SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 17
Baixar para ler offline
ognitive theories 
C 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยม 
201 701 EDUCATIONAL TECHNOLOGY AND INSTRUCTIONAL DESIGN
C 
ognitive theories 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยม 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยม 
......เชื่อว่าการเรียนรู้เป็นสิ่งที่มากกว่าผลของ การเชื่อมโยงระหว่างสิ่งเร้ากับการตอบสนอง โดย ให้ความสนใจในกระบวนการภายในที่เรียกว่า ความรู้ความเข้าใจหรือการรู้คิดของมนุษย์โดย การเรียนรู้ตามแนวพุทธิปัญญานั้น นอกจาก ผู้เรียนจะเรียนรู้เพิ่มขึ้นแล้ว ยังสามารถจัด รวบรวมเรียบเรียงสิ่งที่เรียนรู้ เพื่อให้สามารถ เรียกกลับมาใช้ได้และถ่ายโยงความรู้เดิมไปสู่ บริบทและปัญหาใหม่ได้
C 
ognitive theories 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยม 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยม 
Behaviorism 
Cognitivism 
- เรื่องของการกระทาภายนอก 
- เรื่องของภายในจิตใจ 
- องค์ประกอบ 
- ภาพรวม 
- ความรู้เป็นสิ่งที่ค้นพบและเรียกกลับ ขึ้นมาใช้ 
- ความรู้เป็นสิ่งที่สร้างขึ้นและสร้าง ขึ้นมาใหม่ 
- ผลลัพธ์ 
- กระบวนการ
C 
ognitive theories 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยม 
ทฤษฎีและนักจิตวิทยาในกลุ่มพุทธิปัญญานิยม ได้แก่... 
ทฤษฎี พัฒนาการ เชาวน์ปัญญา ของเพียเจต์ 
ทฤษฎีการ เรียนรู้โดยการ ค้นพบ ของบรูเนอร์ 
ทฤษฎีการ เรียนรู้อย่างมี ความหมาย 
ของออซูเบล 
ทฤษฎี พัฒนาการ ทางจริยธรรม 
ของโคลเบอร์ก 
ทฤษฎี ความคิด สร้างสรรค์ ของวัลลัช
C 
ognitive theories 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยม 
ทฤษฎีพัฒนาการเชาวน์ปัญญาของ “เพียเจต์” 
......ได้ศึกษาเกี่ยวกับพัฒนาการทางด้าน ความคิดของเด็กว่ามีขั้นตอนหรือกระบวนการ อย่างไร เขาอธิบายว่า การเรียนรู้ของเด็ก เป็นไปตามพัฒนาการทางสติปัญญา ซึ่งจะมี พัฒนาการไปตามวัยต่างๆเป็นลาดับขั้น พัฒนาการเป็นสิ่งที่เป็นไปตามธรรมชาติ
C 
ognitive theories 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยม 
ทฤษฎีพัฒนาการเชาวน์ปัญญาของ “เพียเจต์” 
........เพียเจต์ เชื่อว่าคนเราทุกคนตั้งแต่เกิดมาพร้อมจะมีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม และ โดยธรรมชาติของมนุษย์เป็นผู้พร้อมจะมีกริยากรรมหรือเริ่มกระทาก่อน (Active) โดยมี แนวโน้มพื้นฐานที่ติดตัวมา คือ 
การจัดและรวบรวม (Organization) 
•การจัดและรวบรวมกระบวนการ เข้าภายในอย่างเป็นระบบ และ ปรับปรุงตลอดตราบที่ยังมี ปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม 
การปรับตัว (Adaptation) 
•การซึมซาบ (Assimilation) 
•การปรับโครงสร้างทางปัญญา (Accommodation)
C 
ognitive theories 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยม 
Formal Operations Stage 
อายุ 12 ปีขึ้นไป 
คิดเหนือไปกว่าสิ่งปัจจุบัน สร้างทฤษฎีกับทุกสิ่งอย่าง คิดถึงสิ่งที่เป็นนามธรรม 
Concrete Operations Stage 
อายุ 7 – 11 ปี 
สร้างและตั้งกฎเกณฑ์ในการแบ่งสิ่งแวดล้อมเป็นหมวดหมู่ได้ 
Preoperational Stage 
อายุ 18 เดือน – 7 ปี 
ใช้สัญลักษณ์แทนวัตถุสิ่งของที่อยู่รอบๆ ตัวได้ มีพัฒนาการทางภาษา 
Sensorimotor Stage 
แรกเกิด – 2 ขวบ 
มีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมโดยประสาทสัมผัส และการเคลื่อนไหวของอวัยวะ 
ลาดับขั้นของพัฒนาการเชาวน์ปัญญาของมนุษย์
C 
ognitive theories 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยม 
ทฤษฎีการเรียนรู้โดยการค้นพบ “บรูเนอร์” 
......เป็นนักจิตวิทยาที่สนใจและศึกษาเรื่องของ พัฒนาการทางสติปัญญาต่อเนื่องจากเพียเจต์ บรูเนอร์เชื่อว่ามนุษย์เลือกที่จะรับรู้สิ่งที่ตนเอง สนใจและการเรียนรู้เกิดจากกระบวนการค้นพบ ด้วยตัวเอง(discovery learning)แนวคิดที่สาคัญๆ
