O slideshow foi denunciado.
Seu SlideShare está sendo baixado. ×

การเขียนบทสำหรับงานวิดีโอ (Script Writing for Video Production)

Anúncio
Anúncio
Anúncio
Anúncio
Anúncio
Anúncio
Anúncio
Anúncio
Anúncio
Anúncio
Anúncio
Anúncio

Confira estes a seguir

1 de 39 Anúncio

การเขียนบทสำหรับงานวิดีโอ (Script Writing for Video Production)

ฝากติดตามกด Like  กด Love ❤️ กด Share ⤴️ ที่ https://www.facebook.com/TouchPoint.in.th/
------------------------------------------------------------------
ฝากกด Subscribe ช่อง YouTube TouchPoint ที่
https://www.youtube.com/c/TouchpointTH
------------------------------------------------------------------
เว็บไซต์
https://touchpoint.in.th/
------------------------------------------------------------------
ดร.กฤษณพงศ์ เลิศบำรุงชัย

ฝากติดตามกด Like  กด Love ❤️ กด Share ⤴️ ที่ https://www.facebook.com/TouchPoint.in.th/
------------------------------------------------------------------
ฝากกด Subscribe ช่อง YouTube TouchPoint ที่
https://www.youtube.com/c/TouchpointTH
------------------------------------------------------------------
เว็บไซต์
https://touchpoint.in.th/
------------------------------------------------------------------
ดร.กฤษณพงศ์ เลิศบำรุงชัย

Anúncio
Anúncio

Mais Conteúdo rRelacionado

Diapositivos para si (20)

Mais de Kridsanapong Lertbumroongchai (13)

Anúncio

Mais recentes (20)

การเขียนบทสำหรับงานวิดีโอ (Script Writing for Video Production)

