SlideShare a Scribd company logo
1 of 14
Download to read offline
1




     สาระสําคัญ

      ตัวตานทาน(Resistor) เปนอุปกรณที่ใชในการตานทานการ
ไหลของกระแสไฟฟา นิยมนํามาประกอบในวงจรทางดานไฟฟา
อิเล็กทรอนิกสทั่วไป ตัวอยางเชนวงจรเครื่องรับวิทยุ โทรทัศน
เครืองขยายเสียง ฯลฯ เปนตน ตัวตานทานที่ตออยูในวงจรไฟฟา
    ่                                        
ทําหนาที่ลดแรงดัน และจํากัดการไหลของกระแสไฟฟาในวงจร
ตัวตานทานมีรูปแบบและขนาดแตกตางกันตามลักษณะของการ
ใชงาน นอกจากนี้ยังแบงออกเปนชนิดคาคงที่และชนิดปรับคาได




สํานักพิมพศูนยสงเสริมอาชีวะ                    โดยบุญสืบ โพธิ์ศรี
2




        ผลการเรียนรูที่คาดหวัง

                 อธิบายรายละเอียดของตัวตานทานแบบตาง ๆ ได
                 เขียนหนวยของตัวตานทานได
                 อานคาความตานทานได
                 นําตัวตานทานไปตอในวงจรแบบตาง ๆ ได
                 ประยุกตใชในชีวตประจําวันได
                                 ิ




สํานักพิมพศูนยสงเสริมอาชีวะ                          โดยบุญสืบ โพธิ์ศรี
3




     ตัวตานทาน(Resistor) เปนอุปกรณที่ใชในการตานทานการ
ไหลของกระแสไฟฟา เพือทําใหกระแสและแรงดันภายในวงจร
                         ่
ไดขนาดตามที่ตองการ สัญลักษณของตัวตานทานที่ใชในการ
เขียนวงจรมีอยูหลายแบบดังแสดงในรูปที่ 2.1


                       รูปที่ 2.1 แสดงสัญลักษณของตัวตานทาน

      ชนิดของตัวตานทาน
   ในกรณีที่แบงโดยยึดเอาคาความตานทานเปนหลักจะแบง
ออกไดเปน 3 ชนิดคือ
         ตัวตานทานแบบคาคงที่(Fixed Resistor)
         ตัวตานทานแบบปรับคาได(Adjustable Resistor)
        ตัวตานทานแบบเปลี่ยนคาได(Variable Resistor)




สํานักพิมพศูนยสงเสริมอาชีวะ                                 โดยบุญสืบ โพธิ์ศรี
4




        ตัวตานทานแบบคาคงที่
   ตัวตานทานชนิดคาคงที่มีหลายประเภท ที่นิยมในการนํามา
ประกอบใชในวงจรทางดานอิเล็กทรอนิกสโดยทั่วไปมีดังนี้
       ตัวตานทานชนิดคารบอนผสม (Carbon Composition)
       ตัวตานทานแบบฟลมโลหะ ( Metal Film)
       ตัวตานทานแบบฟลมคารบอน ( Carbon Film)
       ตัวตานทานแบบไวรวาวด (Wire Wound)
       ตัวตานทานแบบแผนฟลมหนา ( Thick Film Network)
       ตัวตานทานแบบแผนฟลมบาง ( Thin Film Network)




สํานักพิมพศูนยสงเสริมอาชีวะ               โดยบุญสืบ โพธิ์ศรี
5

ตัวตานทานชนิดคารบอนผสม




                   รูปที่ 2.2 แสดงตัวตานทานชนิดคารบอนผสม


ตัวตานทานแบบฟลมโลหะ




                      รูปที่ 2.3 แสดงตัวตานทานแบบฟลมโลหะ


สํานักพิมพศูนยสงเสริมอาชีวะ                                โดยบุญสืบ โพธิ์ศรี
6

 ตัวตานทานแบบฟลมคารบอน)




                    รูปที่ 2.4 แสดงตัวตานทานแบบฟลมคารบอน

 ตัวตานทานแบบไวรวาวด

                                  (ข) การติดตั้งแนวนอน   (ค) ประเภททนกําลังวัตตไดสูง




(ก) การติดตั้งแนวตั้ง (ง) ประเภทเซอรามิคไวรวาวด          (จ) ประเภทอลูมิเนียมไวรวาวด
เพื่อระบายความรอน
              รูปที่ 2.5 แสดงตัวตานทานแบบไวรวาวดชนิดตาง ๆ


