SlideShare a Scribd company logo
Enviar pesquisa
Carregar
Entrar
Cadastre-se
R บทที่ 1
Denunciar
khuwawa
Seguir
27 de Jun de 2011
•
0 gostou
•
1,625 visualizações
R บทที่ 1
27 de Jun de 2011
•
0 gostou
•
1,625 visualizações
khuwawa
Seguir
Denunciar
Educação
R บทที่ 1
1 de 7
Baixar agora
1
de
7
Recomendados
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
Samapol Klongkhoi
2.6K visualizações
•
16 slides
หลักสูตร51.pptx
patchu0625
504 visualizações
•
25 slides
หลักสูตร51
patchu0625
323 visualizações
•
26 slides
School curiculum
mr.somsak phoolpherm
2.3K visualizações
•
42 slides
วิสัยทัศน์ของหลักสูตร
nakkee
8.7K visualizações
•
10 slides
หลักสูตรส่วนที่ ๑
rampasri
3.8K visualizações
•
22 slides
Mais conteúdo relacionado
Mais procurados
กฏหมาย
Tophit Sampootong
1.9K visualizações
•
76 slides
คู่มือบริหารจัดการเวลาเรียน (ปรับปรุงใหม่)
kroofon fon
44.3K visualizações
•
97 slides
บทที่ 8
Piyapong Chaichana
91 visualizações
•
13 slides
5มาตรฐานวิชาชีพครูและะจรรยาบรรณวิชาชีพok
Tophit Sampootong
3.2K visualizações
•
7 slides
บทที่ 2
Saranporn Rungrueang
476 visualizações
•
22 slides
บทที่ 11
kanwan0429
48 visualizações
•
10 slides
Mais procurados
(10)
กฏหมาย
Tophit Sampootong
•
1.9K visualizações
คู่มือบริหารจัดการเวลาเรียน (ปรับปรุงใหม่)
kroofon fon
•
44.3K visualizações
บทที่ 8
Piyapong Chaichana
•
91 visualizações
5มาตรฐานวิชาชีพครูและะจรรยาบรรณวิชาชีพok
Tophit Sampootong
•
3.2K visualizações
บทที่ 2
Saranporn Rungrueang
•
476 visualizações
บทที่ 11
kanwan0429
•
48 visualizações
บทที่ 8
kanwan0429
•
116 visualizações
แผนการพัฒนาตนเอง นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ปีการศึกษา 2553
Kobwit Piriyawat
•
21.4K visualizações
การใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551
คน ขี้เล่า
•
9.4K visualizações
บทที่ 7
Piyapong Chaichana
•
108 visualizações
Destaque
Access Easy
Marco Coghi
683 visualizações
•
27 slides
Raiw powerpoint præsentation
Fonden for Entreprenørskab - Young Enterprise
539 visualizações
•
10 slides
El esguince de tobillo
Carlos López Cubas. OSTEON Alaquas Centro de Fisioterapia
572 visualizações
•
6 slides
Daddy yankee
cAmii
397 visualizações
•
5 slides
Competencias 2010
Todohistoria2009
222 visualizações
•
16 slides
Energia interna de la tierra.
mariajosemarinramirez7
575 visualizações
•
12 slides
Destaque
(20)
Access Easy
Marco Coghi
•
683 visualizações
Raiw powerpoint præsentation
Fonden for Entreprenørskab - Young Enterprise
•
539 visualizações
El esguince de tobillo
Carlos López Cubas. OSTEON Alaquas Centro de Fisioterapia
•
572 visualizações
Daddy yankee
cAmii
•
397 visualizações
Competencias 2010
Todohistoria2009
•
222 visualizações
Energia interna de la tierra.
