SlideShare a Scribd company logo
1 of 19
อิทธิพลของผู้สื่อสาร
ความน่าเชื่อถือของผู้ส่งสาร
“อริสโตเติล กล่าวว่า บุคลิกของผูพูด  ้
เป็นสาเหตุของการโน้มน้าวใจทีสำาคัญ
                                 ่
ของการพูด เมื่อผูฟังไม่รู้จริงในเรืองที่
                 ้                 ่
ฟัง เมื่อความเห็นถูกแบ่งแยก เมื่อนั้น
ผูพูดมีความหมายมาก”
  ้
การโน้มน้าวใจด้วยบุคลิกภาพมา
                   จาก
• ผู้พูดต้องมีสติปัญญาลึกซึง ้
  intelligence
• ผู้พูดต้องแสดงให้เห็นว่ามีความ
  ปรารถนาดีต่อผู้ฟัง good will
• ผู้พูดต้องแสดงให้เห็นว่าเป็นผู้มี
  นิสัยดี มั่นอยู่ในศีลธรรม good
  character
ปัจจัยที่ส่งผลให้เกิดความน่าเชื่อถือ
• ความสามารถหรือความเป็นผู้ชำานาญ
• ความน่าไว้วางใจ


• ปัจจัยทั้ง 2 ประการนี้ผู้รับสารต้องมองเห็น
  เองว่ามีอยู่ในตัวผู้สงสาร
                       ่
• ความน่าเชือถือไม่ใช่สงที่มีลกษณะโดดๆ
              ่          ิ่     ั
  เหมือนอายุ เพศ
• ความน่าเชือถือจะแตกต่างกันไปตามหัวข้อ
                ่
ปัจจัยที่ใช้ในการตัดสินความน่าเชื่อ
           ถือของผู้ส่งสาร
ปัจจัยที่สร้างความอบอุ่นใจ
• ใจดี
• เข้ากับคนอื่นได้ง่าย
• มีความเป็นเพื่อน
• ไม่ขัดคอนใคร
• น่าคบ
• สุภาพ
ปัจจัยที่ใช้ในการตัดสินความน่าเชื่อถือ
                ของผูส่งสาร(ต่อ)
                     ้
•   ไม่เห็นแก่ตว  ั
•   ยุตธรรม
         ิ
•   รู้จักให้อภัย
•   เอื้อเฟื้อ
•   ร่าเริง
•   มีศีลธรรม
•   อดทน
•   สงบเยือกเย็น
ปัจจัยที่ใช้ในการตัดสินความน่าเชื่อถือ
             ของผูส่งสาร(ต่อ)
                  ้
ปัจจัยที่เป็นคุณสมบัติของผู้ส่งสาร
• มีประสบการณ์ดานใดด้านหนึ่ง
                  ้
• ได้รับการฝึกฝน
• มีความชำานาญ
• มีอำานาจในหน้าที่
• มีความสามารถ
• มีเชาวน์ปัญญา
ปัจจัยที่ใช้ในการตัดสินความน่าเชื่อถือ
             ของผูส่งสาร(ต่อ)
                  ้
ปัจจัยด้านพลวัตของผู้ส่งสาร
• เป็นฝ่ายรุก
• รู้จักเอาใจเขามาใส่ใจเรา
• กล้า
• กระตือรือร้น
• รวดเร็ว
• คล่องแคล่ว
การวิจัยเกียวกับผู้ส่งสาร
                    ่
•   การวิจัยด้านสถานภาพ
•   การวิจัยเกี่ยวกับผู้นำาความคิดเห็น
•   การวิจัยเกี่ยวกับความคล้ายคลึง
•   การวิจัยเกี่ยวกับอำานาจ
•   การวิจัยเกี่ยวกับการโน้มน้าวใจตนเอง
การวิจยด้านสถานภาพ
               ั
• บุคคลแต่ละคนย่อมมีบทบาทที่แตกต่างกัน
  อีกทั้งบทบาทแต่ละบทบาทจะมีการ
  แสดงออกจำานวนมากน้อยแตกต่างกันไป
  ซึงเมื่อมีบทบาทอย่างใดแล้ว พฤติกรรมก็จะ
    ่
  ถูกกำาหนดด้วยบทบาทที่คนในสังคมย่อมรู้
  ได้
• ในการโน้มน้าวใจ สิงสำาคัญไม่ใช่บทบาท
                       ่
  ที่แท้จริงที่ผู้สอสารมีอยู่ แต่สงที่สำาคัญคือ
                   ื่             ิ่
  สภาพความสัมพันธ์ระหว่างบทบาทของผู้สง          ่
การวิจยด้านสถานภาพ(ต่อ)
          ั
• สิงสำาคัญของสถานภาพที่แตกต่าง
    ่
  ตามบทบาทคือ เป็นตัวกำาหนดความ
  น่าเชื่อถือของผูส่งสารได้ใน 2
                  ้
  สถานการณ์
 – สถานการณ์แรก ยิ่งมีสถานภาพสูงเท่า
   ไหร่ความน่าเชื่อถือก็จะมีมากขึ้นเท่านั้น
 – สถานการณ์ที่สอง บุคคลหนึ่งอาจมี
   สถานภาพสูงแต่มีความน่าเชือถือตำ่า
                               ่
• Sleeper effect


