SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 105
รายงานการวิจัย
            การจัดการเรี ยนรู ้โดยใช้ Social Media

   ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู ้ดวยตนเอง (Constructivism)
                                ้




                     นายณัฐพล บัวอุไร




       กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้การงานอาชีพและเทคโนโลยี

         โรงเรี ยนเตรี ยมอุดมศึกษาพัฒนาการ ลําลูกกา

        สํานักงานเขตพืนทีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 4

สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขันพืนฐาน กระทรวงศึกษาธิการ
รายงานการวิจัย
            การจัดการเรี ยนรู ้โดยใช้ Social Media

   ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู ้ดวยตนเอง (Constructivism)
                                ้




                     นายณัฐพล บัวอุไร




       กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้การงานอาชีพและเทคโนโลยี

         โรงเรี ยนเตรี ยมอุดมศึกษาพัฒนาการ ลําลูกกา

        สํานักงานเขตพืนทีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 4

สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขันพืนฐาน กระทรวงศึกษาธิการ
ก


                                               บทคัดย่ อ

คําสําคัญ : Social Media, Constructivism, สื อสังคมออนไลน์, ทฤษฎีการสร้างองค์ความรู ้ดวยตนเอง
                                                                                      ้

ณัฐพล บัวอุ ไ ร : การจัดการเรี ยนรู ้ โดยใช้ Social Media ตามทฤษฎี การสร้ างองค์ความรู ้ ด้วยตนเอง
(Constructivism)

โรงเรี ยนเตรี ยมอุดมศึกษาพัฒนาการ ลําลูกกา อ.ลําลูกกา จ.ปทุมธานี

        การวิจยครังนีเป็ นการวิจยเชิ งทดลอง มีแผนการวิจยแบบ One Group Pretest – Posttest Design โดย
              ั                 ั                      ั
มีวตถุประสงค์ของการวิจย คือ 1) เปรี ยบเทียบผลสัมฤทธิ ก่อนเรี ยนและหลังเรี ยนวิชาการสร้างงานสื อผสม
   ั                  ั
ระดับชันมัธยมศึกษาปี ที 4 ทีจัดการเรี ยนการสอนโดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู ้
(Constructivism) 2) ศึกษาความสามารถในการสร้างองค์ความรู ้ ของนักเรี ยนระดับชันมัธยมศึกษาปี ที 4 ที
จัดการเรี ยนการสอนโดยใช้ Social Media ตามทฤษฎี การสร้ างองค์ความรู ้ (Constructivism) 3) ศึกษา
ความสามารถในการใช้ Social Media ในการเรี ยนรู ้ ของนักเรี ยนระดับชันมัธยมศึกษาปี ที 4 ทีจัดการเรี ยน
การสอนโดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู ้ (Constructivism) 4) ศึกษาความพึงพอใจต่อ
การจัดการเรี ยนการสอนการสร้างงานสื อผสม ระดับชันมัธยมศึกษาปี ที 4 ทีสอนโดยใช้ Social Media ตาม
ทฤษฎีการสร้างองค์ความรู ้ (Constructivism) และ 5) เปรี ยบเทียบความชอบของนักเรี ยนเกี ยวกับการเรี ยน
ด้วย Social Media 4 ชนิ ด ได้แก่ Wordpress, Facebook, Twitter, Slideshare และ Youtube โดยกลุ่มตัวอย่าง
ทีใช้ในการวิจยเป็ นนักเรี ยนชันมัธยมศึกษาปี ที 4/1 โรงเรี ยนเตรี ยมอุดมศึกษาพัฒนาการ ลําลูกกา ภาคเรี ยนที
             ั
2 ปี การศึกษา 2553 โดยใช้วธีการสุ่ มตัวอย่างแบบง่าย (Simple Random Sampling)
                          ิ

        เครื องมือทีใช้ในการวิจยประกอบด้วย 1) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ ทางการเรี ยนวิชาการสร้างงาน
                               ั
สื อผสม 2) แบบประเมินการสร้างองค์ความรู ้ 3) แบบประเมินความสามารถในการใช้ Social Media ในการ
เรี ยนรู ้ 4) แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรี ยนทีมีต่อวิธีสอนโดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้าง
องค์ความรู ้ (Constructivism) การวิเคราะห์ขอมูลใช้สถิติ Non – Parametric แบบ The Wilcoxon Matched
                                           ้
Pairs Signed Ranks Test และ The Friedman Test

        ผลการวิจยพบว่า
                ั

        1. ผลสัมฤทธิ ทางการเรี ยนวิชาการสร้างงานสื อผสม ทีเรี ยนโดยการใช้ Social Media ตามทฤษฎีการ
สร้างองค์ความรู ้ (Constructivism) มีความแตกต่างกัน อย่างมีนยสําคัญทางสถิติทีระดับ .05
                                                            ั
ข

                                                                       ่
        2. นักเรี ยนส่ วนใหญ่มีระดับความสามารถในการสร้างองค์ความรู ้อยูในเกณฑ์ดี เป็ นจํานวน 36 คน
คิดเป็ นร้ อยละ 83.72 ของนักเรี ยนทังหมด และอยู่ในเกณฑ์ปานกลาง จํานวน 7 คน คิดเป็ นร้ อยละ 16.28
                                                                                 ่
และค่าเฉลียรวมเท่ากับ 15.81 แสดงว่านักเรี ยนมีความสามารถในการสร้างองค์ความรู ้อยูในระดับดี