 สํานักพิมพศูนยสงเสริมอาชีวะ                                             โดยบุญสืบ โพธิ์ศรี
7

ตัวตานทานแบบแผนฟลมหนา)




              (ก) ตัวตานทานแบบชิพ             (ข) ตัวตานทานแบบเน็ทเวอรค




              (ค) ตัวตานทานแบบไรขา             (ง) ตัวตานทานแบบดิพไอซี
                รูปที่ 2.6 แสดงตัวตานทานแบบแผนฟลมหนาชนิดตาง ๆ

ตัวตานทานแบบแผนฟลมบาง




    รูปที่ 2.7 แสดงรูปรางและสัญลักษณของตัวตานทานแบบแผนฟลมบาง


สํานักพิมพศูนยสงเสริมอาชีวะ                                    โดยบุญสืบ โพธิ์ศรี
8


     ตัวตานทานแบบปรับคาได




             รูปที่ 2.8 แสดงลักษณะรูปรางของตัวตานทานแบบปรับคาได


  ตัวตานทานแบบเปลี่ยนคาได




           รูปที่ 2.9 แสดงลักษณะรูปรางของตัวตานทานแบบเปลี่ยนคาได



สํานักพิมพศูนยสงเสริมอาชีวะ                                โดยบุญสืบ โพธิ์ศรี
9




   (ก)                           (ข)           (ค)                     (ง)

         รูปที่ 2.10 แสดงลักษณะรูปรางและสัญลักษณของโพเทนชิโอมิเตอรและรีโอสตาท
      จากรูปที่ 2.10 (ก) จะเห็นวาโพเทนชิโอมิเตอรมี 3 ขา ขาที่ 1
และ 2 จะมีคาคงที่สวนขาที่ 3 เปลี่ยนแปลงขึ้นลงตามที่ตองการ
                                                          
สวนรีโอสตาทนั้นจะมี 2 ขา ตามรูปที่ 2.10 (ข) แตในกรณีที่
ตองการตอโพเทนชิโอมิเตอรใหเปนรีโอสตาทก็ทําไดโดยการตอ
ขาที่ 3 เขากับขาที่ 2 ก็จะกลายเปนรีโอสตาทตามรูปที่ 2.10 ค สวน
รูปที่ 2.10 ง. แสดงโครงสรางทั่ว ๆ ไปของโพเทนชิโอมิเตอร
                 ความตานทาน
                                       แบบ B
                                                               แบบ A




                                                     การหมุน

   รูปที่ 2.11 แสดงความสัมพันธของการเปลี่ยนแปลงคาความตานทานแบบ A และแบบ B




สํานักพิมพศูนยสงเสริมอาชีวะ                                               โดยบุญสืบ โพธิ์ศรี
10




       รูปที่ 2.12 แสดงลักษณะรูปรางของรีโอสตาทแบบตาง ๆ ที่มีอัตราทนกําลังวัตตสูง

       ตั ว ต า นทานแบบโพเทนชิ โ อมิ เ ตอร อี ก ประเภทหนึ่ ง คื อ
ตัวตานทานแบบปรับละเอียด(Trimmer Potentiometers) ตัวตาน
ทานแบบนี้สวนมากมักใชประกอบในวงจรประเภทเครื่องมือวัด
และทดสอบ เพราะสามารถปรับหมุนเพื่อตองการเปลี่ยนคาความ
ตานทานไดทีละนอยและสามารถหมุนได 15 รอบหรือมากกวา
ซึ่งเมื่อเทียบกับโพเทนชิโอมิเตอรแบบที่ใชในเครื่องรับวิทยุและ
เครืองเสียง ซึ่งจะหมุนไดไมถึง 1 รอบก็จะทําใหคาความตานทาน
     ่
เปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็ว




       รูปที่ 2.13 แสดงลักษณะของตัวตานทานแบบโพเทนชิโอมิเตอรแบบปรับละเอียด

สํานักพิมพศูนยสงเสริมอาชีวะ                                           โดยบุญสืบ โพธิ์ศรี
11




