SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 31
Baixar para ler offline
จุฑารัตน์ นกแก้ว และ อาภาภรณ์ อังสาชน
สนับสนุนทุนโดยสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ประจำปีงบประมาณ 2565
การจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชน
การจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชน
ในวิถีภูมิปัญญาท้องถิ่นตาลโตนด
ในวิถีภูมิปัญญาท้องถิ่นตาลโตนด
(บ้านห้วยกรด)
(บ้านห้วยกรด)
การจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชน
การจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชน
(บ้านห้วยกรด)
(บ้านห้วยกรด)
ในวิถีภูมิปัญญาท้องถิ่นตาลโตนด
ในวิถีภูมิปัญญาท้องถิ่นตาลโตนด
โครงการการใช้ประโยชน์องค์ความรู้ภูมิปั ญญาท้องถิ่นตาลโตนด
เพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนตำบลห้วยกรด
อำเภอสรรคบุรี จังหวัดชัยนาท
ได้รับทุนอุดหนุนการทำกิจกรรมส่งเสริมและสนับสนุนการวิจัยและนวัตกรรม
จากสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ประจำปี งบประมาณ 2565
จุฑารัตน์ นกแก้ว และ อาภาภรณ์ อังสาชน
การจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชน
การจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชน
ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงการอนุรักษ์ตาลโตนด (บ้านห้วยกรด)
เทศบาลตำบลห้วยกรด
โรงเรียนห้วยกรดวิทยา
สำนักงานเกษตรอำเภอสรรคบุรี
ศูนย์การศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม - ชัยนาท
จัดทำโดย
ร่วมกับ
แหล่งทุน
จุฑารัตน์ นกแก้ว และ อาภาภรณ์ อังสาชน
มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม
สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.)
ในวิถีภูมิปัญญาท้องถิ่นตาลโตนด
ในวิถีภูมิปัญญาท้องถิ่นตาลโตนด
(บ้านห้วยกรด)
(บ้านห้วยกรด)
คู่มือการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนในวิถีภูมิปัญญาท้องถิ่นตาลโตนด (บ้านห้วยกรด)
เล่มนี้ได้รับทุนอุดหนุนการทำกิจกรรมส่งเสริมและสนับสนุนการวิจัยและนวัตกรรม
ประจำปี 2565 จากสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) จัดทำโดย คณะมนุษยศาสตร์
และสังคมศาสตร์ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม เนื้อหา
ประกอบด้วยสาระสำคัญ ได้แก่ ที่มาของการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนวิถีตาลโตนด
(บ้านห้วยกรด) แนวคิด หลักการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชน การดำเนินงานจัดการ
ท่องเที่ยวโดยชุมชน ผลการดำเนินกิจกรรมการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนโดยใช้
ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงการอนุรักษ์ตาลโตนดเป็นฐาน และการสรุป ถอดบทเรียน
คณะผู้จัดทำมุ่งหวังที่จะพัฒนาองค์ความรู้และต่อยอด
ภูมิปัญญาท้องถิ่นตาลโตนดให้เกิดประโยชน์เชิงเศรษฐกิจ
เพื่อเป็นพื้นฐานในการพัฒนาเศรษฐกิจฐานรากในชุมชน
เกิดการพึ่งพาตนเอง อันก่อให้เกิดการพัฒนาชุมชนอย่างยั่งยืน
คู่มือเล่มนี้นำมาใช้สำหรับการอบรมเชิงปฏิบัติการ
การจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนและการฝึ กอบรมมัคคุเทศก์ท้องถิ่น
ในศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงการอนุรักษ์ตาลโตนด (บ้านห้วยกรด)
คำนำ
คำนำ
คณะทำงาน
กันยายน 2565
สารบัญ
สารบัญ
หน้า
หน้า
01
04
13
15
ส่วนที่ 1
บทนำ ที่มาของการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชน
ในวิถีตาลโตนด (บ้านห้วยกรด)
ส่วนที่ 2
แนวคิด หลักการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชน
ในศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงการอนุรักษ์
ตาลโตนด (บ้านห้วยกรด)
ส่วนที่ 3
การดำเนินงานจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชน
ในศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงการอนุรักษ์
ตาลโตนด (บ้านห้วยกรด)
ส่วนที่ 4
ผลการดำเนินกิจกรรมการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชน
โดยใช้ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงการอนุรักษ์
ตาลโตนดเป็นฐาน
หน้า
หน้า
19
22
23
24
ส่วนที่ 5
ผลสรุป ถอดบทเรียน
เอกสารอ้างอิง
ภาคผนวก
ทีมร่วมพัฒนา
infographic (A4) 1 แผ่น
QR code เอกสารโครงการฝึกอบรมการจัดการท่องเที่ยว
โดยชุมชน
QR code ป้ายฐานเรียนรู้ จำนวน 5 ฐาน
QR code เรื่องเล่า ตำนานตาลโตนดห้วยกรด
QR code ขั้นตอนการปฏิบัติงานมัคคุเทศก์ท้องถิ่น
QR code เว็บไซต์ศูนย์เรียนรู้เศรษกิจพอเพียง
การอนุรักษ์ตาลโตนด (บ้านห้วยกรด)
QR code คู่มือการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชน
ในวิถีภูมิปัญญาท้องถิ่นตาลโตนด
(บ้านห้วยกรด)
หัวใจการท่องเที่ยว
หัวใจการท่องเที่ยว
4 ห้อง
4 ห้อง
การเรียนรู้เป็ นหนึ่งในวัตถุประสงค์ของการท่องเที่ยว
การเชื่อมโยงแหล่งท่องเที่ยวชุมชนเข้ากับวัฒนธรรมและภูมิปั ญญาท้องถิ่น
แนวคิด
การเรียนรู้ภูมิปั ญญา วิถี วัฒนธรรมของชุมชน
ดำเนินการโดยชุมชน เพื่อชุมชน ชุมชนมีส่วนร่วมกำหนดทิศทาง ร่วมตัดสินใจ
ความหมาย
ร่วมดำเนินการ ร่วมประเมินผล และร่วมรับผลกระทบ (เชิงบวกและเชิงลบ)
เรียนรู้ ให้นักท่องเที่ยว
เรียนรู้ด้วยตนเอง เช่น
เดินชมวิถีชาวบ้าน
จักสานตาลด้วยตนเอง
ผูกพัน ให้นักท่องเที่ยวได้เห็น
สัมผัส รู้สึกคิดถึง
เกิดจากการเรียนรู้ เห็นคุณค่า
ของผลิตภัณฑ์ บริการและ
กิจกรรมการท่องเที่ยว
บทนำ ที่มาของการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชน
บทนำ ที่มาของการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชน
ในวิถีตาลโตนด (บ้านห้วยกรด)
ในวิถีตาลโตนด (บ้านห้วยกรด)
ส่วนที่
ส่วนที่
ความสำคัญของ
ความสำคัญของ
การจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชน
การจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชน
การจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชน
การจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชน
1
1
แท้จริง ต้องเป็ นวิถีชุมชน
วิถีชีวิตที่แท้จริง
แลกเปลี่ยน มีการถ่ายทอด
เรื่องราวภูมิปั ญญา
สร้างงาน สร้างอาชีพ สร้างรายได้
การจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนในวิถีภูมิปัญญาท้องถิ่นตาลโตนด
การจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนในวิถีภูมิปัญญาท้องถิ่นตาลโตนด
(บ้านห้วยกรด)
(บ้านห้วยกรด)
1
ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง
ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง
การอนุรักษ์ตาลโตนด (บ้านห้วยกรด)
การอนุรักษ์ตาลโตนด (บ้านห้วยกรด)
ตัวอย่าง
ตัวอย่าง
ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง
ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง
การอนุรักษ์ตาลโตนด (บ้านห้วยกรด)
การอนุรักษ์ตาลโตนด (บ้านห้วยกรด)
กับการเป็นแหล่งท่องเที่ยว
กับการเป็นแหล่งท่องเที่ยว
ทุนทางสังคม
วัฒนธรรม ภูมิปั ญญา สืบสาน
ฐานการผลิต
แนวคิด
สืบทอดนำไปใช้ประโยชน์ได้
แหล่งเรียนรู้ภูมิปั ญญาท้องถิ่น
ตาลโตนดและฝึ กทักษะอาชีพตาล
หน่วยงานราชการในท้องถิ่น
สถาบันการศึกษา
หน่วยงานที่สนับสนุนให้ศูนย์เป็ นแหล่งท่องเที่ยว
-
- มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
- จัดกิจกรรมให้ความรู้ เพื่อสนับสนุนศูนย์เรียนรู้ฯ เป็ นแหล่ง
- จัดกิจกรรมให้ความรู้ เพื่อสนับสนุนศูนย์เรียนรู้ฯ เป็ นแหล่ง
ท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ เช่นมีการ ใช้คำว่า “บ้านคนรักษ์ตาล”
ท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ เช่นมีการ ใช้คำว่า “บ้านคนรักษ์ตาล”
แทนคำว่า “ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงการอนุรักษ์การโตนด“
แทนคำว่า “ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงการอนุรักษ์การโตนด“
เพื่อการเข้าถึง ผ่านการค้นหาในระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
เพื่อการเข้าถึง ผ่านการค้นหาในระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
- การจัดทำเว็บไซต์ “เที่ยวยิ้มอิ่มใจ"
- การจัดทำเว็บไซต์ “เที่ยวยิ้มอิ่มใจ"
- มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม
- มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม
- การจัดทำเว็บไซต์ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง
- การจัดทำเว็บไซต์ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง
การอนุรักษ์ตาลโตนด
การอนุรักษ์ตาลโตนด
- การจัดระบบองค์ความรู้ฐานเรียนรู้ภูมิปั ญญาท้องถิ่น
- การจัดระบบองค์ความรู้ฐานเรียนรู้ภูมิปั ญญาท้องถิ่น
การโตนด เพื่อเป็ นแหล่งเรียนรู้และจัดเตรียมความพร้อม
การโตนด เพื่อเป็ นแหล่งเรียนรู้และจัดเตรียมความพร้อม
ในการเป็ นแหล่งเรียนรู้เพื่อการท่องเที่ยวโดยชุมชน
ในการเป็ นแหล่งเรียนรู้เพื่อการท่องเที่ยวโดยชุมชน
สำนักงานเกษตรอำเภอสรรคบุรี สำนักงานเกษตร
จังหวัดชัยนาท สนับสนุนให้ศูนย์เรียนรู้ฯ เป็ นแหล่ง
ท่องเที่ยวเชิงเกษตร
- มีการจัดกิจกรรมนำเที่ยวในศูนย์เรียนรู้ฯ
ตามฐานเรียนรู้ภูมิปั ญญาท้องถิ่นตาลโตนด
สนับบสนุนให้ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง
การอนุรักษ์ เป็ นแหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม
- การขอรับรองมาตรฐานการท่องเที่ยวเชิง
วัฒนธรรม
- ทดลองจัดทำโปรแกรมการท่องเที่ยวในศูนย์
เรียนรู้ฯ มีนักท่องเที่ยวมาเยี่ยมชมและร่วม
กิจกรรม
การจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนยั่งยืน
การจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนยั่งยืน
ประโยชน์การท่องเที่ยวโดยชุมชนยั่งยืน
ประโยชน์ของศูนย์เรียนรู้ฯ
หน่วยงานราชการในท้องถิ่น
สภาวัฒนธรรมจังหวัดชัยนาท
สถาบันการศึกษา
เครื่องมือในการสร้างความเข้มแข็งของชุมชน
ท้องถิ่นเข้มแข็ง
เสริมสร้างรายได้ให้ชุมชน
เป็ นศูนย์รวมจิตใจ ทำให้คนรักและภูมิใจใน
รากเหง้าตนเอง ซึ่งเป็ นไปตามคุณลักษณะ
แหล่งเรียนรู้ที่จะช่วยเพื่อให้เกิดมีรายได้
เพิ่มมากขึ้น
เกิดกระบวนการเรียนรู้ การทำงานร่วมกัน
ชุมชนเกิดความรัก ความภาคภูมิใจ ความรู้สึก
เป็ นเจ้าของ มีส่วนร่วมในทรัพยากรของชุมชน
การจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนในวิถีภูมิปัญญาท้องถิ่นตาลโตนด
การจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนในวิถีภูมิปัญญาท้องถิ่นตาลโตนด
(บ้านห้วยกรด)
(บ้านห้วยกรด) 2
ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงการอนุรักษ์ตาลโตนด (บ้านห้วยกรด)
ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงการอนุรักษ์ตาลโตนด (บ้านห้วยกรด)
กับการท่องเที่ยวโดยชุมชน
กับการท่องเที่ยวโดยชุมชน
ด้านทรัพยากรวัฒนธรรม มีอัตลักษณ์ชุมชนด้านภูมิปัญญาเฉพาะท้องถิ่นและ
วัฒนธรรมด้านตาลโตนด มีทรัพยากรธรรมชาติ ทรัพยากรท้องถิ่นและสิ่งแวดล้อมทาง
ธรรมชาติที่สมบูรณ์
ด้านสถานที่ พื้นที่ มีพื้นที่และอาคารในสถานที่จริงและสถานที่เสมือนจริงบนเว็บไซต์
ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงการอนุรักษ์ตาลโตนด มีองค์ประกอบที่เป็นไปตามองค์ประกอบของ
การท่องเที่ยวโดยชุมชน และองค์ประกอบการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ ดังนี้
ด้านองค์กรชุมชน มีคณะกรรมการดำเนินงานศูนย์ มีปราชญ์ ผู้รู้
ด้านกิจกรรมการเรียนรู้ เป็นศูนย์เรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่นตาลโตนด
และฝึ กอาชีพตาลโตนดของชุมชนบ้านห้วยกรด มีองค์ประกอบตาม
กิจกรรมท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ กิจกรรมการทำตาลที่เป็น
สิ่งที่เกิดขึ้นจริงในวิถีชีวิต นักท่องเที่ยวได้มีส่วนทดลองทำงาน
หัตถกรรมจากใบตาล ทำกิจกรรมร่วมกับท้องถิ่น มีการแลกเปลี่ยน
ถ่ายทอดเรียนรู้ภูมิปัญญาให้นักท่องเที่ยวผ่านกิจกรรม มีกิจกรรม
การเรียนรู้ที่นักท่องเที่ยวเรียนรู้ด้วยตนเอง เช่น การทำอาหารจาก
ตาลด้วยสูตรอาหารพื้นถิ่น การเดินชมบรรยากาศของวิถีตาลภายใน
ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงการอนุรักษ์ตาลโตนด
ด้านสินค้า ที่เป็นผลิตภัณฑ์ชุมชนจากผลผลิตตาลโตนด
การจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนในวิถีภูมิปัญญาท้องถิ่นตาลโตนด
การจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนในวิถีภูมิปัญญาท้องถิ่นตาลโตนด
(บ้านห้วยกรด)
(บ้านห้วยกรด)
3
ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงการอนุรักษ์ตาลโตนด ไม่มีองค์ประกอบด้านการจัดการ
ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงการอนุรักษ์ตาลโตนด ไม่มีองค์ประกอบด้านการจัดการ
สิ่งที่ต้องดำเนินการ
สิ่งที่ต้องดำเนินการ
หากพิจารณาองค์ประกอบของการท่องเที่ยวโดยชุมชน ศูนย์เรียนรู้ฯ ยังขาดองค์ประกอบด้าน
การจัดการเพื่อเชื่อมโยงการท่องเที่ยวเข้ากับการพัฒนาชุมชนที่ทำให้เกิดการเรียนรู้ระหว่างผู้มา
เยือนกับชาวบ้าน นำไปสู่การสร้างจิตสำนึกการอนุรักษ์ทรัพยากรและวัฒนธรรม โดยต้องมีกลไก
การจัดตั้งคณะกรรมการ กลุ่ม ชมรม ที่จัดการท่องเที่ยว โดยเฉพาะการจัดการพื้นที่และการ
จัดการคนให้มีศักยภาพรองรับการจัดการท่องเที่ยวในชุมชน
การส่งเสริมการเรียนรู้เพื่อจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนโดยใช้
ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงการอนุรักษ์ตาลโตนดเป็นฐาน ด้วยวิธีการ
...
การเสริมสร้างศักยภาพคนและพื้นที่ในศูนย์เรียนรู้ฯ ให้พร้อมต่อการเป็นสถานที่ท่องเที่ยวโดยชุมชน
การฝึกอบรมให้คนในชุมชนเป็นมัคคุเทศก์ท้องถิ่นประจำศูนย์เรียนรู้ฯ เพื่อเพิ่มศักยภาพและความรู้
ความสามารถของคนในชุมชนให้ได้รับความรู้ ความเข้าใจ การท่องเที่ยวภายในท้องถิ่นของตน
มีทักษะในการนำชมได้อย่างถูกต้องตามหลักวิชาการ ตลอดจนเป็นเจ้าบ้านที่ดีในการให้การต้อนรับ
นักท่องเที่ยวที่เป็นผู้มาเยือน เป็นการตอบโจทย์การเสริมสร้างความเข้มแข็งอย่างยั่งยืน นำไปสู่การ
เสริมสร้างรายได้และสร้างอาชีพของคนในชุมชน
1
1
การท่องเที่ยวโดยชุมชนเป็ นการนำทรัพยากรท้องถิ่น
และภูมิปั ญญาท้องถิ่นในชุมชนมาใช้ให้เกิดประโยชน์
อย่างเหมาะสม และมีการจัดการและดำเนินการโดย
คนในชุมชนที่มีการบริหารจัดการแบบมีส่วนร่วมของ
คนในชุมชน
นักท่องเที่ยวที่เป็ นผู้มาเยือนชุมชน ได้สัมผัสธรรมชาติโดยตรงมากกว่าบอกเล่าต่อ ๆ กันไป
นักท่องเที่ยวมีความรู้ ความเข้าใจ เข้าถึงและมีส่วนร่วมในที่จะซาบซึ้งในท้องถิ่น สัมผัสคุณค่า
ก่อให้เกิดการเรียนรู้ร่วมกันระหว่างนักท่องเที่ยวกับชุมชน
พัฒนาชุมชน นำไปสู่ความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม วัฒนธรรมท้องถิ่น และคุณภาพชีวิตของ
เสริมสร้างศักยภาพให้ชุมชนรับประโยชน์จากการท่องเที่ยว
เป็ นจุดขายสร้างรายได้ให้คนในท้องถิ่น
ของแหล่งท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน คำนึงถึงคนในชุมชน ผ่านการเรียนรู้ เรื่องราว ภูมิปัญญาท้องถิ่น
อัตลักษณ์ เอกลักษณ์ของชุมชน และผ่านการร่วมทำกิจกรรมเพื่อได้ประสบการณ์ตรง
คนในชุมชน
การท่องเที่ยวโดยชุมชน
การท่องเที่ยวโดยชุมชน
การจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนในวิถีภูมิปัญญาท้องถิ่นตาลโตนด
การจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนในวิถีภูมิปัญญาท้องถิ่นตาลโตนด
(บ้านห้วยกรด)
(บ้านห้วยกรด) 4
แนวคิด หลักการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชน
แนวคิด หลักการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชน
ในศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงการอนุรักษ์
ในศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงการอนุรักษ์
ตาลโตนด(บ้านห้วยกรด)
ตาลโตนด(บ้านห้วยกรด)
ส่วนที่
ส่วนที่ 2
2
หลักการทำงาน
หลักการทำงาน