        3. นักเรี ยนส่ วนใหญ่จานวน 30 คน มีความสามารถในการใช้ Social Media ในการศึกษาเรี ยนรู ้อยู่
                              ํ
ในระดับดี คิดเป็ นร้ อยละ 69.77 และนักเรี ยนจํานวน 13 คน มีความสามารถในการใช้ Social Media ใน
การศึกษาเรี ยนรู ้ อยูในระดับปานกลาง คิดเป็ นร้อยละ 30.23 และนักเรี ยนทุกคนมีค่าเฉลียรวมความสามารถ
                      ่
                                                               ่
ในการใช้ Social Media ในการศึกษาเรี ยนรู ้เท่ากับ 20.09 ซึ งอยูในระดับดี เมือเทียบกับเกณฑ์ทีกําหนด

        4. นักเรี ยนชันมัธยมศึกษาปี ที 4/1 ทีเรี ยนวิชาการสร้างงานสื อผสม เรื องการพัฒนาเว็บไซต์ดวยชุ ด
                                                                                                 ้
พัฒนาเว็บสําเร็ จรู ป (CMS) ทีจัดการเรี ยนการสอนโดยใช้ Social Media ตามทฤษฎี การสร้ างองค์ความรู ้
                                     ่
(Constructivism) มีระดับความพอพอใจอยูในระดับมาก ( =3.51, S.D. = 0.77)

        5. นักเรี ยนมีความชอบ Social Media ทัง 5 ชนิ ด ได้แก่ Wordpress, Facebook, Twitter, Slideshare
และ Youtube แตกต่างกันอย่างมีนยสําคัญทางสถิติทีระดับ .05
                              ั
ค

                                               สารบัญ

                                                                        หน้า
บทคัดย่ อ                                                                 ก
สารบัญ                                                                    ค
สารบัญตาราง                                                               ง
บทที 1 บทนํา                                                              1
  ทีมาและความสําคัญของปั ญหา                                              1
  วัตถุประสงค์การวิจย   ั                                                 4
  ขอบเขตการวิจย       ั                                                   4
  นิยามศัพท์                                                              5
บทที 2 การตรวจเอกสาร                                                      7
  Social Media                                                            7
  ทฤษฎีการสร้างองค์ความรู ้ (Constructivism)                             15
  การจัดการเรี ยนรู ้โดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู ้    22
  งานวิจยทีเกียวข้อง
          ั                                                              32
บทที 3 วิธีดําเนินการวิจัย                                               34
  ขันเตรี ยมการ                                                          34
  ขันดําเนิ นการทดลอง                                                    43
  ขันวิเคราะห์ขอมูลและอภิปรายผล
                  ้                                                      45
บทที 4 ผลการวิเคราะห์ ข้อมูล                                             48
บทที 5 สรุ ปผล และข้ อเสนอแนะ                                            60
  สรุ ปผลการวิจย    ั                                                    61
  ข้อเสนอแนะ                                                             62
บรรณานุกรม                                                               63
ภาคผนวก                                                                  64
  คะแนนนักเรี ยน                                                         65
  แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิทางการเรี ยน                                       68
  แบบประเมินความสามารถในการสร้างองค์ความรู ้                             76
  แบบประเมินความสามารถในการใช้ Social Media                              80
  แบบสอบถามความพึงพอใจ                                                   85
  ตัวอย่างเว็บบล็อก                                                      88
ง

                                          สารบัญตาราง

                                                                                            หน้า
ตารางที 1 เกณฑ์การประเมินความสามารถในการสร้างองค์ความรู ้                                    37
ตารางที 2 เกณฑ์การประเมินความสามารถในการใช้ Social Media ในการศึกษา                          39
ตารางที 3 เกณฑ์การกําหนดค่าระดับความคิดเห็น                                                  42
ตารางที 4 เกณฑ์การแปลความหมายของค่าความคิดเห็น                                               43
ตารางที 5 การวิเคราะห์ผลสัมฤทธิ ก่อนและหลังเรี ยนวิชาการสร้างงานสื อผสม ทีสอนโดยใช้
Social Media ในการจัดการเรี ยนรู ้ ตามทฤษฎี การสร้ างองค์ความรู ้ (Constructivism) โดยใช้
สถิติ Non-Parametric แบบ The Wilcoxon Match Pairs Signed Ranks Test                          49
ตารางที 6 การวิเคราะห์ความสามารถในการสร้างองค์ความรู ้ดวยตนเอง
                                                         ้                                   52
ตารางที 7 การวิเคราะห์ความสามารถในการใช้ Social Media ในการศึกษาเรี ยนรู ้                   54
ตารางที 8 ระดับความพึงพอใจของนักเรี ยนชันมัธยมศึกษาปี ที 4/1 ทีมีต่อการจัดการเรี ยนการ
สอนโดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู ้ (Constructivism)                         56
ตารางที 9 วิเคราะห์ความชอบของนักเรี ยนเกียวกับการเรี ยนด้วย Social Media 4 ชนิ ด ได้แก่
Wordpress, Facebook, Twitter, Slideshare และ Youtube โดยใช้สถิติ Non – Parametric แบบ
The Friedman Test                                                                            57
บทที 1