                   รูปราง                         สัญลักษณ

                                 โครงสราง
รูปที่ 2.14 แสดงรูปลักษณะโครงสรางและสัญลักษณของตัวแอลดีอาร




             รูปที่ 2.15 แสดงคาความตานทานตามความเขมของแสง



สํานักพิมพศูนยสงเสริมอาชีวะ                          โดยบุญสืบ โพธิ์ศรี
12




 รูปที่ 2.16 แสดงการหาคาความตานทานและความสัมพันธกบแสงของ LDR
                                                    ั


    เมื่อมีแสงมาตกกระทบที่ LDR จะทําใหคาความตานทานภาย
ในตัว LDR ลดลง จะลดลงมากหรือนอยขึ้นอยูกับแสงที่ตก
กระทบ ในกรณีที่ไมมีแสงหรืออยูในตําแหนงที่มืดคาความตาน
ทานภายในตัว LDR จะมีคาเพิ่มมากขึ้นตามรูปที่ 2.16 การ
ทดสอบ LDR อยางงาย ๆ คือตอสายมิเตอรเขากับ LDR ตังยานวัด
                                                    ้
โอหม หาอุปกรณใหแสงสวางเชนไฟฉายหรือหลอดไฟ โดยให
แสงตกกระทบที่ตัว LDR ตรงดานหนา แลวสังเกตุคาความตาน
ทานจากมิเตอรจะมีคาลดลง ถามีอุปกรณไปบังแสงทําใหมืดคา
ความตานทานจะเพิ่มขึ้น



สํานักพิมพศูนยสงเสริมอาชีวะ                       โดยบุญสืบ โพธิ์ศรี
13

        หนวยของความตานทาน
    หนวยของความตานทานวัดเปนหนวย “โอหม” เขียนแทน
ดวยอักษรกรีกคือตัว “โอเมกา” (Ω) คาความตานทาน 1 โอหม
หมายถึงการปอนแรงดันไฟฟาขนาด 1 โวลท ไหลผานตัวตาน
ทานแลวมีกระแสไฟฟาไหลผาน 1 แอมแปร
             1,000 Ω = 1 KΩ
             1,000 KΩ = 1 MΩ

                 รหัสสี          แถบสีที่ 1   แถบสีที่ 2   แถบสีที่ 3          แถบสีที่ 4
            (Color Code)         ตําแหนง 1   ตําแหนง 2    ตัวคูณ        เปอรเซ็นตผิดพลาด
           ดํา                       0            0                   1         20%(M)
           นํ้าตาล                   1            1                  10          1%(F)
           แดง                       2            2                 100          2%(G)
           สม                       3            3               1,000            -
           เหลือง                    4            4              10,000            -
           เขียว                     5            5            100,000          0.5%(D)
           นํ้าเงิน                  6            6          1,000,000        0.25%(C)
           มวง                      7            7            -                0.1%(B)
           เทา                       8            8            -              0.05%(A)
           ขาว                       9            9            -                   -
           ทอง                        -            -         0.1                 5%(J)
           เงิน                       -            -         0.01               10%(K)


          ตารางที่ 2.1 แสดงรหัสแถบสีจากตัวตานทานแบบ 4 แถบสี

สํานักพิมพศูนยสงเสริมอาชีวะ                                                       โดยบุญสืบ โพธิ์ศรี
14

ตัวอยางที่ 2.1 ตัวตานทานมีรหัสแถบสี สม แดง นํ้าตาล และทอง
มีความตานทานกี่โอหม ?
                                            สม     แดง   นํ้าตาล         ทอง




                  แถบสีที่                   1             2                        3          4
                    สี                      สม           แดง                   นํ้าตาล       ทอง
                    คา                      3             2                     X 10         5%
                   อานคารหัสแถบสีได                              320 Ω
                   ตัวตานทานนี้มีความตานทาน                       320 Ω คาผิดพลาด 5 เปอรเซ็นต
ตัวอยางที่ 2.4 ตัวตานทานมีรหัสแถบสี เหลือง เทา แดง สม และ
นําตาล มีความตานทานกี่โอหม ?
  ้
                                 เหลือง       เทา   แดง    สม            นํ้าตาล