              แหล่งสารที่มีความน่าเชื่อถือสูง
ร้อยละ   20
ของคนที่                                        แหล่งสารที่มีความน่าเชื่อ
เปลี่ยน                                         ถือตำ่า
ทัศนคติ
ไปตาม     5
สาร
              ทันที             4 สัปดาห์

                             ระยะเวลาหลังการสื่อสารและ
                             การวัดทัศนคติ
การวิจัยเกียวกับผู้นำาความคิดเห็น
             ่
• ความน่าเชื่อถือของผู้สงสาร สถานภาพ และ
                           ่
  ลักษณะของผู้นำาความคิด ต่างก็เป็นแนวความ
  คิดที่คล้ายคลึงกัน คือเป็นสิงที่ผู้รับสารรับรู้เอง
                                ่
  หาใช่เป็นสิ่งที่ผู้สงสารประกาศว่าตนเองมี
                      ่
• ลักษณะของผู้นำาความคิดเห็น
• เป็นต้นแบบของสมาชิกในกลุ่ม
• มักมีสถานภาพทางสังคมสูงกว่าผู้ตามความคิด
• ได้รับการถ่ายทอดข่าวสารที่เขาเป็นผู้นำาความ
  คิดในเรื่องที่เขาเป็นผู้นำาดีกว่าบุคคลอื่น
การวิจยเกียวกับผู้นำาความคิด
           ั   ่
              เห็น(ต่อ)
• รับสื่อมวลชนมากกว่าบุคคลอื่น
• ได้รับความรู้จากเนื้อหาของสือมวลชนที่เกี่ยวกับ
                                 ่
  หัวข้อหรือเรื่องที่สมาชิกได้รับอิทธิพลอยู่ดีกว่า
  สมาชิก
• ในสถานการณ์ที่มีการเลือกตั้ง ผู้นำาความคิดจะ
  ให้ความสนใจกับการเลือกตั้ง และมีข้อมูลใน
  การเลือกตั้งดีกว่าบุคคลอื่น รวมทั้งรู้สึกว่าเขามี
  ส่วนร่วมในการเลือกตั้งมากกว่าบุคคลอื่น
• มักจะมีการศึกษาสูงกว่าสมาชิกคนอื่น
การวิจยเกี่ยวกับความคล้ายคลึงกัน
       ั
• ความคล้ายคลึงกัน ซึ่งเป็นที่ยอมรับระหว่างผู้สง
                                               ่
  สารและผู้รับสารในเรื่องตัวแปรที่เป็นด้าน
  ประชากรศาสตร์ มีความสำาคัญน้อยกว่าความ
  คล้ายคลึงในทัศนคติ และจะต้องระลึกเสมอว่า
  ความคล้ายคลึงนัน จะต้องเป็นความเห็นของ
                    ้
  ผู้รับสารไม่ใช่ความเห็นของผู้สงสาร
                                ่
การวิจัยเกี่ยวกับอำานาจ
• อำานาจเป็นเรื่องที่บคคลอื่นรับรู้และยอมรับ
                      ุ
  ว่าบุคคลอีกคนหนึ่งมีเหนือตน
• ผู้ที่มีอำานาจในการสือสาร
                        ่
  – คนที่ผูกขาดการสือสาร
                     ่
  – คนที่มีข้อมูลมากเกี่ยวกับเรื่องที่พูด
  – คนที่สามารถสนองความต้องการของผู้รับสาร
  – คนที่เคยประสบความสำาเร็จในอดีต
• กลุ่มทีมีความแตกต่างด้านอำานาจมากจะมี
         ่
  บรรยากาศที่ไม่ดี
การวิจยเกียวกับการโน้มน้าวใจ
         ั   ่
               ตนเอง
• แนวคิดในการโน้มน้าวใจตนเอง คือ บุคคลที่จะ
  โน้มน้าวใจตนเองนั้น จะอยู่ในสภาวะที่มีการเล่น
  บทบาทหนึงบทบาทใด (role – play)
                ่
• เหตุที่ผู้รับสารเปลี่ยนแปลงทัศนคติและความ
  เชือหลังจากมีส่วนร่วมในการเสนอสาร สามารถ
     ่
  อธิบายได้ด้วยทฤษฎีสมดุล
การประยุกต์ใช้ความน่าเชื่อถือของผู้
             ส่งสาร
• ควรจะใช้การแนะนำาตัวเองให้เป็นประโยชน์
• จะต้องมีการปฏิบติตนให้สอดคล้องไปด้วยใน
                  ั
  กิจกรรมที่กระทำาประจำาวัน
• ผู้รับสารอาจสับสนในบทบาทของผู้สงสารที่เป็น
                                   ่
  คนคนเดียวกันแต่สงกัดต่างองค์กรกัน
                    ั
การประยุกต์ใช้ความน่าเชื่อถือของผู้
           ส่งสาร(ต่อ)
• หากสามารถกระทำาตนเป็นผู้นำาความคิดได้จะ
  เป็นการดีมาก
• ควรเรียนรู้ทัศนคติของกลุ่มชนนั้นและแสดง
  พยายามแสดงตนเองว่ามีทัศนคติที่คล้ายคลึง
  กัน
• อ้างถึงผู้มีอำานาจที่เป็นที่เชือถือของผู้ฟัง
                                 ่
• ต้องปรับให้สารของตนเข้ากับกลุ่มผู้รับสารส่วน
  ใหญ่ได้ แต่ตองระวังไม่ให้เกิดการเปลี่ยน
                 ้
  บทบาทจากผู้โน้มน้าวใจไปเป็นผู้ถูกโน้มน้าวใจ
  แทน