mariajosemarinramirez7
•
575 visualizações
Desing.Net
rebe2ka
•
242 visualizações
Secretos de la alimentación saludable
The Marketing Point
•
2.8K visualizações
Mara salvatrucha
Natalia
•
1.1K visualizações
Rio Vivo
Marco Coghi
•
245 visualizações
3[1][1]. Larana
luisa
•
149 visualizações
Brasília star sport bar & grill manual identidade
André Luis Ferretti Taboquini
•
762 visualizações
UFV Terra da Luz
Marco Coghi
•
407 visualizações
Industrial
casabuena
•
105 visualizações
Manualnmapesp
Fes San jose
•
151 visualizações
Acta deorganizacion 1 2010.2011
Roberto Popoca Portillo
•
365 visualizações
File
Leonardo Perez
•
286 visualizações
Actividad 4: Portafolio de Presentación
aleperretta
•
163 visualizações
Sao jose dos_campos_gp22_pmo_easy_bank
Marco Coghi
•
555 visualizações
Capasiniciodoano
Paula Almeida
•
371 visualizações
Similar a R บทที่ 1
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
Natmol Thedsanabun
5.2K visualizações
•
9 slides
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
Natmol Thedsanabun
1K visualizações
•
9 slides
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
Samapol Klongkhoi
2.6K visualizações
•
16 slides
Slideshare
paewwaew
252 visualizações
•
14 slides
Slideshare
paewwaew
189 visualizações
•
14 slides
project
paewwaew
261 visualizações
•
14 slides
Similar a R บทที่ 1
(20)
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
Natmol Thedsanabun
•
5.2K visualizações
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
Natmol Thedsanabun
•
1K visualizações
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
Samapol Klongkhoi
•
2.6K visualizações
Slideshare
paewwaew
•
252 visualizações
Slideshare
paewwaew
•
189 visualizações
project
paewwaew
•
261 visualizações
Slideshare
paewwaew
•
156 visualizações
Slideshare
paewwaew
•
246 visualizações
แบบนำเสนอผลงานวิชาการ
Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
•
673 visualizações
การกินอย่างมีคุณค่า
aon04937
•
740 visualizações
แบบนำเสนอผลงานวิชาการ
Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
•
2.5K visualizações
หลักสูตรแกนกลาง
วุฒิภัทร แก้วกลึงกลม
•
1.2K visualizações
บทที่ 8
kanwan0429
•
147 visualizações
บทที่ 7
wanichaya kingchaikerd
•
51 visualizações
7 170819173524
fernfielook
•
64 visualizações
บทที่ 7
wanneemayss
•
15 visualizações
7 170819173524
gam030
•
53 visualizações
บทที่ 7
nattawad147
•
152 visualizações
7 170819173524
nattapong147
•
19 visualizações
บทที่ 7
benty2443
•
81 visualizações
R บทที่ 1
1.
1