  1. 1. การเขียนบทสาหรับงานวิดีโอ ดร.กฤษณพงศ์ เลิศบารุงชัย Script Writing for Video Production Facebook.com/TouchPoint.in.th TouchPoint.in.th YouTube.com/c/TouchPointTH
  2. 2. ความหมายของการเขียนบท การเขียนบทเป็นการกาหนดเนื้อเรื่อง การเชื่อมโยงเหตุการณ์ และตัวละครต่างๆ เข้าด้วยกัน โดยผ่านกระบวนการ ค้นหา รวบรวมและการจัดลาดับ สามารถถ่ายทอดความรู้สึกนึกคิด และความต้องการของบุคคลออกมาเป็นตัวอักษร ที่ไม่สูตรสาเร็จตายตัว Script Writing Definition of Script Writing
  3. 3. หลักการเขียนบท โครงเรื่อง Storyline ตัวละคร Dialogue ฉาก Scene ถ้อยคา / บทสนทนา Character Script Writing Principles
  4. 4. ต้องมีลักษณะกะทัดรัด ไม่ยืดยาว ดาเนินเรื่องฉับไว ลักษณะของโครงเรื่องขึ้นอยู่กับ ชนิดของเรื่อง แต่เรื่องสั้นที่สร้างความประทับใจผู้อ่านมักเป็นเรื่องสั้นชนิดผูกเรื่องโดย หักมุมจบให้ผู้อ่านคาดไม่ถึง โครงเรื่อง Story 01
  5. 5. ต้องมีลักษณะสมจริง สะท้อนชีวิตหรือเป็นตัวแทนของบุคคลจริง Su-san ตัวละคร 02
  6. 6. ต้องสมจริง ให้ภาพจินตนาการชัดเจน น่าสนใจ ฉาก 03 Scene
  7. 7. Dialogue ต้องสมจริง ให้ภาพจินตนาการชัดเจน น่าสนใจ ถ้อยคาหรือบทสนทนา 04
  8. 8. การเลือกเรื่อง Story Choosing Research ข้อคานึงการเขียนบท การจัดลาดับเนื้อหา Main Idea Content Sorting ความยาว Duration การศึกษาค้นคว้า แนวคิดหลัก การวางเค้าโครงเรื่อง Storyline
  9. 9. เป็นเสมือนโครงหรือแก่นของเรื่องนั้นๆผู้เขียนบทจะต้องจับหรือดึงเอาข้อมูลหรือเนื้อหา บางอย่างมาเป็นแกนของเรื่องให้ได้ แนวคิดหลัก 01 Main Idea
  10. 10. ผู้เขียนต้องพิจารณาว่าควรจะเป็นเรื่องอะไรที่คนส่วนใหญ่สนใจเหตุผลที่จะเขียนเรื่องนั้นเพื่อ จุดประสงค์อะไร สนับสนุนหรือคัดค้านอะไร หรือเพียงแต่ให้ข้อเท็จจริงแล้วเขียนให้อยู่ในประเด็น การเลือกเรื่อง Story Choosing 02
  11. 11. ผู้เขียนบทต้องศึกษาค้นคว้าวิจัยรวบรวมข้อมูลเพื่อเสริมรายละเอียดเรื่องราวที่ถูกต้องจริง ชัดเจน และมีมิติ คุณภาพของบทจะดีหรือไม่จึงอยู่ที่การค้นคว้าหาข้อมูลไม่ว่าจะมีเนื้อหาใดก็ตาม โดยสอบถาม จากนักวิชาการ ค้นคว้าจากห้องสมุดหรือเอกสารสิ่งพิมพ์ที่จัดเก็บเอาไว้ การศึกษาค้นคว้า Research 03
  12. 12. 04 Content Sorting การเรียบเรียงเรื่องราวของบท ลาดับเรื่องก่อนหลังตามความสาคัญของเหตุการณ์หรือเวลาประโยค แต่ละประโยคควรมีแนวความคิดเดียวเป็นประโยคสั้นๆ ที่มีความหมายจบในประโยคนั้นแต่เพื่อความ น่าฟังควรจะสลับกับประโยคยาวบ้าง ตามแต่ความสาคัญของใจความ การจัดลาดับเนื้อหา Content Sorting
  13. 13. ผู้เขียนบทต้องทราบว่าเวลาสาหรับนาเสนอรายการนั้นมีระยะเวลาเท่าไร ทั้งนี้ทั้งนั้นจะต้องเข้าใจถ่องแท้ เกี่ยวกับคุณลักษณะเฉพาะของสื่อ ที่เกี่ยวกับเวลาด้วยแล้วจึงกาหนดรูปแบบของรายการ ความยาว Duration 05