ของการท่องเที่ยว
ของการท่องเที่ยว
โดยชุมชน
โดยชุมชน
ชุมชนเป็นเจ้าของ การท่องเที่ยวโดยชุมชนต้องมาจาก
ความต้องการของชุมชนอย่างแท้จริง ชุมชนได้มีการพินิจ
พิเคราะห์สภาพปัญหา ผลกระทบการท่องเที่ยวอย่างรอบ
ด้านแล้ว ชุมชนร่วมตัดสินใจลงมติที่จะดำเนินการตาม
แนวทางที่ชุมชนเห็นสมควร
เป้าหมาย/ประโยชน์
เป้าหมาย/ประโยชน์
2
2
4
4
3
3
5
5
ชาวบ้านมีส่วนร่วมในการกำหนด ทิศทางการตัดสินใจ
สมาชิกในชุมชนต้องมีส่วนร่วม คิดร่วม วางแผนร่วม ทำ
กิจกรรมร่วม ติดตามประเมินผลร่วมกัน เรียนรู้ร่วมกัน
รับประโยชน์และผลกระทบเชิงบวกหรือเชิงลบร่วมกัน
การจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนในวิถีภูมิปัญญาท้องถิ่นตาลโตนด
การจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนในวิถีภูมิปัญญาท้องถิ่นตาลโตนด
(บ้านห้วยกรด)
(บ้านห้วยกรด)
5
6
6
7
7
รูปแบบ เนื้อหา กิจกรรม ของการท่องเที่ยวโดยชุมชน
ต้องคำนึงการอยู่ร่วมกันอย่างมีศักดิ์ศรี มีความเป็นธรรม
และส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม เศรษฐกิจ การเมือง
สังคมและวัฒนธรรมในเชิงสร้างสรรค์และลดผลกระทบในเชิงลบ
ชุมชนต้องรวมตัวกันเป็นกลุ่ม เป็นชมรม เป็นองค์กร หรือใช้องค์กรชุมชนเดิมที่มี
อยู่แล้ว เช่น องค์การบริหารส่วนตำบล (อบต.) เพื่อกลไกที่ทำหน้าที่แทนสมาชิก
ทั้งหมด และดำเนินการด้านการกำหนดทิศทาง นโยบาย การบริหาร การจัดการ
การประสานงาน เพื่อให้การท่องเที่ยวโดยชุมชนเป็นไปตามเจตนารมณ์ของ
สมาชิกในชุมชนที่เห็นร่วมกัน
ชุมชนที่จัดการท่องเที่ยว สมาชิกในชุมชน ชาวบ้านทั่วไปและนักท่องเที่ยว ควรมี
กระบวนการเรียนรู้ระหว่างกันและกันอย่างต่อเนื่อง เพื่อก่อให้เกิดการพัฒนา
กระบวนการทำงานการท่องเที่ยวโดยชุมชนให้ถูกต้องเหมาะสม และมีความชัดเจน
การท่องเที่ยวโดยชุมชน จะต้องมีมาตรฐานที่มาจากข้อตกลงร่วม
ภายในชุมชนด้วย เช่น ความสะอาด ความปลอดภัย การกระจาย
รายได้ที่เป็นธรรมของผู้ที่เกี่ยวข้อง และพิจารณาร่วมกันถึงขีด
ความสามารถในการรองรับ
กฎ กติกาที่เห็นร่วมกันจากชุมชน สำหรับการจัดการท่องเที่ยวที่ชัดเจน และ
สามารถกำกับดูแลให้เป็นไปตามกติกาที่วางไว้
รายได้ที่ได้รับจากการท่องเที่ยว มีส่วนนำไปสนับสนุน
การพัฒนาชุมชนและรักษาสิ่งแวดล้อม
การท่องเที่ยวไม่ใช่อาชีพหลักของชุมชน ชุมชนต้องดำรงอาชีพหลักของตนเอง
ไว้ได้ หากอาชีพของชุมชนเปลี่ยนเป็นการจัดการท่องเที่ยว เป็นการทำลายชีวิต
และจิตวิญญาณดั้งเดิมของชุมชน
ด้านทรัพยากรธรรมชาติ
และวัฒนธรรมชุมชน
การจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนในวิถีภูมิปัญญาท้องถิ่นตาลโตนด
การจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนในวิถีภูมิปัญญาท้องถิ่นตาลโตนด
(บ้านห้วยกรด)
(บ้านห้วยกรด) 6
8
8
10
10
9
9
องค์กรชุมชนมีความเข้มแข็งพอที่จะจัดการกับผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นได้ และ
พร้อมจะหยุดเมื่อเกินความสามารถในการจัดการซึ่งสิ่งเหล่านี้หากมองในแง่
ความพร้อมของชุมชนและประสิทธิภาพในการบริหารจัดการท่องเที่ยวในมิติ
ของชุมชนแล้ว การท่องเที่ยวโดยชุมชนจะเป็นไปได้ด้วยดีนั้นยังต้องพิจารณา
จากมิติภายนอกชุมชนที่เข้ามาเกี่ยวข้องด้วย เช่น การตลาด นโยบายรัฐที่เข้า
มาสนับสนุน และพฤติกรรมของนักท่องเที่ยว เป็นต้น
องค์ประกอบของ
องค์ประกอบของ
การท่องเที่ยวโดยชุมชน
การท่องเที่ยวโดยชุมชน
มีฐานทรัพยากรธรรมชาติที่
อุดมสมบูรณ์ มีการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ
อย่างยั่งยืน มีวัฒนธรรมประเพณี
ที่เป็ นเอกลักษณ์
มีกลไกเพื่อจัดการท่องเที่ยวเชื่อมโยงการท่อง
เที่ยวเข้ากับการพัฒนาชุมชน
มีการกระจายผลประโยชน์ที่เป็ นธรรม
มีกองทุนที่เอื้อประโยชน์ต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ
และสังคมของชุมชน ทำให้เกิดการเรียนรู้ระหว่าง
ผู้มาเยือนกับชาวบ้าน สร้างจิตสำนึกในการ
อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ วัฒนธรรม
มีระบบสังคมที่เข้าใจ มีปราชญ์หรือมีผู้มี
ความรู้ในทักษะต่าง ๆ มีความเป็ นเจ้าของ
และเข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนา
ลักษณะของกิจกรรมการท่องเที่ยว
กิจกรรมการท่องเที่ยวสร้างความรู้
ความเข้าใจวิถีชีวิตและวัฒนธรรมที่ต่างกัน
ทำให้เกิดการเรียนรู้ระหว่างผู้มาเยือนกับ
คนในชุมชน สร้างจิตสำนึกในการอนุรักษ์
ทรัพยากรธรรมชาติและวัฒนธรรม
ด้านการจัดการ
ด้านองค์กรชุมชน
ด้านการเรียนรู้
การสื่อความหมาย
การสื่อความหมาย
การเล่าเรื่อง
การเล่าเรื่อง
คนในชุมชนเป็ นผู้นำการท่องเที่ยว อำนวยความสะดวก
ให้กับนักท่องเที่ยวหรือผู้มาเยือนด้วยบริการที่ดีมีมิตรไมตรี
การพัฒนาคนในท้องถิ่นให้เป็ นมัคคุเทศก์ท้องถิ่น นักเล่า
เรื่อง นักสื่อความหมาย ทำให้ทุกคนรู้จักวัฒนธรรม ประเพณี
สถานที่ เป็ นสิ่งจำเป็ นและสำคัญ เพราะ
คนต้องได้รับการพัฒนาความรู้และทักษะการสื่อสารเพื่อ
บอกเล่าเรื่องราว วัฒนธรรมท้องถิ่นและกระตุ้นให้ชุมชนเข้มแข็ง
เห็นประโยชน์ความสำคัญของข้อมูลทรัพยากรในชุมชน
ธรรมชาติ วิถีชีวิต ภูมิอากาศ ให้เกิดคุณค่าของทรัพยากร
ท่องเที่ยว ซึ่งเกี่ยวข้องโดยตรงกับการสื่อความหมาย
กิจกรรมการท่องเที่ยวโดยชุมชน เป็ นองค์ประกอบที่นำ
ไปสู่การสร้างประสบการณ์ที่ดีให้แก่ผู้มาเยือน กิจกรรมการ
ท่องเที่ยวโดยชุมชนควรเป็ นการนำกิจกรรมเชิงสร้างสรรค์
มาประยุกต์
กระบวนการสื่อสารที่กระตุ้นความสนใจ ความรู้สึก ความนึกคิดของผู้มาเยือนโดยเชื่อมโยงกับ
แหล่งท่องเที่ยว มรดกวัฒนธรรมและชุมชน ช่วยให้ผู้มาเยือนเข้าใจคุณค่าแหล่งท่องเที่ยวเสริม
สร้างประสบการณ์การเดินทาง สร้างทัศนคติที่ดีต่อการอนุรักษ์และพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวให้ยั่งยืน
ทำให้จดจำ ประทับใจ เกิดจินตนาการ สร้างความเข้าใจ สร้างความสนุกสนาน ผ่อนคลาย สร้างคุณค่า
มูลค่าให้กับสินค้าบริการและสถานที่ท่องเที่ยวของชุมชน สร้างทัศนคติที่ดีต่อการอนุรักษ์และพัฒนา
แหล่งท่องเที่ยวให้ยั่งยืน
การจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนในวิถีภูมิปัญญาท้องถิ่นตาลโตนด
การจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนในวิถีภูมิปัญญาท้องถิ่นตาลโตนด
(บ้านห้วยกรด)
(บ้านห้วยกรด)
7
ก้าวที่ 1 สำรวจคัดเลือกชุมชนโดยการจัดตั้ง
คณะทำงานรับรองแหล่งท่องเที่ยวโดยชุมชนเพื่อ
ร่วมพัฒนาเกณฑ์การบริหารจัดการท่องเที่ยว
โดยชุมชน
ก้าวที่ 2 เตรียมความพร้อมเรื่องคน ตั้งชมรม
ส่งเสริมการท่องเที่ยวโดยชุมชน เสริมสร้าง
ศักยภาพผู้นำ จัดทำแผนกลยุทธ์
ก้าวที่ 3 เสริมสร้างศักยภาพชุมชนทำแผนที่
ท่องเที่ยว จัดทำกฎระเบียบการบริหารจัดการภายใน
ก้าวที่ 4 เตรียมพื้นที่พร้อมสู่ตลาด ทำโปรแกรม
การท่องเที่ยว กำหนดกลุ่มเป้าหมาย กิจกรรม
การทดลอง
ก้าวที่ 5 เชื่อมโยงตลาดต่อยอดคนรุ่นใหม่
แบรนด์ชุมชน
คน
คน บริการและกิจกรรม
บริการและกิจกรรม
องค์ประกอบสำคัญของ
องค์ประกอบสำคัญของ
การท่องเที่ยวโดยชุมชน
การท่องเที่ยวโดยชุมชน
"ไม่มีใครจะรู้ดีเท่าคน
"ไม่มีใครจะรู้ดีเท่าคน
ในท้องถิ่นของตนเอง”
ในท้องถิ่นของตนเอง”
กระบวนการพัฒนาการ
กระบวนการพัฒนาการ
ท่องเที่ยวโดยชุมชน
ท่องเที่ยวโดยชุมชน
ด้วยกระบวนการ 5 ก้าว
ด้วยกระบวนการ 5 ก้าว
การเล่าเรื่อง เรื่องเล่า (Story telling) เป็ นความสัมพันธ์ระหว่างการท่องเที่ยวกับวัฒนธรรม
ประเพณีสภาพแวดล้อม เป็ นสิ่งที่ไม่สามารถแยกออกจากกันได้ เพราะการท่องเที่ยวไม่ใช่เพียง
มาชมทัศนียภาพของสถานที่ แต่หมายถึงเรียนรู้เรื่องราว อัตลักษณ์ ความเป็ นเอกลักษณ์ของ
ชุมชน การเล่าเรื่องที่ดีก่อให้เกิดอรรถรส เห็นคุณค่าของท้องถิ่น เกิดแรงบันดาลใจแก่นักท่องเที่ยว
เป็ นการสร้างประสบการณ์ให้นักท่องเที่ยว เกิดจินตนาการ สร้างความเข้าใจ สร้างความสนุกสนาน
สร้างคุณค่า มูลค่าให้กับสินค้า บริการ และสถานที่ท่องเที่ยวของชุมชน
เทคนิคการเล่าเรื่อง
เทคนิคการเล่าเรื่อง
ประสบการณ์
ประสบการณ์
ขึ้นต้นให้น่าสนใจ
ให้ตัวอย่างประกอบ
สิ่งที่นักท่องเที่ยวจะได้
สิ่งที่นักท่องเที่ยวจะได้
รับจากเรื่องเล่า
รับจากเรื่องเล่า
การจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนในวิถีภูมิปัญญาท้องถิ่นตาลโตนด
การจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนในวิถีภูมิปัญญาท้องถิ่นตาลโตนด
(บ้านห้วยกรด)
(บ้านห้วยกรด) 8
การสื่อความหมายเป็ นรูปแบบหนึ่งของการเล่าเรื่อง (story telling) เป็ นกระบวนการสื่อสาร
ที่เชื่อมโยงข้อมูล ข้อเท็จจริง ประสบการณ์ตรงของนักท่องเที่ยวผ่านการเล่าเรื่อง เป็ นการเพิ่ม
ประสบการณ์ให้การท่องเที่ยว สร้างความเข้าใจอันดีต่อพื้นที่ การผลิตการรับรู้ กระตุ้นให้
นักท่องเที่ยวกลับมาเที่ยวอีก
เทคนิคการเล่าเรื่อง สามารถติดตามได้ทาง YouTube หรือช่องทางต่างๆบนสื่อสังคม เช่น
รายการหา How ใส่หัว เทคนิคเล่าเรื่องขั้นเทพ พูดคล่องพูดเก่ง ฝึ กง่าย เป็ นต้น นอกจากนี้
มีตัวอย่างเรื่องเล่าของชุมชนเผยแพร่บนเว็บไซต์ เช่น เว็บไซต์เที่ยวยิ้มอิ่มใจ เป็ นต้น
เกิดการรับรู้ เรียนรู้ เช่น
ประวัติของสถานที่ เป็ นต้น
เกิดประสบการณ์ตรง
ได้สัมผัสจริง ลงมือทำ
เกิดการบอกต่อ เกิดความประทับใจ
เกิดการจดจำ เที่ยวซ้ำ
เกิดความเข้าใจ ความรู้สึกร่วม เห็นภาพร่วมกับ
เหตุการณ์เกิดความเข้าใจวัฒนธรรมที่ต่างกัน
1
3
2
4
กำหนดหัวใจของการเล่าเรื่อง
สรุปจบ เป็นหัวใจของเรื่องเล่า
การจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนในวิถีภูมิปัญญาท้องถิ่นตาลโตนด
การจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนในวิถีภูมิปัญญาท้องถิ่นตาลโตนด
(บ้านห้วยกรด)
(บ้านห้วยกรด)
9
มัคคุเทศก์ หรือ ไกด์ (Guide) เป็ นผู้นำเที่ยว นำทางคน นำทางนักท่องเที่ยวไปท่องเที่ยวตาม
สถานที่ต่าง ๆ ให้บริการในด้านต่าง ๆ งานของมัคคุเทศก์จัดเป็ นงานบริการที่สนองความ
ต้องการของลูกค้าซึ่งเป็ นนักท่องเที่ยวด้วยการจัดบริการซึ่งเป็ นกิจกรรม การกระทำต่าง ๆ ให้
นักท่องเที่ยวได้ประทับใจ พึงพอใจ อิ่มเอมใจ เป้าหมายเพื่ิอให้นักท่องเที่ยวได้รับความรู้ ความเพลิดเพลิน
สนุกสนาน สะดวกสบาย ปลอดภัย พึงพอใจ ประทับใจไม่รู้ลืม
มัคคุเทศก์หรือไกด์มีความสำคัญต่อการท่องเที่ยวโดย
เฉพาะธุรกิจบริการท่องเที่ยว มัคคุเทศก์เป็ นผู้ที่นักท่องเที่ยว
ให้ความไว้วางใจเป็ นผู้ใกล้ชิดกับนักท่องเที่ยว
มัคคุเทศก์
หน้าที่ของมัคคุเทศก์
หน้าที่ของมัคคุเทศก์
1) อธิบายประวัติข้อมูลของสถานที่ท่องเที่ยว ข้อมูลประวัติเรื่องราวในชุมชน วิถีชีวิตประวัติศาสตร์
2) สร้างกิจกรรมระหว่างการเดินทาง ทำให้เกิดความสนุกสนาน นักท่องเที่ยวไม่เบื่อ ทำให้การ
ท่องเที่ยวมีชีวิตชีวา น่าสนใจ น่าประทับใจ
3) สร้างความปลอดภัยให้กับนักท่องเที่ยวด้วยการดูแลและเตือนนักท่องเที่ยวหากต้องพบสิ่งที่อาจ
จะไม่ปลอดภัย
4) อำนวยความสะดวกให้แก่นักท่องเที่ยว
5) ช่วยเหลือแก้ไขปั ญหาเฉพาะหน้าให้นักท่่องเที่ยวในกลุ่มการเที่ยว
6) นักท่องเที่ยวได้รู้จักพื้นที่ใหม่ แหล่งเรียนรู้ที่ยังไม่รู้ ทำให้เที่ยวได้อย่างทั่วถึง ได้รู้จักกับเพื่อนในกลุ่ม
7) ใช้เวลาอย่างคุ้มค่า ไม่หลงทาง หรือต้องค้นหาเอง
8) ได้ความรู้จากมืออาชีพ จากประสบการณ์ตรงอย่างละเอียด
มัคคุเทศก์
มัคคุเทศก์
จำแนกตามบัตรมัคคุเทศก์
จำแนกตามบัตรมัคคุเทศก์
1
บัตรมีสีบรอนซ์ทอง
ใช้ได้ทั่วราชอาณาจักรไทย
มัคคุเทศก์ต่างประเทศ มัคคุเทศก์ไทย
1) บัตรสีชมพู มัคคุเทศก์ต่างประเทศเฉพาะพื้นที่ นำเที่ยวเฉพาะไทยและต่างประเทศในจังหวัดที่ระบุ
2) บัตรสีฟ้า มัคคุเทศก์ไทยเฉพาะพื้นที่ นำเที่ยวเฉพาะนักท่องเที่ยวไทยเฉพาะจังหวัดที่ระบุบนบัตร
3) บัตรสีเขียวมัคคุเทศก์เดินป่ า นำเที่ยวนักท่องเที่ยวไทยและต่างประเทศในเขตพื้นที่ป่ า
4) บัตรสีแดง มัคคุเทศก์ศิลปะ-วัฒนธรรม นำเที่ยวนักท่องเที่ยวไทยและต่างประเทศทางด้านโบราณคดี
5) บัตรสีส้ม มัคคุเทศก์ทางทะเล นำเที่ยวนักท่องเที่ยวไทยและต่างประเทศได้ในพื้นที่ทะเล
6) บัตรสีเหลือง มัคคุเทศก์ทางทะเลชายฝั่ ง นำเที่ยวนักท่องเที่ยวไทยและต่างประเทศระยะทาลไม่เกิน
40 ไมล์ทะเล
7) บัตรสีม่วง มัคคุเทศก์แหล่งท่องเที่ยวตามธรรมชาติ นำเที่ยวนักท่องเที่ยวไทยและต่างประเทศเฉพาะ
ชื่อแหล่งที่ระบุไว้
8) บัตรสีน้ำตาล มัคคุเทศก์วัฒนธรรมท้องถิ่น นำเที่ยวนักท่องเที่ยวไทยและต่างประเทศทางด้านวัฒนธรรม
ท้องถิ่น เกี่ยวกับศิลปะ ประเพณี ประวัติศาสตร์ ภูมิศาสตร์ โบราณคดีเฉพาะในแหล่งท่องเที่ยว
วัฒนธรรมท้องถิ่นที่ระบุไว้บนบัตร
การจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนในวิถีภูมิปัญญาท้องถิ่นตาลโตนด
การจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนในวิถีภูมิปัญญาท้องถิ่นตาลโตนด
(บ้านห้วยกรด)
(บ้านห้วยกรด) 10
2
3
บัตรมีสีบรอนซ์เงิน
ใช้ได้ทั้งไทยทั้งต่างประเทศ
เป็ นมัคคุเทศก์นำเที่ยวเฉพาะสถานที่
จำแนกตามสีของบัตรดังนี้
มัคคุเทศก์ท้องถิ่น
นักท่องเที่ยว
ผู้ที่เดินทางออกนอกสถานที่ที่อาศัยเพื่อพักผ่อนหย่อนใจ ปั จจุบันมีการใช้คำ “ผู้มาเยือน” หรือ”แขก”
ซึ่งเป็ นคำที่สามารถเติมเต็มความรู้สึกและเพิ่มเติมความหมายได้มากกว่าการเป็ นกท่องเที่ยวหรือ
หรือลูกค้า เพราะเป็ นการส่งมอบประสบการณ์และความรู้สึกที่ใกล้ชิดมากกว่าเพียงการมอบ
บริการที่ดีอย่างเดียว มัคคุเทศก์ต้องรู้และเข้าใจพฤติกรรมของนักท่องเที่ยว โดยเฉพาะการตีความ
ภาษากายหรือภาษาท่าทางเชิงบวกและเชิงลบ
ภาษากายของนักท่องเที่ยว
ภาษากายของนักท่องเที่ยว
มัคคุเทศก์กับการเป็นนักสื่อความหมาย นักเล่าเรื่อง
มัคคุเทศก์กับการเป็นนักสื่อความหมาย นักเล่าเรื่อง
ข้อดีสื่อที่เป็ นคน นักท่องเที่ยวได้เห็นหน้าบุคลากร ลีลา ภาษาท่าทาง โต้ตอบได้อย่างทันที สร้าง
ความเข้าใจในเรื่องที่สงสัย นักท่องเที่ยวที่มาเยือนชุมชนไม่ใช่แค่เพียงให้มาดูมาชมแต่ต้องให้
ได้รับประสบการณ์สัมผัสคุณค่าของแหล่งท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน คำนึงถึงคนในชุมชน จะทำได้ดี
กับผ่านประสบการณ์ตรงซึ่งมัคคุเทศก์ต้องเข้าใจหลักการการสร้างเสริมประสบการณ์ที่เรียกว่า
ประสบการณ์ว้าว (WOW)
มัคคุเทศก์ ผู้นำเที่ยว ถือเป็ นนักสื่อความหมายชุมชนที่ต้องมีความรู้ ความสามารถในการ
ถ่ายทอดเรื่องราวของท้องถิ่นที่เพื่ อสร้างประสบการณ์การจดจำ สร้างประทับใจให้แก่
นักท่องเที่ยวเพื่อให้นักท่องเที่ยวรู้ลึกถึงความสนใจในอดีตและปั จจุบัน นำไปสู่การเกิดความรัก
ผูกพัน เก็บรักษาวิถีวัฒนธรรมท้องถิ่นให้ยั่งยืนร่วมกับชุมชน
1) กลุ่มเยาวชน ชอบการละเล่นสนุก ไม่ซ้ำซ้อน สาธิต ให้ลองทำ
2) กลุ่มศึกษา ดูงาน วิจัย สอบถามภาพโดยรวมของโครงการ
ประเมินภาพรวมของการดูงาน อาจถามว่า ต้องการศึกษา
หรือต้องการดูงานส่วนใดพิเศษเฉพาะหรือไม่
3) คนรุ่นใหม่ ชอบให้มีการทำกิจกรรมด้วยตนเอง ถ่ายรูป
มองหาสถานที่ที่เด่น ตื่นเต้น ดื่มด่ำกับบรรยากาศ สร้างแรง
บันดาลใจ มีการแชร์ผ่านเครือข่าย สื่อสังคมออนไลน์
4) กลุ่มครอบครัว ชอบขับรถดู เรียนรู้สิ่งแวดล้อม วิถีชุมชน
5) กลุ่มสูงวัย ชอบบรรยากาศ ศิลปะ ศาสนา สุขภาพ อาหาร วิถีชีวิต
6) กลุ่มต่างชาติ ชอบวิถีวัฒนธรรมท้องถิ่น สนทนากับชาวบ้าน
การจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนในวิถีภูมิปัญญาท้องถิ่นตาลโตนด
การจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนในวิถีภูมิปัญญาท้องถิ่นตาลโตนด
(บ้านห้วยกรด)
(บ้านห้วยกรด)
11
รอยยิ้ม สบตา ท่าทางเป็ นมิตร พูดคุยด้วยสีหน้าสนใจ เอนตัวมาข้างหน้า
ท้าวคาง มองไปทางอื่น ตามองแหล่งที่ไม่ใช่ผู้พูด หาว เหลือบมองนาฬิกา
เอามือล้วงกระเป๋ า หรือกอดอก กรณีเหลือบมองนาฬิกา ต้องการให้เปลี่ยน
เรื่องสนทนา เรื่องพูด กรณีหาวนอนต้องการเปลี่ยนบรรยากาศ เปลี่ยน
เรื่องสนทนา กรณีล้วงกระเป๋ าต้องการที่จะออกไปทำหรือไปอยู่ที่จุดอื่น
กรณียืนกอดอก ต้องการให้ผู้พูดหยุดหรือให้คิดก่อน
ภาษากายเชิงบวก
ภาษากายเชิงลบ
พฤติกรรมความสนใจของกลุ่มนักท่องเที่ยวมีความแตกต่างกันไป