               แถบสีที่              1               2               3                 4           5
                 สี                เหลือง           เทา             แดง               สม      นํ้าตาล
                 คา                 4               8               2              X 1,000     1%


                   อานคารหัสแถบสีได                           482,000 Ω
                   ตัวตานทานนี้มีความตานทาน                    482 KΩ คาผิดพลาด 1 เปอรเซ็นต




สํานักพิมพศูนยสงเสริมอาชีวะ                                                                  โดยบุญสืบ โพธิ์ศรี

More Related Content

What's hot (7)

Physics atom part 1
Physics atom part 1Physics atom part 1
Physics atom part 1
 
P01
P01P01
P01
 
เรื่องที่17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2
เรื่องที่17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2เรื่องที่17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2
เรื่องที่17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2
 
Atom2
Atom2Atom2
Atom2
 
ฟิสิกส์นิวเคลียร์
ฟิสิกส์นิวเคลียร์ฟิสิกส์นิวเคลียร์
ฟิสิกส์นิวเคลียร์
 
Physics atom part 2
Physics atom part 2Physics atom part 2
Physics atom part 2
 
สรุปวิชาฟิสิกส์
สรุปวิชาฟิสิกส์สรุปวิชาฟิสิกส์
สรุปวิชาฟิสิกส์
 

Viewers also liked

เซลล์ไฟฟ้า
เซลล์ไฟฟ้าเซลล์ไฟฟ้า
เซลล์ไฟฟ้าPrasert Boon
 
ไฟฟ้ากระแสสลับ 1
ไฟฟ้ากระแสสลับ 1ไฟฟ้ากระแสสลับ 1
ไฟฟ้ากระแสสลับ 1Theerawat Duangsin
 
Talent management
Talent managementTalent management
Talent managementAtef Mannaa
 
Module III - Social Media Marketing & PR Workshop
Module III - Social Media Marketing & PR WorkshopModule III - Social Media Marketing & PR Workshop
Module III - Social Media Marketing & PR WorkshopHsmai Lax
 
Module V - Social Media Marketing & PR Workshop
Module V - Social Media Marketing & PR WorkshopModule V - Social Media Marketing & PR Workshop
Module V - Social Media Marketing & PR WorkshopHsmai Lax
 
Catalyst Conference Presentation by Jordan Frank - Blogs, Wikis and Why they ...
Catalyst Conference Presentation by Jordan Frank - Blogs, Wikis and Why they ...Catalyst Conference Presentation by Jordan Frank - Blogs, Wikis and Why they ...
Catalyst Conference Presentation by Jordan Frank - Blogs, Wikis and Why they ...tractionjordan
 
Backward design robab-sarvenaz
Backward design robab-sarvenazBackward design robab-sarvenaz
Backward design robab-sarvenazrelmilarc11
 
Module II - Social Media Marketing & PR Workshop
Module II - Social Media Marketing & PR WorkshopModule II - Social Media Marketing & PR Workshop
Module II - Social Media Marketing & PR WorkshopHsmai Lax
 
Mazatec huautla
Mazatec huautlaMazatec huautla
Mazatec huautlaalyumam
 
Introduction - Social Media Marketing & PR Workshop
Introduction - Social Media Marketing & PR WorkshopIntroduction - Social Media Marketing & PR Workshop
Introduction - Social Media Marketing & PR WorkshopHsmai Lax
 
Better Google Drive Client - Project Concept & Plan
Better Google Drive Client - Project Concept & PlanBetter Google Drive Client - Project Concept & Plan
Better Google Drive Client - Project Concept & Plan인구 강
 
SWET­‐QUM: A Quality in Use Extension Model for Semantic Web Exploration Tools
SWET­‐QUM: A Quality in Use Extension Model for Semantic Web Exploration ToolsSWET­‐QUM: A Quality in Use Extension Model for Semantic Web Exploration Tools
SWET­‐QUM: A Quality in Use Extension Model for Semantic Web Exploration ToolsJosep Brunetti
 
Αλγόριθμοι
ΑλγόριθμοιΑλγόριθμοι
ΑλγόριθμοιMaria Rozou
 
An introduction to lifesaving sport
An introduction to lifesaving sportAn introduction to lifesaving sport
An introduction to lifesaving sportTrevor Clark
 