C 
ognitive theories 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยม 
ทฤษฎีการเรียนรู้โดยการค้นพบ “บรูเนอร์” 
โดย บรูเนอร์ เชื่อว่า การเรียนรู้จะเกิดขึ้นเมื่อผู้เรียนได้มีปฏิสัมพันธ์กับ สิ่งแวดล้อม ซึ่งนาไปสู่การค้นพบ และการแก้ปัญหา 
เรียกว่า “การเรียนรู้โดยการค้นพบ” (Discovery Approach)
C 
ognitive theories 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยม 
ทฤษฎีการเรียนรู้โดยการค้นพบ “บรูเนอร์” 
1. การเรียนรู้เป็นกระบวนการที่ผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม 
2. ผู้เรียนแต่ละคนจะมีประสบการณ์และพื้นฐานความรู้ที่แตกต่างกัน 
3. การเรียนรู้เกิดจากการสร้างความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งใหม่กับความรู้เดิม แล้วนามา สร้างความหมายใหม่ 
“การเรียนรู้โดยการค้นพบ”
C 
ognitive theories 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยม 
Symbolic Representation 
สามารถถ่ายทอดประสบการณ์ หรือเหตุการณ์โดยใช้สัญลักษณ์ หรือภาษา โดยขั้นนี้เป็นขั้นสูงสุดของ พัฒนาการด้านพุทธิปัญญา 
Iconic Representation 
เด็กสามารถถ่ายทอดประสบการณ์และเรียนรู้ต่างๆ ด้วยการมีภาพในใจ หรือการใช้ภาพแทนของจริง 
Enactive Representation 
เด็กจะแสดงพัฒนาการทางสมองและปัญญาด้วยการกระทา ผ่านการสัมผัส โดยลงมือทาด้วยตัวเอง 
แนวคิดเกี่ยวกับพัฒนาการทางปัญญา“บรูเนอร์”
C 
ognitive theories 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยม 
ทฤษฎีการเรียนรู้อย่างมีความหมาย “ออซูเบล” 
......เป็นนักจิตวิทยาแนวปัญญานิยม ออซูเบล กล่าวไว้ว่าการเรียนรู้จะมีความหมายแก่ ผู้เรียน หากการเรียนรู้นั้นสามารถเชื่อมโยงกับสิ่ง ใดสิ่งหนึ่งที่รู้มาก่อน หลักการจัดการเรียนการ สอนตามทฤษฏีนี้ คือ มีการนาเสนอความคิด รวบยอดหรือกรอบมโนทัศน์
C 
ognitive theories 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยม 
ทฤษฎีการเรียนรู้อย่างมีความหมาย “ออซูเบล” 
....เป็นการเรียนที่ผู้เรียนได้รับจากการที่ผู้สอนอธิบายสิ่งที่จะต้องเรียน โดยผู้เรียนเห็น ความสัมพันธ์ของสิ่งที่เรียนรู้กับโครงสร้างทางปัญญาที่เก็บไว้ในความทรงจา และสามารถ นามาใช้ได้ในอนาคต การเรียนรู้แบบนี้เกิดขึ้นเมื่อผู้เรียนได้เชื่อมโยง (Subsume) สิ่งที่ จะต้องเรียนรู้ใหม่ หรือข้อมูลใหม่กับความรู้เดิมที่มีมาก่อน
C 
ognitive theories 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยม 
ประเภทของการเรียนรู้โดยการรับอย่างมีความหมาย
C 
ognitive theories 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยม 
นางสาวเสาวนา เสียงสนั่น 
•รหัส 575050198-0 
นางสาวนฤนาท คุณธรรม 
•รหัส 575050186-7 
นายวิญญ์ สาสุนันท์ 
•รหัส 575050190-6 
นายสถาพร วงศ์รานุวัฒน์ 
•รหัส 575050038-8 
นายสุระ น้อยสิม รหัส 575050197-2 
สมาชิกกลุ่ม
C 
ognitive theories 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยม 
แหล่งข้อมูล 
http://webhost.wu.ac.th/stipawan/index/link_etc_data/jidvidtaya.htm 
http://www.eschool.su.ac.th/admin/articleadm.php?no=1&code=y http://www.kmutt.ac.th/organization/ssc334/asset1.html http://encarta.msn.com/dictionary_/contemporary.html http://arc.nstru.ac.th/center/pongsak/e_learning/unit5_1.html 
http://dictionary.reference.com/search?q=contemporary http://www.english- test.net/sat/vocabulary/meanings/378/sat-words.php#contemporary 00
ognitive theories 
C 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยม 
201 701 EDUCATIONAL TECHNOLOGY AND INSTRUCTIONAL DESIGN