ขั้นตอนการปฏิบัติงานของมัคคุเทศก์
ขั้นตอนการปฏิบัติงานของมัคคุเทศก์
ภูมิปั ญญาท้องถิ่นเป็ นทุนทางสังคม วัฒนธรรมของการท่องเที่ยวในชุมชนที่นำไปสู่การจัดการ
การท่องเที่ยวในชุมชนมีการนำอัตลักษณ์ วิถีชีวิตและภูมิปั ญญามาส่งเสริมและสร้างความ
เกิดการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน
นำไปสู่การสร้างรายได้และคุณภาพชีวิตที่ดี
ท่องเที่ยวโดยชุมชนอย่างยั่งยืน
น่าสนใจให้กับสถานที่ท่องเที่ยวในพื้นที่หรือชุมชนเพื่อตอบสนองความต้องการที่หลากหลายของ
นักท่องเที่ยว
ปั จจุบันการท่องเที่ยวไทยพึ่งพิงการขาย วิถีไทย เป็ นวัฒนธรรมและขนบธรรมเนียมประเพณี
โดยวัฒนธรรมไม่ใช่เป็ นเพียงประเพณีการแสดงเท่านั้นแต่ ยังรวมถึงวิถีความเป็ นอยู่ การกิน การสื่อ
ความหมาย การดำรงชีวิต ถือเป็ นทุนทางสังคม เป็ นภูมิปั ญญาที่นำมาช่วยต่อยอดสร้างรายได้
การจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนในวิถีภูมิปัญญาท้องถิ่นตาลโตนด
การจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนในวิถีภูมิปัญญาท้องถิ่นตาลโตนด
(บ้านห้วยกรด)
(บ้านห้วยกรด) 12
ภูมิปัญญาท้องถิ่นกับการส่งเสริมการท่องเที่ยวโดยชุมชน
ภูมิปัญญาท้องถิ่นกับการส่งเสริมการท่องเที่ยวโดยชุมชน
ภูมิปัญญาวิถีตาลกับการส่งเสริมการท่องเที่ยวโดยชุมชน
ภูมิปัญญาวิถีตาลกับการส่งเสริมการท่องเที่ยวโดยชุมชน
ในจังหวัดชัยนาท
ในจังหวัดชัยนาท
เป็ นการต้อนรับผู้มาเยือนหรือนักท่องเที่ยว ณ จุดต้อนรับ แนะนำตัวเอง
ใช้เวลาประมาณ 10-15 นาที ขึ้นอยู่กับจำนวนและสภาพทางกายภาพ
ภูมิปั ญญาวิถีตาลห้วยกรดได้รับการสนับสนุนให้อยู่ในกิจกรรมส่งเสริมการท่องเที่ยวของ
เป็ นภูมิปั ญญาที่มีศักยภาพนำไปส่งเสริมการท่องเที่ยวได้อย่างยั่งยืนและสร้างคุณค่าเพิ่มให้
แก่ผลิตภัณฑ์ชุมชน
ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงการอนุรักษ์ตาลโตนดเป็ นสถานที่เรียนรู้ภูมิปั ญญาท้องถิ่นตาลโตนด
จังหวัดชัยนาทและชุมชนเพื่อพัฒนาสู่การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน
ที่ได้รับการระบุเป็ นหนึ่งในแหล่งท่องเที่ยวโดยชุมชน
เป็ นการปฏิบัติงานช่วงถึงสถานที่ท่องเที่ยว ใช้เวลาประมาณ 1-2
ชั่วโมง ขึ้นอยู่กับกิจกรรมที่จัด
ถือเป็ นหัวใจของการนำเที่ยว เป็ นการเสริมสร้างความประทับใจให้
กับนักท่องเที่ยว ใช้เวลา 10-20 นาที
ระยะเริ่มต้น
ระยะนำเที่ยว
ระยะสรุปจบ
1. ขั้นการวางแผน
2. ขั้นการดำเนินการ
การจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนในวิถีภูมิปัญญาท้องถิ่นตาลโตนด
การจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนในวิถีภูมิปัญญาท้องถิ่นตาลโตนด
(บ้านห้วยกรด)
(บ้านห้วยกรด)
13
ส่วนที่
ส่วนที่ 3
3
การดำเนินงานจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชน
การดำเนินงานจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชน
ในศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงการอนุรักษ์
ในศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงการอนุรักษ์
ตาลโตนด (บ้านห้วยกรด)
ตาลโตนด (บ้านห้วยกรด)
การดำเนินงานจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนในศูนย์เรียนรู้
เศรษฐกิจพอเพียงการอนุรักษ์ตาลโตนด (บ้านห้วยกรด)
ดำเนินงาน 4 ขั้นตอน ภายใต้แนวคิดกรอบวงจรการ
บริหารคุณภาพของเดมมิ่ง ได้แก่ ขั้นการวางแผน ขั้น
การดำเนินการ ขั้นการตรวจสอบ และขั้นการปรับปรุง
แก้ไข ดังนี้
1.1 การสำรวจข้อมูลกลุ่มอาชีพและกลุ่มเป้ าหมายในการจัดกิจกรรม
1.2 การจัดตั้งคณะกรรมการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชน
1.3 การพัฒนาศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงการอนุรักษ์ตาลโตนดให้เป็ นศูนย์การท่องเที่ยวโดยชุมชน
1) ให้มีการจัดการพื้นที่ศูนย์ฯให้เป็ นแหล่งเรียนรู้เพื่อการท่องเที่ยวให้สอดคล้องกับวิถีชุมชน
2) ให้มีการปรับภูมิทัศน์ศูนย์ฯ จัดทำเส้นทางท่องเที่ยวภายในศูนย์ฯ
3) จัดฝึ กอบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้ ความเข้าใจการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชน
การเรียนรู้เป็ นมัคคุเทศก์ท้องถิ่นหรือไกด์ท้องถิ่นประจำศูนย์เรียนรู้ฯ
2.1 การจัดการพื้นที่ศูนย์ฯให้เป็ นแหล่งเรียนรู้เพื่อการท่องเที่ยวให้
สอดคล้องกับวิถีชุมชน
2.2 การจัดอบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้ประวัติชุมชน ประวัติศูนย์
ความรู้และทักษะในการพัฒนาการท่องเที่ยวโดยชุมชน และ
ฝึ กอบรมมัคคุเทศก์ท้องถิ่น
3. ขั้นการตรวจสอบ
4. ขั้นการปรับปรุง/แก้ไข
การจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนในวิถีภูมิปัญญาท้องถิ่นตาลโตนด
การจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนในวิถีภูมิปัญญาท้องถิ่นตาลโตนด
(บ้านห้วยกรด)
(บ้านห้วยกรด) 14
3.1 ประสานติดตามผลการจัดปรับภูมิทัศน์ศูนย์ฯเพื่อเป็ นแหล่งเรียนรู้เพื่อการท่องเที่ยวโดย
ชุมชนผ่านการลงพื้นที่จริง และช่องทางการสื่อสารโทรศัพท์เคลื่อนที่และสื่อสังคม
โดยเฉพาะสื่อสารผ่านไลน์
3.2 ประสานติดตามผลการฝึ กปฏิบัติมัคคุเทศก์ท้องถิ่นช่องทางการสื่อสารโทรศัพท์เคลื่อนที่และ
สื่อสังคม โดยเฉพาะสื่อสารผ่านไลน์
4.1 ผู้ร่วมกิจกรรมได้แสดงความคิดเห็น
4.2 วิเคราะห์สวอท
4.3 จัดตั้งกลุ่มมัคคุเทศก์ท้องถิ่นหรือ ไกด์ท้องถิ่น
4.4 จัดตั้งกลุ่มการท่องเที่ยวโดยชุมชนบ้านห้วยกรด
- พัฒนาพื้นที่ให้เป็ นพื้นที่อเนกประสงค์ แยกพื้นที่ของศูนย์ฯ
เป็ นส่วนจัดแสดงสินค้า กิจกรรมเรียนรู้และการสาธิตภูมิปั ญญา
ท้องถิ่นตาลโตนด ลานอเนกประสงค์ จุดบริการ ประชาสัมพันธ์
ป้ ายประชาสัมพันธ์ พื้นที่ จอดรถ พื้นที่ต้อนรับ ลานกิจกรรม
ชุมชนในรูปเวทีจัดแสดงนอกอาคาร
การจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนในวิถีภูมิปัญญาท้องถิ่นตาลโตนด
การจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนในวิถีภูมิปัญญาท้องถิ่นตาลโตนด
(บ้านห้วยกรด)
(บ้านห้วยกรด)
15
การดำเนินกิจกรรมการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนโดยใช้ศูนย์เรียนรู้
เศรษฐกิจพอเพียงการอนุรักษ์ตาลโตนดเป็ นฐาน มีการดำเนินกิจกรรม ใน
ด้านการจัดการพื้นที่ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงการอนุรักษ์ตาลโตนด
และการส่งเสริมการเรียนรู้การจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนให้กับคนใน
ชุมชน การฝึ กอบรมคนในชุมชนเป็ นมัคคุเทศก์ท้องถิ่น เพื่อการเป็ นเจ้าบ้านที่ดี
ด้านการจัดการพื้นที่ในศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงการอนุรักษ์ตาลโตนด
เป็ นการเสริมสร้างศักยภาพและความพร้อมของพื้นที่ภายในศูนย์ฯ ให้มีความพร้อม
ในการเป็ นสถานที่รองรับการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชน ด้วยแนวคิด การจัดการ
พื้นที่ให้สอดคล้องกับวิถีชุมชน ภูมิปั ญญาท้องถิ่นและวัฒนธรรมชุมชนและแนวคิด
ศูนย์เรียนรู้และขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสมบูรณ์แบบเชิงธุรกิจของ
กรมการพัฒนาชุมชน
- จัดตั้ง คณะกรรมการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชน เป็ นกลไก
การบริหารจัดการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนของศูนย์เรียนรู้ฯ
ส่วนที่
ส่วนที่ 4
4
ผลการดำเนินกิจกรรม
ผลการดำเนินกิจกรรม
การจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชน
การจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชน
โดยใช้ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง
โดยใช้ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง
การอนุรักษ์ตาลโตนดเป็นฐาน
การอนุรักษ์ตาลโตนดเป็นฐาน
การจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนในวิถีภูมิปัญญาท้องถิ่นตาลโตนด
การจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนในวิถีภูมิปัญญาท้องถิ่นตาลโตนด
(บ้านห้วยกรด)
(บ้านห้วยกรด) 16
- จัดทำผังเส้นทางท่องเที่ยวในศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงการอนุรักษ์ตาลโตนดในรูปแบบ
สามมิติหรือที่เรียกว่า isometric เพื่อให้อ่านง่ายเหมือนของจริงมีข้อความประกอบสัญรูป เช่น
จุดต้อนรับ จุดส่งนักท่องเที่ยว จุดจำหน่ายสินค้าชุมชน ห้องน้ำ เป็ นต้น
- จัดทำเว็บศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงการอนุรักษ์ตาลโตนด (บ้านห้วยกรด)
QR CODE
ผังเส้นทางท่องเที่ยว
- ทำระบบบำบัดน้ำเสียเพื่อนำกลับมาใช้ในการบำรุงรักษาต้นกล้าตาล
- จัดอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อให้คนในชุมชนที่
เป็ นกลุ่มเป้ าหมายมีความรู้ ความเข้าใจ
รับรู้ถึงความสำคัญและประโยชน์ที่ได้รับจาก
การจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชน
- จัดทำเอกสาร “เรื่องเล่าตำนานตาลโตนด
ห้วยกรด” เพื่อให้มัคคุเทศก์ท้องถิ่นใช้ในการ
ปฏิบัติงานนำเที่ยวในศูนย์เรียนรู้ฯ
- ฝึ กอบรมเชิงปฏิบัติการการเป็ นมัคคุเทศก์
ท้องถิ่นและฝึ กปฏิบัติงานเป็ นมัคคุเทศก์ท้องถิ่น
ประจำศูนย์เรียนรู้ฯ ทั้งภาคทฤษฎีและ
ภาคปฏิบัติจริง (ภาคสนาม)
- จัดตั้งกลุ่มท่องเที่ยวชุมชนบ้านห้วยกรด
- จัดทำ “คู่มือการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชน
วิถีภูมิปั ญญาท้องถิ่นตาลโตนด (บ้านห้วยกรด)
ด้านการส่งเสริมการเรียนรู้การจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนให้กับคนในชุมชน
เป็ นการเสริมสร้างศักยภาพของคนในชุมชนให้มีความรู้ ความเข้าใจการจัดการท่องเที่ยว
โดยชุมชน และ ความพร้อมการเป็ นเจ้าบ้านที่ดี ในการรองรับนักท่องเที่ยวหรือผู้มาเยือน
อ่านข้อมูลเพิ่มเติม
SCAN ME!
กลุ่มไกด์ยิ้มหวานบ้านห้วยกรด
กลุ่มไกด์ยิ้มหวานบ้านห้วยกรด
3. กิจกรรมภาคฝึ กปฏิบัติจริง (ภาคสนาม) ในศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงการอนุรักษ์
ตาลโตนดเป็ นการฝึ กปฏิบัติจริงของผู้ฝึ กอบรมเป็ นมัคคุเทศก์ท้องถิ่นในการให้การต้อนรับและ
นำชมนักท่องเที่ยวในศูนย์เรียนรู้ฯ ใน 3 ระยะตามกิจกรรมในภาคทฤษฎีและการแสดง
บทบาทสมมติ โดยศึกษาข้อมูลจากเอกสารร่างคู่มือการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนในวิถี
ภูมิปั ญญาท้องถิ่นตาลโจตนด (บ้านห้วยกรด ) ที่จัดทำเป็ นเอกสารประกอบการฝึ กอบรม
ฐานเคี่ยวตาล
ฐานเพาะปลูกตาล
ฐานทำอาหารจากตาล ฐานสิ่งประดิษฐ์และนวัตกรรมจากตาล
การจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนในวิถีภูมิปัญญาท้องถิ่นตาลโตนด
การจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนในวิถีภูมิปัญญาท้องถิ่นตาลโตนด
(บ้านห้วยกรด)
(บ้านห้วยกรด)
17
ผลการดำเนินการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ
ผลการดำเนินการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ
เพื่อให้ความรู้และฝึกปฏิบัติการเป็นมัคคุเทศก์ท้องถิ่น
เพื่อให้ความรู้และฝึกปฏิบัติการเป็นมัคคุเทศก์ท้องถิ่น
1. การให้ความรู้เบื้องต้นการเป็ นมัคคุเทศก์ เป็ นการอบรมภาคทฤษฎี 1 วัน
2. กิจกรรมภาคปฏิบัติ (ภาคสนาม) ด้วยการแสดงบทบาทสมมติ โดยมัคคุเทศก์อาชีพ
แสดงเป็ นมัคคุเทศก์ต้นแบบหรือไกด์ต้นแบบและให้ผู้เข้าฝึ กอบรมไกด์ชุมชนเป็ นนักท่องเที่ยว
มัคคุเทศก์ต้นแบบนำชมฐานเรียนรู้ในกิจกรรม วิทยากรที่เป็ นมัคคุเทศก์อาชีพ แสดง
การนำเที่ยวด้วยการพานักท่องเที่ยวซึ่งเป็ นผู้เข้ารับการฝึ กอบรมมัคคุเทศก์ท้องถิ่น ท่องเที่ยว
ตามจุดที่แสดงในผังเส้นทางท่องเที่ยวในศูนย์ และเรียนรู้การตอบคำถามภูมิปั ญญาท้องถิ่น
ตาลโตนดจากภูมิปั ญญาประจำฐานเรียนรู้ 5 ฐาน ประกอบด้วย
ฐานขึ้นและเก็บน้ำตาลสดตาล
ระยะที่ 2 ระยะนำเที่ยว มัคคุเทศก์ฝึ กการเล่าเรื่อง “ตำนานตาล
โตนดห้วยกรด” เพื่อสร้างประสบการณ์ให้กับนักท่องเที่ยว จากนั้น
นำนักท่องเที่ยวชมและร่วมกิจกรรมเรียนรู้ ตามจุดที่ระบุในป้ าย
ผังเส้นทางการท่องเที่ยวในศูนย์ฯ ให้นักท่องเที่ยวร่วมเรียนรู้
และร่วมกิจกรรมภูมิปั ญญาท้องถิ่นตาลโตนดตามฐานเรียนรู้
จำนวน 5 ฐานเรียนรู้ ตามลำดับ ได้แก่ ฐานเพาะปลูกตาล ฐาน
ขึ้นและเก็บน้ำตาลสดตาล ฐานเคี่ยวตาล ฐานทำอาหารจากตาล
และฐานสิ่งประดิษฐ์และนวัตกรรมจากตาล ในแต่ละฐานเรียนรู้
มีการให้ข้อมูลสรุปแก่นักท่องเที่ยว โดยใช้ข้อมูลจากป้ ายฐานเรียนรู้
ภูมิปั ญญาท้องถิ่นตาลโตนดประกอบการบรรยาย จากนั้นแนะนำ
ปราชญ์ท้องถิ่นที่เป็ นผู้บรรยายและสาธิตที่ประจำตามจุดฐานเรียน
รู้ภูมิปั ญญาท้องถิ่นตาลโตนด 5 ฐานเรียนรู้ โดยมีมัคคุเทศก์อาชีพ
ที่เป็ นวิทยากรฝึ กคอยให้คำแนะนำ นักท่องเที่ยวได้มีส่วนร่วมใน
กิจกรรมการทดลองปลูกต้นกล้าตาล เคี่ยวตาล และทำขนมตาล
ระยะที่ 3 ระยะสรุปจบ มัคคุเทศก์ฝึ กหัดสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้จาก
การมาเยือน และการทำกิจกรรมกับนักท่องเที่ยว ขอบคุณและ
อวยพรให้นักท่องเที่ยวเดินทางกลับด้วยความสวัสดิภาพ
ถ่ายภาพร่วมกัน และร่วมส่งนักท่องเที่ยวเดินทางกลับ ณ จุด
ส่งนักท่องเที่ยว
มีผลการฝึกปฏิบัติ ดังนี้
มีผลการฝึกปฏิบัติ ดังนี้
การจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนในวิถีภูมิปัญญาท้องถิ่นตาลโตนด
การจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนในวิถีภูมิปัญญาท้องถิ่นตาลโตนด
(บ้านห้วยกรด)
(บ้านห้วยกรด) 18
ระยะที่ 1 ระยะเริ่มต้น มัคคุเทศก์ฝึ กให้การต้อนรับนักท่องเที่ยว
ณ จุดต้อนรับ พร้อมรับรองนักท่องเที่ยวด้วยเครื่องดื่มน้ำตาล
สดพาสเจอร์ไรส์ จากนั้นนำกลุ่มนักท่องเที่ยวไปยังจุดป้ ายผัง
เส้นทางท่องเที่ยวในศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงการอนุรักษ์
ตาลโตนดเพื่อให้เห็นภาพรวมของการเที่ยวชมศูนย์ฯ กิจกรรม
ในแต่ละจุดตามฐานเรียนรู้
1
3
2
ส่วนที่
ส่วนที่ 5
5
สรุป ถอดบทเรียน
สรุป ถอดบทเรียน
การส่งเสริมการเรียนรู้การจัดการการท่องเที่ยวโดยชุมชนที่
ใช้ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงการอนุรักษ์ตาลโตนดเป็ นฐาน
เป็ นกิจกรรมที่เป็ นไปตามกระบวนการพัฒนาการท่องเที่ยว
โดยชุมชน ดังนี้
ชุมชนตำบลห้วยกรดเป็ นชุมชนที่ทำอาชีพตาล มีศูนย์เรียนรู้
เศรษฐกิจพอเพียงการอนุรักษ์ตาลโตนด เป็ นแหล่งเรียนรู้และ
แหล่งท่องเที่ยวตามวิถีตาล การจัดกิจกรรมมีการจัดตั้ง
คณะกรรมการท่องเที่ยวโดยชุมชนเป็ นกลไกการจัดการเพื่อ
เสริมศักยภาพด้านพื้นที่และคน
มีการฝึ กมัคคุเทศก์ชุมชน ฝึ กการเป็ นเจ้าบ้านที่ดีในการให้
การต้อนรับผู้มาเยือน และนำชม มีการตั้งกลุ่ม 2 กลุ่ม ได้แก่
กลุ่มการท่องเที่ยวโดยชุมชนบ้านห้วยกรด และ
กลุ่มไกด์ยิ้มหวานบ้านห้วยกรด
มีการเตรียมความพร้อม
พื้นที่ในศูนย์ฯ เพื่อการจัด
การท่องเที่ยวโดยชุมชน
ดังนี้
คัดเลือกชุมชน
คัดเลือกชุมชน
เตรียมพร้อมเรื่อง
เตรียมพร้อมเรื่อง
คนและพื้นที่
คนและพื้นที่
สร้างศักยภาพพื้นที่
สร้างศักยภาพพื้นที่
2
3
1
- ปรับภูมิทัศน์ในศูนย์เรียนรู้ฯ
ด้วยการถมดินยกระดับเป็ นเวที
จัดกิจกรรมนอกอาคารเรียกว่า
“เวทีตาล”
- จัดทำป้ ายผังเส้นทางท่องเที่ยว
ในศูนย์เป็ นป้ ายโครงสร้างเหล็ก
ขนาดใหญ่
- จัดทำระบบบำบัดน้ำเสียเพื่อ
นำกลับมาใช้ใหม่ในการบำรุง
ต้นกล้าตาล
การจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนในวิถีภูมิปัญญาท้องถิ่นตาลโตนด
การจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนในวิถีภูมิปัญญาท้องถิ่นตาลโตนด
(บ้านห้วยกรด)
(บ้านห้วยกรด)
19
คู่มือการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนในวิถี.pdf
คู่มือการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนในวิถี.pdf
คู่มือการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนในวิถี.pdf
คู่มือการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนในวิถี.pdf
คู่มือการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนในวิถี.pdf
คู่มือการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนในวิถี.pdf

