SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 47
Baixar para ler offline
วิชาภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔
ครูกิ่งกาญจน์ สมจิตต์
“ภาษา”
มีรากศัพท์จากภาษาสันสกฤต
แปลว่า คาพูด หรือถ้อยคา
พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.
๒๕๔๒ ให้ความหมายของคาว่าภาษา
คือ เสียงหรือกิริยาอาการที่ทาความเข้าใจ
กันได้ คาพูดถ้อยคาที่ใช้พูดจากัน
เครื่องมือในการสื่อความหมาย
ซึ่งใช้ถ่ายทอดความคิด ความรู้สึก ความ
ต้องการของคนให้ผู้อื่นทราบ ไม่ว่าจะเป็น
เสียงพูด ถ้อยคากิริยาอาการ หรือ
สัญลักษณ์ต่าง ๆ
ภาษา หมายถึง
 ภาษาในความหมายอย่างกว้าง
 หมายถึง กริยาอาการที่แสดงออกมาแล้วสามารถทาความเข้าใจ
กันได้ ไม่ว่าจะเป็ นระหว่างมนุษย์กับมนุษย์ มนุษย์กับสัตว์ หรือ
สัตว์กับสัตว์
 ภาษาในความหมายอย่างแคบ
 หมายถึง เสียงพูดที่มนุษย์ใช้สื่อสารกันเท่านั้น
๑. เกิดจากการสมมุติ หรือเกิดจากการคิดคา
ขึ้นมาใช้ในการสื่อสาร
๒. เกิดจากการเลียนเสียงสิ่งต่างๆ
๓. เกิดจากเสียงอุทาน
๔. เกิดจากเสียงที่ร้องขึ้นจากการทางานร่วมกัน
๑. เสียง
๒. แบบสร้าง(พยางค์ คา
กลุ่มคา และประโยค)
๓. ความหมาย
๑. ภาษาที่ใช้ถ้อยคา หรือ วัจนภาษา (Verbal
Language)
๒. ภาษาที่ไม่ใช้ถ้อยคา หรือ อวัจนภาษา
(Non-Verbal Language)
จักษุภาษา คือ ภาษาที่อาศัยดวงตาใน
การรับสาร
โสตภาษา คือ ภาษาที่เกิดจากการใช้หู
รับฟัง เพื่อรับสาร
สัมผัสภาษา คือ ภาษาที่เกิดจากการใช้
มือสัมผัสเพื่อรับสาร เรียกอีกอย่างหนึ่ง
ว่า ผัสสภาษา
๑. ภาษาเป็นเครื่องมือในการสื่อสาร
๒. ภาษา ทาให้เกิดความเป็นอันหนึ่งอัน
เดียวกัน และความสามัคคี ภาษามีบทบาท
ทาให้คนในชาติซึ่งพูดภาษาเดียวกันผูกพัน
กันและมีความสานึกในเชื้อชาติ เผ่าพันธุ์
๓. ภาษาเป็นภาพสะท้อนความเจริญทางสังคม
และเป็นหลักฐานแสดงอารยธรรมต่าง ๆ ของ
สังคม
๔. ภาษาเป็นเครื่องมือในการบันทึกและ
ถ่ายทอดทางวัฒนธรรม
๕. ภาษาเป็นศิลปะ
๑. ภาษาแสดงความเป็นปัจเจกบุคคล
๒. ภาษาช่วยให้มนุษย์พัฒนา
๓.ภาษาช่วยกาหนดอนาคต
๔.ภาษาช่วยจรรโลงใจ
๑. ภาษาใช้เสียงสื่อความหมาย และมีการใช้
อย่างเป็น ระบบกฎเกณฑ์
โดยเสียงของคาในภาษาส่วนใหญ่ ไม่สัมพันธ์
กับความหมาย เช่น
กิน หิน บิน ริน ชิน
สวย รวย มวย ด้วย
ยกเว้น บางคา ที่มีเสียงสัมพันธ์กับความหมาย
เช่น
เสียงสระเอ สื่อความหมายว่า ไม่ตรง เช่น