                                                  บทนํา


ทีมาและความสํ าคัญของปัญหา

        ปั จจุบนเทคโนโลยีสารสนเทศและอินเทอร์ เน็ตได้เข้ามามีบทบาทต่อการดําเนิ นชี วิตของเรามากขึน
               ั
นับตังแต่ตืนขึนมา เราอาจไม่รู้สึกตัวว่าอินเทอร์ เน็ตกลายเป็ นปั จจัยทีสําคัญต่อการดํารงชี วิตในยุคทีข้อมูล
ข่ า วสารมี ค วามสํ า คัญ คนหันมาบริ โ ภคข้อ มู ล ข่ า วสารกันมากขึ น นอกจากเทคโนโลยีอิ น เทอร์ เ น็ ต ที
เปรี ยบเสมือนถนนสําหรับการเข้าไปถึ งข้อมูลทีต้องการ เรายังต้องการเครื องมือทีจะสามารถสร้ างเนื อหา
และข้อมูลต่างๆ ไว้รองรับการเข้าถึงซึ งนันก็คือเทคโนโลยีเว็บไซต์ทีเป็ นตัวกลางคอยให้ขอมูลต่างๆ แก่ผใช้
                                                                                    ้             ู้
โดยการพัฒนาของเทคโนโลยีอินเทอร์ เน็ตและเว็บไซต์ได้ถูกเปลียนแปลงจากเดิมไปมาก Wikipedia (www,
2011) ได้แบ่งลักษณะการพัฒนาเทคโนโลยีได้เป็ น 3 ยุค คือ

                                                              ั ้
        1. ยุคเว็บ 1.0 (2537 – 2547) เน้นการนําเสนอเนื อหาให้กบผูใช้งานเพียงทางเดียว ไม่เปิ ดโอกาสให้
ผูใช้งานมีส่วนร่ วมกับเนื อหา ผูทีพัฒนาเว็บไซต์จะเป็ นผูกาหนดเนื อหาเพียงผูเ้ ดี ยวและความเร็ วเฉลี ยของ
  ้                             ้                       ้ ํ
อินเทอร์ เน็ตในยุคเว็บ 1.0 คือ 50 Kbps

        2. ยุคเว็บ 2.0 (2547 – 2552) มีลกษณะการทํางานในรู ปแบบของเว็บไซต์ทีเป็ นเครื อข่ายทางสังคม
                                        ั
(Social Network) เน้นการมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างผูใช้งานทีอยูในเครื อข่ายหรื อกลุ่มบุคคลทีมีความสนใจใน
                                              ้          ่
เรื องเดี ยวกัน โดยเปิ ดโอกาสให้ผูใช้งานทุ ก คนมี ส่ วนร่ วมในการจัดการเนื อหา มี การแลกเปลี ยนข้อมู ล
                                  ้
ระหว่างกัน จึงก่อให้เกิดสังคมออนไลน์ทางความรู ้ทีประกอบไปด้วยองค์ความรู ้ใหม่ๆ มากมาย มีคุณสมบัติ
ทีเรี ยกว่า Rich Internet Application (RIA) ซึ งเป็ นเทคโนโลยีทีทําให้เว็บไซต์มีประสิ ทธิ ภาพการทํางาน
เทียบเท่ากับแอพลิเคชันทัวๆไป (Desktop Application) โดยจะมีลกษณะหน้าตา (User Interface) ทีสวยงาม
                                                           ั
มากขึน ตัวอย่างเว็บไซต์ในยุคเว็บ 2.0 ก็คือเว็บบล็อก (Weblog) สารานุ กรมออนไลน์ (Wiki) เป็ นต้น โดย
ความเร็ วเฉลียของอินเทอร์ เน็ตในยุคนีคือ 1 Mbps

        3. ยุคเว็บ 3.0 (2553 เป็ นต้นไป) เป็ นการพัฒนาเว็บไซต์ให้เหมือนมีความฉลาดเทียม (Artificial
intelligence) โดยสามารถเรี ยนรู ้พฤติกรรมของผูใช้งานเว็บไซต์ได้ ใช้ขอมูลบางส่ วนเพืออธิ บายความหมาย
                                              ้                     ้
ของข้อมูลในส่ วนใหญ่ (Tag) เว็บไซต์ในยุคเว็บ 3.0 นันกล่าวไว้ว่าเป็ นการพัฒนาต่อมาจากยุคเว็บ 2.0
2

หลังจากเว็บไซต์ก ลายเป็ นเครื อข่ายสังคมออนไลน์ขนาดใหญ่ ดัง นันเนื อหาและข้อมู ลต่างๆ จึ งมากขึ น
ตามมาด้วย ก่อนให้เกิ ดการพัฒนาเว็บไซต์ทีจะสามารถตอบสนองความต้องการในการบริ โภคข้อมูลที มี
ประสิ ทธิ ภาพมากขึน เนื องจากเรามีขอมูลมากมายในเว็บไซต์ จึงต้องเกิดการวิเคราะห์และคัดแยกข้อมูลให้
                                   ้
ตรงกับสิ งทีผูใช้งานต้องการมากทีสุ ด โดยตัวอย่างของลักษณะเว็บไซต์ในยุค 3.0 นันก็คือ Sematic Web
              ้
โดยความเร็ วอินเทอร์ เน็ตในยุคนีคือ 2.0 Mbps

        สื อเนื องจากการทีความเจริ ญก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีได้เข้ามามีบทบาทสําคัญต่อ
การดําเดิ นงาน ทังการบริ หารและการจัดการของหน่ วยงานทางการศึ กษา โดยเฉพาะอย่างยิงเทคโนโลยี
คอมพิวเตอร์ และอินเทอร์ เน็ตเป็ นสิ งจําเป็ นทีทุกหน่ วยงานต้องจัดหามาใช้ในการดําเนิ นงาน เพราะจะช่วย
ทําให้การบริ หารและการจัดการทางการศึกษาเป็ นไปอย่างสะดวก รวดเร็ ว มีประสิ ทธิ ภาพและทันต่อการ
เปลี ยนแปลง ดังนันบุ คลากรทางการศึ ก ษาจึ ง ต้องมี ค วามรู ้ ความสามารถ มี ทกษะ และมี ค วามเข้าใจใน
                                                                            ั
กระบวนการทํางานและการใช้งานคอมพิวเตอร์ และอินเทอร์ เน็ต สามารถนําไปประยุกต์ใช้ในการบริ หาร
การจัดการศึกษา และทีสําคัญคือการนําไปใช้ในการจัดการเรี ยนการสอนได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ

        ทังนี คอมพิวเตอร์ ได้เข้ามามี บทบาทในการศึ กษามากขึนเรื อยๆ นับแต่เริ มใช้เพือการศึ กษา เช่ น
การศึกษาการเรี ยนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ การศึกษาการออกแบบแผงวงจรอิเล็กทรอนิกส์ อีกทังยังได้พฒนา
                                                                                        ั
ให้มีความสามารถในการสื อสารผ่านระบบเครื อข่าย ระบบคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน (Computer Assisted
Instruction : CAI) และหนังสื ออิเล็กทรอนิกส์ (EBook) แต่ปัญหาของการใช้เครื องมือดังกล่าว คือ การไม่ได้
การตอบรับจากนักเรี ยน ไม่ส่งเสริ มให้นกเรี ยนเกิ ดความสนใจใฝ่ เรี ยนรู ้ อี กทังนักเรี ยนสามารถเข้าถึ งสื อ
                                      ั
เหล่านันได้ยาก เพราะเป็ นสื อทีไม่สามารถใช้งานได้บนระบบเครื อข่ายอินเทอร์ เน็ต ดังนันการพัฒนาสื อเพือ
ส่ งเสริ มการเรี ยนรู ้ของนักเรี ยนในปั จจุบน จึงควรเป็ นสื อออนไลน์ทีนักเรี ยนสามารถเข้าถึงและเรี ยนรู ้ได้จาก
                                            ั
ทุกหนทุกแห่ งหรื อทุกสถานที ซึ งสื อทีได้รับความนิ ยมและนักเรี ยนสามารถเข้าถึงได้ง่ายในปั จจุบนจึงเป็ น
                                                                                              ั
สื อประเภท Social Media และเว็บไซต์ แต่การทีจะนําสื อ Social Media และสื อออนไลน์ต่างๆ มาใช้ในการ
จัดการเรี ยนการสอนได้นน สิ งสําคัญคือครู ผสอนจะต้องรู ้ เข้าใจ และสามารถใช้สือเหล่านันได้เป็ นอย่างดี
                      ั                   ู้
                                                ั                                            ั
สามารถพัฒนาผลงาน สื อ และเนือหา เพือเผยแพร่ ให้กบนักเรี ยนได้เรี ยนรู ้ และต้องมีปฏิสัมพันธ์กบนักเรี ยน
อยู่เสมอๆ เช่ นการตังประเด็ นคํา ถาม การตอบคํา ถามข้อสงสั ย การติ ดตามผลงาน การให้ค า แนะนํา ที
                                                                                    ํ
เหมาะสม นันคือจะต้องมีการพัฒนาครู ให้มีความรู ้ ความสามารถในการใช้ Social Media ในการจัดการเรี ยน
การสอนได้นนเอง
          ั
3

         โดยในหลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขันพืนฐาน 2551 ได้กาหนดไว้อย่างชัดเจนเกียวกับจุดมุ่งหมาย
                                                         ํ
ทีต้องการให้เกิดกับผูเ้ รี ยนและสมรรถนะสําคัญของผูเ้ รี ยนในด้านความสามารถในการคิด โดยให้ผูเ้ รี ยนมี
ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การแก้ปัญหา การใช้เทคโนโลยี เพือนําไปสู่ การสร้ าง
องค์ความรู ้หรื อสารสนเทศเพือการตัดสิ นใจเกียวกับตนเองและสังคมได้อย่างเหมาะสม โดยเน้นผูเ้ รี ยนเป็ น
สําคัญ ซึ งสอดคล้องกับทฤษฎี การสร้ างองค์ความรู ้ (Constructivism) หรื อเรี ยกอี กชื อหนึ งว่าทฤษฎี การ
เรี ยนรู ้ พุทธิ ปัญญานิ ยม มีหลักการทีสําคัญว่า ในการเรี ยนรู ้ ผูเ้ รี ยนจะต้องเป็ นผูกระทํา (active) และสร้ าง
                                                                                        ้
                                                                                                   ่
ความรู ้ (สุ รางค์ โค้วตระกูล, 2552: 210) โดยเชื อว่าผูเ้ รี ยนมีความสามารถพัฒนาความรู ้ของตนเองอยูแล้ว
(ชาตรี เกิดธรรม, 2542: 27 อ้างถึงใน วีระศักดิ เดือนแจ่ม, 2548: 3) มนุ ษย์มีศกยภาพในการสร้างความรู ้ดวย
                                                                            ั                       ้
ตนเองเมือได้มีปฏิ สัมพันธ์ กบสิ งต่างๆ ทีอยู่รอบตัว โดยการใช้ความรู ้ และประสบการณ์ เดิ มที มีอยู่ สร้ าง
                            ั
ความหมายของประสบการณ์ ใหม่ แต่เนื องจากมนุ ษย์แต่ละคนมีพฒนาการทางสติปัญญาทีแตกต่างกัน มี
                                                        ั
ความรู ้ และประสบการณ์ เ ดิ ม ที ไม่ เ หมื อนกัน มี ค วามสนใจที แตกต่ า งกัน มี ค วามสามารถในการแปล
ความหมายประสบการณ์ ไม่เท่ากัน จึ งทําให้มนุ ษย์แต่ละคนสร้ างความรู ้ ได้แตกต่างกัน มี พฒนาการทาง
                                                                                       ั
ความรู ้ความเข้าใจทีแตกต่างกัน แม้จะได้รับประสบการณ์ทีเหมือนกัน (สุ จินต์ เลียงจรู ญรัตน์, 2543) ทฤษฎี
                       ่                  ั
คอนสตรัคติวซึมกล่าวไว้วา การมีปฏิสัมพันธ์กนของมนุษย์จะทําให้มนุษย์ได้ปรับเปลียนความรู ้ ความเข้าใจ
           ิ
ของตนเองให้มีความสมเหตุสมผลยิงขึน และในสภาพทีเป็ นจริ งนันความรู ้ เป็ นสหวิทยาการ มนุ ษย์สร้ าง
                                                                                 ั
ความรู ้และนําความรู ้ไปใช้ในชีวตประจําวันในลักษณะทีสาขาวิชาต่างๆ มีความสัมพันธ์กน
                                ิ