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

การจัดงานประเพณีวันสงกรานต์และวันผู้สูงอายุ
การจัดงานประเพณีวันสงกรานต์และวันผู้สูงอายุการจัดงานประเพณีวันสงกรานต์และวันผู้สูงอายุ
การจัดงานประเพณีวันสงกรานต์และวันผู้สูงอายุWiroj Suknongbueng
 
รายชื่อหลักสูตรฝึกอาชีพมีงานทำของ สำนักงาน กศน
รายชื่อหลักสูตรฝึกอาชีพมีงานทำของ สำนักงาน กศนรายชื่อหลักสูตรฝึกอาชีพมีงานทำของ สำนักงาน กศน
รายชื่อหลักสูตรฝึกอาชีพมีงานทำของ สำนักงาน กศนcharinruarn
 
แผ่นพับสัมฤทธิผลการปฏิบัติงานในหน้าที่ รองผู้อำนวยการสถานศึกษา
แผ่นพับสัมฤทธิผลการปฏิบัติงานในหน้าที่ รองผู้อำนวยการสถานศึกษาแผ่นพับสัมฤทธิผลการปฏิบัติงานในหน้าที่ รองผู้อำนวยการสถานศึกษา
แผ่นพับสัมฤทธิผลการปฏิบัติงานในหน้าที่ รองผู้อำนวยการสถานศึกษาNontaporn Pilawut
 
1.ทรัพยากร กทท.
1.ทรัพยากร กทท.1.ทรัพยากร กทท.
1.ทรัพยากร กทท.chickyshare
 
7 1 แนวคิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว
7 1  แนวคิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว7 1  แนวคิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว
7 1 แนวคิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวMint NutniCha
 
บทที่ 4-2-คุณธรรมและจริยธรรม
บทที่ 4-2-คุณธรรมและจริยธรรมบทที่ 4-2-คุณธรรมและจริยธรรม
บทที่ 4-2-คุณธรรมและจริยธรรมpop Jaturong
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาพัน พัน
 
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาThongsawan Seeha
 
ตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย เล่ม 3
ตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย เล่ม 3 ตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย เล่ม 3
ตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย เล่ม 3 Utai Sukviwatsirikul
 
รายงานผลการดำเนินกิจกรรมสภานักเรียน ประจำปีการศึกษา 2559
รายงานผลการดำเนินกิจกรรมสภานักเรียน ประจำปีการศึกษา 2559รายงานผลการดำเนินกิจกรรมสภานักเรียน ประจำปีการศึกษา 2559
รายงานผลการดำเนินกิจกรรมสภานักเรียน ประจำปีการศึกษา 2559สภานักเรียน ส.ป. samutprakanstudentcouncil
 
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.3
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.3 วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.3
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.3 sudchaleom
 
แบบทดสอบ ประวัติศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ ประวัติศาสตร์ ม.3แบบทดสอบ ประวัติศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ ประวัติศาสตร์ ม.3teerachon
 
บทที่ 4 การคมนาคมขนส่งในอุตสาหกรรมท่องเที่ยว
บทที่ 4 การคมนาคมขนส่งในอุตสาหกรรมท่องเที่ยวบทที่ 4 การคมนาคมขนส่งในอุตสาหกรรมท่องเที่ยว
บทที่ 4 การคมนาคมขนส่งในอุตสาหกรรมท่องเที่ยว재 민 Praew 김
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 7
สุขฯ ม.2 หน่วย 7สุขฯ ม.2 หน่วย 7
สุขฯ ม.2 หน่วย 7supap6259
 
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศPa'rig Prig
 

Mais procurados (20)

การจัดงานประเพณีวันสงกรานต์และวันผู้สูงอายุ
การจัดงานประเพณีวันสงกรานต์และวันผู้สูงอายุการจัดงานประเพณีวันสงกรานต์และวันผู้สูงอายุ
การจัดงานประเพณีวันสงกรานต์และวันผู้สูงอายุ
 
ใบความรู้ไตรภูมิพระร่วง
ใบความรู้ไตรภูมิพระร่วงใบความรู้ไตรภูมิพระร่วง
ใบความรู้ไตรภูมิพระร่วง
 
รายชื่อหลักสูตรฝึกอาชีพมีงานทำของ สำนักงาน กศน
รายชื่อหลักสูตรฝึกอาชีพมีงานทำของ สำนักงาน กศนรายชื่อหลักสูตรฝึกอาชีพมีงานทำของ สำนักงาน กศน
รายชื่อหลักสูตรฝึกอาชีพมีงานทำของ สำนักงาน กศน
 
แผ่นพับสัมฤทธิผลการปฏิบัติงานในหน้าที่ รองผู้อำนวยการสถานศึกษา
แผ่นพับสัมฤทธิผลการปฏิบัติงานในหน้าที่ รองผู้อำนวยการสถานศึกษาแผ่นพับสัมฤทธิผลการปฏิบัติงานในหน้าที่ รองผู้อำนวยการสถานศึกษา
แผ่นพับสัมฤทธิผลการปฏิบัติงานในหน้าที่ รองผู้อำนวยการสถานศึกษา
 
Atom
AtomAtom
Atom
 
T guide 6
T  guide 6T  guide 6
T guide 6
 
1.ทรัพยากร กทท.
1.ทรัพยากร กทท.1.ทรัพยากร กทท.
1.ทรัพยากร กทท.
 