เข เป๋ เซ เก เหล่ เห
คาที่ประสมสระออ มี “ม” หรือ “น” สะกด
จะมีความหมายไปในทางงอหรือโค้ง - งอนง้อ
อ้อมค้อม น้อม อ้อม
คาเลียนเสียงธรรมชาติ เช่น แมว กา กริ่ง
๒. หน่วยในภาษาประกอบกันเป็นหน่วยที่ใหญ่ขึ้น
ได้
ไ - ป ไป
ฉันไป
ฉันไปเที่ยวที่เนปาล
ฉันไปเที่ยวที่เนปาลเมื่อเดือนที่แล้ว
ฉันไปเที่ยวที่เนปาลกับเพื่อนๆเมื่อเดือน-
ที่แล้ว สนุกและตื่นเต้นมาก
๓. ภาษามีการเปลี่ยนแปลง
การเปลี่ยนแปลงด้านการออกเสียง
- การกลืนเสียง เช่น อย่างนั้น เป็น ยังงั้น
- การกลายเสียง เช่น สะพาน เป็น ตะพาน
- การตัดเสียง เช่น อุโบสถ เป็น โบสถ์
- การกร่อนเสียง เช่น ลูกอ่อน เป็น ละอ่อน
- การสับเสียง เช่น ตะกรุด เป็น กะตุด(ในภาษาถิ่นอีสาน)
การเปลี่ยนแปลงด้านคา
- การยืมคาภาษาอังกฤษมาใช้ทาให้เกิดอักษร
ควบกล้าที่ไม่มีอยู่ในหลักภาษาไทยแท้ขึ้น
เช่น ฟรี แฟลต บลัชออน เป็นต้น
- การเลิกใช้คาเดิม เช่น เขือ เผือ ท่
การเปลี่ยนแปลงด้านความหมาย
“วิตถาร” แต่เดิมหมายถึง กว้างขวาง,
มาก ,ละเอียดลออ แต่ในปัจจุบัน คานี้กลับมี
ความหมายว่า การกระทาที่ลามก แปลกแยก
จากบุคคลทั่วไป เป็นต้น
การเปลี่ยนแปลงด้านถ้อยคาสานวน
สานวนเดิม สานวนปัจจุบัน
ยืนกระต่ายสามขา ยืนกระต่ายขาเดียว
ไก่เห็นนมไก่ งูเห็นตีนงู ไก่เห็นตีนงู งูเห็นนมไก่
หรืออาจมีการยืมสานวนจากภาษาต่างประเทศ
มาใช้ในภาษาไทย เช่น แกะดา
การเปลี่ยนแปลงด้านไวยากรณ์
ไวยากรณ์เดิม
- ผู้ร้าย ๒ คน ถูกจับเพราะค้ายาบ้า
ไวยากรณ์ใหม่
- สองผู้ร้ายถูกจับเพราะค้ายาบ้า
๔. ภาษาต่างๆ มีลักษณะที่คล้ายคลึงกัน และ
แตกต่างกัน
ที่คล้ายคลึงกัน ที่ต่างกัน
 ภาษาแต่ละภาษาใช้เสียงสื่อ
ความหมาย
 สามารถสร้างคาศัพท์ใหม่จากศัพท์
เดิม
 มีสานวนและมีการใช้คาใน
ความหมายใหม่
 มีชนิดของคาคล้ายกัน
 มีวิธีการขยายประโยคให้ยาว
ออกไปได้เรื่อยๆ
 มีวิธีแสดงความคิดคล้ายกัน
 ใช้เสียงแตกต่างกัน เช่น เสียงใน
ภาษาอังกฤษมีเสียง G , Z แต่
ในภาษาไทยไม่มี
 ภาษาไทย มีวรรณยุกต์ แต่ภาษา
อื่นอาจไม่มี
 ไวยากรณ์ รูปแบบประโยคอาจ
ต่างกัน
ไทย-ฉันกินข้าว
เกาหลี-ฉันข้าวกิน
๕. ภาษาย่อมมีส่วนประกอบที่เป็ นระบบมีระเบียบแบบ
แผน
ภาษามีส่วนประกอบที่สาคัญ คือ สัญลักษณ์ คา
ประโยค และความหมาย ทุกส่วนประกอบเหล่านี้
ต้องอยู่รวมกัน อย่างเป็นระบบ ตามระเบียบแบบ
แผนของภาษาจึงจะทาให้เกิดเป็นภาษาที่สมบูรณ์