More Related Content

What's hot

Pengumpulan Data Subyektif
Pengumpulan Data SubyektifPengumpulan Data Subyektif
Pengumpulan Data Subyektifpjj_kemenkes
 
Asuhan Kebidanan Keluarga Berencana AKBK (Implan)
Asuhan Kebidanan Keluarga Berencana AKBK (Implan)Asuhan Kebidanan Keluarga Berencana AKBK (Implan)
Asuhan Kebidanan Keluarga Berencana AKBK (Implan)pjj_kemenkes
 
สาธารณสุขเชิงรุก
สาธารณสุขเชิงรุกสาธารณสุขเชิงรุก
สาธารณสุขเชิงรุกChuchai Sornchumni
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง เว็บไซต์ NIFTY HEALTH ด้วยภาษา HTML
โครงงานคอมพิวเตอร์  เรื่อง เว็บไซต์ NIFTY HEALTH ด้วยภาษา HTMLโครงงานคอมพิวเตอร์  เรื่อง เว็บไซต์ NIFTY HEALTH ด้วยภาษา HTML
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง เว็บไซต์ NIFTY HEALTH ด้วยภาษา HTMLธณัชช์ภรณ์ ศิริวัชเดชากุล
 
ข้อตกลงในการเรียน
ข้อตกลงในการเรียนข้อตกลงในการเรียน
ข้อตกลงในการเรียนManit Wongmool
 
INFEKSI MATERNAL.ppt
INFEKSI MATERNAL.pptINFEKSI MATERNAL.ppt
INFEKSI MATERNAL.pptMasBayyu
 
การเคลื่อนที่หนึ่งมิติ
การเคลื่อนที่หนึ่งมิติการเคลื่อนที่หนึ่งมิติ
การเคลื่อนที่หนึ่งมิติkungten555
 
MANAJEMEN DAN PENDOKUMENTASIAN ASUHAN KEBIDANAN PADA NY.”R” DENGAN PERDARAHA...
MANAJEMEN DAN PENDOKUMENTASIAN ASUHAN KEBIDANAN PADA  NY.”R” DENGAN PERDARAHA...MANAJEMEN DAN PENDOKUMENTASIAN ASUHAN KEBIDANAN PADA  NY.”R” DENGAN PERDARAHA...
MANAJEMEN DAN PENDOKUMENTASIAN ASUHAN KEBIDANAN PADA NY.”R” DENGAN PERDARAHA...Warnet Raha
 
contoh askeb Asuhan kebidanan pada ibu hamil ny
contoh askeb Asuhan kebidanan pada ibu hamil nycontoh askeb Asuhan kebidanan pada ibu hamil ny
contoh askeb Asuhan kebidanan pada ibu hamil nyAnnisa Rabbani
 
สิ่งประดิษฐ์สร้างสรรค์จากกล่องนม
สิ่งประดิษฐ์สร้างสรรค์จากกล่องนมสิ่งประดิษฐ์สร้างสรรค์จากกล่องนม
สิ่งประดิษฐ์สร้างสรรค์จากกล่องนมJaohjaaee
 
กิตติกรรมประกาศ (เสร็จ)
กิตติกรรมประกาศ (เสร็จ)กิตติกรรมประกาศ (เสร็จ)
กิตติกรรมประกาศ (เสร็จ)Annop Phetchakhong
 
อาหารกระดูก แผ่นพับ
อาหารกระดูก แผ่นพับอาหารกระดูก แผ่นพับ
อาหารกระดูก แผ่นพับTODSAPRON TAWANNA
 