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามพัน พัน
 
พิธีจุดเทียนแด่แม่ร่วมกับจุดเทียนอุดมการณ์(ฉากสุดท้ายของชีวิต)
พิธีจุดเทียนแด่แม่ร่วมกับจุดเทียนอุดมการณ์(ฉากสุดท้ายของชีวิต)พิธีจุดเทียนแด่แม่ร่วมกับจุดเทียนอุดมการณ์(ฉากสุดท้ายของชีวิต)
พิธีจุดเทียนแด่แม่ร่วมกับจุดเทียนอุดมการณ์(ฉากสุดท้ายของชีวิต)niralai
 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยม
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยมทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยม
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยมNaracha Nong
 
วิวัฒนาการการศึกษาไทย
วิวัฒนาการการศึกษาไทยวิวัฒนาการการศึกษาไทย
วิวัฒนาการการศึกษาไทยnaykulap
 
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาpentanino
 
ปรัชญาทั่วไป บทที่1
ปรัชญาทั่วไป บทที่1 ปรัชญาทั่วไป บทที่1
ปรัชญาทั่วไป บทที่1 Padvee Academy
 
ทฤษฎีการเรี่ยนรู้ของแบนดูรา
ทฤษฎีการเรี่ยนรู้ของแบนดูราทฤษฎีการเรี่ยนรู้ของแบนดูรา
ทฤษฎีการเรี่ยนรู้ของแบนดูราRoiyan111
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญา ศาสนา วิทยาศาสตร์
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญา ศาสนา วิทยาศาสตร์ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญา ศาสนา วิทยาศาสตร์
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญา ศาสนา วิทยาศาสตร์Padvee Academy
 
คำปฎิญาณพิธีจุดเทียนปัญญา2
คำปฎิญาณพิธีจุดเทียนปัญญา2คำปฎิญาณพิธีจุดเทียนปัญญา2
คำปฎิญาณพิธีจุดเทียนปัญญา2niralai
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้Thunyalak Thumphila
 
พิธีอธิษฐานจิตเพื่อเพื่อชีวิตใหม่
พิธีอธิษฐานจิตเพื่อเพื่อชีวิตใหม่พิธีอธิษฐานจิตเพื่อเพื่อชีวิตใหม่
พิธีอธิษฐานจิตเพื่อเพื่อชีวิตใหม่niralai
 
คำปฎิญาณพิธีจุดเทียนอุดมการณ์
คำปฎิญาณพิธีจุดเทียนอุดมการณ์คำปฎิญาณพิธีจุดเทียนอุดมการณ์
คำปฎิญาณพิธีจุดเทียนอุดมการณ์niralai
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนาความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนาPadvee Academy
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้Pimpika Jinak
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้masaya_32
 
อริยสัจ ๔ (ตอน ๒)
อริยสัจ ๔ (ตอน ๒)อริยสัจ ๔ (ตอน ๒)
อริยสัจ ๔ (ตอน ๒)Padvee Academy
 
ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย
ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย  ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย
ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย Bom Anuchit
 

Mais procurados (20)

ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลาม
 
พิธีจุดเทียนแด่แม่ร่วมกับจุดเทียนอุดมการณ์(ฉากสุดท้ายของชีวิต)
พิธีจุดเทียนแด่แม่ร่วมกับจุดเทียนอุดมการณ์(ฉากสุดท้ายของชีวิต)พิธีจุดเทียนแด่แม่ร่วมกับจุดเทียนอุดมการณ์(ฉากสุดท้ายของชีวิต)
พิธีจุดเทียนแด่แม่ร่วมกับจุดเทียนอุดมการณ์(ฉากสุดท้ายของชีวิต)
 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยม
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยมทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยม
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยม
 
วิวัฒนาการการศึกษาไทย
วิวัฒนาการการศึกษาไทยวิวัฒนาการการศึกษาไทย
วิวัฒนาการการศึกษาไทย
 