ถ้าขาดส่วนประกอบส่วนใดส่วนหนึ่งก็จะไม่เป็น
ภาษา
๑. ภาษาไทยมีตัวอักษรและตัวเลขเป็นของตนเอง
-ตัวอักษรแทนเสียงแท้ คือ สระ มี ๒๑ เสียง มี
รูป ๒๑ รูป
-สระเดี่ยว
-สระประสม ได้แก่ สระ เอีย เอือ อัว
 รูปสระ เช่น
- ตัวอักษรแทน เสียงแปร คือ พยัญชนะมี ๔๔ รูป
ภาษาไทยมีตัวอักษรและตัวเลขเป็นของตนเอง
- ตัวอักษรแทนเสียงดนตรี คือ วรรณยุกต์
มี ๕ เสียง ๔ รูป
ภาษาไทยมีตัวอักษรและตัวเลขเป็นของตนเอง
๑ ๒ ๓ ๔ ๕
๖ ๗ ๘ ๙ ๐
ภาษาไทยมีตัวอักษรและตัวเลขเป็นของตนเอง
๒. คาในภาษาไทยจัดอยู่ในภาษาคาตระกูลคาโดด
คือ แต่ละคามีความหมายสมบูรณ์ในตัวเอง ไม่มี
การเปลี่ยนแปลงรูปคาเพื่อบอกเพศ พจน์ การก
และกาลเวลา
คาโดด เด็กหญิง เด็กชาย
คามีวิภัติปัจจัย กุมารี กุมาร (บอกเพศ)
จริ – จรติ – จริสสติ (เที่ยว บอกกาล)
 ภาษาต่างๆในโลกถ้าจะแบ่งตามรูปลักษณะของภาษาสามารถแบ่งออกได้
เป็ น ๔ ชนิด คือ
 ภาษามีวิภัตติปัจจัย เช่นภาษาบาลี สันสกฤต ภาษากรีก ละติน
 ภาษาคาโดด เช่นภาษาไทย ภาษาจีน
 ภาษาคาติดต่อ เช่น ภาษาเขมร ภาษาญี่ปุ่ น ภาษาตุรกี ภาษา
ฮังการี ตากาลอค
 ภาษาคาควบมากพยางค์ เช่น ภาษาเอสกิโม เวราครูซ
 ไปโรงเรียน go to school
 ฉันไปโรงเรียน I go to school.
 ฉันไปโรงเรียน I went to school.
 ไมค์ไปโรงเรียน Mike goes to school.
๓. คาในภาษาไทยแท้เขียนตัวสะกด
ตรงตามมาตราและไม่มีตัวการันต์
๑. แม่กก ๕. แม่กน
๒. แม่กด ๖. แม่กม
๓. แม่กบ ๗. แม่เกย
๔. แม่กง ๘. แม่เกอว
๔. คาไทยแท้มักมีพยางค์เดียว และมีความหมาย
สมบูรณ์ในตัวเอง
**ภาษาไทยอาจมีคามากพยางค์ได้โดยวิธีการปรับปรุงศัพท์
โดยนาวิธีการลงอุปสรรคประกอบหน้าคาอย่างภาษาที่มีวิภัตติปัจจัย
ความหมายยังคงเดิม แต่กลายเป็นคามากพยางค์ เช่น ประเดี๋ยว
ประท้วง อีกวิธีหนึ่งคือ การกลายเสียงซึ่งเป็นการเปลี่ยนแปลงตาม
ธรรมชาติของภาษา เช่น มะม่วง กลายเป็น หมากม่วง **
 คาเรียกเครือญาติ พ่อ แม่ ลูก พี่ น้อง ลุง อา น้า ปู่ ตา ย่า ยาย
 คาเรียกสิ่งของ โต๊ะ อ่าง ขวด ถ้วย จาน ชาม ไร่ นา บ้าน มีด
 คาเรียกชื่อสัตว์ หมา แมว หมู หมา กา ไก่ งู วัว ควาย เสือ ลิง
 คาเรียกธรรมชาติ ดิน น้า ลม ไฟ ร้อน หนาว เย็น
 คาสรรพนาม ท่าน ผม เธอ เรา สู เจ้า อ้าย อี
 คากริยา ไป นั่ง นอน กิน เรียก
 คาลักษณนาม ฝูง พวก กา ลา ต้น ตัว อัน ใบ
 คาขยายหรือคาวิเศษณ์ อ้วน ผอม ดี เลว สวย เก่า ใหม่ แพง ถูก