         จากความสําคัญของ Social Media ในการจัดการเรี ยนการสอนทีจะช่วยให้ผเู ้ รี ยนเกิดการเรี ยนรู ้ได้
อย่างมีประสิ ทธิ ภาพและปลูกฝังให้ผเู ้ รี ยนรู ้จกการใช้เทคโนโลยีเพือช่วยให้เกิดการเรี ยนรู ้ และหลักการตาม
                                                 ั
ทฤษฎีการสร้างองค์ความรู ้ ทีจะช่วยดึงความสามารถและประสบการณ์ออกมาเป็ นความรู ้ทีถูกต้อง ผูวิจยจึง
                                                                                          ้ ั
มีความสนใจทีจะทําการวิจยเรื องการจัดการเรี ยนการสอนโดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์
                       ั
ความรู ้ (Constructivism) เพือส่ งเสริ มการใช้เทคโนโลยีในเชิ งสร้ างสรรค์ และเกิดประโยชน์ต่อการเรี ยนรู ้
ของตนเอง อีกทังยังช่วยพัฒนากระบวนการคิดวิเคราะห์ และสังเคราะห์ของนักเรี ยนให้มีประสิ ทธิ ภาพอีก
ด้วย
4

วัตถุประสงค์ การวิจัย

        1. เปรี ยบเทียบผลสัมฤทธิ ก่อนเรี ยนและหลังเรี ยนวิชาการสร้างงานสื อผสม ระดับชันมัธยมศึกษาปี
ที 4 ทีจัดการเรี ยนการสอนโดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู ้ (Constructivism)

        2. ศึกษาความสามารถในการสร้างองค์ความรู ้ ของนักเรี ยนระดับชันมัธยมศึกษาปี ที 4 ทีจัดการเรี ยน
การสอนโดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู ้ (Constructivism)

        3. ศึกษาความสามารถในการใช้ Social Media ในการเรี ยนรู ้ ของนักเรี ยนระดับชันมัธยมศึกษาปี ที 4
ทีจัดการเรี ยนการสอนโดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู ้ (Constructivism)

        4. ศึกษาความพึงพอใจต่อการจัดการเรี ยนการสอนการสร้างงานสื อผสม ระดับชันมัธยมศึกษาปี ที 4
ทีสอนโดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู ้ (Constructivism)

        5. เปรี ยบเทียบความชอบของนักเรี ยนเกียวกับการเรี ยนด้วย Social Media 4 ชนิ ด ได้แก่ Wordpress,
Facebook, Twitter, Slideshare และ Youtube



ขอบเขตของการวิจัย

        1. ประชากรและกลุ่มตัวอย่ าง

                    ประชากรคื อนักเรี ยนระดับชันมัธยมศึ กษาปี ที 4 โรงเรี ยนเตรี ยมอุ ดมศึ กษาพัฒนาการ
ลําลูกกา ปี การศึกษา 2553 จํานวน 3 ห้องเรี ยน รวมนักเรี ยนทังหมด 133 คน

                    กลุ่มตัวอย่างคือนักเรี ยนระดับชันมัธยมศึกษาปี ที 4 โรงเรี ยนเตรี ยมอุดมศึกษาพัฒนาการ ลํา
ลูกกา ปี การศึกษา 2553 ทีได้จากการสุ่ มห้องเรี ยนอย่างง่าย (Simple Random Sampling) มา 1 ห้องเรี ยน

        2. ตัวแปรทีศึกษา

                    ตัวแปรทีศึกษาสําหรับการวิจยในครังนีประกอบด้วย
                                              ั

                    2.1 ตัวแปรจัดกระทํา คือ การจัดการเรี ยนการสอนโดยใช้ Social Media ตามทฤษฎี การ
สร้างองค์ความรู ้
5

                  2.2 ตัวแปรตาม ได้แก่

                           2.2.1 ผลสัมฤทธิ ทางการเรี ยนวิชาการสร้างงานสื อผสม

                           2.2.2 ความสามารถในการสร้างองค์ความรู ้

                           2.2.3 ความสามารถในการใช้เครื องมือ Social Media

                           2.2.4 ความพึงพอใจต่อการเรี ยนวิชาการสร้างงานสื อผสม

         3. เนือหาทีใช้ ทดลอง

                  เนือหาทีนํามาทดลอง คือ เนือหาวิชาการสร้างงานสื อผสม เรื องการพัฒนาเว็บไซต์ดวยชุด
                                                                                             ้
พัฒนาเว็บสําเร็ จรู ป (Joomla)

         4. ระยะเวลาทีใช้ ในการทดลอง

                                           ํ
                  การทดลองครังนี ผูวิจยได้กาหนดเวลาทดลองทังสิ น 20 คาบ คาบละ 50 นาที โดยใช้เวลา
                                   ้ ั
สอน 10 สัปดาห์ ภาคเรี ยนที 2 ปี การศึกษา 2553



