไว้ให้ 3. อุปกรณ์แต่ละตัวจะอยู่ในกระบวนการ Interleaved 4. Time slot จะอยู่ในระดับคงที่เท่ากันทุกตัว และจะแบ่งเวลาไว้ให้แม้จะไม่มีข้อมูล 5. จะแบ่งเวลาไปให้เครื่องอื่นไม่ได้เพราะถูกจองไว้เฉพาะเครื่อง Interleaved** Synchronous TDM สามารถเปรยบเหมือนกับ Switch ที่หมุนเมื่อ Switch หมุนถึงผู้ส่งก็จะดึงข้อมูลทีละ 1 ตัวและหมุนด้วยความเร็วที่คงที่ แต่ถ้าไม่มีข้อมูลก็จะเป็น slot ว่าง
  5. การมัลติเพล็กซ์แบบ FDM และ Sync TDM นั้นจะไม่มีการการันตีปริมาณความจุของลิงก์ที่ใช้งาน กล่าวคือจำเป็นต้องสิ้นเปลืองไปกับสลอตว่างเปล่าที่ส่งไปพร้อมกับตัวกลางโดยใช่เหตุ ในกรณีที่อุปกรณ์ต้นทางไม่มีการส่งข้อมูล แต่ก็จำเป็นต้องส่งสลอตว่างออกไปเพื่อคงลำดับในข้อมูล เนื่องจากไทม์สลอต ( Time Slot) ได้มีการกำหนดขึ้นมาก่อนและมีความคงที่นั่นหมายถึงปริมาตรความจุข้อมูลบนลิงก์ก็จะสูงเสียไปแล้วครึ่งหนึ่ง การมัลติเพล็กซ์แบบแบ่งเวลาในรูปแบบสถิติ ( Stat TDM) อาจเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า อะซิงโครนัสทีดีเอ็ม ( Asynchronous TDM) เป็นการมัลติเพล็กซ์เชิงสถิติที่ข้อมูลสามารถส่งร่วมกันบนสายในลักษณะแบบแบ่งเวลาตามความต้องการ ( On-Demand) ซึ่งออกแบบมาเพื่อหลีกเลี่ยงการสูญเสียสลอตว่างเปล่าของสถานีที่ไม่การส่งข้อมูล ดังนั้น ข้อมูลที่ส่งจะถูกส่งไปยังบนสายเฉพาะสถานีที่ต้องการส่งข้อมูลเท่านั้น ถึงแม่ว่าซิงโครนัสทีดีเอ็มจะมีความคล้ายคลึงกับสแตตทีดีเอ็ม ตรงที่อนุญาตให้จำนวนอินพุตหลาย ๆ อินพุตที่มีความเร็วต่ำ มาทำการมัลติเพล็กซ์ด้วยสายส่งข้อมูลเส้นเดียวที่มีความเร็วสูง แต่จะมีความแตกต่างกันตรงที่สแตตทีดีเอ็มจะมีความเร็วโดยรวมของข้อมูลที่อินพุตเข้ามา บนสายส่งมากกว่าแบบซิงโครนัสทีดีเอ็มที่ต้องสูญเสียไปกับสลอตว่างเปล่า จะเห็นได้ว่าในช่วงเวลาขณะนั้น จะมีเพียงยูสเซอร์ A และยูสเซอร์ C ที่ต้องการส่งข้อมูลในขณะที่ยูสเซอร์อื่น ๆ ไม่มีการส่งข้อมูล ก็จะไม่มีการส่งสลอตว่างออกไปบนสายส่ง
  6. STDM เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า อินเทลลิเจนท์ TDM (Intelligent TDM) STDM เป็นวิธีการมัลติเพล็กซ์ที่ปรับปรุงการทำงานมาจากวิธีซิงโครนัส TDM ให้มีประสิทธิภาพสูงยิ่งขึ้นเพื่อรองรับจำนวนช่องทางให้ได้มากขึ้น การกำหนดช่วงเวลาส่งข้อมูลจะเปลี่ยนแปลงไปตามสถานการณ์คือเทอร์มินอลที่ไม่มีข้อมูลส่ง ก็จะไม่กำหนดช่วงเวลา ผลคือสามารถลดช่วงเวลาว่างลงได้อย่างมาก อาจกล่าวได้ว่า MUX แบบ TDM ทำงานโดยมีเวลาเป็นตัวผลักดัน ในขณะที่ MUX แบบ STDM มีข้อมูลและเวลาเป็นตัวผลักดัน
  7. ปัจจุบันได้มีการพัฒนาเทคนิคใหม่ ที่เรียกว่า การผสมสัญญาณตามความยาวคลื่นแบบหนาแน่นสูง (Dense Wavelength Division Multiplexing :DWDM) ซึ่งมีความสามารถในการรวบรวมข้อมูลจาก 80 ช่องสัญญาณเข้าด้วยกัน เพื่อส่งออกทางสายสัญญาณเพียงเส้นเดียว