 คาบอกจานวน อ้าย ยี่ สอง หนึ่ง พัน ร้อย แสน ล้าน มาก น้อย
 ข้อสังเกต **คาที่มีมากพยางค์มักไม่ใช่คาไทยแท้มีมูลรากมาจากภาษาอื่น
๕. ภาษาไทยเป็นภาษาที่มีเสียงวรรณยุกต์ เช่น
ขาว ข่าว ข้าว
นา น่า น้า
ลม ล่ม ล้ม
กลบทตรีประดับ
จะจับจอง จ่องจ้อง สิ่งใดนั้น
ดูสาคัญ คั่นคั้น อย่างันฉงน
อย่าลามลวง ล่วงล้วง ดูเลศกล
ค่อยแคะคน ค่นค้น ให้ควรการ
๖. ภาษาไทยมีการสร้างคา เพื่อเพิ่มความหมายให้
มากขึ้น เช่น
- คาประสม พัดลม
- คาซ้อน ถ้วยโถโอชาม
- คาซ้า งูๆปลาๆ
๗. ภาษาไทยมีคาลักษณนาม
แมว ๒ ........... หนังสือ ๕ .............
ขิง ๑๐ ............ แหวน ๒ ............
กระเป๋ า ๑ ........... บ้าน ๖ .............
ตัว / เล่ม / แง่ง / วง / ใบ / หลัง
๘. ภาษาไทยมีคาพ้องรูปและคาพ้องเสียง
- คาพ้องรูป เช่น ตากลม-ตากลม
เรือนรก-เรือนรก
ขอบอกขอบใจ-ขอบอกขอบใจ
- คาพ้องเสียง เช่น การ กาน กาฬ กาล
การณ์ กานต์ กานท์ กาญจน์
๙. ภาษาไทยมีหลักเกณฑ์การเรียงคาเข้า
ประโยค ตามลาดับ ประธาน กริยา และกรรม
เช่น
เด็กคนนั้นทิ้งขยะถุงนั้นเมื่อเช้า
ประธาน
(ส่วน
ขยาย
ประธาน)
กริยา กรรม
(ส่วน
ขยาย
กรรม)
(ส่วน
ขยาย
กริยา)
เด็ก คนนั้น ทิ้ง ขยะ ถุงนั้น เมื่อเช้า
๑๐. คาขยายในภาษาไทยจะเรียงอยู่หลังคาที่ถูกขยาย
- กระเบื้องตก ตรงฉันนอน
- เขาพูดเร็ว จนฉันฟังไม่ทัน
- เขาสวมเสื้อ สีฟ้ า
๑๑. ภาษาเขียนมีวรรคตอน ภาษาพูดมีจังหวะ เช่น
ห้ามนุ่งกางเกง ในสถานที่ราชการ
ห้ามนุ่งกางเกงใน สถานที่ราชการ
- อย่า ! หยุดคุยในห้องเรียนนะ
- อย่าหยุดคุยในห้องเรียนนะ !
- อาหาร อร่อยหมดทุกอย่าง
- อาหารอร่อย หมดทุกอย่าง
๑๒. ภาษาไทยเป็นภาษาที่มีระดับของคา เช่น
- ระดับพิธีการ
- ระดับทางการ
- ระดับกึ่งทางการ
- ระดับสนทนา
- ระดับกันเอง
 ภาษาเป็นทางการ ภาษาไม่เป็นทางการ
 ไม่รอบคอบ ไม่ดูตาม้าตาเรือ
 ไม่ทราบข้อเท็จจริง ไม่รู้เรื่องรู้ราว
 ซ้าซาก ซ้าๆ ซากๆ
 มีบุตร มีลูกมีเต้า
 มีความประสงค์ มีความต้องการ
 เรียนให้ทราบ บอกให้รู้
 กล่าวเท็จ พูดโกหก
 อนุเคราะห์ ช่วยเหลือ
"ประเทศไทยนั้นมีภาษาของเราเองซึ่งต้องหวงแหน
ประเทศใกล้เคียงของเราหลายประเทศมีภาษาของ
ตนเอง แต่ว่าเขาไม่ค่อยแข็งแรง เขาต้องพยายาม
หาทางที่จะสร้างภาษาของตนเองไว้ให้มั่นคง เราโชคดี
ที่มีภาษาของตนเองมาแต่โบราณ จึง
สมควรอย่างยิ่งที่จะรักษาไว้"
พระราชดารัสพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