คำทับศัพท์
คำทับศัพท์คำทับศัพท์
คำทับศัพท์phornphan1111
 
โครงการจิตอาสา 2559
โครงการจิตอาสา 2559โครงการจิตอาสา 2559
โครงการจิตอาสา 2559Namchai
 
ASKEB NEONATUS BAYI BALITA DAN ANAK PRA SEKOLAH
ASKEB NEONATUS BAYI BALITA DAN ANAK PRA SEKOLAHASKEB NEONATUS BAYI BALITA DAN ANAK PRA SEKOLAH
ASKEB NEONATUS BAYI BALITA DAN ANAK PRA SEKOLAHmartaagustinasirait
 
การวิจัยเบื้องต้น
การวิจัยเบื้องต้นการวิจัยเบื้องต้น
การวิจัยเบื้องต้นอรุณศรี
 

What's hot (20)

Kemitraan Bidan
Kemitraan BidanKemitraan Bidan
Kemitraan Bidan
 
Pengumpulan Data Subyektif
Pengumpulan Data SubyektifPengumpulan Data Subyektif
Pengumpulan Data Subyektif
 
Asuhan Kebidanan Keluarga Berencana AKBK (Implan)
Asuhan Kebidanan Keluarga Berencana AKBK (Implan)Asuhan Kebidanan Keluarga Berencana AKBK (Implan)
Asuhan Kebidanan Keluarga Berencana AKBK (Implan)
 
Pembawah materi
Pembawah materiPembawah materi
Pembawah materi
 
วันลาพนักงานท้องถิ่น
วันลาพนักงานท้องถิ่นวันลาพนักงานท้องถิ่น
วันลาพนักงานท้องถิ่น
 
สาธารณสุขเชิงรุก
สาธารณสุขเชิงรุกสาธารณสุขเชิงรุก
สาธารณสุขเชิงรุก
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง เว็บไซต์ NIFTY HEALTH ด้วยภาษา HTML
โครงงานคอมพิวเตอร์  เรื่อง เว็บไซต์ NIFTY HEALTH ด้วยภาษา HTMLโครงงานคอมพิวเตอร์  เรื่อง เว็บไซต์ NIFTY HEALTH ด้วยภาษา HTML
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง เว็บไซต์ NIFTY HEALTH ด้วยภาษา HTML
 
ข้อตกลงในการเรียน
ข้อตกลงในการเรียนข้อตกลงในการเรียน
ข้อตกลงในการเรียน
 
INFEKSI MATERNAL.ppt
INFEKSI MATERNAL.pptINFEKSI MATERNAL.ppt
INFEKSI MATERNAL.ppt
 
Public Health Emergency Management
Public Health Emergency ManagementPublic Health Emergency Management
Public Health Emergency Management
 
การเคลื่อนที่หนึ่งมิติ
การเคลื่อนที่หนึ่งมิติการเคลื่อนที่หนึ่งมิติ
การเคลื่อนที่หนึ่งมิติ
 
MANAJEMEN DAN PENDOKUMENTASIAN ASUHAN KEBIDANAN PADA NY.”R” DENGAN PERDARAHA...
MANAJEMEN DAN PENDOKUMENTASIAN ASUHAN KEBIDANAN PADA  NY.”R” DENGAN PERDARAHA...MANAJEMEN DAN PENDOKUMENTASIAN ASUHAN KEBIDANAN PADA  NY.”R” DENGAN PERDARAHA...
MANAJEMEN DAN PENDOKUMENTASIAN ASUHAN KEBIDANAN PADA NY.”R” DENGAN PERDARAHA...
 
contoh askeb Asuhan kebidanan pada ibu hamil ny
contoh askeb Asuhan kebidanan pada ibu hamil nycontoh askeb Asuhan kebidanan pada ibu hamil ny
contoh askeb Asuhan kebidanan pada ibu hamil ny
 
สิ่งประดิษฐ์สร้างสรรค์จากกล่องนม
สิ่งประดิษฐ์สร้างสรรค์จากกล่องนมสิ่งประดิษฐ์สร้างสรรค์จากกล่องนม
สิ่งประดิษฐ์สร้างสรรค์จากกล่องนม
 
กิตติกรรมประกาศ (เสร็จ)
กิตติกรรมประกาศ (เสร็จ)กิตติกรรมประกาศ (เสร็จ)
กิตติกรรมประกาศ (เสร็จ)
 