นิยามศัพท์

         เพือให้เกิดความเข้าใจตรงกัน ผูวจยจึงกําหนดความหมายคําศัพท์เฉพาะสําหรับการวิจยดังต่อไปนี
                                       ้ิั                                           ั

         Social Media หมายถึ ง สังคมออนไลน์ทีมีผูใช้เป็ นผูสือสาร หรื อเขียนเรื องราว ประสบการณ์
                                                 ้         ้
                                                                                                 ั
บทความ รู ปภาพ และวีดีโอ ทีผูใช้เขียนขึนเอง ทําขึนเอง หรื อพบเจอจากสื ออืนๆ แล้วนํามาแบ่งปั นให้กบ
                             ้
ผูอืนทีอยู่ในเครื อข่ายของตน ผ่านทางเว็บไซต์ Social Network ทีให้บริ การบนโลกออนไลน์ ปั จจุบนการ
  ้                                                                                         ั
สื อสารแบบนีจะทําผ่านทาง Internet และโทรศัพท์มือถือเท่านัน

         ทฤษฎีการสร้ า งองค์ ค วามรู้ (Constructivism) หมายถึ ง การเรี ย นรู ้ ผูเ้ รี ย นจะต้องเป็ นผูก ระทํา
                                                                                                       ้
                                                                                   ่
(active) และสร้างความรู ้ โดยเชื อว่าผูเ้ รี ยนมีความสามารถพัฒนาความรู ้ของตนเองอยูแล้ว มนุ ษย์มีศกยภาพ
                                                                                                  ั
ในการสร้ า งความรู ้ ด้ว ยตนเองเมื อได้มี ป ฏิ สั ม พัน ธ์ ก ับ สิ งต่ า งๆ ที อยู่ ร อบตัว โดยการใช้ ค วามรู ้ แ ละ
ประสบการณ์เดิมทีมีอยู่ สร้างความหมายของประสบการณ์ใหม่
6

        เว็บ บล็อ ก (Weblog) หมายถึ ง เว็บ ไซต์ที เจ้า ของทํา การบันทึ ก บทความของตนเอง (Personal
                                                                      ่
Journal) ลงบนเว็บไซต์ โดยเนือหาของ blog นันจะครอบคลุมได้ทุกเรื อง ไม่วาจะเป็ นเรื องราวส่ วนตัว หรื อ
เป็ นบทความเฉพาะด้านต่างๆ เช่น เรื องการเมือง เรื องกล้องถ่ายรู ป เรื องกีฬา เรื องธุ รกิจ เป็ นต้น โดยจุดเด่น
ทีทําให้บล็อกเป็ นทีนิยมก็คือ ผูเ้ ขียนบล็อก จะมีการแสดงความคิดเห็นของตนเอง ใส่ ลงไปในบทความนัน ๆ
โดยบล็อกบางแห่ ง จะมีอิทธิ พลในการโน้มน้าวจิตใจผูอ่านสู งมาก แต่ในขณะเดียวกัน บางบล็อกก็จะเขียน
                                                 ้
ขึนมาเพือให้อ่านกันในกลุ่มเฉพาะ เช่นกลุ่มเพือน ๆ หรื อครอบครัวตนเอง

        เฟซบุ๊ก (Facebook) หมายถึง เว็บไซต์เครื อข่ายสังคมสําหรับติดต่อแลกข้อมูลข่าวสาร เปิ ดใช้งาน
เมือ 4 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2547 โดย มาร์ ก ซักเคอร์ เบิร์ก นักศึกษาจากมหาวิทยาลัยฮาร์ เวิร์ด ในช่วงแรกนัน
เฟซบุกเปิ ดให้ใช้งานเฉพาะนักศึกษามหาวิทยาลัยฮาร์ เวิร์ด ซึ งต่อมาได้ขยายตัวออกไปสําหรับมหาวิทยาลัย
     ๊
ทัวสหรัฐอเมริ กา และตังแต่ 11 กันยายน พ.ศ. 2549 ได้ขยายมาสําหรับผูใช้ทวไปทุกคนเหมือนในปั จจุบน
                                                                  ้ ั                        ั

        ทวิตเตอร์ (Twitter) หมายถึง เว็บไซต์ทีให้บริ การ blog สัน หรื อทีภาษาอังกฤษเรี ยกกันว่า Micro-
Blog ซึ งสามารถให้ผใช้ส่งข้อความของตนเอง ให้เพือนๆ ทีติดตาม twitter ของเราอยูอ่านได้ และเราเองก็
                   ู้                                                        ่
                                                   ่
สามารถอ่านข้อความของเพือน หรื อคนทีเราติดตามเค้าอยูได้

        Slideshare หมายถึง เว็บไซต์สาหรับฝากไฟล์เอกสาร ได้แก่ .doc, .pdf, .ppt เพือจัดเก็บเอกสารและ
                                    ํ
แสดงเอกสารให้ผทีใช้บริ การสามารถอ่านได้ทนทีหรื อนําไปแสดงผลบนเว็บไซต์ของตนเองได้
              ู้                        ั

        Youtube หมายถึ ง เว็บไซต์สําหรับฝากไฟล์ประเภทวีดีโอ และเป็ นแหล่งรวบรวมวีดีโอทีทุกคน
สามารถเข้าไปศึกษา ดู หรื อนําไปใช้งานต่อได้
บทที 2