คำทับศัพท์และศัพท์บัญญัติ
คำทับศัพท์และศัพท์บัญญัติคำทับศัพท์และศัพท์บัญญัติ
คำทับศัพท์และศัพท์บัญญัติsurang1
 
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทยแบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทยพัน พัน
 
สารพันเลือกสรรตีความ
สารพันเลือกสรรตีความสารพันเลือกสรรตีความ
สารพันเลือกสรรตีความพัน พัน
 
หน่วยที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของภาษา
หน่วยที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของภาษาหน่วยที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของภาษา
หน่วยที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของภาษาWilawun Wisanuvekin
 
โครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติดโครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติดพัน พัน
 
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทย
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทยบทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทย
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทยAj.Mallika Phongphaew
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทยโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทยNook Kanokwan
 
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4Sivagon Soontong
 
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานโครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานRawinnipha Joy
 
PPT รามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทก
PPT รามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทกPPT รามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทก
PPT รามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทกKruBowbaro
 
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความแบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความsripayom
 
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓kruthai40
 
ร่ายสุภาพ
ร่ายสุภาพร่ายสุภาพ
ร่ายสุภาพkhorntee
 
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3เกษสุดา สนน้อย
 

Mais procurados (20)

คำทับศัพท์และศัพท์บัญญัติ
คำทับศัพท์และศัพท์บัญญัติคำทับศัพท์และศัพท์บัญญัติ
คำทับศัพท์และศัพท์บัญญัติ
 
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทยแบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
 
สารพันเลือกสรรตีความ
สารพันเลือกสรรตีความสารพันเลือกสรรตีความ
สารพันเลือกสรรตีความ
 
หน่วยที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของภาษา
หน่วยที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของภาษาหน่วยที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของภาษา
หน่วยที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของภาษา
 
โครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติดโครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติด
 
การสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยการสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทย
 
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทย
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทยบทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทย
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทย
 
Unit 1 about myself
Unit 1 about myselfUnit 1 about myself
Unit 1 about myself
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทยโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
 
ระดับของภาษา
ระดับของภาษาระดับของภาษา
ระดับของภาษา
 
คำบุพบท
คำบุพบทคำบุพบท
คำบุพบท
 
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
 
คำบุพบท
คำบุพบทคำบุพบท
คำบุพบท
 
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานโครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
 
PPT รามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทก
PPT รามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทกPPT รามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทก
PPT รามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทก
 
คำประสม
คำประสมคำประสม
คำประสม
 
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความแบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
 
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
 
ร่ายสุภาพ
ร่ายสุภาพร่ายสุภาพ
ร่ายสุภาพ
 
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
 

Destaque

ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาพัน พัน
 
เสียงในภาษา
เสียงในภาษาเสียงในภาษา
เสียงในภาษาkingkarn somchit
 
การสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยการสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยbambookruble
 
สมาส สนธิ 2 ครบ
สมาส สนธิ 2  ครบ สมาส สนธิ 2  ครบ
สมาส สนธิ 2 ครบ Thanit Lawyer
 
ข้อสอบ ภาษาไทย O net '54
ข้อสอบ ภาษาไทย O net '54ข้อสอบ ภาษาไทย O net '54
ข้อสอบ ภาษาไทย O net '54Wonder Juey
 
การสื่อสารเพื่อการโน้มน้าวใจ
การสื่อสารเพื่อการโน้มน้าวใจการสื่อสารเพื่อการโน้มน้าวใจ
การสื่อสารเพื่อการโน้มน้าวใจDrsek Sai
 
PPT โน้มน้าวใจ
PPT โน้มน้าวใจPPT โน้มน้าวใจ
PPT โน้มน้าวใจKruBowbaro
 
การโน้มน้าวใจ
การโน้มน้าวใจการโน้มน้าวใจ
การโน้มน้าวใจkingkarn somchit
 
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.6
แบบทดสอบ  ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.6แบบทดสอบ  ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.6
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.6teerachon
 