อาหารกระดูก แผ่นพับ
อาหารกระดูก แผ่นพับอาหารกระดูก แผ่นพับ
อาหารกระดูก แผ่นพับ
 
คำทับศัพท์
คำทับศัพท์คำทับศัพท์
คำทับศัพท์
 
โครงการจิตอาสา 2559
โครงการจิตอาสา 2559โครงการจิตอาสา 2559
โครงการจิตอาสา 2559
 
ASKEB NEONATUS BAYI BALITA DAN ANAK PRA SEKOLAH
ASKEB NEONATUS BAYI BALITA DAN ANAK PRA SEKOLAHASKEB NEONATUS BAYI BALITA DAN ANAK PRA SEKOLAH
ASKEB NEONATUS BAYI BALITA DAN ANAK PRA SEKOLAH
 
การวิจัยเบื้องต้น
การวิจัยเบื้องต้นการวิจัยเบื้องต้น
การวิจัยเบื้องต้น
 

Similar to อิทธิพลของผู้สื่อสาร

ทัศนคติกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Attitude and Consumer Behavior : Ch 9)
ทัศนคติกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Attitude and Consumer Behavior : Ch 9)ทัศนคติกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Attitude and Consumer Behavior : Ch 9)
ทัศนคติกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Attitude and Consumer Behavior : Ch 9)Mahasarakham Business School, Mahasarakham University
 
คุณธรรมสำหรับครู
คุณธรรมสำหรับครูคุณธรรมสำหรับครู
คุณธรรมสำหรับครูsuwantan
 
การสำรวจความคิดเห็น
การสำรวจความคิดเห็นการสำรวจความคิดเห็น
การสำรวจความคิดเห็นJiraprapa Suwannajak
 
6 พฤติกรรมสุขภาพ
6 พฤติกรรมสุขภาพ6 พฤติกรรมสุขภาพ
6 พฤติกรรมสุขภาพWatcharin Chongkonsatit
 
ทัศนคติกับพฤติกรรมผู้บริโภค1
ทัศนคติกับพฤติกรรมผู้บริโภค1ทัศนคติกับพฤติกรรมผู้บริโภค1
ทัศนคติกับพฤติกรรมผู้บริโภค1Sarawut Messi Single
 
การแบ่งส่วนตลาด1
การแบ่งส่วนตลาด1การแบ่งส่วนตลาด1
การแบ่งส่วนตลาด1Sarawut Messi Single
 
Reference Group and Consumer Behavior (Ch.4) - กลุ่มอ้างอิงกับพฤติกรรมผู้บริโภค
Reference Group and Consumer Behavior (Ch.4) - กลุ่มอ้างอิงกับพฤติกรรมผู้บริโภคReference Group and Consumer Behavior (Ch.4) - กลุ่มอ้างอิงกับพฤติกรรมผู้บริโภค
Reference Group and Consumer Behavior (Ch.4) - กลุ่มอ้างอิงกับพฤติกรรมผู้บริโภคMahasarakham Business School, Mahasarakham University
 
เรื่องที่ 4 การแสวงหาข่าวสารและการประเมินค่าทางเลือกก่อนการซื้อ00
เรื่องที่ 4  การแสวงหาข่าวสารและการประเมินค่าทางเลือกก่อนการซื้อ00เรื่องที่ 4  การแสวงหาข่าวสารและการประเมินค่าทางเลือกก่อนการซื้อ00
เรื่องที่ 4 การแสวงหาข่าวสารและการประเมินค่าทางเลือกก่อนการซื้อ00JeenNe915
 
บุคคลิกภาพกับการเป็นผู้นำ
บุคคลิกภาพกับการเป็นผู้นำบุคคลิกภาพกับการเป็นผู้นำ
บุคคลิกภาพกับการเป็นผู้นำguest7530ba
 
7 พฤติกรรมศาสตร์
7 พฤติกรรมศาสตร์7 พฤติกรรมศาสตร์
7 พฤติกรรมศาสตร์Watcharin Chongkonsatit
 
เรื่องที่ 4 การแสวงหาข่าวสารและการประเมินค่าทางเลือกก่อนการซื้อ
เรื่องที่ 4  การแสวงหาข่าวสารและการประเมินค่าทางเลือกก่อนการซื้อเรื่องที่ 4  การแสวงหาข่าวสารและการประเมินค่าทางเลือกก่อนการซื้อ
เรื่องที่ 4 การแสวงหาข่าวสารและการประเมินค่าทางเลือกก่อนการซื้อsupatra39
 
อาหารสุขภาพ 4
อาหารสุขภาพ 4อาหารสุขภาพ 4
อาหารสุขภาพ 4Utai Sukviwatsirikul
 

Similar to อิทธิพลของผู้สื่อสาร (20)

Attitude
AttitudeAttitude
Attitude
 
ทัศนคติกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Attitude and Consumer Behavior : Ch 9)
ทัศนคติกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Attitude and Consumer Behavior : Ch 9)ทัศนคติกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Attitude and Consumer Behavior : Ch 9)
ทัศนคติกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Attitude and Consumer Behavior : Ch 9)
 