บทที่ 1 บทนา ความเป็นมาและความสาคัญของปัญหา การศึกษานับว่าเป็นรากฐานที่สาคัญที่สุดประการหนึ่งในการสร้างสรรค์ความเจริญ ก้าวหน้าและแก้ปัญหาต่าง ๆ ในสังคมได้ เนื่องจากการศึกษาเป็นกระบวนการที่ช่วยให้คนได้ พัฒนาตนเองในด้านต่าง ๆ ตลอดช่วงชีวิต ตั้งแต่การวางรากฐานพัฒนาการของชีวิตตั้งแต่แรกเกิด การพัฒนาศักยภาพและขีดความสามารถในด้านต่าง ๆ ที่จะดารงชีพและประกอบอาชีพได้อย่าง มีความสุข รู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงรวมทั้งพลังสร้างสรรค์ประเทศอย่างยั่งยืนได้ เพื่อให้การจัด การศึกษาขั้นพื้นฐานสอดคล้องกับสภาพความเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจสังคม และความเจริญ ทางด้านวิทยาการเป็นการสร้างกลยุทธ์ใหม่ในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ให้สามารถตอบสนอง ความต้องการของบุคคล สังคมไทย ผู้เรียนมีศักยภาพในการแข่งขันและร่วมมือกันอย่าง สร้างสรรค์ในสังคมโลก เป็นไปตามเจตนารมณ์ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 และพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 (กรมวิชาการ. 2544 ก : 3) หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานมุ่งพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ เป็นคนดี มีปัญญา มีความสุข และมีความเป็นไทย มีศักยภาพในการศึกษาต่อ และประกอบอาชีพ จึงกาหนดจุดมุ่งหมาย ซึ่งถือว่าเป็นมาตรฐานการเรียนรู้ให้ผู้เรียนเกิดคุณลักษณะอันพึงประสงค์ คือ เห็นคุณค่าของตนเองมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ใฝ่รู้ ใฝ่เรียน มีความรู้อันเป็นสากลรู้เท่าทัน การเปลี่ยนแปลงและความเจริญก้าวหน้าทางวิทยาการ มีทักษะและศักยภาพในการจัดการ มีทักษะ กระบวนการ มีจิตสานึกในการอนุรักษ์ไทย ภูมิปัญญาไทย ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม รักประเทศชาติและท้องถิ่น เป็นต้น (กรมวิชาการ. 2544 ก : 4 ) โดยเฉพาะในมาตรา 24 การจัดกระบวนการเรียนรู้ให้สถานศึกษาและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องดาเนินการดังต่อไปนี้ (1) จัดเนื้อหาสาระและกิจกรรมให้สอดคล้องกับความสนใจและความถนัดของผู้เรียน โดยคานึง ถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล (2) ฝึกทักษะ กระบวนการคิด การจัดการ การเผชิญสถานการณ์ และการประยุกต์ความรู้มาใช้เพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหา (3) จัดกิจกรรมให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ จากประสบการณ์จริง ฝึกปฏิบัติให้ทาได้ คิดเป็น ทาเป็น รักการอ่านและเกิดการใฝ่รู้อย่างต่อเนื่อง (5) ส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้สอนจัดบรรยากาศ สภาพแวดล้อม สื่อการเรียนและอานวย ความสะดวกเพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้และมีความรอบรู้ รวมทั้งสามารถใช้การวิจัยเป็นส่วนหนึ่ง
2.
2 ของกระบวนการเรียนรู้ ทั้งนี้ผู้สอนและผู้เรียนอาจเรียนไปพร้อมกันจากสื่อการเรียนการสอนและ แหล่งวิทยาการประเภทต่าง ๆ