  14. 14. Ja-son มีจุดประสงค์เพื่อให้งานเขียนมีจุดหมาย ไม่วนเวียน ไม่ออกนอกเรื่อง ทาให้วางแนวในการเขียนได้ถูกต้องและทาให้เขียนบทความตามที่ต้องการได้เร็วขึ้น กาหนดบทนา ตัวเรื่อง และการจบ ได้ดี การวางเค้าโครงเรื่อง Storyline 06
  15. 15. Bru-ce กาหนด หัวข้อเรื่อง Write a Script กาหนด ขอบเขตเนื้อหา Scope of Content ลงมือ เขียนบท Set a Topic กาหนดวัตถุประสงค์ และกลุ่มเป้าหมาย Set Objectives 01 02 03 04 ขั้นตอนการเขียนบท Script Writing Process
  16. 16. กาหนดวัตถุประสงค์ของการเขียน เขียนไปเพื่ออะไร ต้องการให้อะไรกับผู้ชม เช่น ความคิด ความรู้ ความบันเทิงเปลี่ยนเจตคติ สร้างค่านิยมที่ดี ปลูกฝังความสานึกที่ดีงาม หรือให้ เกิดทักษะและความชานาญในด้านใด และเพื่อใคร กาหนดวัตถุประสงค์และกลุ่มเป้าหมาย Set Objectives 01
  17. 17. เมื่อทราบเงื่อนไขต่างๆดังที่กล่าวมาในตอนต้นแล้วจะทาให้กาหนดหัวข้อเรื่อง กาหนดหัวข้อเรื่อง Set a Topic 02
  18. 18. ผู้เขียนบทต้องศึกษาค้นคว้าวิจัยรวบรวมข้อมูลเนื้อหาสาระต่างๆ มาวิเคราะห์แยกย่อยหัวเรื่องประเด็น กาหนดขอบเขตเนื้อหาให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์และกลุ่มเป้าหมาย กาหนดขอบเขตเนื้อหา Scope of Content 03
  19. 19. Content Sorting การเขียนบทถือเป็นหัวใจของขั้นก่อนการผลิต(Pre - Production) และเป็นจุดชี้วัดจุดแรกที่จะบอกได้ว่า สื่อนั้นๆ จะประสบความสาเร็จหรือไม่ ลงมือเขียนบท Write a Script 04
  20. 20. บทละคร Series / Drama TV Program ประเภทการเขียนบท บทข่าว Film / Movie News บทประชาสัมพันธ์ Public Relations บทรายการโทรทัศน์ บทภาพยนตร์ Script Writing Type
  21. 21. บทภาพยนตร์เป็นการเขียนอธิบายรายละเอียดเรื่องราว นาโครงเรื่องที่ชัดเจนมาแตก เหตุการณ์ขยายเป็นฉากๆ ลงรายละเอียดย่อยๆ ใส่สถานการณ์ ช่วงเวลา สถานที่ ตัวละคร บทสนทนา บางครั้งอาจกาหนดมุมกล้องหรือขนาดภาพให้ชัดเจนเลยก็ได้ บทภาพยนตร์ Film / Movie
  22. 22. เป็นการนาเรื่องราวที่แต่งขึ้นหรือที่มีอยู่จากแหล่งใดๆ มาเขียนเป็นบทสนทนาเพื่อนาไปใช้ในการสร้าง เป็นการแสดงละครต่อไป บทละครเป็นเรื่องแต่งจาลองภาพชีวิตคล้ายกับนวนิยายและเรื่องสั้น ต่างกันที่ บทละครไม่ได้มีเพื่อการอ่าน แต่เพื่อการแสดง ลักษณะของบทละครจึงมุ่งเน้นไปที่ความสอดคล้องของ การจัดองค์ประกอบของ ฉาก เรื่องราว เหตุการณ์ พฤติกรรม และบุคลิกภาพของตัวละครที่สามารถ เล่าเรื่องผ่านการแสดงได้อย่างแนบเนียนตามเจตนาของผู้เขียน บทละคร Series / Drama
  23. 23. บทรายการโทรทัศน์เป็นหัวใจของการผลิตรายการโทรทัศน์ผู้เขียนบทโทรทัศน์ต้องมีความรอบรู้ในศาสตร์ และศิลป์ด้านต่างๆ มีความเข้าใจในธรรมชาติ การรับรู้ของมนุษย์ ความชอบ ความสนใจความเชื่อ และความ ศรัทธา เป็นต้น บทโทรทัศน์ควรจะมีการใช้ภาษาที่สละสลวย ชวนอ่านชวนฟังมีการเกริ่นนา การดาเนินเรื่อง และบทสรุปที่กระชับ อาจมีสอดแทรกมุขตลก เกร็ดความรู้ หรือเทคนิคแปลกๆ มีลีลาที่น่าสนใจ บทรายการโทรทัศน์ TV Program