คุณธรรมสำหรับครู
คุณธรรมสำหรับครูคุณธรรมสำหรับครู
คุณธรรมสำหรับครู
 
การสำรวจความคิดเห็น
การสำรวจความคิดเห็นการสำรวจความคิดเห็น
การสำรวจความคิดเห็น
 
6 พฤติกรรมสุขภาพ
6 พฤติกรรมสุขภาพ6 พฤติกรรมสุขภาพ
6 พฤติกรรมสุขภาพ
 
Strategic planning
Strategic planningStrategic planning
Strategic planning
 
ปรัชญาการศึกษา
ปรัชญาการศึกษาปรัชญาการศึกษา
ปรัชญาการศึกษา
 
ทัศนคติกับพฤติกรรมผู้บริโภค1
ทัศนคติกับพฤติกรรมผู้บริโภค1ทัศนคติกับพฤติกรรมผู้บริโภค1
ทัศนคติกับพฤติกรรมผู้บริโภค1
 
การแบ่งส่วนตลาด1
การแบ่งส่วนตลาด1การแบ่งส่วนตลาด1
การแบ่งส่วนตลาด1
 
Reference Group and Consumer Behavior (Ch.4) - กลุ่มอ้างอิงกับพฤติกรรมผู้บริโภค
Reference Group and Consumer Behavior (Ch.4) - กลุ่มอ้างอิงกับพฤติกรรมผู้บริโภคReference Group and Consumer Behavior (Ch.4) - กลุ่มอ้างอิงกับพฤติกรรมผู้บริโภค
Reference Group and Consumer Behavior (Ch.4) - กลุ่มอ้างอิงกับพฤติกรรมผู้บริโภค
 
เรื่องที่ 4 การแสวงหาข่าวสารและการประเมินค่าทางเลือกก่อนการซื้อ00
เรื่องที่ 4  การแสวงหาข่าวสารและการประเมินค่าทางเลือกก่อนการซื้อ00เรื่องที่ 4  การแสวงหาข่าวสารและการประเมินค่าทางเลือกก่อนการซื้อ00
เรื่องที่ 4 การแสวงหาข่าวสารและการประเมินค่าทางเลือกก่อนการซื้อ00
 
บุคคลิกภาพกับการเป็นผู้นำ
บุคคลิกภาพกับการเป็นผู้นำบุคคลิกภาพกับการเป็นผู้นำ
บุคคลิกภาพกับการเป็นผู้นำ
 
7 พฤติกรรมศาสตร์
7 พฤติกรรมศาสตร์7 พฤติกรรมศาสตร์
7 พฤติกรรมศาสตร์
 
Thinkoutside630526
Thinkoutside630526Thinkoutside630526
Thinkoutside630526
 
เรื่องที่ 4 การแสวงหาข่าวสารและการประเมินค่าทางเลือกก่อนการซื้อ
เรื่องที่ 4  การแสวงหาข่าวสารและการประเมินค่าทางเลือกก่อนการซื้อเรื่องที่ 4  การแสวงหาข่าวสารและการประเมินค่าทางเลือกก่อนการซื้อ
เรื่องที่ 4 การแสวงหาข่าวสารและการประเมินค่าทางเลือกก่อนการซื้อ
 