(6) จัดการเรียนรู้ให้เกิดได้ทุกเวลาทุกสถานที่ มีการประสาน ความร่วมมือกับบิดามารดา ผู้ปกครอง และบุคคลในชุมชนทุกฝ่ายเพื่อร่วมกันพัฒนาผู้เรียน ตามศักยภาพ (สานักงานปฏิรูปการศึกษา. 2542 : 13) กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 เป็นสาระการเรียนรู้ที่มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับงานอาชีพ และเทคโนโลยี มีทักษะการทางาน ทักษะการจัดการ สามารถนาเทคโนโลยีสารสนเทศและ เทคโนโลยีต่าง ๆ มาใช้ในการทางานอย่างถูกต้อง เหมาะสม คุ้มค่า และมีคุณธรรมจริยธรรม และค่านิยมพื้นฐาน ได้แก่ ความขยัน ซื่อสัตย์ ประหยัด และอดทน อันจะนาไปสู่การให้ผู้เรียน ช่วยเหลือตนเองและพึ่งตนเองได้ ตามพระราชดาริเศรษฐกิจพอเพียง สามารถดารงชีวิตอยู่ใน สังคมได้อย่างมีความสุข ร่วมมือและแข่งขันในระดับสากลในบริบทของสังคมไทย ซึ่งมี 5 สาระ ได้แก่ สาระที่ 1 การดารงชีวิตและครอบครัว สาระที่ 2 การอาชีพ สาระที่ 3 การออกแบบและ เทคโนโลยี สาระที่ 4 เทคโนโลยีสารสนเทศ และสาระที่ 5 เทคโนโลยีเพื่อการทางานและอาชีพ งานประดิษฐ์เป็นส่วนหนึ่งของสาระที่ 1 การดารงชีวิตและครอบครัว ซึ่งเป็นงานที่เกี่ยวกับ การทางานด้วยการประดิษฐ์สิ่งของเครื่องใช้ที่เน้นความคิดสร้างสรรค์ โดยเน้นความประณีต สวยงาม ตามกระบวนการทางานประดิษฐ์เทคโนโลยี และเน้นการอนุรักษ์และสืบสาน ศิลปวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณีไทยตามภูมิปัญญาท้องถิ่นและสากล (กรมวิชาการ. 2545 ข : 1-7) ดังนั้นจึงถือได้ว่า กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีเป็นกลุ่มสาระหนึ่ง ที่มีความสาคัญและจาเป็นต่อผู้เรียนไม่ยิ่งหย่อนไปกว่ากลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น ๆ ในหลักสูตร และจากประสบการณ์การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและ เทคโนโลยีที่ผ่านมา พบว่า ครูผู้สอนมีปัญหาด้านการวางแผนการเรียนรู้ และการจัดเตรียมสื่อ การเรียนการสอน รวมทั้งไม่ค่อยมีเวลา เนื่องจากมีภาระงานนอกเหนือจากงานที่สอนมาก และ เวลาในการเรียนมีน้อย ทาให้งานไม่เสร็จตามความคาดหมาย และนักเรียนขาดคุณลักษณะที่ พึงประสงค์หลายด้าน ได้แก่ ความรับผิดชอบ คิดไม่เป็น จัดการไม่เป็น ไม่ชอบทางานกลุ่ม ไม่ปรับปรุงงานและทางานไม่เสร็จตามเวลาที่กาหนด (ลาดวน นิรัติศยวานิช. 2546 : 44) นอกจากนี้แล้ว ปัญหาการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนกลุ่มการงานและพื้นฐานอาชีพตาม หลักสูตรเดิม พบว่า นักเรียนขาดวัสดุในการฝึกปฏิบัติ สื่อการสอนไม่เพียงพอ ผู้ปกครอง ไม่สนับสนุนการจัดการเรียนการสอนกลุ่มการงานและพื้นฐานอาชีพ ครูไม่มีความรู้เฉพาะทาง
3.
3 ทาให้ไม่มั่นใจในการสอน การนิเทศติดตามยังมีน้อยและผู้บริหารไม่สนับสนุนและไม่เห็น ความสาคัญเท่าที่ควร (ศิริวิทย์