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
 
ศาสนาพราหมณ์
ศาสนาพราหมณ์ศาสนาพราหมณ์
ศาสนาพราหมณ์
 
Behaviorism cm
Behaviorism cmBehaviorism cm
Behaviorism cm
 
ปรัชญาทั่วไป บทที่1
ปรัชญาทั่วไป บทที่1 ปรัชญาทั่วไป บทที่1
ปรัชญาทั่วไป บทที่1
 
ทฤษฎีการเรี่ยนรู้ของแบนดูรา
ทฤษฎีการเรี่ยนรู้ของแบนดูราทฤษฎีการเรี่ยนรู้ของแบนดูรา
ทฤษฎีการเรี่ยนรู้ของแบนดูรา
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญา ศาสนา วิทยาศาสตร์
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญา ศาสนา วิทยาศาสตร์ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญา ศาสนา วิทยาศาสตร์
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญา ศาสนา วิทยาศาสตร์
 
คำปฎิญาณพิธีจุดเทียนปัญญา2
คำปฎิญาณพิธีจุดเทียนปัญญา2คำปฎิญาณพิธีจุดเทียนปัญญา2
คำปฎิญาณพิธีจุดเทียนปัญญา2
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้
 
ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์
 
พิธีอธิษฐานจิตเพื่อเพื่อชีวิตใหม่
พิธีอธิษฐานจิตเพื่อเพื่อชีวิตใหม่พิธีอธิษฐานจิตเพื่อเพื่อชีวิตใหม่
พิธีอธิษฐานจิตเพื่อเพื่อชีวิตใหม่
 
คำปฎิญาณพิธีจุดเทียนอุดมการณ์
คำปฎิญาณพิธีจุดเทียนอุดมการณ์คำปฎิญาณพิธีจุดเทียนอุดมการณ์
คำปฎิญาณพิธีจุดเทียนอุดมการณ์
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนาความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้
 
อริยสัจ ๔ (ตอน ๒)
อริยสัจ ๔ (ตอน ๒)อริยสัจ ๔ (ตอน ๒)
อริยสัจ ๔ (ตอน ๒)
 
ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย
ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย  ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย
ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย
 

Destaque

Mapทฤษฎีการเรียนรู้
Mapทฤษฎีการเรียนรู้Mapทฤษฎีการเรียนรู้
Mapทฤษฎีการเรียนรู้TupPee Zhouyongfang
 
นวัตกรรมการศีกษาประเภททฤษฎีหรือแนวคิด11
นวัตกรรมการศีกษาประเภททฤษฎีหรือแนวคิด11นวัตกรรมการศีกษาประเภททฤษฎีหรือแนวคิด11
นวัตกรรมการศีกษาประเภททฤษฎีหรือแนวคิด11Tum'Tim Chanjira
 
Cognitivism theory (2)
Cognitivism theory (2)Cognitivism theory (2)
Cognitivism theory (2)Ptato Ok
 
สรุปทฤษฎีการเรียนรู้
สรุปทฤษฎีการเรียนรู้สรุปทฤษฎีการเรียนรู้
สรุปทฤษฎีการเรียนรู้Mod DW
 
4ทฤษฎีการเรียนรู้ ที่ครอบคลุมทั้งหมด
4ทฤษฎีการเรียนรู้ ที่ครอบคลุมทั้งหมด4ทฤษฎีการเรียนรู้ ที่ครอบคลุมทั้งหมด
4ทฤษฎีการเรียนรู้ ที่ครอบคลุมทั้งหมดคน ขี้เล่า
 
ทฤษฎีการเรียนรู้และการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้และการสอนทฤษฎีการเรียนรู้และการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้และการสอนTupPee Zhouyongfang
 
๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษา
๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษา๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษา
๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษาNU
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)Chantana Papattha
 
Information Processing Theory
Information Processing TheoryInformation Processing Theory
Information Processing TheoryKanpirom Trangern
 
การวัดและประเมิลผล
การวัดและประเมิลผลการวัดและประเมิลผล
การวัดและประเมิลผลAnny Hotelier
 

Destaque (11)

Mapทฤษฎีการเรียนรู้
Mapทฤษฎีการเรียนรู้Mapทฤษฎีการเรียนรู้
Mapทฤษฎีการเรียนรู้
 
Cognitivism
CognitivismCognitivism
Cognitivism
 
นวัตกรรมการศีกษาประเภททฤษฎีหรือแนวคิด11
นวัตกรรมการศีกษาประเภททฤษฎีหรือแนวคิด11นวัตกรรมการศีกษาประเภททฤษฎีหรือแนวคิด11
นวัตกรรมการศีกษาประเภททฤษฎีหรือแนวคิด11
 
Cognitivism theory (2)
Cognitivism theory (2)Cognitivism theory (2)
Cognitivism theory (2)
 
สรุปทฤษฎีการเรียนรู้
สรุปทฤษฎีการเรียนรู้สรุปทฤษฎีการเรียนรู้
สรุปทฤษฎีการเรียนรู้
 