  8. กำหนดให้ผู้ใช้กลุ่มหนึ่งใช้คลื่นความถี่หรือช่องสัญญาณเดียวกัน เมื่อผู้ใช้คนหนึ่งกำลังใช้โทรศัพท์ ผู้ใช้คนอื่นจะไม่สามารถใช้โทรศัพท์ได้จนกว่าช่องสัญญาณนั้นจะว่าง คือผู้ใช้คนเดิมเลิกใช้โทรศัพท์หรือเคลื่อนที่ไปยังเซลล์อื่น ต่อมาระบบโทรศัพท์ส่วนใหญ่ได้พัฒนาไปใช้การสื่อสารระบบดิจิทัลทำให้การผสมสัญญาณแบบนี้ถูกยกเลิกไป
  9. ระบบ TDMA จะกำหนดจำนวนผู้ใช้ไว้เพียงกลุ่มละ 3 คนเท่านั้นและมักจะทำงานร่วมกับการผสมคลื่นแบบ FDMA เพื่อให้เกิดความคล่องตัวมากขึ้น
  10. ผู้ใช้สามารถนำบัตรสมาร์ทการ์ด นี้ ติดตัวไปเพื่อใช้กับอุปกรณ์มือถือ โทรศัพท์ที่บ้าน โทรศัพท์ที่ทำงาน หรืออุปกรณ์สื่อสารใด ๆ ก็ได้ ตัวควบคุมระบบศูนย์กลางจะมองเห็นอุปกรณ์ที่ผู้ใช้กำลังใช้งานอยู่เป็นของผู้ใช้คนนั้นเสมอ เช่น ไม่ว่าจะใช้อุปกรณ์ใด ณ ที่ใดก็จะเป็นหมายเลขโทรศัพท์เดิมของผู้ใช้คนนั้น
  11. การต่อมัลติเพล็กเซอร์แบบแคสเคด มักซ์สามารถนำมาใช้เชื่อมต่อสายสื่อสารเข้ากับมักซ์ตัวอื่นได้ เช่น มักซ์ตัวแรกเชื่อมเทอร์มินอล 4 ตัวต่อเข้าด้วยกันและเดินทางผ่านเครือข่ายโทรศัพท์เพื่อต่อเข้ากับมักซ์ตัวที่สอง มักซ์ตัวที่สองจะทำหน้าที่เป็นดีมักซ์ ( De multiplexer) ทำการแยกสัญญาณออกเป็น 4 ช่องสัญญาณเหมือนเดิม สายทั้ง 4 เส้นนี้รวมกับสายสัญญาณอื่น ๆ ต่อเข้ากับมักซ์ตัวที่สามผ่านสายสื่อสารความเร็วสูง ซึ่งอาจเป็นสาย WAN ไปสิ้นสุดที่เครื่องโฮสต์ และมีดีมักซ์อยู่อีกตัวหนึ่ง รูปแบบการต่อนี้ เรียกว่า การต่อมัลติเพล็กเซอร์แบบแคสเคด ( Cascading Multiplexers) เหมาะสำหรับองค์กรที่มีพนักงานกระจายอยู่ในสถานที่ต่างกันหลายแห่ง ซึ่งจะช่วยลดค่าใช้จ่ายในการเช่าสายวงจรเช่าลงได้มาก
  12. คอนเซนเทรเตอร์เป็นอุปกรณ์อีกชนิดหนึ่งที่ทำหน้าที่คล้ายกับมักซ์ คือ รวมสัญญาณจากสายสื่อสารหลายเส้นเข้าด้วยกันเพื่อส่งออกทางสายสื่อสารเพียงเส้นเดียว มีความต่างกันในรายละเอียดและวิธีนำมาใช้งาน มักซ์จำเป็นต้องใช้งานเป็นคู่เสมอ คอนเซนเทรเตอร์ใช้เพียงเครื่องเดียวและยังมีขีดความสามารถในการประมวลผลและเก็บข้อมูลได้ด้วย
  13. เนื่องจากคอนเซนเทรเตอร์มีตัวประมวลผลและหน่วยบันทึกข้อมูลในตัวเอง จึงสามารถทำงานร่วมกับเทอร์มินอลได้ แม้ว่าสายสื่อสารที่ติดต่อกับโฮสต์จะเสียหายหรือถูกยกเลิกเป็นการชั่วคราว ข้อมูลจากเทอร์มินอลจะถูกเก็บรักษาไว้อย่างดีและนำส่งต่อไปยังโฮสต์เมื่อสายสื่อสารสามารถใช้งานได้ตามปกติ
  14. เช่น การเบิกเงินสดจากเครื่องเอทีเอ็มมี ข้อกำหนดให้เบิกได้ไม่เกิน 20,000 บาทต่อหนึ่งวัน ถ้าผู้ใช้เครื่องเอทีเอ็มพิมพ์ตัวเลขเกินจำนวนดังกล่าว ข้อมูลที่ส่งไปที่โฮสต์จะต้องถูกปฏิเสธกลับมาแน่นอน เครื่องฟร้อนท์เอนด์โปรเซสเซอร์สามารถตรวจความ ผิดปกตินี้และแก้ไขโดยไม่ส่งข้อมูลนั้นไปให้โฮสต์แต่ส่งข้อความเตือนกลับไปยังเครื่องเอทีเอ็มนั้นแทน
  15. เช่น ในเครื่องพีซีส่วนใหญ่จะใช้รหัสแทนข้อมูลแบบแอสกี ( ASCII) เครื่องเมนเฟรมไอบีเอ็มส่วนใหญ่ใช้รหัสเอ็บซีดิก ( EBCDIC) การสื่อสารระหว่างเครื่องทั้งสองชนิดนี้จึงต้องมีการเปลี่ยนรหัสแทนข้อมูลจึงจะสามารถสื่อสารกันได้ ซึ่งคอนเวอร์เตอร์สามารถทำหน้าที่นี้ได้เป็นอย่างดี