อ้นคา. 2541 : บทคัดย่อ) การที่จะทาให้การเรียนรู้บรรลุเป้าหมายตามหลักสูตรที่กาหนดให้และมีประสิทธิภาพ จาเป็นต้องมีสื่อหรือนวัตกรรมที่จะเป็นส่วนเพิ่มเติมหรือเสริมสาหรับนักเรียนฝึกปฏิบัติเพื่อให้เกิด ความรู้ ความเข้าใจและมีทักษะเพิ่มขึ้น ซึ่งบางครั้งครูผู้สอนไม่สามารถถ่ายทอดด้วยการบรรยาย ให้เข้าใจได้ง่ายยิ่งขึ้น และช่วย เร้าความสนใจของผู้เรียนต่อสิ่งที่กาลังศึกษา การเปิดโอกาส ให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียนรู้ การฝึกการแสดงออก การแสดงความคิดเห็น การตัดสินใจ และการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง ช่วยให้ผู้เรียนเป็นอิสระจากอารมณ์ของผู้สอน เป็นการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมและช่วยยกระดับความสนใจของผู้เรียนได้ตลอดเวลา ช่วยให้ ผู้เรียนรู้จุดมุ่งหมายของการเรียนอย่างชัดเจน ทาให้ครูทราบความเข้าใจของผู้เรียนที่มีต่อการเรียน เพิ่มแรงจูงใจในการเรียนของผู้เรียน การใช้หนังสืออ่านประกอบเป็นเทคนิคการจัดการเรียนรู้หนึ่ง ที่จะช่วยให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ ได้ฝึกการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ได้ด้วยตนเอง การใช้หนังสืออ่าน ประกอบจึงเปิดโอกาสให้ผู้เรียนนาความรู้ที่เรียนมาฝึกให้เกิดความเข้าใจและมีทักษะมากขึ้นตาม ความสามารถของตนเอง ฝึกให้ผู้เรียนมีความเชื่อมั่น ฝึกให้มีความรับผิดชอบต่องาน ที่ได้รับ มอบหมาย โดยไม่ต้องคานึงถึงเวลาหรือความกดดันอื่น ๆ และสามารถประเมินผลงานของตนเอง สิ่งที่นามาฝึกทักษะต้องมีในเนื้อหาจากบทเรียนที่เหมาะสมกับวัย ระดับชั้นและความแตกต่าง ระหว่างบุคคล (กรมวิชาการ. 2534 : 9) สื่อการเรียนการสอนที่น่าสนใจที่มีความเหมาะสมจะนามาพัฒนาเพื่อให้นักเรียนเกิด การเรียนรู้ประเภทหนึ่งก็คือ หนังสืออ่านประกอบ หรือหนังสืออ่านเพิ่มเติม เป็นหนังสือที่มีสาระ อิงหลักสูตร นักเรียนสามารถอ่านได้ทั้งในและนอกเวลาเรียน เป็นการเสริมเนื้อหาความรู้ที่มีอยู่ใน หนังสือเรียน อ่านแล้วได้รับความรู้ เรื่องใดเรื่องหนึ่งลึกซึ้งและกว้างขวางยิ่งขึ้น ดังเจตนารมณ์ ของหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2544 ที่กาหนดแนวทางพัฒนาสื่อการเรียนรู้ที่มุ่งเน้น ส่งเสริมให้นักเรียนรู้จักวิธีการเรียนรู้ด้วยตนเอง การที่นักเรียนได้อ่านหนังสืออ่านเพิ่มเติม จะทาให้มีความรู้กว้างขวางมากกว่าการอ่านหนังสือเรียนแต่เพียงอย่างเดียว จะเห็นได้ว่า สื่อการเรียนการสอนโดยเฉพาะหนังสืออ่านประกอบ หรือหนังสืออ่านเพิ่มเติม มีบทบาทสาคัญ มากในกระบวนการจัดการเรียนการสอน ซึ่งครูผู้สอนสามารถพิจารณาเลือกและสร้างสรรค์เพื่อ นาไปประกอบการเรียนการสอนอันจะช่วยให้ผู้เรียนสามารถบรรลุเป้าหมายในการเรียนได้อย่างมี ประสิทธิภาพซึ่งสอดคล้องกับ(บุญเลิศ บุษเนตร. 2540 : บทคัดย่อ) ที่ได้ทาการศึกษา การพัฒนา ครูด้านการผลิตสื่อการเรียนรู้พบว่า “การพัฒนาความรู้ด้านการผลิตสื่อการเรียนรู้และการใช้ สื่อการเรียนรู้ทาให้ครูเกิดความมั่นใจในการผลิตและใช้สอการเรียน ได้อย่างมีคุณภาพ สามารถ ื่
4.