7 1 แนวคิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว
7 1  แนวคิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว7 1  แนวคิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว
7 1 แนวคิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว
 
บทที่ 4-2-คุณธรรมและจริยธรรม
บทที่ 4-2-คุณธรรมและจริยธรรมบทที่ 4-2-คุณธรรมและจริยธรรม
บทที่ 4-2-คุณธรรมและจริยธรรม
 
การแบ่งยุคสมัยประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยประวัติศาสตร์การแบ่งยุคสมัยประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยประวัติศาสตร์
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษา
 
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
 
ตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย เล่ม 3
ตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย เล่ม 3 ตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย เล่ม 3
ตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย เล่ม 3
 
รายงานผลการดำเนินกิจกรรมสภานักเรียน ประจำปีการศึกษา 2559
รายงานผลการดำเนินกิจกรรมสภานักเรียน ประจำปีการศึกษา 2559รายงานผลการดำเนินกิจกรรมสภานักเรียน ประจำปีการศึกษา 2559
รายงานผลการดำเนินกิจกรรมสภานักเรียน ประจำปีการศึกษา 2559
 
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.3
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.3 วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.3
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.3
 
แบบทดสอบ ประวัติศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ ประวัติศาสตร์ ม.3แบบทดสอบ ประวัติศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ ประวัติศาสตร์ ม.3
 
บทที่ 4 การคมนาคมขนส่งในอุตสาหกรรมท่องเที่ยว
บทที่ 4 การคมนาคมขนส่งในอุตสาหกรรมท่องเที่ยวบทที่ 4 การคมนาคมขนส่งในอุตสาหกรรมท่องเที่ยว
บทที่ 4 การคมนาคมขนส่งในอุตสาหกรรมท่องเที่ยว
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 7
สุขฯ ม.2 หน่วย 7สุขฯ ม.2 หน่วย 7
สุขฯ ม.2 หน่วย 7
 