Internet and url by marivic s. manlagnit jmames ict coordinator
Internet and url  by  marivic s. manlagnit jmames ict coordinatorInternet and url  by  marivic s. manlagnit jmames ict coordinator
Internet and url by marivic s. manlagnit jmames ict coordinatorMarivic Manlagnit
 

Viewers also liked (20)

เซลล์ไฟฟ้า
เซลล์ไฟฟ้าเซลล์ไฟฟ้า
เซลล์ไฟฟ้า
 
ไฟฟ้ากระแสสลับ 1
ไฟฟ้ากระแสสลับ 1ไฟฟ้ากระแสสลับ 1
ไฟฟ้ากระแสสลับ 1
 
Talent management
Talent managementTalent management
Talent management
 
Module III - Social Media Marketing & PR Workshop
Module III - Social Media Marketing & PR WorkshopModule III - Social Media Marketing & PR Workshop
Module III - Social Media Marketing & PR Workshop
 
Module V - Social Media Marketing & PR Workshop
Module V - Social Media Marketing & PR WorkshopModule V - Social Media Marketing & PR Workshop
Module V - Social Media Marketing & PR Workshop
 
History of Computer
History of ComputerHistory of Computer
History of Computer
 
Catalyst Conference Presentation by Jordan Frank - Blogs, Wikis and Why they ...
Catalyst Conference Presentation by Jordan Frank - Blogs, Wikis and Why they ...Catalyst Conference Presentation by Jordan Frank - Blogs, Wikis and Why they ...
Catalyst Conference Presentation by Jordan Frank - Blogs, Wikis and Why they ...
 
Backward design robab-sarvenaz
Backward design robab-sarvenazBackward design robab-sarvenaz
Backward design robab-sarvenaz
 
Telof on ipv6
Telof on ipv6Telof on ipv6
Telof on ipv6
 
Module II - Social Media Marketing & PR Workshop
Module II - Social Media Marketing & PR WorkshopModule II - Social Media Marketing & PR Workshop
Module II - Social Media Marketing & PR Workshop
 
Mazatec huautla
Mazatec huautlaMazatec huautla
Mazatec huautla
 
Introduction - Social Media Marketing & PR Workshop
Introduction - Social Media Marketing & PR WorkshopIntroduction - Social Media Marketing & PR Workshop
Introduction - Social Media Marketing & PR Workshop
 
Better Google Drive Client - Project Concept & Plan
Better Google Drive Client - Project Concept & PlanBetter Google Drive Client - Project Concept & Plan
Better Google Drive Client - Project Concept & Plan
 
SWET­‐QUM: A Quality in Use Extension Model for Semantic Web Exploration Tools
SWET­‐QUM: A Quality in Use Extension Model for Semantic Web Exploration ToolsSWET­‐QUM: A Quality in Use Extension Model for Semantic Web Exploration Tools
SWET­‐QUM: A Quality in Use Extension Model for Semantic Web Exploration Tools
 
Αλγόριθμοι
ΑλγόριθμοιΑλγόριθμοι
Αλγόριθμοι
 
Agile
AgileAgile
Agile
 
Yesenia501
Yesenia501Yesenia501
Yesenia501
 
Balau
BalauBalau
Balau
 
An introduction to lifesaving sport
An introduction to lifesaving sportAn introduction to lifesaving sport
An introduction to lifesaving sport
 
Internet and url by marivic s. manlagnit jmames ict coordinator
Internet and url  by  marivic s. manlagnit jmames ict coordinatorInternet and url  by  marivic s. manlagnit jmames ict coordinator
Internet and url by marivic s. manlagnit jmames ict coordinator
 

More from กนกวรรณ โพธิ์ทอง (6)

sun
sunsun
sun
 
นาโนเทคโนโลยี
นาโนเทคโนโลยีนาโนเทคโนโลยี
นาโนเทคโนโลยี
 
การประกอบวงจร
การประกอบวงจรการประกอบวงจร
การประกอบวงจร
 
ไดโอดและทรานซิสเตอร์
ไดโอดและทรานซิสเตอร์ไดโอดและทรานซิสเตอร์
ไดโอดและทรานซิสเตอร์
 