4 นาไปใช้ในการพัฒนาครู ด้านการผลิตสื่อการเรียนรู้ในกลุ่มสาระอื่นๆได้อันจะส่งผลให้คุณภาพ ของการศึกษาได้รับการพัฒนาให้ดียิ่งขึ้น”
จากหลักการและเหตุผลดังกล่าว ผู้รายงานในฐานะที่รับผิดชอบสอนกลุ่มสาระ การเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนบ่อแก้วญาณเวทีพัฒนา อาเภอนาคู จังหวัดกาฬสินธุ์ จึงมีความสนใจที่จะพัฒนาหนังสืออ่านประกอบ เรื่อง การประดิษฐ์ ผลิตภัณฑ์จากกาบไผ่ และการประดิษฐ์ของใช้จากกล้วย กลุ่มสาระ การเรียนรู้การงานอาชีพและ เทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 เพื่อพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้สอดคล้องกับ นโยบายปฏิรูปการเรียนรู้ ตามความต้องการและความเหมาะสมกับสภาพท้องถิ่น และสามารถนา ความรู้และทักษะไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวันได้ และตระหนักถึงความสาคัญ ประโยชน์ คุณค่า ตลอดจนอนุรักษ์สืบทอดภูมิปัญญาท้องถิ่นให้คงอยู่ต่อไป วัตถุประสงค์ของการศึกษา 1. เพื่อพัฒนาหนังสืออ่านประกอบ เรื่อง การประดิษฐ์ผลิตภัณฑ์จากกาบไผ่ และ การประดิษฐ์ของใช้จากกล้วย กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 2. เพื่อหาดัชนีประสิทธิผลของหนังสืออ่านประกอบ เรื่อง การประดิษฐ์ผลิตภัณฑ์จาก กาบไผ่ และการประดิษฐ์ของใช้จากกล้วย กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 3. เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่มีต่อการเรียนด้วย หนังสืออ่านประกอบ เรื่องการประดิษฐ์ผลิตภัณฑ์จากกาบไผ่ และการประดิษฐ์ของใช้จากกล้วย กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ความสาคัญของการศึกษา 1. ได้หนังสืออ่านประกอบ เรื่อง การประดิษฐ์ผลิตภัณฑ์จากกาบไผ่ และการประดิษฐ์ ของใช้จากกล้วย กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์มาตรฐาน 2. เพื่อเป็นข้อมูลสารสนเทศสาหรับครูผู้สอนกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและ เทคโนโลยี ในการพัฒนาสื่อการเรียนการสอนในเนื้อหาและระดับชั้นอื่น ๆ
5.
5 ขอบเขตของการศึกษา
การศึกษาค้นคว้าในครั้งนี้ผศึกษาค้นคว้าได้กาหนดขอบเขตในการดาเนินการศึกษา ู้ ค้นคว้า ดังนี้ 1. ประชากร ได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนบ่อแก้วญาณเวทีพัฒนา” อาเภอนาคู จังหวัดกาฬสินธุ์ สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษากาฬสินธุ์ เขต 3 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2550 จานวน 45 คน 2. กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ห้อง 1 โรงเรียนบ่อแก้วญาณเวที พัฒนา อาเภอนาคู จังหวัดกาฬสินธุ์ สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษากาฬสินธุ์ เขต 3 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2550 จานวน 20 คน ซึ่งได้มาโดยการเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling) 3. ระยะเวลาในการศึกษา ผู้รายงานได้ดาเนินการศึกษาในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2550 ตั้งแต่วันที่ 5 เดือนมิถุนายน พ.ศ. 2550 ถึงวันที่ 4 เดือนกันยายน 2550 จานวน 28 ชั่วโมง ไม่รวมเวลาที่ใช้ในการทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน 4. เนื้อหาที่ใช้ในการศึกษา คือ เนื้อหาหนังสืออ่านประกอบ เรื่องการประดิษฐ์ ผลิตภัณฑ์จากกาบไผ่ และการประดิษฐ์ของใช้จากกล้วย กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและ เทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่ผู้รายงานสร้างขึ้น 5. ตัวแปรที่ใช้ในการศึกษาในครั้งนี้ ได้แก่ 5.1 ตัวแปรต้น คือ การสอนโดยใช้หนังสืออ่านประกอบ เรื่องการประดิษฐ์ ผลิตภัณฑ์จากกาบไผ่ และการประดิษฐ์ของใช้จากกล้วย กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและ เทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 5.2 ตัวแปรตาม คือ ประสิทธิภาพของหนังสืออ่านประกอบ เรื่องการประดิษฐ์ ผลิตภัณฑ์จากกาบไผ่ และการประดิษฐ์ของใช้จากกล้วย กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและ เทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 และความพึงพอใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่มีต่อ การเรียนด้วย หนังสืออ่านประกอบ เรื่องการประดิษฐ์ผลิตภัณฑ์จากกาบไผ่ และการประดิษฐ์ของ ใช้จากกล้วย กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
6.