4ทฤษฎีการเรียนรู้ ที่ครอบคลุมทั้งหมด
4ทฤษฎีการเรียนรู้ ที่ครอบคลุมทั้งหมด4ทฤษฎีการเรียนรู้ ที่ครอบคลุมทั้งหมด
4ทฤษฎีการเรียนรู้ ที่ครอบคลุมทั้งหมด
 
ทฤษฎีการเรียนรู้และการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้และการสอนทฤษฎีการเรียนรู้และการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้และการสอน
 
๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษา
๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษา๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษา
๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษา
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
 
Information Processing Theory
Information Processing TheoryInformation Processing Theory
Information Processing Theory
 
การวัดและประเมิลผล
การวัดและประเมิลผลการวัดและประเมิลผล
การวัดและประเมิลผล
 

Semelhante a Cognitivism

ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้eubeve
 
09.chapter6 the learning sciences
09.chapter6 the learning sciences09.chapter6 the learning sciences
09.chapter6 the learning sciencesKruBeeKa
 
บทที่ 2 ทฤษฎีการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเ...
บทที่ 2 ทฤษฎีการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเ...บทที่ 2 ทฤษฎีการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเ...
บทที่ 2 ทฤษฎีการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเ...Jan Sirinoot
 
ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่Phornpen Fuangfoo
 
การสอนแบบสืบเสาะ
การสอนแบบสืบเสาะการสอนแบบสืบเสาะ
การสอนแบบสืบเสาะWeerachat Martluplao
 
Presentation 5
Presentation 5Presentation 5
Presentation 5moohmed
 
นวัตกรรมคอน
นวัตกรรมคอนนวัตกรรมคอน
นวัตกรรมคอนO-mu Aomaam
 
บรู
บรูบรู
บรูya035
 

Semelhante a Cognitivism (20)

ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้
 
Cognitivism
CognitivismCognitivism
Cognitivism
 
09.chapter6 the learning sciences
09.chapter6 the learning sciences09.chapter6 the learning sciences
09.chapter6 the learning sciences
 
บทที่ 2 ทฤษฎีการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเ...
บทที่ 2 ทฤษฎีการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเ...บทที่ 2 ทฤษฎีการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเ...
บทที่ 2 ทฤษฎีการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเ...
 
ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่
 
การสอนแบบสืบเสาะ
การสอนแบบสืบเสาะการสอนแบบสืบเสาะ
การสอนแบบสืบเสาะ
 
Presentation 5
Presentation 5Presentation 5
Presentation 5
 
นวัตกรรมคอน
นวัตกรรมคอนนวัตกรรมคอน
นวัตกรรมคอน
 
บรู
บรูบรู
บรู
 
บรู
บรูบรู
บรู
 
บรู
บรูบรู
บรู
 
บรู
บรูบรู
บรู
 
บรู
บรูบรู
บรู
 
บรู
บรูบรู
บรู
 
บรู
บรูบรู
บรู
 
บรู
บรูบรู
บรู
 
บรู
บรูบรู
บรู
 
บรู
บรูบรู
บรู
 
บรู
บรูบรู
บรู
 
Innovation
InnovationInnovation
Innovation
 

Mais de Sathapron Wongchiranuwat

วิเคราะห์กรอบนโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ระยะ พ.ศ. 2554-2563 ของประเ...
วิเคราะห์กรอบนโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารระยะ พ.ศ. 2554-2563 ของประเ...วิเคราะห์กรอบนโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารระยะ พ.ศ. 2554-2563 ของประเ...
วิเคราะห์กรอบนโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ระยะ พ.ศ. 2554-2563 ของประเ...Sathapron Wongchiranuwat
 
ผลของการเรียนบนเครือข่ายที่พัฒนาตามแนวคอนสตรัคติวิสต์
ผลของการเรียนบนเครือข่ายที่พัฒนาตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ ผลของการเรียนบนเครือข่ายที่พัฒนาตามแนวคอนสตรัคติวิสต์
ผลของการเรียนบนเครือข่ายที่พัฒนาตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ Sathapron Wongchiranuwat
 
Learner-Learner, Learner-Content, and Learner-Instructor Interaction and Comm...
Learner-Learner, Learner-Content, and Learner-Instructor Interaction and Comm...Learner-Learner, Learner-Content, and Learner-Instructor Interaction and Comm...
Learner-Learner, Learner-Content, and Learner-Instructor Interaction and Comm...Sathapron Wongchiranuwat
 
Applying technologies for effective instruction
Applying technologies for effective instructionApplying technologies for effective instruction
Applying technologies for effective instructionSathapron Wongchiranuwat
 
The 5 Major Shifts in 21st Century Information Technology V.2
The 5 Major Shifts in 21st Century Information Technology V.2The 5 Major Shifts in 21st Century Information Technology V.2
The 5 Major Shifts in 21st Century Information Technology V.2Sathapron Wongchiranuwat
 