                                               การตรวจเอกสาร


        การวิ จ ัย เรื อง การจัด การเรี ย นรู ้ โ ดยใช้ Social   Media   ตามทฤษฎี ก ารสร้ า งองค์ ค วามรู ้
(Constructivism) สําหรั บนักเรี ยนมัธยมศึ กษาปี ที 4 ผูวิจยได้ศึ กษาเอกสารที เกี ยวข้อง เพือเป็ นพื นฐาน
                                                       ้ ั
สําหรับการดําเนินการวิจย ดังนี
                       ั

        1. Social Media

        2. ทฤษฎีการสร้างองค์ความรู ้ (Constructivism)

        3. การจัดการเรี ยนรู ้โดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู ้

        4. งานวิจยทีเกียวข้อง
                 ั



                                                  Social Media

                                        ่ ั
        ทุกวันนี พวกเราหลายคนใช้ชีวิตอยูกบ Social Network และ Social Media มากขึนทุกวัน แต่พอพูด
ถึง ‘Social Media’ ว่าคืออะไร หลายคนทีใช้อยู่ ก็ยงถึงกับอึง และตอบไม่ได้ว่ามันคืออะไร และไม่รู้จะ
                                                 ั
                                                                                                 ่
อธิ บายอย่างไร วันนี Marketing Oops! เลยขอทําหน้าทีอธิ บายคําๆ นีแทน เพือให้คนทีใช้เป็ นประจําอยูแล้ว
สามารถอธิ บ ายต่ อ ให้ค นอื นทราบได้ และสํ า หรั บ คนที ยัง ไม่ เคยรู ้ ก็ ส ามารถทํา ความรู ้ จก ได้เช่ นกัน
                                                                                                ั
8

     Social ในทีนี หมายถึง สังคมออนไลน์ Media ในทีนี หมายถึง เนื อหา เรื องราว และบทความ Social
Media จึ งหมายถึ งสังคมออนไลน์ทีมี ผูใช้เป็ นผูสือสาร หรื อเขี ยนเล่ า เนื อหา เรื องราว ประสบการณ์
                                     ้         ้
                                                                                                 ั
บทความ รู ปภาพ และวิดีโอ ทีผูใช้เขียนขึนเอง ทําขึนเอง หรื อพบเจอจากสื ออืนๆ แล้วนํามาแบ่งปั นให้กบ
                             ้
  ้       ่
ผูอืนทีอยูในเครื อข่ายของตน ผ่านทางเว็บไซต์ Social Network ทีให้บริ การบนโลกออนไลน์ ปั จจุบนการ
                                                                                           ั
สื อสารแบบนีจะทําผ่านทาง Internet และโทรศัพท์มือถือเท่านัน


          เนือหาของ Social Media โดยทัวไปเปรี ยบได้หลายรู ปแบบ ทัง กระดานความคิดเห็น (Discussion
boards), เว็บบล็อค (Weblogs), วิกิ (wikis), Podcasts, รู ปภาพ และวิดีโอ ส่ วนเทคโนโลยีทีรองรับเนื อหา
เหล่านี ก็รวมถึง เว็บบล็อค (Weblogs), เว็บไซต์แชร์ รูปภาพ, เว็บไซต์แชร์ วิดีโอ, เว็บบอร์ ด, อีเมล์, เว็บไซต์
แชร์ เพลง, Instant Messaging, Tool ทีให้บริ การ Voice over IP เป็ นต้น
9

เว็บไซต์ ทีให้ บริการ Social Network หรือ Social Media


                        Google Group – เว็บไซต์ในรู ปแบบ Social Networking




                             Wikipedia – เว็บไซต์ในรู ปแบบข้อมูลอ้างอิง
10



MySpace – เว็บไซต์ในรู ปแบบ Social Networking




Facebook -เว็บไซต์ในรู ปแบบ Social Networking
11



MouthShut – เว็บไซต์ในรู ปแบบ Product Reviews




     Youmeo – เว็บทีรวม Social Network
12

Yelp – เว็บไซต์ในรู ปแบบ Product Reviews




Last.fm – เว็บเพลงส่ วนตัว Personal Music
13

   YouTube – เว็บไซต์ Social Networking และ แชร์ วดีโอ
                                                  ิ




Avatars United – เว็บไซต์ในรู ปแบบ Social Networking
14



Second Life – เว็บไซต์ในรู ปแบบโลกเสมือนจริ ง Virtual Reality




                   Flickr – เว็บแชร์ รูปภาพ
15

                                ทฤษฎีการสร้ างองค์ ความรู้ (Constructivism)

         Constructionism เป็ นทฤษฎีทางการศึกษาทีพัฒนาขึนโดย Professor Seymour Papert แห่ ง M.I.T.
(Massachusette Institute of Technology) ทฤษฎีคอนสตรัคชันนิ สซึ ม (Constructionism) หรื อทฤษฎีการ
สร้างองค์ความรู ้ดวยตนเอง เป็ นทฤษฎีการเรี ยนรู ้ทีเน้นผูเ้ รี ยนเป็ นผูสร้างองค์ความรู ้ดวยตนเอง
                  ้                                                     ้                 ้

                                       ประสบการณ์ใหม่ / ความรู ้ใหม่
                                                       +

                                        ประสบการณ์เดิม / ความรู ้เดิม
                                                       =
                                               องค์ความรู ้ใหม่
                                                    บุคคล

                                                                                                        ่
         ซี มวร์ พาร์ เพิร์ท (Seymour Papert) ได้ให้ความเห็นว่า ทฤษฎีการศึกษาการเรี ยนรู ้ ทีมีพืนฐานอยูบน
             ั
กระบวนการการสร้าง 2 กระบวนการด้วยกัน