จริยธรรมผู้ประเมิน
จริยธรรมผู้ประเมินจริยธรรมผู้ประเมิน
จริยธรรมผู้ประเมิน
 
จริยธรรมผู้ประเมิน
จริยธรรมผู้ประเมินจริยธรรมผู้ประเมิน
จริยธรรมผู้ประเมิน
 
จริยธรรมผู้ประเมิน
จริยธรรมผู้ประเมินจริยธรรมผู้ประเมิน
จริยธรรมผู้ประเมิน
 
จริยธรรมผู้ประเมิน
จริยธรรมผู้ประเมินจริยธรรมผู้ประเมิน
จริยธรรมผู้ประเมิน
 
อาหารสุขภาพ 4
อาหารสุขภาพ 4อาหารสุขภาพ 4
อาหารสุขภาพ 4
 

อิทธิพลของผู้สื่อสาร

  • 2. ความน่าเชื่อถือของผู้ส่งสาร “อริสโตเติล กล่าวว่า บุคลิกของผูพูด ้ เป็นสาเหตุของการโน้มน้าวใจทีสำาคัญ ่ ของการพูด เมื่อผูฟังไม่รู้จริงในเรืองที่ ้ ่ ฟัง เมื่อความเห็นถูกแบ่งแยก เมื่อนั้น ผูพูดมีความหมายมาก” ้
  • 3. การโน้มน้าวใจด้วยบุคลิกภาพมา จาก • ผู้พูดต้องมีสติปัญญาลึกซึง ้ intelligence • ผู้พูดต้องแสดงให้เห็นว่ามีความ ปรารถนาดีต่อผู้ฟัง good will • ผู้พูดต้องแสดงให้เห็นว่าเป็นผู้มี นิสัยดี มั่นอยู่ในศีลธรรม good character
  • 4. ปัจจัยที่ส่งผลให้เกิดความน่าเชื่อถือ • ความสามารถหรือความเป็นผู้ชำานาญ • ความน่าไว้วางใจ • ปัจจัยทั้ง 2 ประการนี้ผู้รับสารต้องมองเห็น เองว่ามีอยู่ในตัวผู้สงสาร ่ • ความน่าเชือถือไม่ใช่สงที่มีลกษณะโดดๆ ่ ิ่ ั เหมือนอายุ เพศ • ความน่าเชือถือจะแตกต่างกันไปตามหัวข้อ ่
  • 5. ปัจจัยที่ใช้ในการตัดสินความน่าเชื่อ ถือของผู้ส่งสาร ปัจจัยที่สร้างความอบอุ่นใจ • ใจดี • เข้ากับคนอื่นได้ง่าย • มีความเป็นเพื่อน • ไม่ขัดคอนใคร • น่าคบ • สุภาพ
  • 6. ปัจจัยที่ใช้ในการตัดสินความน่าเชื่อถือ ของผูส่งสาร(ต่อ) ้ • ไม่เห็นแก่ตว ั • ยุตธรรม ิ • รู้จักให้อภัย • เอื้อเฟื้อ • ร่าเริง • มีศีลธรรม • อดทน • สงบเยือกเย็น
  • 7. ปัจจัยที่ใช้ในการตัดสินความน่าเชื่อถือ ของผูส่งสาร(ต่อ) ้ ปัจจัยที่เป็นคุณสมบัติของผู้ส่งสาร • มีประสบการณ์ดานใดด้านหนึ่ง ้ • ได้รับการฝึกฝน • มีความชำานาญ • มีอำานาจในหน้าที่ • มีความสามารถ • มีเชาวน์ปัญญา
  • 8. ปัจจัยที่ใช้ในการตัดสินความน่าเชื่อถือ ของผูส่งสาร(ต่อ) ้ ปัจจัยด้านพลวัตของผู้ส่งสาร • เป็นฝ่ายรุก • รู้จักเอาใจเขามาใส่ใจเรา • กล้า • กระตือรือร้น • รวดเร็ว • คล่องแคล่ว
  • 9. การวิจัยเกียวกับผู้ส่งสาร ่ • การวิจัยด้านสถานภาพ • การวิจัยเกี่ยวกับผู้นำาความคิดเห็น • การวิจัยเกี่ยวกับความคล้ายคลึง • การวิจัยเกี่ยวกับอำานาจ • การวิจัยเกี่ยวกับการโน้มน้าวใจตนเอง
  • 10. การวิจยด้านสถานภาพ ั • บุคคลแต่ละคนย่อมมีบทบาทที่แตกต่างกัน อีกทั้งบทบาทแต่ละบทบาทจะมีการ แสดงออกจำานวนมากน้อยแตกต่างกันไป ซึงเมื่อมีบทบาทอย่างใดแล้ว พฤติกรรมก็จะ ่ ถูกกำาหนดด้วยบทบาทที่คนในสังคมย่อมรู้ ได้ • ในการโน้มน้าวใจ สิงสำาคัญไม่ใช่บทบาท ่ ที่แท้จริงที่ผู้สอสารมีอยู่ แต่สงที่สำาคัญคือ ื่ ิ่ สภาพความสัมพันธ์ระหว่างบทบาทของผู้สง ่
  • 11. การวิจยด้านสถานภาพ(ต่อ) ั • สิงสำาคัญของสถานภาพที่แตกต่าง ่ ตามบทบาทคือ เป็นตัวกำาหนดความ น่าเชื่อถือของผูส่งสารได้ใน 2 ้ สถานการณ์ – สถานการณ์แรก ยิ่งมีสถานภาพสูงเท่า ไหร่ความน่าเชื่อถือก็จะมีมากขึ้นเท่านั้น – สถานการณ์ที่สอง บุคคลหนึ่งอาจมี สถานภาพสูงแต่มีความน่าเชือถือตำ่า ่