The 5 Major Shifts in 21st Century Information Technology
The 5 Major Shifts in 21st Century Information TechnologyThe 5 Major Shifts in 21st Century Information Technology
The 5 Major Shifts in 21st Century Information TechnologySathapron Wongchiranuwat
 
03 chapter3 201700-foundation of educational technology
03 chapter3 201700-foundation of educational technology03 chapter3 201700-foundation of educational technology
03 chapter3 201700-foundation of educational technologySathapron Wongchiranuwat
 
03 chapter3 201700-foundation of educational technology
03 chapter3 201700-foundation of educational technology03 chapter3 201700-foundation of educational technology
03 chapter3 201700-foundation of educational technologySathapron Wongchiranuwat
 

Mais de Sathapron Wongchiranuwat (20)

วิเคราะห์กรอบนโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ระยะ พ.ศ. 2554-2563 ของประเ...
วิเคราะห์กรอบนโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารระยะ พ.ศ. 2554-2563 ของประเ...วิเคราะห์กรอบนโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารระยะ พ.ศ. 2554-2563 ของประเ...
วิเคราะห์กรอบนโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ระยะ พ.ศ. 2554-2563 ของประเ...
 
constructivist research
constructivist researchconstructivist research
constructivist research
 
ผลของการเรียนบนเครือข่ายที่พัฒนาตามแนวคอนสตรัคติวิสต์
ผลของการเรียนบนเครือข่ายที่พัฒนาตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ ผลของการเรียนบนเครือข่ายที่พัฒนาตามแนวคอนสตรัคติวิสต์
ผลของการเรียนบนเครือข่ายที่พัฒนาตามแนวคอนสตรัคติวิสต์
 
Bloom' Digital Taxonomy
Bloom' Digital TaxonomyBloom' Digital Taxonomy
Bloom' Digital Taxonomy
 
Learner-Learner, Learner-Content, and Learner-Instructor Interaction and Comm...
Learner-Learner, Learner-Content, and Learner-Instructor Interaction and Comm...Learner-Learner, Learner-Content, and Learner-Instructor Interaction and Comm...
Learner-Learner, Learner-Content, and Learner-Instructor Interaction and Comm...
 
Cognitive tools for open ended
Cognitive tools for open endedCognitive tools for open ended
Cognitive tools for open ended
 
Databases as cognitive tools
Databases as cognitive toolsDatabases as cognitive tools
Databases as cognitive tools
 
Aect standard 3 learning environments
Aect standard 3  learning environmentsAect standard 3  learning environments
Aect standard 3 learning environments
 
Applying technologies for effective instruction
Applying technologies for effective instructionApplying technologies for effective instruction
Applying technologies for effective instruction
 
09 10-14 cognitive constructivismv2
09 10-14 cognitive constructivismv209 10-14 cognitive constructivismv2
09 10-14 cognitive constructivismv2
 
Active Learning
Active LearningActive Learning
Active Learning
 
Innovation
InnovationInnovation
Innovation
 
The 5 Major Shifts in 21st Century Information Technology V.2
The 5 Major Shifts in 21st Century Information Technology V.2The 5 Major Shifts in 21st Century Information Technology V.2
The 5 Major Shifts in 21st Century Information Technology V.2
 
The 5 Major Shifts in 21st Century Information Technology
The 5 Major Shifts in 21st Century Information TechnologyThe 5 Major Shifts in 21st Century Information Technology
The 5 Major Shifts in 21st Century Information Technology
 
BERLO’S SMCR MODEL OF COMMUNICATION
BERLO’S SMCR MODEL OF COMMUNICATIONBERLO’S SMCR MODEL OF COMMUNICATION
BERLO’S SMCR MODEL OF COMMUNICATION
 
03 chapter3 201700-foundation of educational technology
03 chapter3 201700-foundation of educational technology03 chapter3 201700-foundation of educational technology
03 chapter3 201700-foundation of educational technology
 
03 chapter3 201700-foundation of educational technology
03 chapter3 201700-foundation of educational technology03 chapter3 201700-foundation of educational technology
03 chapter3 201700-foundation of educational technology
 
575050030 8-homework-01-201702
575050030 8-homework-01-201702575050030 8-homework-01-201702
575050030 8-homework-01-201702
 
[Week2] databases as cognitive tools
[Week2] databases as cognitive tools[Week2] databases as cognitive tools
[Week2] databases as cognitive tools
 
575050030 8-homework-01-201702
575050030 8-homework-01-201702575050030 8-homework-01-201702
575050030 8-homework-01-201702
 