สังเกตดาวศุกร์
สังเกตดาวศุกร์สังเกตดาวศุกร์
สังเกตดาวศุกร์
 
ballloon
ballloonballloon
ballloon
 

ตัวต้านทาน

  • 1. 1 สาระสําคัญ ตัวตานทาน(Resistor) เปนอุปกรณที่ใชในการตานทานการ ไหลของกระแสไฟฟา นิยมนํามาประกอบในวงจรทางดานไฟฟา อิเล็กทรอนิกสทั่วไป ตัวอยางเชนวงจรเครื่องรับวิทยุ โทรทัศน เครืองขยายเสียง ฯลฯ เปนตน ตัวตานทานที่ตออยูในวงจรไฟฟา ่  ทําหนาที่ลดแรงดัน และจํากัดการไหลของกระแสไฟฟาในวงจร ตัวตานทานมีรูปแบบและขนาดแตกตางกันตามลักษณะของการ ใชงาน นอกจากนี้ยังแบงออกเปนชนิดคาคงที่และชนิดปรับคาได สํานักพิมพศูนยสงเสริมอาชีวะ โดยบุญสืบ โพธิ์ศรี
  • 2. 2 ผลการเรียนรูที่คาดหวัง อธิบายรายละเอียดของตัวตานทานแบบตาง ๆ ได เขียนหนวยของตัวตานทานได อานคาความตานทานได นําตัวตานทานไปตอในวงจรแบบตาง ๆ ได ประยุกตใชในชีวตประจําวันได ิ สํานักพิมพศูนยสงเสริมอาชีวะ โดยบุญสืบ โพธิ์ศรี
  • 3. 3 ตัวตานทาน(Resistor) เปนอุปกรณที่ใชในการตานทานการ ไหลของกระแสไฟฟา เพือทําใหกระแสและแรงดันภายในวงจร ่ ไดขนาดตามที่ตองการ สัญลักษณของตัวตานทานที่ใชในการ เขียนวงจรมีอยูหลายแบบดังแสดงในรูปที่ 2.1 รูปที่ 2.1 แสดงสัญลักษณของตัวตานทาน ชนิดของตัวตานทาน ในกรณีที่แบงโดยยึดเอาคาความตานทานเปนหลักจะแบง ออกไดเปน 3 ชนิดคือ ตัวตานทานแบบคาคงที่(Fixed Resistor) ตัวตานทานแบบปรับคาได(Adjustable Resistor) ตัวตานทานแบบเปลี่ยนคาได(Variable Resistor) สํานักพิมพศูนยสงเสริมอาชีวะ โดยบุญสืบ โพธิ์ศรี
  • 4. 4 ตัวตานทานแบบคาคงที่ ตัวตานทานชนิดคาคงที่มีหลายประเภท ที่นิยมในการนํามา ประกอบใชในวงจรทางดานอิเล็กทรอนิกสโดยทั่วไปมีดังนี้ ตัวตานทานชนิดคารบอนผสม (Carbon Composition) ตัวตานทานแบบฟลมโลหะ ( Metal Film) ตัวตานทานแบบฟลมคารบอน ( Carbon Film) ตัวตานทานแบบไวรวาวด (Wire Wound) ตัวตานทานแบบแผนฟลมหนา ( Thick Film Network) ตัวตานทานแบบแผนฟลมบาง ( Thin Film Network) สํานักพิมพศูนยสงเสริมอาชีวะ โดยบุญสืบ โพธิ์ศรี
  • 5. 5 ตัวตานทานชนิดคารบอนผสม รูปที่ 2.2 แสดงตัวตานทานชนิดคารบอนผสม ตัวตานทานแบบฟลมโลหะ รูปที่ 2.3 แสดงตัวตานทานแบบฟลมโลหะ สํานักพิมพศูนยสงเสริมอาชีวะ โดยบุญสืบ โพธิ์ศรี