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศ
 
ใบความรู้ ฉันท์
ใบความรู้ ฉันท์ใบความรู้ ฉันท์
ใบความรู้ ฉันท์
 

คู่มือการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนในวิถี.pdf

  • 1. จุฑารัตน์ นกแก้ว และ อาภาภรณ์ อังสาชน สนับสนุนทุนโดยสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ประจำปีงบประมาณ 2565 การจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชน การจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชน ในวิถีภูมิปัญญาท้องถิ่นตาลโตนด ในวิถีภูมิปัญญาท้องถิ่นตาลโตนด (บ้านห้วยกรด) (บ้านห้วยกรด)
  • 2. การจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชน การจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชน (บ้านห้วยกรด) (บ้านห้วยกรด) ในวิถีภูมิปัญญาท้องถิ่นตาลโตนด ในวิถีภูมิปัญญาท้องถิ่นตาลโตนด โครงการการใช้ประโยชน์องค์ความรู้ภูมิปั ญญาท้องถิ่นตาลโตนด เพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนตำบลห้วยกรด อำเภอสรรคบุรี จังหวัดชัยนาท ได้รับทุนอุดหนุนการทำกิจกรรมส่งเสริมและสนับสนุนการวิจัยและนวัตกรรม จากสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ประจำปี งบประมาณ 2565 จุฑารัตน์ นกแก้ว และ อาภาภรณ์ อังสาชน
  • 3. การจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชน การจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชน ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงการอนุรักษ์ตาลโตนด (บ้านห้วยกรด) เทศบาลตำบลห้วยกรด โรงเรียนห้วยกรดวิทยา สำนักงานเกษตรอำเภอสรรคบุรี ศูนย์การศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม - ชัยนาท จัดทำโดย ร่วมกับ แหล่งทุน จุฑารัตน์ นกแก้ว และ อาภาภรณ์ อังสาชน มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ในวิถีภูมิปัญญาท้องถิ่นตาลโตนด ในวิถีภูมิปัญญาท้องถิ่นตาลโตนด (บ้านห้วยกรด) (บ้านห้วยกรด)
  • 4. คู่มือการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนในวิถีภูมิปัญญาท้องถิ่นตาลโตนด (บ้านห้วยกรด) เล่มนี้ได้รับทุนอุดหนุนการทำกิจกรรมส่งเสริมและสนับสนุนการวิจัยและนวัตกรรม ประจำปี 2565 จากสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) จัดทำโดย คณะมนุษยศาสตร์ และสังคมศาสตร์ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม เนื้อหา ประกอบด้วยสาระสำคัญ ได้แก่ ที่มาของการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนวิถีตาลโตนด (บ้านห้วยกรด) แนวคิด หลักการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชน การดำเนินงานจัดการ ท่องเที่ยวโดยชุมชน ผลการดำเนินกิจกรรมการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนโดยใช้ ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงการอนุรักษ์ตาลโตนดเป็นฐาน และการสรุป ถอดบทเรียน คณะผู้จัดทำมุ่งหวังที่จะพัฒนาองค์ความรู้และต่อยอด ภูมิปัญญาท้องถิ่นตาลโตนดให้เกิดประโยชน์เชิงเศรษฐกิจ เพื่อเป็นพื้นฐานในการพัฒนาเศรษฐกิจฐานรากในชุมชน เกิดการพึ่งพาตนเอง อันก่อให้เกิดการพัฒนาชุมชนอย่างยั่งยืน คู่มือเล่มนี้นำมาใช้สำหรับการอบรมเชิงปฏิบัติการ การจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนและการฝึ กอบรมมัคคุเทศก์ท้องถิ่น ในศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงการอนุรักษ์ตาลโตนด (บ้านห้วยกรด) คำนำ คำนำ คณะทำงาน กันยายน 2565
  • 5. สารบัญ สารบัญ หน้า หน้า 01 04 13 15 ส่วนที่ 1 บทนำ ที่มาของการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชน ในวิถีตาลโตนด (บ้านห้วยกรด) ส่วนที่ 2 แนวคิด หลักการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชน ในศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงการอนุรักษ์ ตาลโตนด (บ้านห้วยกรด) ส่วนที่ 3 การดำเนินงานจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชน ในศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงการอนุรักษ์ ตาลโตนด (บ้านห้วยกรด) ส่วนที่ 4 ผลการดำเนินกิจกรรมการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชน โดยใช้ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงการอนุรักษ์ ตาลโตนดเป็นฐาน
  • 6. หน้า หน้า 19 22 23 24 ส่วนที่ 5 ผลสรุป ถอดบทเรียน เอกสารอ้างอิง ภาคผนวก ทีมร่วมพัฒนา infographic (A4) 1 แผ่น QR code เอกสารโครงการฝึกอบรมการจัดการท่องเที่ยว โดยชุมชน QR code ป้ายฐานเรียนรู้ จำนวน 5 ฐาน QR code เรื่องเล่า ตำนานตาลโตนดห้วยกรด QR code ขั้นตอนการปฏิบัติงานมัคคุเทศก์ท้องถิ่น QR code เว็บไซต์ศูนย์เรียนรู้เศรษกิจพอเพียง การอนุรักษ์ตาลโตนด (บ้านห้วยกรด) QR code คู่มือการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชน ในวิถีภูมิปัญญาท้องถิ่นตาลโตนด (บ้านห้วยกรด)
  • 7. หัวใจการท่องเที่ยว หัวใจการท่องเที่ยว 4 ห้อง 4 ห้อง การเรียนรู้เป็ นหนึ่งในวัตถุประสงค์ของการท่องเที่ยว การเชื่อมโยงแหล่งท่องเที่ยวชุมชนเข้ากับวัฒนธรรมและภูมิปั ญญาท้องถิ่น แนวคิด การเรียนรู้ภูมิปั ญญา วิถี วัฒนธรรมของชุมชน ดำเนินการโดยชุมชน เพื่อชุมชน ชุมชนมีส่วนร่วมกำหนดทิศทาง ร่วมตัดสินใจ ความหมาย ร่วมดำเนินการ ร่วมประเมินผล และร่วมรับผลกระทบ (เชิงบวกและเชิงลบ) เรียนรู้ ให้นักท่องเที่ยว เรียนรู้ด้วยตนเอง เช่น เดินชมวิถีชาวบ้าน จักสานตาลด้วยตนเอง ผูกพัน ให้นักท่องเที่ยวได้เห็น สัมผัส รู้สึกคิดถึง เกิดจากการเรียนรู้ เห็นคุณค่า ของผลิตภัณฑ์ บริการและ กิจกรรมการท่องเที่ยว บทนำ ที่มาของการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชน บทนำ ที่มาของการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชน ในวิถีตาลโตนด (บ้านห้วยกรด) ในวิถีตาลโตนด (บ้านห้วยกรด) ส่วนที่ ส่วนที่ ความสำคัญของ ความสำคัญของ การจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชน การจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชน การจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชน การจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชน 1 1 แท้จริง ต้องเป็ นวิถีชุมชน วิถีชีวิตที่แท้จริง แลกเปลี่ยน มีการถ่ายทอด เรื่องราวภูมิปั ญญา สร้างงาน สร้างอาชีพ สร้างรายได้ การจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนในวิถีภูมิปัญญาท้องถิ่นตาลโตนด การจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนในวิถีภูมิปัญญาท้องถิ่นตาลโตนด (บ้านห้วยกรด) (บ้านห้วยกรด) 1
  • 8. ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง การอนุรักษ์ตาลโตนด (บ้านห้วยกรด) การอนุรักษ์ตาลโตนด (บ้านห้วยกรด) ตัวอย่าง ตัวอย่าง ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง การอนุรักษ์ตาลโตนด (บ้านห้วยกรด) การอนุรักษ์ตาลโตนด (บ้านห้วยกรด) กับการเป็นแหล่งท่องเที่ยว กับการเป็นแหล่งท่องเที่ยว ทุนทางสังคม วัฒนธรรม ภูมิปั ญญา สืบสาน ฐานการผลิต แนวคิด สืบทอดนำไปใช้ประโยชน์ได้ แหล่งเรียนรู้ภูมิปั ญญาท้องถิ่น ตาลโตนดและฝึ กทักษะอาชีพตาล หน่วยงานราชการในท้องถิ่น สถาบันการศึกษา หน่วยงานที่สนับสนุนให้ศูนย์เป็ นแหล่งท่องเที่ยว - - มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ - จัดกิจกรรมให้ความรู้ เพื่อสนับสนุนศูนย์เรียนรู้ฯ เป็ นแหล่ง - จัดกิจกรรมให้ความรู้ เพื่อสนับสนุนศูนย์เรียนรู้ฯ เป็ นแหล่ง ท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ เช่นมีการ ใช้คำว่า “บ้านคนรักษ์ตาล” ท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ เช่นมีการ ใช้คำว่า “บ้านคนรักษ์ตาล” แทนคำว่า “ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงการอนุรักษ์การโตนด“ แทนคำว่า “ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงการอนุรักษ์การโตนด“ เพื่อการเข้าถึง ผ่านการค้นหาในระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต เพื่อการเข้าถึง ผ่านการค้นหาในระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต - การจัดทำเว็บไซต์ “เที่ยวยิ้มอิ่มใจ" - การจัดทำเว็บไซต์ “เที่ยวยิ้มอิ่มใจ" - มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม - มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม - การจัดทำเว็บไซต์ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง - การจัดทำเว็บไซต์ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง การอนุรักษ์ตาลโตนด การอนุรักษ์ตาลโตนด - การจัดระบบองค์ความรู้ฐานเรียนรู้ภูมิปั ญญาท้องถิ่น - การจัดระบบองค์ความรู้ฐานเรียนรู้ภูมิปั ญญาท้องถิ่น การโตนด เพื่อเป็ นแหล่งเรียนรู้และจัดเตรียมความพร้อม การโตนด เพื่อเป็ นแหล่งเรียนรู้และจัดเตรียมความพร้อม ในการเป็ นแหล่งเรียนรู้เพื่อการท่องเที่ยวโดยชุมชน ในการเป็ นแหล่งเรียนรู้เพื่อการท่องเที่ยวโดยชุมชน สำนักงานเกษตรอำเภอสรรคบุรี สำนักงานเกษตร จังหวัดชัยนาท สนับสนุนให้ศูนย์เรียนรู้ฯ เป็ นแหล่ง ท่องเที่ยวเชิงเกษตร - มีการจัดกิจกรรมนำเที่ยวในศูนย์เรียนรู้ฯ ตามฐานเรียนรู้ภูมิปั ญญาท้องถิ่นตาลโตนด สนับบสนุนให้ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง การอนุรักษ์ เป็ นแหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม - การขอรับรองมาตรฐานการท่องเที่ยวเชิง วัฒนธรรม - ทดลองจัดทำโปรแกรมการท่องเที่ยวในศูนย์ เรียนรู้ฯ มีนักท่องเที่ยวมาเยี่ยมชมและร่วม กิจกรรม การจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนยั่งยืน การจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนยั่งยืน ประโยชน์การท่องเที่ยวโดยชุมชนยั่งยืน ประโยชน์ของศูนย์เรียนรู้ฯ หน่วยงานราชการในท้องถิ่น สภาวัฒนธรรมจังหวัดชัยนาท สถาบันการศึกษา เครื่องมือในการสร้างความเข้มแข็งของชุมชน ท้องถิ่นเข้มแข็ง เสริมสร้างรายได้ให้ชุมชน เป็ นศูนย์รวมจิตใจ ทำให้คนรักและภูมิใจใน รากเหง้าตนเอง ซึ่งเป็ นไปตามคุณลักษณะ แหล่งเรียนรู้ที่จะช่วยเพื่อให้เกิดมีรายได้ เพิ่มมากขึ้น เกิดกระบวนการเรียนรู้ การทำงานร่วมกัน ชุมชนเกิดความรัก ความภาคภูมิใจ ความรู้สึก เป็ นเจ้าของ มีส่วนร่วมในทรัพยากรของชุมชน การจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนในวิถีภูมิปัญญาท้องถิ่นตาลโตนด การจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนในวิถีภูมิปัญญาท้องถิ่นตาลโตนด (บ้านห้วยกรด) (บ้านห้วยกรด) 2
  • 9. ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงการอนุรักษ์ตาลโตนด (บ้านห้วยกรด) ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงการอนุรักษ์ตาลโตนด (บ้านห้วยกรด) กับการท่องเที่ยวโดยชุมชน กับการท่องเที่ยวโดยชุมชน ด้านทรัพยากรวัฒนธรรม มีอัตลักษณ์ชุมชนด้านภูมิปัญญาเฉพาะท้องถิ่นและ วัฒนธรรมด้านตาลโตนด มีทรัพยากรธรรมชาติ ทรัพยากรท้องถิ่นและสิ่งแวดล้อมทาง ธรรมชาติที่สมบูรณ์ ด้านสถานที่ พื้นที่ มีพื้นที่และอาคารในสถานที่จริงและสถานที่เสมือนจริงบนเว็บไซต์ ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงการอนุรักษ์ตาลโตนด มีองค์ประกอบที่เป็นไปตามองค์ประกอบของ การท่องเที่ยวโดยชุมชน และองค์ประกอบการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ ดังนี้ ด้านองค์กรชุมชน มีคณะกรรมการดำเนินงานศูนย์ มีปราชญ์ ผู้รู้ ด้านกิจกรรมการเรียนรู้ เป็นศูนย์เรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่นตาลโตนด และฝึ กอาชีพตาลโตนดของชุมชนบ้านห้วยกรด มีองค์ประกอบตาม กิจกรรมท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ กิจกรรมการทำตาลที่เป็น สิ่งที่เกิดขึ้นจริงในวิถีชีวิต นักท่องเที่ยวได้มีส่วนทดลองทำงาน หัตถกรรมจากใบตาล ทำกิจกรรมร่วมกับท้องถิ่น มีการแลกเปลี่ยน ถ่ายทอดเรียนรู้ภูมิปัญญาให้นักท่องเที่ยวผ่านกิจกรรม มีกิจกรรม การเรียนรู้ที่นักท่องเที่ยวเรียนรู้ด้วยตนเอง เช่น การทำอาหารจาก ตาลด้วยสูตรอาหารพื้นถิ่น การเดินชมบรรยากาศของวิถีตาลภายใน ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงการอนุรักษ์ตาลโตนด ด้านสินค้า ที่เป็นผลิตภัณฑ์ชุมชนจากผลผลิตตาลโตนด การจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนในวิถีภูมิปัญญาท้องถิ่นตาลโตนด การจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนในวิถีภูมิปัญญาท้องถิ่นตาลโตนด (บ้านห้วยกรด) (บ้านห้วยกรด) 3 ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงการอนุรักษ์ตาลโตนด ไม่มีองค์ประกอบด้านการจัดการ ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงการอนุรักษ์ตาลโตนด ไม่มีองค์ประกอบด้านการจัดการ สิ่งที่ต้องดำเนินการ สิ่งที่ต้องดำเนินการ หากพิจารณาองค์ประกอบของการท่องเที่ยวโดยชุมชน ศูนย์เรียนรู้ฯ ยังขาดองค์ประกอบด้าน การจัดการเพื่อเชื่อมโยงการท่องเที่ยวเข้ากับการพัฒนาชุมชนที่ทำให้เกิดการเรียนรู้ระหว่างผู้มา เยือนกับชาวบ้าน นำไปสู่การสร้างจิตสำนึกการอนุรักษ์ทรัพยากรและวัฒนธรรม โดยต้องมีกลไก การจัดตั้งคณะกรรมการ กลุ่ม ชมรม ที่จัดการท่องเที่ยว โดยเฉพาะการจัดการพื้นที่และการ จัดการคนให้มีศักยภาพรองรับการจัดการท่องเที่ยวในชุมชน การส่งเสริมการเรียนรู้เพื่อจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนโดยใช้ ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงการอนุรักษ์ตาลโตนดเป็นฐาน ด้วยวิธีการ ... การเสริมสร้างศักยภาพคนและพื้นที่ในศูนย์เรียนรู้ฯ ให้พร้อมต่อการเป็นสถานที่ท่องเที่ยวโดยชุมชน การฝึกอบรมให้คนในชุมชนเป็นมัคคุเทศก์ท้องถิ่นประจำศูนย์เรียนรู้ฯ เพื่อเพิ่มศักยภาพและความรู้ ความสามารถของคนในชุมชนให้ได้รับความรู้ ความเข้าใจ การท่องเที่ยวภายในท้องถิ่นของตน มีทักษะในการนำชมได้อย่างถูกต้องตามหลักวิชาการ ตลอดจนเป็นเจ้าบ้านที่ดีในการให้การต้อนรับ นักท่องเที่ยวที่เป็นผู้มาเยือน เป็นการตอบโจทย์การเสริมสร้างความเข้มแข็งอย่างยั่งยืน นำไปสู่การ เสริมสร้างรายได้และสร้างอาชีพของคนในชุมชน
  • 10. 1 1 การท่องเที่ยวโดยชุมชนเป็ นการนำทรัพยากรท้องถิ่น และภูมิปั ญญาท้องถิ่นในชุมชนมาใช้ให้เกิดประโยชน์ อย่างเหมาะสม และมีการจัดการและดำเนินการโดย คนในชุมชนที่มีการบริหารจัดการแบบมีส่วนร่วมของ คนในชุมชน นักท่องเที่ยวที่เป็ นผู้มาเยือนชุมชน ได้สัมผัสธรรมชาติโดยตรงมากกว่าบอกเล่าต่อ ๆ กันไป นักท่องเที่ยวมีความรู้ ความเข้าใจ เข้าถึงและมีส่วนร่วมในที่จะซาบซึ้งในท้องถิ่น สัมผัสคุณค่า ก่อให้เกิดการเรียนรู้ร่วมกันระหว่างนักท่องเที่ยวกับชุมชน พัฒนาชุมชน นำไปสู่ความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม วัฒนธรรมท้องถิ่น และคุณภาพชีวิตของ เสริมสร้างศักยภาพให้ชุมชนรับประโยชน์จากการท่องเที่ยว เป็ นจุดขายสร้างรายได้ให้คนในท้องถิ่น ของแหล่งท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน คำนึงถึงคนในชุมชน ผ่านการเรียนรู้ เรื่องราว ภูมิปัญญาท้องถิ่น อัตลักษณ์ เอกลักษณ์ของชุมชน และผ่านการร่วมทำกิจกรรมเพื่อได้ประสบการณ์ตรง คนในชุมชน การท่องเที่ยวโดยชุมชน การท่องเที่ยวโดยชุมชน การจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนในวิถีภูมิปัญญาท้องถิ่นตาลโตนด การจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนในวิถีภูมิปัญญาท้องถิ่นตาลโตนด (บ้านห้วยกรด) (บ้านห้วยกรด) 4 แนวคิด หลักการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชน แนวคิด หลักการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชน ในศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงการอนุรักษ์ ในศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงการอนุรักษ์ ตาลโตนด(บ้านห้วยกรด) ตาลโตนด(บ้านห้วยกรด) ส่วนที่ ส่วนที่ 2 2 หลักการทำงาน หลักการทำงาน ของการท่องเที่ยว ของการท่องเที่ยว โดยชุมชน โดยชุมชน ชุมชนเป็นเจ้าของ การท่องเที่ยวโดยชุมชนต้องมาจาก ความต้องการของชุมชนอย่างแท้จริง ชุมชนได้มีการพินิจ พิเคราะห์สภาพปัญหา ผลกระทบการท่องเที่ยวอย่างรอบ ด้านแล้ว ชุมชนร่วมตัดสินใจลงมติที่จะดำเนินการตาม แนวทางที่ชุมชนเห็นสมควร เป้าหมาย/ประโยชน์ เป้าหมาย/ประโยชน์