  24. 24. เป็นการรายงานข้อเท็จจริงของเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น มีความสาคัญต่อผู้รับชม โดยต้องทันเหตุการณ์ มีความถูกต้องของข้อมูลการเขียนบทข่าวจะมี ลักษณะเฉพาะ ได้แก่ Content Sorting การระบุชื่อบุคคล | การระบุชื่อสถานที่ | การใช้คาย่อสถานที่หรือหน่วยงาน การระบุเวลา | การระบุวัน เดือน ปี | การใช้ตัวเลข การเขียนบทข่าว News
  25. 25. การระบุชื่อบุคคล เมื่อกล่าวครั้งแรกต้องระบุให้ครบถ้วนทั้งยศหรือ บรรดาศักดิ์ ชื่อ-นามสกุล แต่ครั้งต่อไปไม่ต้องใส่นามสกุล การระบุชื่อสถานที่ เมื่อกล่าวครั้งแรกควรกล่าวเต็ม ครั้งต่อไปกล่าวย่อ เช่น “มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี” ลดลงเป็น “ม. พระจอมเกล้า บางมด” การใช้คาย่อสถานที่หรือหน่วยงาน เมื่อกล่าวครั้งแรกควรกล่าวเต็มตามด้วยตัวย่อเช่น “มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี หรือ มจธ.” ครั้งต่อไปใช้ตัวย่อได้เลย การเขียนบทข่าว News
  26. 26. News การเขียนบทข่าว News การระบุเวลา ให้เขียนและพูดเป็นตัวเลข เช่น เขียน “9.30 – 11.30 น.” พูด “เก้า นาฬิกาสามสิบนาทีถึงสิบเอ็ด นาฬิกาสามสิบนาที” การระบุวัน เดือน ปี ควรระบุวันเดือนปีที่เกิดเหตุการณ์ให้ครบถ้วนเช่น เขียน “1 กรกฎาคม 2565” พูด “หนึ่งกรกฎาคม พุทธศักราชสองพันห้าร้อยหกสิบห้า” การใช้ตัวเลข ในกรณีมีหน่วยนับเพียงหน่วย เดียวให้เขียนเป็นตัวอักษรแทน ตัวเลข เช่น 1,000,000 บาท เขียน เป็น “หนึ่งล้านบาท”กรณีอื่นๆ สามารถเขียนตัวเลขและพูดได้ ตามปกติ
  27. 27. การเขียนบทประชาสัมพันธ์เป็นการสื่อสารอย่างมีแบบแผน เพื่อให้ผู้รับชมเกิดการรับรู้ เข้าใจ ยอมรับ ร่วมมือ และสนับสนุนการดาเนินงานขององค์กร เพื่อการบริหารจัดการ เพื่อสร้างภาพลักษณ์ และเพื่อ ส่งเสริมการตลาด ภาษาที่ใช้ต้องเข้าใจง่าย สุภาพ สื่อความหมายชัดเจน ตรงไปตรงมา อาจมีความเป็น ทางการหรือกึ่งทางการ บทประชาสัมพันธ์ Public Relations
  28. 28. การเลือกหัวข้อเรื่อง การเลือกหัวข้อเรื่องไม่ได้หมายถึงการเลือกชื่อเรื่อง แต่ต้องคานึงถึงเนื้อหาหรือสาระของเรื่องเป็นสาคัญบางครั้ง ต้องใช้เวลามากกว่าตอนที่ต้องพูดหรือเขียนเรื่องนั้นจริงๆ เพราะจะต้องประมวลความรู้ความคิดที่เกี่ยวกับเนื้อหา ของเรื่องนั้นให้ถ่องแท้หลักการเลือกหัวข้อเรื่อง มีดังนี้ Title Choosing
  29. 29. สามารถจากัดขอบข่าย ได้หรือไม่ เหมาะกับความสามารถของ ผู้เขียนหรือไม่ เหมาะกับผู้รับชม หรือไม่ การเลือกหัวข้อเรื่อง Title Choosing
  30. 30. การเลือกหัวข้อเรื่อง Title Choosing มีข้อมูลสนับสนุน เพียงพอหรือไม่ หัวข้อเรื่องมีเนื้อหา ชัดเจนหรือไม่ มีจุดมุ่งหมาย อย่างไร ท้าทายและเป็นสิ่งใหม่ หรือไม่ Bru-ce
  31. 31. สามารถจากัดขอบข่ายได้หรือไม่ ผู้เขียนต้องสามารถกาหนดเนื้อหาให้อยู่ในขอบข่ายที่จากัดได้ สามารถควบคุม เนื้อความของเรื่องให้พอเหมาะพอดีกับความยาวที่กาหนดให้ถ้าหัวข้อเรื่องใดมีเนื้อหา หรือขอบข่ายกว้างเกินไปซึ่งไม่สามารถจากัดขอบข่ายได้นั้นก็ไม่ควรที่จะเลือก