  • 6. 6 ตัวตานทานแบบฟลมคารบอน) รูปที่ 2.4 แสดงตัวตานทานแบบฟลมคารบอน ตัวตานทานแบบไวรวาวด (ข) การติดตั้งแนวนอน (ค) ประเภททนกําลังวัตตไดสูง (ก) การติดตั้งแนวตั้ง (ง) ประเภทเซอรามิคไวรวาวด (จ) ประเภทอลูมิเนียมไวรวาวด เพื่อระบายความรอน รูปที่ 2.5 แสดงตัวตานทานแบบไวรวาวดชนิดตาง ๆ สํานักพิมพศูนยสงเสริมอาชีวะ โดยบุญสืบ โพธิ์ศรี
  • 7. 7 ตัวตานทานแบบแผนฟลมหนา) (ก) ตัวตานทานแบบชิพ (ข) ตัวตานทานแบบเน็ทเวอรค (ค) ตัวตานทานแบบไรขา (ง) ตัวตานทานแบบดิพไอซี รูปที่ 2.6 แสดงตัวตานทานแบบแผนฟลมหนาชนิดตาง ๆ ตัวตานทานแบบแผนฟลมบาง รูปที่ 2.7 แสดงรูปรางและสัญลักษณของตัวตานทานแบบแผนฟลมบาง สํานักพิมพศูนยสงเสริมอาชีวะ โดยบุญสืบ โพธิ์ศรี
  • 8. 8 ตัวตานทานแบบปรับคาได รูปที่ 2.8 แสดงลักษณะรูปรางของตัวตานทานแบบปรับคาได ตัวตานทานแบบเปลี่ยนคาได รูปที่ 2.9 แสดงลักษณะรูปรางของตัวตานทานแบบเปลี่ยนคาได สํานักพิมพศูนยสงเสริมอาชีวะ โดยบุญสืบ โพธิ์ศรี
  • 9. 9 (ก) (ข) (ค) (ง) รูปที่ 2.10 แสดงลักษณะรูปรางและสัญลักษณของโพเทนชิโอมิเตอรและรีโอสตาท จากรูปที่ 2.10 (ก) จะเห็นวาโพเทนชิโอมิเตอรมี 3 ขา ขาที่ 1 และ 2 จะมีคาคงที่สวนขาที่ 3 เปลี่ยนแปลงขึ้นลงตามที่ตองการ  สวนรีโอสตาทนั้นจะมี 2 ขา ตามรูปที่ 2.10 (ข) แตในกรณีที่ ตองการตอโพเทนชิโอมิเตอรใหเปนรีโอสตาทก็ทําไดโดยการตอ ขาที่ 3 เขากับขาที่ 2 ก็จะกลายเปนรีโอสตาทตามรูปที่ 2.10 ค สวน รูปที่ 2.10 ง. แสดงโครงสรางทั่ว ๆ ไปของโพเทนชิโอมิเตอร ความตานทาน แบบ B แบบ A การหมุน รูปที่ 2.11 แสดงความสัมพันธของการเปลี่ยนแปลงคาความตานทานแบบ A และแบบ B สํานักพิมพศูนยสงเสริมอาชีวะ โดยบุญสืบ โพธิ์ศรี
  • 10. 10 รูปที่ 2.12 แสดงลักษณะรูปรางของรีโอสตาทแบบตาง ๆ ที่มีอัตราทนกําลังวัตตสูง ตั ว ต า นทานแบบโพเทนชิ โ อมิ เ ตอร อี ก ประเภทหนึ่ ง คื อ ตัวตานทานแบบปรับละเอียด(Trimmer Potentiometers) ตัวตาน ทานแบบนี้สวนมากมักใชประกอบในวงจรประเภทเครื่องมือวัด และทดสอบ เพราะสามารถปรับหมุนเพื่อตองการเปลี่ยนคาความ ตานทานไดทีละนอยและสามารถหมุนได 15 รอบหรือมากกวา ซึ่งเมื่อเทียบกับโพเทนชิโอมิเตอรแบบที่ใชในเครื่องรับวิทยุและ เครืองเสียง ซึ่งจะหมุนไดไมถึง 1 รอบก็จะทําใหคาความตานทาน ่ เปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็ว รูปที่ 2.13 แสดงลักษณะของตัวตานทานแบบโพเทนชิโอมิเตอรแบบปรับละเอียด สํานักพิมพศูนยสงเสริมอาชีวะ โดยบุญสืบ โพธิ์ศรี