Cognitivism

  • 1. ognitive theories C ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยม 201 701 EDUCATIONAL TECHNOLOGY AND INSTRUCTIONAL DESIGN
  • 2. C ognitive theories ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยม ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยม ......เชื่อว่าการเรียนรู้เป็นสิ่งที่มากกว่าผลของ การเชื่อมโยงระหว่างสิ่งเร้ากับการตอบสนอง โดย ให้ความสนใจในกระบวนการภายในที่เรียกว่า ความรู้ความเข้าใจหรือการรู้คิดของมนุษย์โดย การเรียนรู้ตามแนวพุทธิปัญญานั้น นอกจาก ผู้เรียนจะเรียนรู้เพิ่มขึ้นแล้ว ยังสามารถจัด รวบรวมเรียบเรียงสิ่งที่เรียนรู้ เพื่อให้สามารถ เรียกกลับมาใช้ได้และถ่ายโยงความรู้เดิมไปสู่ บริบทและปัญหาใหม่ได้
  • 3. C ognitive theories ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยม ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยม Behaviorism Cognitivism - เรื่องของการกระทาภายนอก - เรื่องของภายในจิตใจ - องค์ประกอบ - ภาพรวม - ความรู้เป็นสิ่งที่ค้นพบและเรียกกลับ ขึ้นมาใช้ - ความรู้เป็นสิ่งที่สร้างขึ้นและสร้าง ขึ้นมาใหม่ - ผลลัพธ์ - กระบวนการ
  • 4. C ognitive theories ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยม ทฤษฎีและนักจิตวิทยาในกลุ่มพุทธิปัญญานิยม ได้แก่... ทฤษฎี พัฒนาการ เชาวน์ปัญญา ของเพียเจต์ ทฤษฎีการ เรียนรู้โดยการ ค้นพบ ของบรูเนอร์ ทฤษฎีการ เรียนรู้อย่างมี ความหมาย ของออซูเบล ทฤษฎี พัฒนาการ ทางจริยธรรม ของโคลเบอร์ก ทฤษฎี ความคิด สร้างสรรค์ ของวัลลัช
  • 5. C ognitive theories ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยม ทฤษฎีพัฒนาการเชาวน์ปัญญาของ “เพียเจต์” ......ได้ศึกษาเกี่ยวกับพัฒนาการทางด้าน ความคิดของเด็กว่ามีขั้นตอนหรือกระบวนการ อย่างไร เขาอธิบายว่า การเรียนรู้ของเด็ก เป็นไปตามพัฒนาการทางสติปัญญา ซึ่งจะมี พัฒนาการไปตามวัยต่างๆเป็นลาดับขั้น พัฒนาการเป็นสิ่งที่เป็นไปตามธรรมชาติ
  • 6. C ognitive theories ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยม ทฤษฎีพัฒนาการเชาวน์ปัญญาของ “เพียเจต์” ........เพียเจต์ เชื่อว่าคนเราทุกคนตั้งแต่เกิดมาพร้อมจะมีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม และ โดยธรรมชาติของมนุษย์เป็นผู้พร้อมจะมีกริยากรรมหรือเริ่มกระทาก่อน (Active) โดยมี แนวโน้มพื้นฐานที่ติดตัวมา คือ การจัดและรวบรวม (Organization) •การจัดและรวบรวมกระบวนการ เข้าภายในอย่างเป็นระบบ และ ปรับปรุงตลอดตราบที่ยังมี ปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม การปรับตัว (Adaptation) •การซึมซาบ (Assimilation) •การปรับโครงสร้างทางปัญญา (Accommodation)
  • 7. C ognitive theories ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยม Formal Operations Stage อายุ 12 ปีขึ้นไป คิดเหนือไปกว่าสิ่งปัจจุบัน สร้างทฤษฎีกับทุกสิ่งอย่าง คิดถึงสิ่งที่เป็นนามธรรม Concrete Operations Stage อายุ 7 – 11 ปี สร้างและตั้งกฎเกณฑ์ในการแบ่งสิ่งแวดล้อมเป็นหมวดหมู่ได้ Preoperational Stage อายุ 18 เดือน – 7 ปี ใช้สัญลักษณ์แทนวัตถุสิ่งของที่อยู่รอบๆ ตัวได้ มีพัฒนาการทางภาษา Sensorimotor Stage แรกเกิด – 2 ขวบ มีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมโดยประสาทสัมผัส และการเคลื่อนไหวของอวัยวะ ลาดับขั้นของพัฒนาการเชาวน์ปัญญาของมนุษย์
  • 8. C ognitive theories ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยม ทฤษฎีการเรียนรู้โดยการค้นพบ “บรูเนอร์” ......เป็นนักจิตวิทยาที่สนใจและศึกษาเรื่องของ พัฒนาการทางสติปัญญาต่อเนื่องจากเพียเจต์ บรูเนอร์เชื่อว่ามนุษย์เลือกที่จะรับรู้สิ่งที่ตนเอง สนใจและการเรียนรู้เกิดจากกระบวนการค้นพบ ด้วยตัวเอง(discovery learning)แนวคิดที่สาคัญๆ