6 นิยามศัพท์เฉพาะ
1. หนังสืออ่านประกอบ หมายถึง เอกสารที่ผู้รายงานสร้างขึ้น และใช้เป็นสื่อในการจัด กิจกรรมการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 เรื่อง การประดิษฐ์ผลิตภัณฑ์จากกาบไผ่ และการประดิษฐ์ของใช้จากกล้วย จานวน 2 เล่ม ดังนี้ 1.1 การประดิษฐ์ผลิตภัณฑ์จากกาบไผ่ 1.2 การประดิษฐ์ของใช้จากกล้วย 2. แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ หมายถึง แบบทดสอบที่ผู้รายงานสร้างขึ้น เพื่อวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การประดิษฐ์ผลิตภัณฑ์จากกาบไผ่ และการประดิษฐ์ของใช้ จากกล้วย เป็นแบบทดสอบชนิดปรนัย 4 ตัวเลือก จานวน 30 ข้อ 3. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หมายถึง คะแนนสอบของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 จากการเรียนรู้ โดยใช้หนังสืออ่านประกอบ เรื่องการประดิษฐ์ผลิตภัณฑ์จากกาบไผ่ และ การประดิษฐ์ของใช้จากกล้วย กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 3 ที่วัดได้จากแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 4. ประสิทธิภาพของหนังสืออ่านประกอบ หมายถึง เกณฑ์การยอมรับประสิทธิภาพ ของหนังสืออ่านประกอบ เรื่องการประดิษฐ์ผลิตภัณฑ์จากกาบไผ่ และการประดิษฐ์ของใช้จาก กล้วย กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 3 ซึ่งเป็นอัตราส่วน ระหว่างประสิทธิภาพของกระบวนการต่อประสิทธิภาพของผลลัพธ์ (E1/E2) โดยถือเกณฑ์ 80/80 4.1 เกณฑ์ 80 ตัวแรก หมายถึง ค่าร้อยละของคะแนนเฉลี่ยรวมของนักเรียนทุกคน ที่ได้จากการทดสอบย่อยจากหนังสืออ่านประกอบและคะแนนชิ้นงาน ซึ่งมีคะแนนเฉลี่ยตั้งแต่ร้อย ละ 80 ขึ้นไป 4.2 เกณฑ์ 80 ตัวหลัง หมายถึง ค่าร้อยละของคะแนนเฉลี่ยรวมของนักเรียนทุกคน ที่ได้จากการทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนด้วยหนังสืออ่านประกอบ เรื่อง การประดิษฐ์ผลิตภัณฑ์จากกาบไผ่ และการประดิษฐ์ของใช้จากกล้วย ซึ่งมีคะแนนเฉลี่ยตั้งแต่ ร้อยละ 80 ขึ้นไป 5. ค่าดัชนีประสิทธิผลของหนังสืออ่านประกอบ หมายถึง ค่าที่คานวณได้จากการ เปรียบเทียบอัตราความก้าวหน้าในการเรียนของผู้เรียน ซึ่งหาได้จากสูตร ดัชนีประสิทธิผล = (ผลรวมของคะแนนทดสอบหลังเรียน – ผลรวมของคะแนนทดสอบก่อนเรียน) (จานวนนักเรียน × คะแนนเต็ม) - ผลรวมของคะแนนทดสอบก่อนเรียน
7.
7
6. ความพึงพอใจ หมายถึง ความรู้สึกที่ดีของนักเรียนที่มีต่อการด้วย หนังสืออ่านประกอบ เรื่องการประดิษฐ์ผลิตภัณฑ์จากกาบไผ่ และการประดิษฐ์ของใช้จากกล้วย กลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ซึ่งวัดได้จากการใช้แบบประเมินความพึงพอใจที่ ผู้รายงานสร้างขึ้น