  • 11. 2 2 4 4 3 3 5 5 ชาวบ้านมีส่วนร่วมในการกำหนด ทิศทางการตัดสินใจ สมาชิกในชุมชนต้องมีส่วนร่วม คิดร่วม วางแผนร่วม ทำ กิจกรรมร่วม ติดตามประเมินผลร่วมกัน เรียนรู้ร่วมกัน รับประโยชน์และผลกระทบเชิงบวกหรือเชิงลบร่วมกัน การจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนในวิถีภูมิปัญญาท้องถิ่นตาลโตนด การจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนในวิถีภูมิปัญญาท้องถิ่นตาลโตนด (บ้านห้วยกรด) (บ้านห้วยกรด) 5 6 6 7 7 รูปแบบ เนื้อหา กิจกรรม ของการท่องเที่ยวโดยชุมชน ต้องคำนึงการอยู่ร่วมกันอย่างมีศักดิ์ศรี มีความเป็นธรรม และส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม เศรษฐกิจ การเมือง สังคมและวัฒนธรรมในเชิงสร้างสรรค์และลดผลกระทบในเชิงลบ ชุมชนต้องรวมตัวกันเป็นกลุ่ม เป็นชมรม เป็นองค์กร หรือใช้องค์กรชุมชนเดิมที่มี อยู่แล้ว เช่น องค์การบริหารส่วนตำบล (อบต.) เพื่อกลไกที่ทำหน้าที่แทนสมาชิก ทั้งหมด และดำเนินการด้านการกำหนดทิศทาง นโยบาย การบริหาร การจัดการ การประสานงาน เพื่อให้การท่องเที่ยวโดยชุมชนเป็นไปตามเจตนารมณ์ของ สมาชิกในชุมชนที่เห็นร่วมกัน ชุมชนที่จัดการท่องเที่ยว สมาชิกในชุมชน ชาวบ้านทั่วไปและนักท่องเที่ยว ควรมี กระบวนการเรียนรู้ระหว่างกันและกันอย่างต่อเนื่อง เพื่อก่อให้เกิดการพัฒนา กระบวนการทำงานการท่องเที่ยวโดยชุมชนให้ถูกต้องเหมาะสม และมีความชัดเจน การท่องเที่ยวโดยชุมชน จะต้องมีมาตรฐานที่มาจากข้อตกลงร่วม ภายในชุมชนด้วย เช่น ความสะอาด ความปลอดภัย การกระจาย รายได้ที่เป็นธรรมของผู้ที่เกี่ยวข้อง และพิจารณาร่วมกันถึงขีด ความสามารถในการรองรับ กฎ กติกาที่เห็นร่วมกันจากชุมชน สำหรับการจัดการท่องเที่ยวที่ชัดเจน และ สามารถกำกับดูแลให้เป็นไปตามกติกาที่วางไว้
  • 12. รายได้ที่ได้รับจากการท่องเที่ยว มีส่วนนำไปสนับสนุน การพัฒนาชุมชนและรักษาสิ่งแวดล้อม การท่องเที่ยวไม่ใช่อาชีพหลักของชุมชน ชุมชนต้องดำรงอาชีพหลักของตนเอง ไว้ได้ หากอาชีพของชุมชนเปลี่ยนเป็นการจัดการท่องเที่ยว เป็นการทำลายชีวิต และจิตวิญญาณดั้งเดิมของชุมชน ด้านทรัพยากรธรรมชาติ และวัฒนธรรมชุมชน การจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนในวิถีภูมิปัญญาท้องถิ่นตาลโตนด การจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนในวิถีภูมิปัญญาท้องถิ่นตาลโตนด (บ้านห้วยกรด) (บ้านห้วยกรด) 6 8 8 10 10 9 9 องค์กรชุมชนมีความเข้มแข็งพอที่จะจัดการกับผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นได้ และ พร้อมจะหยุดเมื่อเกินความสามารถในการจัดการซึ่งสิ่งเหล่านี้หากมองในแง่ ความพร้อมของชุมชนและประสิทธิภาพในการบริหารจัดการท่องเที่ยวในมิติ ของชุมชนแล้ว การท่องเที่ยวโดยชุมชนจะเป็นไปได้ด้วยดีนั้นยังต้องพิจารณา จากมิติภายนอกชุมชนที่เข้ามาเกี่ยวข้องด้วย เช่น การตลาด นโยบายรัฐที่เข้า มาสนับสนุน และพฤติกรรมของนักท่องเที่ยว เป็นต้น องค์ประกอบของ องค์ประกอบของ การท่องเที่ยวโดยชุมชน การท่องเที่ยวโดยชุมชน มีฐานทรัพยากรธรรมชาติที่ อุดมสมบูรณ์ มีการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ อย่างยั่งยืน มีวัฒนธรรมประเพณี ที่เป็ นเอกลักษณ์ มีกลไกเพื่อจัดการท่องเที่ยวเชื่อมโยงการท่อง เที่ยวเข้ากับการพัฒนาชุมชน มีการกระจายผลประโยชน์ที่เป็ นธรรม มีกองทุนที่เอื้อประโยชน์ต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมของชุมชน ทำให้เกิดการเรียนรู้ระหว่าง ผู้มาเยือนกับชาวบ้าน สร้างจิตสำนึกในการ อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ วัฒนธรรม มีระบบสังคมที่เข้าใจ มีปราชญ์หรือมีผู้มี ความรู้ในทักษะต่าง ๆ มีความเป็ นเจ้าของ และเข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนา ลักษณะของกิจกรรมการท่องเที่ยว กิจกรรมการท่องเที่ยวสร้างความรู้ ความเข้าใจวิถีชีวิตและวัฒนธรรมที่ต่างกัน ทำให้เกิดการเรียนรู้ระหว่างผู้มาเยือนกับ คนในชุมชน สร้างจิตสำนึกในการอนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติและวัฒนธรรม ด้านการจัดการ ด้านองค์กรชุมชน ด้านการเรียนรู้
  • 13. การสื่อความหมาย การสื่อความหมาย การเล่าเรื่อง การเล่าเรื่อง คนในชุมชนเป็ นผู้นำการท่องเที่ยว อำนวยความสะดวก ให้กับนักท่องเที่ยวหรือผู้มาเยือนด้วยบริการที่ดีมีมิตรไมตรี การพัฒนาคนในท้องถิ่นให้เป็ นมัคคุเทศก์ท้องถิ่น นักเล่า เรื่อง นักสื่อความหมาย ทำให้ทุกคนรู้จักวัฒนธรรม ประเพณี สถานที่ เป็ นสิ่งจำเป็ นและสำคัญ เพราะ คนต้องได้รับการพัฒนาความรู้และทักษะการสื่อสารเพื่อ บอกเล่าเรื่องราว วัฒนธรรมท้องถิ่นและกระตุ้นให้ชุมชนเข้มแข็ง เห็นประโยชน์ความสำคัญของข้อมูลทรัพยากรในชุมชน ธรรมชาติ วิถีชีวิต ภูมิอากาศ ให้เกิดคุณค่าของทรัพยากร ท่องเที่ยว ซึ่งเกี่ยวข้องโดยตรงกับการสื่อความหมาย กิจกรรมการท่องเที่ยวโดยชุมชน เป็ นองค์ประกอบที่นำ ไปสู่การสร้างประสบการณ์ที่ดีให้แก่ผู้มาเยือน กิจกรรมการ ท่องเที่ยวโดยชุมชนควรเป็ นการนำกิจกรรมเชิงสร้างสรรค์ มาประยุกต์ กระบวนการสื่อสารที่กระตุ้นความสนใจ ความรู้สึก ความนึกคิดของผู้มาเยือนโดยเชื่อมโยงกับ แหล่งท่องเที่ยว มรดกวัฒนธรรมและชุมชน ช่วยให้ผู้มาเยือนเข้าใจคุณค่าแหล่งท่องเที่ยวเสริม สร้างประสบการณ์การเดินทาง สร้างทัศนคติที่ดีต่อการอนุรักษ์และพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวให้ยั่งยืน ทำให้จดจำ ประทับใจ เกิดจินตนาการ สร้างความเข้าใจ สร้างความสนุกสนาน ผ่อนคลาย สร้างคุณค่า มูลค่าให้กับสินค้าบริการและสถานที่ท่องเที่ยวของชุมชน สร้างทัศนคติที่ดีต่อการอนุรักษ์และพัฒนา แหล่งท่องเที่ยวให้ยั่งยืน การจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนในวิถีภูมิปัญญาท้องถิ่นตาลโตนด การจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนในวิถีภูมิปัญญาท้องถิ่นตาลโตนด (บ้านห้วยกรด) (บ้านห้วยกรด) 7 ก้าวที่ 1 สำรวจคัดเลือกชุมชนโดยการจัดตั้ง คณะทำงานรับรองแหล่งท่องเที่ยวโดยชุมชนเพื่อ ร่วมพัฒนาเกณฑ์การบริหารจัดการท่องเที่ยว โดยชุมชน ก้าวที่ 2 เตรียมความพร้อมเรื่องคน ตั้งชมรม ส่งเสริมการท่องเที่ยวโดยชุมชน เสริมสร้าง ศักยภาพผู้นำ จัดทำแผนกลยุทธ์ ก้าวที่ 3 เสริมสร้างศักยภาพชุมชนทำแผนที่ ท่องเที่ยว จัดทำกฎระเบียบการบริหารจัดการภายใน ก้าวที่ 4 เตรียมพื้นที่พร้อมสู่ตลาด ทำโปรแกรม การท่องเที่ยว กำหนดกลุ่มเป้าหมาย กิจกรรม การทดลอง ก้าวที่ 5 เชื่อมโยงตลาดต่อยอดคนรุ่นใหม่ แบรนด์ชุมชน คน คน บริการและกิจกรรม บริการและกิจกรรม องค์ประกอบสำคัญของ องค์ประกอบสำคัญของ การท่องเที่ยวโดยชุมชน การท่องเที่ยวโดยชุมชน "ไม่มีใครจะรู้ดีเท่าคน "ไม่มีใครจะรู้ดีเท่าคน ในท้องถิ่นของตนเอง” ในท้องถิ่นของตนเอง” กระบวนการพัฒนาการ กระบวนการพัฒนาการ ท่องเที่ยวโดยชุมชน ท่องเที่ยวโดยชุมชน ด้วยกระบวนการ 5 ก้าว ด้วยกระบวนการ 5 ก้าว การเล่าเรื่อง เรื่องเล่า (Story telling) เป็ นความสัมพันธ์ระหว่างการท่องเที่ยวกับวัฒนธรรม ประเพณีสภาพแวดล้อม เป็ นสิ่งที่ไม่สามารถแยกออกจากกันได้ เพราะการท่องเที่ยวไม่ใช่เพียง มาชมทัศนียภาพของสถานที่ แต่หมายถึงเรียนรู้เรื่องราว อัตลักษณ์ ความเป็ นเอกลักษณ์ของ ชุมชน การเล่าเรื่องที่ดีก่อให้เกิดอรรถรส เห็นคุณค่าของท้องถิ่น เกิดแรงบันดาลใจแก่นักท่องเที่ยว เป็ นการสร้างประสบการณ์ให้นักท่องเที่ยว เกิดจินตนาการ สร้างความเข้าใจ สร้างความสนุกสนาน สร้างคุณค่า มูลค่าให้กับสินค้า บริการ และสถานที่ท่องเที่ยวของชุมชน
  • 14. เทคนิคการเล่าเรื่อง เทคนิคการเล่าเรื่อง ประสบการณ์ ประสบการณ์ ขึ้นต้นให้น่าสนใจ ให้ตัวอย่างประกอบ สิ่งที่นักท่องเที่ยวจะได้ สิ่งที่นักท่องเที่ยวจะได้ รับจากเรื่องเล่า รับจากเรื่องเล่า การจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนในวิถีภูมิปัญญาท้องถิ่นตาลโตนด การจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนในวิถีภูมิปัญญาท้องถิ่นตาลโตนด (บ้านห้วยกรด) (บ้านห้วยกรด) 8 การสื่อความหมายเป็ นรูปแบบหนึ่งของการเล่าเรื่อง (story telling) เป็ นกระบวนการสื่อสาร ที่เชื่อมโยงข้อมูล ข้อเท็จจริง ประสบการณ์ตรงของนักท่องเที่ยวผ่านการเล่าเรื่อง เป็ นการเพิ่ม ประสบการณ์ให้การท่องเที่ยว สร้างความเข้าใจอันดีต่อพื้นที่ การผลิตการรับรู้ กระตุ้นให้ นักท่องเที่ยวกลับมาเที่ยวอีก เทคนิคการเล่าเรื่อง สามารถติดตามได้ทาง YouTube หรือช่องทางต่างๆบนสื่อสังคม เช่น รายการหา How ใส่หัว เทคนิคเล่าเรื่องขั้นเทพ พูดคล่องพูดเก่ง ฝึ กง่าย เป็ นต้น นอกจากนี้ มีตัวอย่างเรื่องเล่าของชุมชนเผยแพร่บนเว็บไซต์ เช่น เว็บไซต์เที่ยวยิ้มอิ่มใจ เป็ นต้น เกิดการรับรู้ เรียนรู้ เช่น ประวัติของสถานที่ เป็ นต้น เกิดประสบการณ์ตรง ได้สัมผัสจริง ลงมือทำ เกิดการบอกต่อ เกิดความประทับใจ เกิดการจดจำ เที่ยวซ้ำ เกิดความเข้าใจ ความรู้สึกร่วม เห็นภาพร่วมกับ เหตุการณ์เกิดความเข้าใจวัฒนธรรมที่ต่างกัน 1 3 2 4 กำหนดหัวใจของการเล่าเรื่อง สรุปจบ เป็นหัวใจของเรื่องเล่า
  • 15. การจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนในวิถีภูมิปัญญาท้องถิ่นตาลโตนด การจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนในวิถีภูมิปัญญาท้องถิ่นตาลโตนด (บ้านห้วยกรด) (บ้านห้วยกรด) 9 มัคคุเทศก์ หรือ ไกด์ (Guide) เป็ นผู้นำเที่ยว นำทางคน นำทางนักท่องเที่ยวไปท่องเที่ยวตาม สถานที่ต่าง ๆ ให้บริการในด้านต่าง ๆ งานของมัคคุเทศก์จัดเป็ นงานบริการที่สนองความ ต้องการของลูกค้าซึ่งเป็ นนักท่องเที่ยวด้วยการจัดบริการซึ่งเป็ นกิจกรรม การกระทำต่าง ๆ ให้ นักท่องเที่ยวได้ประทับใจ พึงพอใจ อิ่มเอมใจ เป้าหมายเพื่ิอให้นักท่องเที่ยวได้รับความรู้ ความเพลิดเพลิน สนุกสนาน สะดวกสบาย ปลอดภัย พึงพอใจ ประทับใจไม่รู้ลืม มัคคุเทศก์หรือไกด์มีความสำคัญต่อการท่องเที่ยวโดย เฉพาะธุรกิจบริการท่องเที่ยว มัคคุเทศก์เป็ นผู้ที่นักท่องเที่ยว ให้ความไว้วางใจเป็ นผู้ใกล้ชิดกับนักท่องเที่ยว มัคคุเทศก์ หน้าที่ของมัคคุเทศก์ หน้าที่ของมัคคุเทศก์ 1) อธิบายประวัติข้อมูลของสถานที่ท่องเที่ยว ข้อมูลประวัติเรื่องราวในชุมชน วิถีชีวิตประวัติศาสตร์ 2) สร้างกิจกรรมระหว่างการเดินทาง ทำให้เกิดความสนุกสนาน นักท่องเที่ยวไม่เบื่อ ทำให้การ ท่องเที่ยวมีชีวิตชีวา น่าสนใจ น่าประทับใจ 3) สร้างความปลอดภัยให้กับนักท่องเที่ยวด้วยการดูแลและเตือนนักท่องเที่ยวหากต้องพบสิ่งที่อาจ จะไม่ปลอดภัย 4) อำนวยความสะดวกให้แก่นักท่องเที่ยว 5) ช่วยเหลือแก้ไขปั ญหาเฉพาะหน้าให้นักท่่องเที่ยวในกลุ่มการเที่ยว 6) นักท่องเที่ยวได้รู้จักพื้นที่ใหม่ แหล่งเรียนรู้ที่ยังไม่รู้ ทำให้เที่ยวได้อย่างทั่วถึง ได้รู้จักกับเพื่อนในกลุ่ม 7) ใช้เวลาอย่างคุ้มค่า ไม่หลงทาง หรือต้องค้นหาเอง 8) ได้ความรู้จากมืออาชีพ จากประสบการณ์ตรงอย่างละเอียด
  • 16. มัคคุเทศก์ มัคคุเทศก์ จำแนกตามบัตรมัคคุเทศก์ จำแนกตามบัตรมัคคุเทศก์ 1 บัตรมีสีบรอนซ์ทอง ใช้ได้ทั่วราชอาณาจักรไทย มัคคุเทศก์ต่างประเทศ มัคคุเทศก์ไทย 1) บัตรสีชมพู มัคคุเทศก์ต่างประเทศเฉพาะพื้นที่ นำเที่ยวเฉพาะไทยและต่างประเทศในจังหวัดที่ระบุ 2) บัตรสีฟ้า มัคคุเทศก์ไทยเฉพาะพื้นที่ นำเที่ยวเฉพาะนักท่องเที่ยวไทยเฉพาะจังหวัดที่ระบุบนบัตร 3) บัตรสีเขียวมัคคุเทศก์เดินป่ า นำเที่ยวนักท่องเที่ยวไทยและต่างประเทศในเขตพื้นที่ป่ า 4) บัตรสีแดง มัคคุเทศก์ศิลปะ-วัฒนธรรม นำเที่ยวนักท่องเที่ยวไทยและต่างประเทศทางด้านโบราณคดี 5) บัตรสีส้ม มัคคุเทศก์ทางทะเล นำเที่ยวนักท่องเที่ยวไทยและต่างประเทศได้ในพื้นที่ทะเล 6) บัตรสีเหลือง มัคคุเทศก์ทางทะเลชายฝั่ ง นำเที่ยวนักท่องเที่ยวไทยและต่างประเทศระยะทาลไม่เกิน 40 ไมล์ทะเล 7) บัตรสีม่วง มัคคุเทศก์แหล่งท่องเที่ยวตามธรรมชาติ นำเที่ยวนักท่องเที่ยวไทยและต่างประเทศเฉพาะ ชื่อแหล่งที่ระบุไว้ 8) บัตรสีน้ำตาล มัคคุเทศก์วัฒนธรรมท้องถิ่น นำเที่ยวนักท่องเที่ยวไทยและต่างประเทศทางด้านวัฒนธรรม ท้องถิ่น เกี่ยวกับศิลปะ ประเพณี ประวัติศาสตร์ ภูมิศาสตร์ โบราณคดีเฉพาะในแหล่งท่องเที่ยว วัฒนธรรมท้องถิ่นที่ระบุไว้บนบัตร การจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนในวิถีภูมิปัญญาท้องถิ่นตาลโตนด การจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนในวิถีภูมิปัญญาท้องถิ่นตาลโตนด (บ้านห้วยกรด) (บ้านห้วยกรด) 10 2 3 บัตรมีสีบรอนซ์เงิน ใช้ได้ทั้งไทยทั้งต่างประเทศ เป็ นมัคคุเทศก์นำเที่ยวเฉพาะสถานที่ จำแนกตามสีของบัตรดังนี้ มัคคุเทศก์ท้องถิ่น นักท่องเที่ยว ผู้ที่เดินทางออกนอกสถานที่ที่อาศัยเพื่อพักผ่อนหย่อนใจ ปั จจุบันมีการใช้คำ “ผู้มาเยือน” หรือ”แขก” ซึ่งเป็ นคำที่สามารถเติมเต็มความรู้สึกและเพิ่มเติมความหมายได้มากกว่าการเป็ นกท่องเที่ยวหรือ หรือลูกค้า เพราะเป็ นการส่งมอบประสบการณ์และความรู้สึกที่ใกล้ชิดมากกว่าเพียงการมอบ บริการที่ดีอย่างเดียว มัคคุเทศก์ต้องรู้และเข้าใจพฤติกรรมของนักท่องเที่ยว โดยเฉพาะการตีความ ภาษากายหรือภาษาท่าทางเชิงบวกและเชิงลบ
  • 17. ภาษากายของนักท่องเที่ยว ภาษากายของนักท่องเที่ยว มัคคุเทศก์กับการเป็นนักสื่อความหมาย นักเล่าเรื่อง มัคคุเทศก์กับการเป็นนักสื่อความหมาย นักเล่าเรื่อง ข้อดีสื่อที่เป็ นคน นักท่องเที่ยวได้เห็นหน้าบุคลากร ลีลา ภาษาท่าทาง โต้ตอบได้อย่างทันที สร้าง ความเข้าใจในเรื่องที่สงสัย นักท่องเที่ยวที่มาเยือนชุมชนไม่ใช่แค่เพียงให้มาดูมาชมแต่ต้องให้ ได้รับประสบการณ์สัมผัสคุณค่าของแหล่งท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน คำนึงถึงคนในชุมชน จะทำได้ดี กับผ่านประสบการณ์ตรงซึ่งมัคคุเทศก์ต้องเข้าใจหลักการการสร้างเสริมประสบการณ์ที่เรียกว่า ประสบการณ์ว้าว (WOW) มัคคุเทศก์ ผู้นำเที่ยว ถือเป็ นนักสื่อความหมายชุมชนที่ต้องมีความรู้ ความสามารถในการ ถ่ายทอดเรื่องราวของท้องถิ่นที่เพื่ อสร้างประสบการณ์การจดจำ สร้างประทับใจให้แก่ นักท่องเที่ยวเพื่อให้นักท่องเที่ยวรู้ลึกถึงความสนใจในอดีตและปั จจุบัน นำไปสู่การเกิดความรัก ผูกพัน เก็บรักษาวิถีวัฒนธรรมท้องถิ่นให้ยั่งยืนร่วมกับชุมชน 1) กลุ่มเยาวชน ชอบการละเล่นสนุก ไม่ซ้ำซ้อน สาธิต ให้ลองทำ 2) กลุ่มศึกษา ดูงาน วิจัย สอบถามภาพโดยรวมของโครงการ ประเมินภาพรวมของการดูงาน อาจถามว่า ต้องการศึกษา หรือต้องการดูงานส่วนใดพิเศษเฉพาะหรือไม่ 3) คนรุ่นใหม่ ชอบให้มีการทำกิจกรรมด้วยตนเอง ถ่ายรูป มองหาสถานที่ที่เด่น ตื่นเต้น ดื่มด่ำกับบรรยากาศ สร้างแรง บันดาลใจ มีการแชร์ผ่านเครือข่าย สื่อสังคมออนไลน์ 4) กลุ่มครอบครัว ชอบขับรถดู เรียนรู้สิ่งแวดล้อม วิถีชุมชน 5) กลุ่มสูงวัย ชอบบรรยากาศ ศิลปะ ศาสนา สุขภาพ อาหาร วิถีชีวิต 6) กลุ่มต่างชาติ ชอบวิถีวัฒนธรรมท้องถิ่น สนทนากับชาวบ้าน การจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนในวิถีภูมิปัญญาท้องถิ่นตาลโตนด การจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนในวิถีภูมิปัญญาท้องถิ่นตาลโตนด (บ้านห้วยกรด) (บ้านห้วยกรด) 11 รอยยิ้ม สบตา ท่าทางเป็ นมิตร พูดคุยด้วยสีหน้าสนใจ เอนตัวมาข้างหน้า ท้าวคาง มองไปทางอื่น ตามองแหล่งที่ไม่ใช่ผู้พูด หาว เหลือบมองนาฬิกา เอามือล้วงกระเป๋ า หรือกอดอก กรณีเหลือบมองนาฬิกา ต้องการให้เปลี่ยน เรื่องสนทนา เรื่องพูด กรณีหาวนอนต้องการเปลี่ยนบรรยากาศ เปลี่ยน เรื่องสนทนา กรณีล้วงกระเป๋ าต้องการที่จะออกไปทำหรือไปอยู่ที่จุดอื่น กรณียืนกอดอก ต้องการให้ผู้พูดหยุดหรือให้คิดก่อน ภาษากายเชิงบวก ภาษากายเชิงลบ พฤติกรรมความสนใจของกลุ่มนักท่องเที่ยวมีความแตกต่างกันไป