  • 9. C ognitive theories ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยม ทฤษฎีการเรียนรู้โดยการค้นพบ “บรูเนอร์” โดย บรูเนอร์ เชื่อว่า การเรียนรู้จะเกิดขึ้นเมื่อผู้เรียนได้มีปฏิสัมพันธ์กับ สิ่งแวดล้อม ซึ่งนาไปสู่การค้นพบ และการแก้ปัญหา เรียกว่า “การเรียนรู้โดยการค้นพบ” (Discovery Approach)
  • 10. C ognitive theories ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยม ทฤษฎีการเรียนรู้โดยการค้นพบ “บรูเนอร์” 1. การเรียนรู้เป็นกระบวนการที่ผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม 2. ผู้เรียนแต่ละคนจะมีประสบการณ์และพื้นฐานความรู้ที่แตกต่างกัน 3. การเรียนรู้เกิดจากการสร้างความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งใหม่กับความรู้เดิม แล้วนามา สร้างความหมายใหม่ “การเรียนรู้โดยการค้นพบ”
  • 11. C ognitive theories ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยม Symbolic Representation สามารถถ่ายทอดประสบการณ์ หรือเหตุการณ์โดยใช้สัญลักษณ์ หรือภาษา โดยขั้นนี้เป็นขั้นสูงสุดของ พัฒนาการด้านพุทธิปัญญา Iconic Representation เด็กสามารถถ่ายทอดประสบการณ์และเรียนรู้ต่างๆ ด้วยการมีภาพในใจ หรือการใช้ภาพแทนของจริง Enactive Representation เด็กจะแสดงพัฒนาการทางสมองและปัญญาด้วยการกระทา ผ่านการสัมผัส โดยลงมือทาด้วยตัวเอง แนวคิดเกี่ยวกับพัฒนาการทางปัญญา“บรูเนอร์”
  • 12. C ognitive theories ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยม ทฤษฎีการเรียนรู้อย่างมีความหมาย “ออซูเบล” ......เป็นนักจิตวิทยาแนวปัญญานิยม ออซูเบล กล่าวไว้ว่าการเรียนรู้จะมีความหมายแก่ ผู้เรียน หากการเรียนรู้นั้นสามารถเชื่อมโยงกับสิ่ง ใดสิ่งหนึ่งที่รู้มาก่อน หลักการจัดการเรียนการ สอนตามทฤษฏีนี้ คือ มีการนาเสนอความคิด รวบยอดหรือกรอบมโนทัศน์
  • 13. C ognitive theories ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยม ทฤษฎีการเรียนรู้อย่างมีความหมาย “ออซูเบล” ....เป็นการเรียนที่ผู้เรียนได้รับจากการที่ผู้สอนอธิบายสิ่งที่จะต้องเรียน โดยผู้เรียนเห็น ความสัมพันธ์ของสิ่งที่เรียนรู้กับโครงสร้างทางปัญญาที่เก็บไว้ในความทรงจา และสามารถ นามาใช้ได้ในอนาคต การเรียนรู้แบบนี้เกิดขึ้นเมื่อผู้เรียนได้เชื่อมโยง (Subsume) สิ่งที่ จะต้องเรียนรู้ใหม่ หรือข้อมูลใหม่กับความรู้เดิมที่มีมาก่อน
  • 14. C ognitive theories ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยม ประเภทของการเรียนรู้โดยการรับอย่างมีความหมาย
  • 15. C ognitive theories ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยม นางสาวเสาวนา เสียงสนั่น •รหัส 575050198-0 นางสาวนฤนาท คุณธรรม •รหัส 575050186-7 นายวิญญ์ สาสุนันท์ •รหัส 575050190-6 นายสถาพร วงศ์รานุวัฒน์ •รหัส 575050038-8 นายสุระ น้อยสิม รหัส 575050197-2 สมาชิกกลุ่ม
  • 16. C ognitive theories ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยม แหล่งข้อมูล http://webhost.wu.ac.th/stipawan/index/link_etc_data/jidvidtaya.htm http://www.eschool.su.ac.th/admin/articleadm.php?no=1&code=y http://www.kmutt.ac.th/organization/ssc334/asset1.html http://encarta.msn.com/dictionary_/contemporary.html http://arc.nstru.ac.th/center/pongsak/e_learning/unit5_1.html http://dictionary.reference.com/search?q=contemporary http://www.english- test.net/sat/vocabulary/meanings/378/sat-words.php#contemporary 00
  • 17. ognitive theories C ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยม 201 701 EDUCATIONAL TECHNOLOGY AND INSTRUCTIONAL DESIGN