ข้อสอบโควตา มช วิชาภาษาไทย ปี 2551
ข้อสอบโควตา มช วิชาภาษาไทย ปี 2551ข้อสอบโควตา มช วิชาภาษาไทย ปี 2551
ข้อสอบโควตา มช วิชาภาษาไทย ปี 2551Atthaphon45614
 
แบบทดสอบ ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.6
แบบทดสอบ  ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.6แบบทดสอบ  ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.6
แบบทดสอบ ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.6teerachon
 
ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001
ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001
ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001Thidarat Termphon
 
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทย
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทยข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทย
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทยSuriyawaranya Asatthasonthi
 
ประโยคตามเจตนา 7
ประโยคตามเจตนา 7ประโยคตามเจตนา 7
ประโยคตามเจตนา 7Nongkran Jarurnphong
 
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙Nongkran Jarurnphong
 
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)Nongkran Jarurnphong
 

Destaque (20)

ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษา
 
ธรรมชาติของภาษาออนไลน์
ธรรมชาติของภาษาออนไลน์ธรรมชาติของภาษาออนไลน์
ธรรมชาติของภาษาออนไลน์
 
ภาษาไทย
ภาษาไทยภาษาไทย
ภาษาไทย
 
เสียงในภาษา
เสียงในภาษาเสียงในภาษา
เสียงในภาษา
 
การสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยการสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทย
 
สมาส สนธิ 2 ครบ
สมาส สนธิ 2  ครบ สมาส สนธิ 2  ครบ
สมาส สนธิ 2 ครบ
 
ข้อสอบ ภาษาไทย O net '54
ข้อสอบ ภาษาไทย O net '54ข้อสอบ ภาษาไทย O net '54
ข้อสอบ ภาษาไทย O net '54
 
การสื่อสารเพื่อการโน้มน้าวใจ
การสื่อสารเพื่อการโน้มน้าวใจการสื่อสารเพื่อการโน้มน้าวใจ
การสื่อสารเพื่อการโน้มน้าวใจ
 
Persuasive language
Persuasive languagePersuasive language
Persuasive language
 
PPT โน้มน้าวใจ
PPT โน้มน้าวใจPPT โน้มน้าวใจ
PPT โน้มน้าวใจ
 
การโน้มน้าวใจ
การโน้มน้าวใจการโน้มน้าวใจ
การโน้มน้าวใจ
 
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.6
แบบทดสอบ  ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.6แบบทดสอบ  ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.6
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.6
 
ข้อสอบโควตา มช วิชาภาษาไทย ปี 2551
ข้อสอบโควตา มช วิชาภาษาไทย ปี 2551ข้อสอบโควตา มช วิชาภาษาไทย ปี 2551
ข้อสอบโควตา มช วิชาภาษาไทย ปี 2551
 
แบบทดสอบ ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.6
แบบทดสอบ  ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.6แบบทดสอบ  ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.6
แบบทดสอบ ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.6
 
ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001
ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001
ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001
 
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทย
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทยข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทย
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทย
 
กลุ่มที่ ๑
กลุ่มที่ ๑กลุ่มที่ ๑
กลุ่มที่ ๑
 
ประโยคตามเจตนา 7
ประโยคตามเจตนา 7ประโยคตามเจตนา 7
ประโยคตามเจตนา 7
 
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
 
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
 

Semelhante a ธรรมชาติของภาษา

ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาwattanaka
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาwattanaka
 
ภาษาไทย
ภาษาไทยภาษาไทย
ภาษาไทยguestd57bc7
 
ลักษณะภาษาไทย
ลักษณะภาษาไทยลักษณะภาษาไทย
ลักษณะภาษาไทยpinyada
 
สรุปย่อ หลักภาษาไทย
สรุปย่อ หลักภาษาไทย สรุปย่อ หลักภาษาไทย
สรุปย่อ หลักภาษาไทย Kun Cool Look Natt
 
หลักภาษา
หลักภาษาหลักภาษา
หลักภาษาsukuman139
 
คำบาลี สันสกฤตในภาษาไทย
คำบาลี สันสกฤตในภาษาไทยคำบาลี สันสกฤตในภาษาไทย
คำบาลี สันสกฤตในภาษาไทยพัน พัน
 

Semelhante a ธรรมชาติของภาษา (20)

ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษา
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษา
 
ลักษณะภาษาไทย
ลักษณะภาษาไทยลักษณะภาษาไทย
ลักษณะภาษาไทย
 
ภาษาถิ่นตะโหมด
ภาษาถิ่นตะโหมดภาษาถิ่นตะโหมด
ภาษาถิ่นตะโหมด
 
ภาษาไทย
ภาษาไทยภาษาไทย
ภาษาไทย
 
thai Research
thai  Researchthai  Research
thai Research
 
Thai
ThaiThai
Thai
 
Thai
ThaiThai
Thai
 
นุกูล
นุกูลนุกูล
นุกูล
 
ลักษณะภาษาไทย
ลักษณะภาษาไทยลักษณะภาษาไทย
ลักษณะภาษาไทย
 
สรุปย่อ หลักภาษาไทย
สรุปย่อ หลักภาษาไทย สรุปย่อ หลักภาษาไทย
สรุปย่อ หลักภาษาไทย
 
การสร้างคำ
การสร้างคำการสร้างคำ
การสร้างคำ
 
การสร้างคำ
การสร้างคำการสร้างคำ
การสร้างคำ
 
สรุปเนื้อหา ติว
สรุปเนื้อหา ติวสรุปเนื้อหา ติว
สรุปเนื้อหา ติว
 
หลักภาษา
หลักภาษาหลักภาษา
หลักภาษา
 
คำบาลี สันสกฤตในภาษาไทย
คำบาลี สันสกฤตในภาษาไทยคำบาลี สันสกฤตในภาษาไทย
คำบาลี สันสกฤตในภาษาไทย
 
ใบความรู้ลักษณะเฉพาะของภาษาไทยการสร้างคำ
ใบความรู้ลักษณะเฉพาะของภาษาไทยการสร้างคำใบความรู้ลักษณะเฉพาะของภาษาไทยการสร้างคำ
ใบความรู้ลักษณะเฉพาะของภาษาไทยการสร้างคำ
 
ใบความรู้ ลักษณะภาษาไทย
ใบความรู้ ลักษณะภาษาไทยใบความรู้ ลักษณะภาษาไทย
ใบความรู้ ลักษณะภาษาไทย
 
Korat
KoratKorat
Korat
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
 

Mais de kingkarn somchit

วรรคทองในวรรณคดี
วรรคทองในวรรณคดีวรรคทองในวรรณคดี
วรรคทองในวรรณคดีkingkarn somchit
 
การสื่อสารเพื่อกิจธุระ
การสื่อสารเพื่อกิจธุระการสื่อสารเพื่อกิจธุระ
การสื่อสารเพื่อกิจธุระkingkarn somchit
 
การเขียนที่บรรลุวัตถุประสงค์
การเขียนที่บรรลุวัตถุประสงค์การเขียนที่บรรลุวัตถุประสงค์
การเขียนที่บรรลุวัตถุประสงค์kingkarn somchit
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์kingkarn somchit
 
ข้อบกพร่องของการใช้ภาษา
ข้อบกพร่องของการใช้ภาษาข้อบกพร่องของการใช้ภาษา
ข้อบกพร่องของการใช้ภาษาkingkarn somchit
 

Mais de kingkarn somchit (8)

คำคน คำคม
คำคน คำคมคำคน คำคม
คำคน คำคม
 
วรรคทองในวรรณคดี
วรรคทองในวรรณคดีวรรคทองในวรรณคดี
วรรคทองในวรรณคดี
 
การสื่อสารเพื่อกิจธุระ
การสื่อสารเพื่อกิจธุระการสื่อสารเพื่อกิจธุระ
การสื่อสารเพื่อกิจธุระ
 
การเขียนที่บรรลุวัตถุประสงค์
การเขียนที่บรรลุวัตถุประสงค์การเขียนที่บรรลุวัตถุประสงค์
การเขียนที่บรรลุวัตถุประสงค์
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
 
วรรณคดี
วรรณคดีวรรณคดี
วรรณคดี
 
คำ
คำคำ
คำ
 
ข้อบกพร่องของการใช้ภาษา
ข้อบกพร่องของการใช้ภาษาข้อบกพร่องของการใช้ภาษา
ข้อบกพร่องของการใช้ภาษา
 

ธรรมชาติของภาษา