  32. 32. เหมาะกับผู้รับชมหรือไม่ หัวข้อเรื่องที่เลือกควรมีเนื้อหาตรงกับความสนใจรสนิยม อารมณ์ และระดับ สติปัญญาของผู้รับสารนั้นๆ การเลือกหัวข้อเรื่องที่มีเนื้อหาซึ่งผู้ฟังและผู้อ่านไม่เข้าใจจะ ทาให้ผลของการสื่อสารย่อมจะได้ประโยชน์น้อยกว่าที่คาดคิดเอาไว้
  33. 33. Ability เหมาะกับความสามารถของผู้เขียนหรือไม่ หัวข้อเรื่องใดที่มีเนื้อหาตรงกับความรู้สติปัญญา และความสนใจ หรือเป็นหัวข้อเรื่องที่ มีความรู้ดีก็ควรเลือกเขียนเรื่องนั้น
  34. 34. มีข้อมูลสนับสนุนเพียงพอหรือไม่ หัวข้อเรื่องที่จะเขียนให้เนื้อหาสมบูรณ์จาเป็นต้องมีข้อมูลที่สนับสนุนมากพอที่ผู้รับชม จะเชื่อถือได้ โดยเฉพาะหัวข้อเรื่องที่เกี่ยวกับความจริงหรือเป็นวิชาการนอกจากจะทาให้ เนื้อหาสมบูรณ์แล้ว ผู้รับชมอาจสืบค้นหาความจริงหรือพิสูจน์ข้อเท็จจริงและ ประเมินผลงานของเรื่องนั้นได้อีกด้วย Information
  35. 35. หัวข้อเรื่องมีเนื้อหาชัดเจนหรือไม่ หัวข้อเรื่องที่กาลังถกเถียงหรือมีเนื้อหาคลุมเครือไม่สามารถที่จะตีประเด็นความให้แตก ได้ หัวข้อเรื่องเหล่านี้ล้วนมีปัญหาไม่ควรจะเลือก ควรเลือกหัวข้อเรื่องที่มีประเด็นชัดเจน และเนื้อหานั้นลงตัวเป็นที่ยอมรับกันทั่วไป
  36. 36. Se-an ความแปลกใหม่เป็นสิ่งที่คนทั่วไปสนใจควรเลือกหัวข้อเรื่องที่สามารถนาเสนอความคิดเห็นแปลกๆ ใหม่ๆ ดีกว่าเลือกหัวข้อเรื่องที่มีผู้เคยเขียนไว้แล้วเพราะหัวข้อเรื่องที่นาเสนอความคิดเห็นใหม่ๆ ลงไปนั้น ย่อม ท้าทายผู้ฟังผู้อ่านมากกว่ากัน ทั้งยังสร้างสรรค์เรื่องราวใหม่ๆ ให้ผู้อื่นได้รับรู้ด้วย ท้าทายและเป็นสิ่งใหม่หรือไม่
  37. 37. การเลือกหัวข้อเรื่องควรมีจุดมุ่งหมายชัดเจนไว้ล่วงหน้าพูดหรือเขียนเรื่องนั้นไปทาไมแนวของเรื่องจะ เป็นอย่างไร และจะใช้กลวิธีในการเดินเรื่อง เพื่อให้เนื้อความทุกตอนของเรื่องกลมกลืนและประสานเป็น อันหนึ่งอันเดียวกันทาให้เรื่องมีใจความสาคัญน่าติดตาม มีจุดมุ่งหมายอย่างไร
  38. 38. เนื้อหาต้องดี คัดเนื้อหาที่เป็นไปตามไอเดีย โดยลิสต์สิ่งที่ จาเป็นต้องบอกเพื่อนาทาบทบรรยาย ภาษาในบทควรเข้าใจง่าย ตรงกับอายุ เพศ ระดับการศึกษาของผู้รับสาร เทคนิคการเขียนบท การเล่าเรื่องไม่สะดุดวกวน กาหนดแนวทางของบทว่าต้องการ พูด เล่า สอน หรือนาเสนออะไร ควรจัดกลุ่มของเนื้อหา และลาดับ การเล่าเรื่องให้ดี ไม่สะดุด ไม่วกไปวนมา ไม่เล่าซ้าไปมา คานึงถึงภาพและเสียง ขณะเขียนบทบรรยาย ต้อง จินตนาการไปด้วยว่าผู้รับชม จะเห็นภาพอะไร ภาษาต้องได้ ไอเดียต้องชัด เชื่อมโยงส่วนเกี่ยวข้อง ควรมีการประสานงานกับทีมงาน อย่างต่อเนื่อง ติดตามสิ่งที่ จาเป็นต้องมีในบท
  39. 39. การเขียนบทสาหรับงานวิดีโอ ดร.กฤษณพงศ์ เลิศบารุงชัย Script Writing for Video Production Facebook.com/TouchPoint.in.th TouchPoint.in.th YouTube.com/c/TouchPointTH

×