  • 18. ขั้นตอนการปฏิบัติงานของมัคคุเทศก์ ขั้นตอนการปฏิบัติงานของมัคคุเทศก์ ภูมิปั ญญาท้องถิ่นเป็ นทุนทางสังคม วัฒนธรรมของการท่องเที่ยวในชุมชนที่นำไปสู่การจัดการ การท่องเที่ยวในชุมชนมีการนำอัตลักษณ์ วิถีชีวิตและภูมิปั ญญามาส่งเสริมและสร้างความ เกิดการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน นำไปสู่การสร้างรายได้และคุณภาพชีวิตที่ดี ท่องเที่ยวโดยชุมชนอย่างยั่งยืน น่าสนใจให้กับสถานที่ท่องเที่ยวในพื้นที่หรือชุมชนเพื่อตอบสนองความต้องการที่หลากหลายของ นักท่องเที่ยว ปั จจุบันการท่องเที่ยวไทยพึ่งพิงการขาย วิถีไทย เป็ นวัฒนธรรมและขนบธรรมเนียมประเพณี โดยวัฒนธรรมไม่ใช่เป็ นเพียงประเพณีการแสดงเท่านั้นแต่ ยังรวมถึงวิถีความเป็ นอยู่ การกิน การสื่อ ความหมาย การดำรงชีวิต ถือเป็ นทุนทางสังคม เป็ นภูมิปั ญญาที่นำมาช่วยต่อยอดสร้างรายได้ การจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนในวิถีภูมิปัญญาท้องถิ่นตาลโตนด การจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนในวิถีภูมิปัญญาท้องถิ่นตาลโตนด (บ้านห้วยกรด) (บ้านห้วยกรด) 12 ภูมิปัญญาท้องถิ่นกับการส่งเสริมการท่องเที่ยวโดยชุมชน ภูมิปัญญาท้องถิ่นกับการส่งเสริมการท่องเที่ยวโดยชุมชน ภูมิปัญญาวิถีตาลกับการส่งเสริมการท่องเที่ยวโดยชุมชน ภูมิปัญญาวิถีตาลกับการส่งเสริมการท่องเที่ยวโดยชุมชน ในจังหวัดชัยนาท ในจังหวัดชัยนาท เป็ นการต้อนรับผู้มาเยือนหรือนักท่องเที่ยว ณ จุดต้อนรับ แนะนำตัวเอง ใช้เวลาประมาณ 10-15 นาที ขึ้นอยู่กับจำนวนและสภาพทางกายภาพ ภูมิปั ญญาวิถีตาลห้วยกรดได้รับการสนับสนุนให้อยู่ในกิจกรรมส่งเสริมการท่องเที่ยวของ เป็ นภูมิปั ญญาที่มีศักยภาพนำไปส่งเสริมการท่องเที่ยวได้อย่างยั่งยืนและสร้างคุณค่าเพิ่มให้ แก่ผลิตภัณฑ์ชุมชน ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงการอนุรักษ์ตาลโตนดเป็ นสถานที่เรียนรู้ภูมิปั ญญาท้องถิ่นตาลโตนด จังหวัดชัยนาทและชุมชนเพื่อพัฒนาสู่การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน ที่ได้รับการระบุเป็ นหนึ่งในแหล่งท่องเที่ยวโดยชุมชน เป็ นการปฏิบัติงานช่วงถึงสถานที่ท่องเที่ยว ใช้เวลาประมาณ 1-2 ชั่วโมง ขึ้นอยู่กับกิจกรรมที่จัด ถือเป็ นหัวใจของการนำเที่ยว เป็ นการเสริมสร้างความประทับใจให้ กับนักท่องเที่ยว ใช้เวลา 10-20 นาที ระยะเริ่มต้น ระยะนำเที่ยว ระยะสรุปจบ
  • 19. 1. ขั้นการวางแผน 2. ขั้นการดำเนินการ การจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนในวิถีภูมิปัญญาท้องถิ่นตาลโตนด การจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนในวิถีภูมิปัญญาท้องถิ่นตาลโตนด (บ้านห้วยกรด) (บ้านห้วยกรด) 13 ส่วนที่ ส่วนที่ 3 3 การดำเนินงานจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชน การดำเนินงานจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชน ในศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงการอนุรักษ์ ในศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงการอนุรักษ์ ตาลโตนด (บ้านห้วยกรด) ตาลโตนด (บ้านห้วยกรด) การดำเนินงานจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนในศูนย์เรียนรู้ เศรษฐกิจพอเพียงการอนุรักษ์ตาลโตนด (บ้านห้วยกรด) ดำเนินงาน 4 ขั้นตอน ภายใต้แนวคิดกรอบวงจรการ บริหารคุณภาพของเดมมิ่ง ได้แก่ ขั้นการวางแผน ขั้น การดำเนินการ ขั้นการตรวจสอบ และขั้นการปรับปรุง แก้ไข ดังนี้ 1.1 การสำรวจข้อมูลกลุ่มอาชีพและกลุ่มเป้ าหมายในการจัดกิจกรรม 1.2 การจัดตั้งคณะกรรมการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชน 1.3 การพัฒนาศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงการอนุรักษ์ตาลโตนดให้เป็ นศูนย์การท่องเที่ยวโดยชุมชน 1) ให้มีการจัดการพื้นที่ศูนย์ฯให้เป็ นแหล่งเรียนรู้เพื่อการท่องเที่ยวให้สอดคล้องกับวิถีชุมชน 2) ให้มีการปรับภูมิทัศน์ศูนย์ฯ จัดทำเส้นทางท่องเที่ยวภายในศูนย์ฯ 3) จัดฝึ กอบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้ ความเข้าใจการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชน การเรียนรู้เป็ นมัคคุเทศก์ท้องถิ่นหรือไกด์ท้องถิ่นประจำศูนย์เรียนรู้ฯ 2.1 การจัดการพื้นที่ศูนย์ฯให้เป็ นแหล่งเรียนรู้เพื่อการท่องเที่ยวให้ สอดคล้องกับวิถีชุมชน 2.2 การจัดอบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้ประวัติชุมชน ประวัติศูนย์ ความรู้และทักษะในการพัฒนาการท่องเที่ยวโดยชุมชน และ ฝึ กอบรมมัคคุเทศก์ท้องถิ่น
  • 20. 3. ขั้นการตรวจสอบ 4. ขั้นการปรับปรุง/แก้ไข การจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนในวิถีภูมิปัญญาท้องถิ่นตาลโตนด การจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนในวิถีภูมิปัญญาท้องถิ่นตาลโตนด (บ้านห้วยกรด) (บ้านห้วยกรด) 14 3.1 ประสานติดตามผลการจัดปรับภูมิทัศน์ศูนย์ฯเพื่อเป็ นแหล่งเรียนรู้เพื่อการท่องเที่ยวโดย ชุมชนผ่านการลงพื้นที่จริง และช่องทางการสื่อสารโทรศัพท์เคลื่อนที่และสื่อสังคม โดยเฉพาะสื่อสารผ่านไลน์ 3.2 ประสานติดตามผลการฝึ กปฏิบัติมัคคุเทศก์ท้องถิ่นช่องทางการสื่อสารโทรศัพท์เคลื่อนที่และ สื่อสังคม โดยเฉพาะสื่อสารผ่านไลน์ 4.1 ผู้ร่วมกิจกรรมได้แสดงความคิดเห็น 4.2 วิเคราะห์สวอท 4.3 จัดตั้งกลุ่มมัคคุเทศก์ท้องถิ่นหรือ ไกด์ท้องถิ่น 4.4 จัดตั้งกลุ่มการท่องเที่ยวโดยชุมชนบ้านห้วยกรด
  • 21. - พัฒนาพื้นที่ให้เป็ นพื้นที่อเนกประสงค์ แยกพื้นที่ของศูนย์ฯ เป็ นส่วนจัดแสดงสินค้า กิจกรรมเรียนรู้และการสาธิตภูมิปั ญญา ท้องถิ่นตาลโตนด ลานอเนกประสงค์ จุดบริการ ประชาสัมพันธ์ ป้ ายประชาสัมพันธ์ พื้นที่ จอดรถ พื้นที่ต้อนรับ ลานกิจกรรม ชุมชนในรูปเวทีจัดแสดงนอกอาคาร การจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนในวิถีภูมิปัญญาท้องถิ่นตาลโตนด การจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนในวิถีภูมิปัญญาท้องถิ่นตาลโตนด (บ้านห้วยกรด) (บ้านห้วยกรด) 15 การดำเนินกิจกรรมการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนโดยใช้ศูนย์เรียนรู้ เศรษฐกิจพอเพียงการอนุรักษ์ตาลโตนดเป็ นฐาน มีการดำเนินกิจกรรม ใน ด้านการจัดการพื้นที่ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงการอนุรักษ์ตาลโตนด และการส่งเสริมการเรียนรู้การจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนให้กับคนใน ชุมชน การฝึ กอบรมคนในชุมชนเป็ นมัคคุเทศก์ท้องถิ่น เพื่อการเป็ นเจ้าบ้านที่ดี ด้านการจัดการพื้นที่ในศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงการอนุรักษ์ตาลโตนด เป็ นการเสริมสร้างศักยภาพและความพร้อมของพื้นที่ภายในศูนย์ฯ ให้มีความพร้อม ในการเป็ นสถานที่รองรับการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชน ด้วยแนวคิด การจัดการ พื้นที่ให้สอดคล้องกับวิถีชุมชน ภูมิปั ญญาท้องถิ่นและวัฒนธรรมชุมชนและแนวคิด ศูนย์เรียนรู้และขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสมบูรณ์แบบเชิงธุรกิจของ กรมการพัฒนาชุมชน - จัดตั้ง คณะกรรมการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชน เป็ นกลไก การบริหารจัดการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนของศูนย์เรียนรู้ฯ ส่วนที่ ส่วนที่ 4 4 ผลการดำเนินกิจกรรม ผลการดำเนินกิจกรรม การจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชน การจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชน โดยใช้ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง โดยใช้ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง การอนุรักษ์ตาลโตนดเป็นฐาน การอนุรักษ์ตาลโตนดเป็นฐาน
  • 22. การจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนในวิถีภูมิปัญญาท้องถิ่นตาลโตนด การจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนในวิถีภูมิปัญญาท้องถิ่นตาลโตนด (บ้านห้วยกรด) (บ้านห้วยกรด) 16 - จัดทำผังเส้นทางท่องเที่ยวในศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงการอนุรักษ์ตาลโตนดในรูปแบบ สามมิติหรือที่เรียกว่า isometric เพื่อให้อ่านง่ายเหมือนของจริงมีข้อความประกอบสัญรูป เช่น จุดต้อนรับ จุดส่งนักท่องเที่ยว จุดจำหน่ายสินค้าชุมชน ห้องน้ำ เป็ นต้น - จัดทำเว็บศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงการอนุรักษ์ตาลโตนด (บ้านห้วยกรด) QR CODE ผังเส้นทางท่องเที่ยว - ทำระบบบำบัดน้ำเสียเพื่อนำกลับมาใช้ในการบำรุงรักษาต้นกล้าตาล - จัดอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อให้คนในชุมชนที่ เป็ นกลุ่มเป้ าหมายมีความรู้ ความเข้าใจ รับรู้ถึงความสำคัญและประโยชน์ที่ได้รับจาก การจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชน - จัดทำเอกสาร “เรื่องเล่าตำนานตาลโตนด ห้วยกรด” เพื่อให้มัคคุเทศก์ท้องถิ่นใช้ในการ ปฏิบัติงานนำเที่ยวในศูนย์เรียนรู้ฯ - ฝึ กอบรมเชิงปฏิบัติการการเป็ นมัคคุเทศก์ ท้องถิ่นและฝึ กปฏิบัติงานเป็ นมัคคุเทศก์ท้องถิ่น ประจำศูนย์เรียนรู้ฯ ทั้งภาคทฤษฎีและ ภาคปฏิบัติจริง (ภาคสนาม) - จัดตั้งกลุ่มท่องเที่ยวชุมชนบ้านห้วยกรด - จัดทำ “คู่มือการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชน วิถีภูมิปั ญญาท้องถิ่นตาลโตนด (บ้านห้วยกรด) ด้านการส่งเสริมการเรียนรู้การจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนให้กับคนในชุมชน เป็ นการเสริมสร้างศักยภาพของคนในชุมชนให้มีความรู้ ความเข้าใจการจัดการท่องเที่ยว โดยชุมชน และ ความพร้อมการเป็ นเจ้าบ้านที่ดี ในการรองรับนักท่องเที่ยวหรือผู้มาเยือน อ่านข้อมูลเพิ่มเติม SCAN ME! กลุ่มไกด์ยิ้มหวานบ้านห้วยกรด กลุ่มไกด์ยิ้มหวานบ้านห้วยกรด
  • 23. 3. กิจกรรมภาคฝึ กปฏิบัติจริง (ภาคสนาม) ในศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงการอนุรักษ์ ตาลโตนดเป็ นการฝึ กปฏิบัติจริงของผู้ฝึ กอบรมเป็ นมัคคุเทศก์ท้องถิ่นในการให้การต้อนรับและ นำชมนักท่องเที่ยวในศูนย์เรียนรู้ฯ ใน 3 ระยะตามกิจกรรมในภาคทฤษฎีและการแสดง บทบาทสมมติ โดยศึกษาข้อมูลจากเอกสารร่างคู่มือการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนในวิถี ภูมิปั ญญาท้องถิ่นตาลโจตนด (บ้านห้วยกรด ) ที่จัดทำเป็ นเอกสารประกอบการฝึ กอบรม ฐานเคี่ยวตาล ฐานเพาะปลูกตาล ฐานทำอาหารจากตาล ฐานสิ่งประดิษฐ์และนวัตกรรมจากตาล การจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนในวิถีภูมิปัญญาท้องถิ่นตาลโตนด การจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนในวิถีภูมิปัญญาท้องถิ่นตาลโตนด (บ้านห้วยกรด) (บ้านห้วยกรด) 17 ผลการดำเนินการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ ผลการดำเนินการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ เพื่อให้ความรู้และฝึกปฏิบัติการเป็นมัคคุเทศก์ท้องถิ่น เพื่อให้ความรู้และฝึกปฏิบัติการเป็นมัคคุเทศก์ท้องถิ่น 1. การให้ความรู้เบื้องต้นการเป็ นมัคคุเทศก์ เป็ นการอบรมภาคทฤษฎี 1 วัน 2. กิจกรรมภาคปฏิบัติ (ภาคสนาม) ด้วยการแสดงบทบาทสมมติ โดยมัคคุเทศก์อาชีพ แสดงเป็ นมัคคุเทศก์ต้นแบบหรือไกด์ต้นแบบและให้ผู้เข้าฝึ กอบรมไกด์ชุมชนเป็ นนักท่องเที่ยว มัคคุเทศก์ต้นแบบนำชมฐานเรียนรู้ในกิจกรรม วิทยากรที่เป็ นมัคคุเทศก์อาชีพ แสดง การนำเที่ยวด้วยการพานักท่องเที่ยวซึ่งเป็ นผู้เข้ารับการฝึ กอบรมมัคคุเทศก์ท้องถิ่น ท่องเที่ยว ตามจุดที่แสดงในผังเส้นทางท่องเที่ยวในศูนย์ และเรียนรู้การตอบคำถามภูมิปั ญญาท้องถิ่น ตาลโตนดจากภูมิปั ญญาประจำฐานเรียนรู้ 5 ฐาน ประกอบด้วย ฐานขึ้นและเก็บน้ำตาลสดตาล
  • 24. ระยะที่ 2 ระยะนำเที่ยว มัคคุเทศก์ฝึ กการเล่าเรื่อง “ตำนานตาล โตนดห้วยกรด” เพื่อสร้างประสบการณ์ให้กับนักท่องเที่ยว จากนั้น นำนักท่องเที่ยวชมและร่วมกิจกรรมเรียนรู้ ตามจุดที่ระบุในป้ าย ผังเส้นทางการท่องเที่ยวในศูนย์ฯ ให้นักท่องเที่ยวร่วมเรียนรู้ และร่วมกิจกรรมภูมิปั ญญาท้องถิ่นตาลโตนดตามฐานเรียนรู้ จำนวน 5 ฐานเรียนรู้ ตามลำดับ ได้แก่ ฐานเพาะปลูกตาล ฐาน ขึ้นและเก็บน้ำตาลสดตาล ฐานเคี่ยวตาล ฐานทำอาหารจากตาล และฐานสิ่งประดิษฐ์และนวัตกรรมจากตาล ในแต่ละฐานเรียนรู้ มีการให้ข้อมูลสรุปแก่นักท่องเที่ยว โดยใช้ข้อมูลจากป้ ายฐานเรียนรู้ ภูมิปั ญญาท้องถิ่นตาลโตนดประกอบการบรรยาย จากนั้นแนะนำ ปราชญ์ท้องถิ่นที่เป็ นผู้บรรยายและสาธิตที่ประจำตามจุดฐานเรียน รู้ภูมิปั ญญาท้องถิ่นตาลโตนด 5 ฐานเรียนรู้ โดยมีมัคคุเทศก์อาชีพ ที่เป็ นวิทยากรฝึ กคอยให้คำแนะนำ นักท่องเที่ยวได้มีส่วนร่วมใน กิจกรรมการทดลองปลูกต้นกล้าตาล เคี่ยวตาล และทำขนมตาล ระยะที่ 3 ระยะสรุปจบ มัคคุเทศก์ฝึ กหัดสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้จาก การมาเยือน และการทำกิจกรรมกับนักท่องเที่ยว ขอบคุณและ อวยพรให้นักท่องเที่ยวเดินทางกลับด้วยความสวัสดิภาพ ถ่ายภาพร่วมกัน และร่วมส่งนักท่องเที่ยวเดินทางกลับ ณ จุด ส่งนักท่องเที่ยว มีผลการฝึกปฏิบัติ ดังนี้ มีผลการฝึกปฏิบัติ ดังนี้ การจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนในวิถีภูมิปัญญาท้องถิ่นตาลโตนด การจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนในวิถีภูมิปัญญาท้องถิ่นตาลโตนด (บ้านห้วยกรด) (บ้านห้วยกรด) 18 ระยะที่ 1 ระยะเริ่มต้น มัคคุเทศก์ฝึ กให้การต้อนรับนักท่องเที่ยว ณ จุดต้อนรับ พร้อมรับรองนักท่องเที่ยวด้วยเครื่องดื่มน้ำตาล สดพาสเจอร์ไรส์ จากนั้นนำกลุ่มนักท่องเที่ยวไปยังจุดป้ ายผัง เส้นทางท่องเที่ยวในศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงการอนุรักษ์ ตาลโตนดเพื่อให้เห็นภาพรวมของการเที่ยวชมศูนย์ฯ กิจกรรม ในแต่ละจุดตามฐานเรียนรู้ 1 3 2
  • 25. ส่วนที่ ส่วนที่ 5 5 สรุป ถอดบทเรียน สรุป ถอดบทเรียน การส่งเสริมการเรียนรู้การจัดการการท่องเที่ยวโดยชุมชนที่ ใช้ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงการอนุรักษ์ตาลโตนดเป็ นฐาน เป็ นกิจกรรมที่เป็ นไปตามกระบวนการพัฒนาการท่องเที่ยว โดยชุมชน ดังนี้ ชุมชนตำบลห้วยกรดเป็ นชุมชนที่ทำอาชีพตาล มีศูนย์เรียนรู้ เศรษฐกิจพอเพียงการอนุรักษ์ตาลโตนด เป็ นแหล่งเรียนรู้และ แหล่งท่องเที่ยวตามวิถีตาล การจัดกิจกรรมมีการจัดตั้ง คณะกรรมการท่องเที่ยวโดยชุมชนเป็ นกลไกการจัดการเพื่อ เสริมศักยภาพด้านพื้นที่และคน มีการฝึ กมัคคุเทศก์ชุมชน ฝึ กการเป็ นเจ้าบ้านที่ดีในการให้ การต้อนรับผู้มาเยือน และนำชม มีการตั้งกลุ่ม 2 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มการท่องเที่ยวโดยชุมชนบ้านห้วยกรด และ กลุ่มไกด์ยิ้มหวานบ้านห้วยกรด มีการเตรียมความพร้อม พื้นที่ในศูนย์ฯ เพื่อการจัด การท่องเที่ยวโดยชุมชน ดังนี้ คัดเลือกชุมชน คัดเลือกชุมชน เตรียมพร้อมเรื่อง เตรียมพร้อมเรื่อง คนและพื้นที่ คนและพื้นที่ สร้างศักยภาพพื้นที่ สร้างศักยภาพพื้นที่ 2 3 1 - ปรับภูมิทัศน์ในศูนย์เรียนรู้ฯ ด้วยการถมดินยกระดับเป็ นเวที จัดกิจกรรมนอกอาคารเรียกว่า “เวทีตาล” - จัดทำป้ ายผังเส้นทางท่องเที่ยว ในศูนย์เป็ นป้ ายโครงสร้างเหล็ก ขนาดใหญ่ - จัดทำระบบบำบัดน้ำเสียเพื่อ นำกลับมาใช้ใหม่ในการบำรุง ต้นกล้าตาล การจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนในวิถีภูมิปัญญาท้องถิ่นตาลโตนด การจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนในวิถีภูมิปัญญาท้องถิ่นตาลโตนด (บ้านห้วยกรด) (บ้านห้วยกรด) 19