  • 12. • Sleeper effect แหล่งสารที่มีความน่าเชื่อถือสูง ร้อยละ 20 ของคนที่ แหล่งสารที่มีความน่าเชื่อ เปลี่ยน ถือตำ่า ทัศนคติ ไปตาม 5 สาร ทันที 4 สัปดาห์ ระยะเวลาหลังการสื่อสารและ การวัดทัศนคติ
  • 13. การวิจัยเกียวกับผู้นำาความคิดเห็น ่ • ความน่าเชื่อถือของผู้สงสาร สถานภาพ และ ่ ลักษณะของผู้นำาความคิด ต่างก็เป็นแนวความ คิดที่คล้ายคลึงกัน คือเป็นสิงที่ผู้รับสารรับรู้เอง ่ หาใช่เป็นสิ่งที่ผู้สงสารประกาศว่าตนเองมี ่ • ลักษณะของผู้นำาความคิดเห็น • เป็นต้นแบบของสมาชิกในกลุ่ม • มักมีสถานภาพทางสังคมสูงกว่าผู้ตามความคิด • ได้รับการถ่ายทอดข่าวสารที่เขาเป็นผู้นำาความ คิดในเรื่องที่เขาเป็นผู้นำาดีกว่าบุคคลอื่น
  • 14. การวิจยเกียวกับผู้นำาความคิด ั ่ เห็น(ต่อ) • รับสื่อมวลชนมากกว่าบุคคลอื่น • ได้รับความรู้จากเนื้อหาของสือมวลชนที่เกี่ยวกับ ่ หัวข้อหรือเรื่องที่สมาชิกได้รับอิทธิพลอยู่ดีกว่า สมาชิก • ในสถานการณ์ที่มีการเลือกตั้ง ผู้นำาความคิดจะ ให้ความสนใจกับการเลือกตั้ง และมีข้อมูลใน การเลือกตั้งดีกว่าบุคคลอื่น รวมทั้งรู้สึกว่าเขามี ส่วนร่วมในการเลือกตั้งมากกว่าบุคคลอื่น • มักจะมีการศึกษาสูงกว่าสมาชิกคนอื่น
  • 15. การวิจยเกี่ยวกับความคล้ายคลึงกัน ั • ความคล้ายคลึงกัน ซึ่งเป็นที่ยอมรับระหว่างผู้สง ่ สารและผู้รับสารในเรื่องตัวแปรที่เป็นด้าน ประชากรศาสตร์ มีความสำาคัญน้อยกว่าความ คล้ายคลึงในทัศนคติ และจะต้องระลึกเสมอว่า ความคล้ายคลึงนัน จะต้องเป็นความเห็นของ ้ ผู้รับสารไม่ใช่ความเห็นของผู้สงสาร ่
  • 16. การวิจัยเกี่ยวกับอำานาจ • อำานาจเป็นเรื่องที่บคคลอื่นรับรู้และยอมรับ ุ ว่าบุคคลอีกคนหนึ่งมีเหนือตน • ผู้ที่มีอำานาจในการสือสาร ่ – คนที่ผูกขาดการสือสาร ่ – คนที่มีข้อมูลมากเกี่ยวกับเรื่องที่พูด – คนที่สามารถสนองความต้องการของผู้รับสาร – คนที่เคยประสบความสำาเร็จในอดีต • กลุ่มทีมีความแตกต่างด้านอำานาจมากจะมี ่ บรรยากาศที่ไม่ดี
  • 17. การวิจยเกียวกับการโน้มน้าวใจ ั ่ ตนเอง • แนวคิดในการโน้มน้าวใจตนเอง คือ บุคคลที่จะ โน้มน้าวใจตนเองนั้น จะอยู่ในสภาวะที่มีการเล่น บทบาทหนึงบทบาทใด (role – play) ่ • เหตุที่ผู้รับสารเปลี่ยนแปลงทัศนคติและความ เชือหลังจากมีส่วนร่วมในการเสนอสาร สามารถ ่ อธิบายได้ด้วยทฤษฎีสมดุล
  • 18. การประยุกต์ใช้ความน่าเชื่อถือของผู้ ส่งสาร • ควรจะใช้การแนะนำาตัวเองให้เป็นประโยชน์ • จะต้องมีการปฏิบติตนให้สอดคล้องไปด้วยใน ั กิจกรรมที่กระทำาประจำาวัน • ผู้รับสารอาจสับสนในบทบาทของผู้สงสารที่เป็น ่ คนคนเดียวกันแต่สงกัดต่างองค์กรกัน ั
  • 19. การประยุกต์ใช้ความน่าเชื่อถือของผู้ ส่งสาร(ต่อ) • หากสามารถกระทำาตนเป็นผู้นำาความคิดได้จะ เป็นการดีมาก • ควรเรียนรู้ทัศนคติของกลุ่มชนนั้นและแสดง พยายามแสดงตนเองว่ามีทัศนคติที่คล้ายคลึง กัน • อ้างถึงผู้มีอำานาจที่เป็นที่เชือถือของผู้ฟัง ่ • ต้องปรับให้สารของตนเข้ากับกลุ่มผู้รับสารส่วน ใหญ่ได้ แต่ตองระวังไม่ให้เกิดการเปลี่ยน ้ บทบาทจากผู้โน้มน้าวใจไปเป็นผู้ถูกโน้มน้าวใจ แทน