  • 11. 11 รูปราง สัญลักษณ โครงสราง รูปที่ 2.14 แสดงรูปลักษณะโครงสรางและสัญลักษณของตัวแอลดีอาร รูปที่ 2.15 แสดงคาความตานทานตามความเขมของแสง สํานักพิมพศูนยสงเสริมอาชีวะ โดยบุญสืบ โพธิ์ศรี
  • 12. 12 รูปที่ 2.16 แสดงการหาคาความตานทานและความสัมพันธกบแสงของ LDR ั เมื่อมีแสงมาตกกระทบที่ LDR จะทําใหคาความตานทานภาย ในตัว LDR ลดลง จะลดลงมากหรือนอยขึ้นอยูกับแสงที่ตก กระทบ ในกรณีที่ไมมีแสงหรืออยูในตําแหนงที่มืดคาความตาน ทานภายในตัว LDR จะมีคาเพิ่มมากขึ้นตามรูปที่ 2.16 การ ทดสอบ LDR อยางงาย ๆ คือตอสายมิเตอรเขากับ LDR ตังยานวัด ้ โอหม หาอุปกรณใหแสงสวางเชนไฟฉายหรือหลอดไฟ โดยให แสงตกกระทบที่ตัว LDR ตรงดานหนา แลวสังเกตุคาความตาน ทานจากมิเตอรจะมีคาลดลง ถามีอุปกรณไปบังแสงทําใหมืดคา ความตานทานจะเพิ่มขึ้น สํานักพิมพศูนยสงเสริมอาชีวะ โดยบุญสืบ โพธิ์ศรี
  • 13. 13 หนวยของความตานทาน หนวยของความตานทานวัดเปนหนวย “โอหม” เขียนแทน ดวยอักษรกรีกคือตัว “โอเมกา” (Ω) คาความตานทาน 1 โอหม หมายถึงการปอนแรงดันไฟฟาขนาด 1 โวลท ไหลผานตัวตาน ทานแลวมีกระแสไฟฟาไหลผาน 1 แอมแปร 1,000 Ω = 1 KΩ 1,000 KΩ = 1 MΩ รหัสสี แถบสีที่ 1 แถบสีที่ 2 แถบสีที่ 3 แถบสีที่ 4 (Color Code) ตําแหนง 1 ตําแหนง 2 ตัวคูณ เปอรเซ็นตผิดพลาด ดํา 0 0 1 20%(M) นํ้าตาล 1 1 10 1%(F) แดง 2 2 100 2%(G) สม 3 3 1,000 - เหลือง 4 4 10,000 - เขียว 5 5 100,000 0.5%(D) นํ้าเงิน 6 6 1,000,000 0.25%(C) มวง 7 7 - 0.1%(B) เทา 8 8 - 0.05%(A) ขาว 9 9 - - ทอง - - 0.1 5%(J) เงิน - - 0.01 10%(K) ตารางที่ 2.1 แสดงรหัสแถบสีจากตัวตานทานแบบ 4 แถบสี สํานักพิมพศูนยสงเสริมอาชีวะ โดยบุญสืบ โพธิ์ศรี
  • 14. 14 ตัวอยางที่ 2.1 ตัวตานทานมีรหัสแถบสี สม แดง นํ้าตาล และทอง มีความตานทานกี่โอหม ? สม แดง นํ้าตาล ทอง แถบสีที่ 1 2 3 4 สี สม แดง นํ้าตาล ทอง คา 3 2 X 10 5% อานคารหัสแถบสีได 320 Ω ตัวตานทานนี้มีความตานทาน 320 Ω คาผิดพลาด 5 เปอรเซ็นต ตัวอยางที่ 2.4 ตัวตานทานมีรหัสแถบสี เหลือง เทา แดง สม และ นําตาล มีความตานทานกี่โอหม ? ้ เหลือง เทา แดง สม นํ้าตาล แถบสีที่ 1 2 3 4 5 สี เหลือง เทา แดง สม นํ้าตาล คา 4 8 2 X 1,000 1% อานคารหัสแถบสีได 482,000 Ω ตัวตานทานนี้มีความตานทาน 482 KΩ คาผิดพลาด 1 เปอรเซ็นต สํานักพิมพศูนยสงเสริมอาชีวะ โดยบุญสืบ โพธิ์ศรี