         สิ งแรก คือ ผูเ้ รี ยนเรี ยนรู ้ดวยการสร้างความรู ้ใหม่ขึนด้วยตนเอง ไม่ใช่รับแต่ขอมูลทีหลังไหลเข้ามา
                                          ้                                               ้
ในสมองของผูเ้ รี ยนเท่านัน โดยความรู ้จะเกิดขึนจากการแปลความหมายของประสบการณ์ทีได้รับ


                                                                 ่
                     สังเกตว่าในขณะทีเรา สนใจทําสิ งใดสิ งหนึงอยูอย่าง ตังใจเราจะไม่
                        ลดละความพยายาม เราจะคิดหาวิธีการแก้ไขปั ญหานันจนได้


         สิ งทีสอง คือ กระบวนการการเรี ยนรู ้จะมีประสิ ทธิ ภาพมากทีสุ ด หากกระบวนการนันมีความหมาย
กับผูเ้ รี ยนคนนัน

จากทีกล่าวมาสามารถสรุ ปให้เป็ นหลักการต่างๆทีมีความสัมพันธ์ซึงกันและกัน ได้ดงนี
                                                                            ั

         1.หลักการทีผู้เรี ยนได้ สร้ างองค์ ความรู้ ด้วยตนเอง หลักการเรี ยนรู ้ตามทฤษฎี Constructionism คือ
การสร้ า งองค์ค วามรู ้ ด้ว ยตนเอง โดยให้ ผูเ้ รี ย นลงมื อประกอบกิ จ กรรมการเรี ย นรู ้ ด้วยตนเองหรื อได้
16

ปฏิสัมพันธ์กบสิ งแวดล้อมภายนอกทีมีความหมาย ซึ งจะรวมถึงปฏิกิริยาระหว่างความรู ้ในตัวของผูเ้ รี ยนเอง
            ั
ประสบการณ์ และสิ งแวดล้อมภายนอก การเรี ยนรู ้ จะได้ผลดี ถ้าหากว่าผูเ้ รี ยนเข้าใจในตนเอง มองเห็ น
                                                                         ั                  ่
ความสําคัญในสิ งทีเรี ยนรู ้และสามารถเชือมโยงความรู ้ระหว่างความรู ้ใหม่กบความรู ้เก่า(รู ้วาตนเองได้เรี ยนรู ้
อะไรบ้าง) และสร้างเป็ นองค์ความรู ้ใหม่ขึนมา และเมือพิจารณาการเรี ยนรู ้ทีเกิดขึนในการเรี ยนการสอนโดย
ปกติทีเกิดขึนในห้องเรี ยนนันสามารถจะแสดงได้ดงรู ป
                                            ั

                                                      ความรู ้
                                               ครู -------> ผูเ้ รี ยน

         2.หลักการทียึดผู้เรี ยนเป็ นศู นย์ กลางการเรี ยนรู้ โดยครู ควรพยายามจัดบรรยากาศการเรี ยนการสอน
ทีเปิ ดโอกาสให้ผูเ้ รี ยนลงมือปฏิ บติกิจกรรมการเรี ยนด้วยตนเองโดยมีทางเลือกในการเรี ยนรู ้ทีหลากหลาย
                                   ั
                                                                                    ั
(Many Choice) และเรี ยนรู ้อย่างมีความสุ ขสามารถเชือมโยงความรู ้ระหว่างความรู ้ใหม่กบความรู ้เก่าได้ ส่ วน
ครู เป็ นผูช่วยเหลือและคอยอํานวยความสะดวก
           ้

         3.หลักการเรี ยนรู้ จากประสบการณ์ และสิ งแวดล้ อม หลักการนี เน้นให้เห็ นความสําคัญของการ
เรี ยนรู ้ ร่วมกัน(Social value) ทําให้ผูเ้ รี ยนเห็ นว่าคนเป็ นแหล่งความรู ้อีกแหล่งหนึ งทีสําคัญ การสอนตาม
ทฤษฎี Constructionism เป็ นการจัดประสบการณ์เพือเตรี ยมคนออกไปเผชิ ญโลก ถ้าผูเ้ รี ยนเห็นว่าคนเป็ น
แหล่งความรู ้สําคัญและสามารถแลกเปลียนความรู ้ กนได้ เมือเขาจบออกไปก็จะปรับตัวได้ง่ายและทํางาน
                                               ั
ร่ วมกับผูอืนอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ
          ้

         4.หลักการทีใช้ เทคโนโลยีเป็ นเครื องมือการรู้ จักแสวงหาคําตอบจากแหล่ งความรู้ ต่างๆด้ วยตนเอง
                                                          ่
เป็ นผลให้เกิดพฤติกรรมทีฝังแน่นเมือผูเ้ รี ยน "เรี ยนรู ้วาจะเรี ยนรู ้ได้อย่างไร (Learn how to Learn)"

บทบาทและคุณสมบัติทครู ควรมีใน การสอนแบบ Constructionism
                  ี

         ในการสอนตามทฤษฎี Constructionism ครู เองนับว่ามี บทบาทสําคัญมากในการที จะควบคุ ม
กระบวนการให้ บ รรลุ ตามเป้ าหมายที กํา หนดไว้ ซึ งครู ที ศึ ก ษาทฤษฎี นีควรมี ค วามเข้า ใจในบทบาท
คุณสมบัติทีครู ควรจะมี รวมทังทัศนคติทีครู ควรเปลียนและสิ งทีต้องคํานึงถึง
17

บทบาทของครู

   •   ในการดําเนิ นกิ จกรรมการสอน ครู ควรรู ้ จกบทบาทของตนเองอย่างแจ่มแจ้ง ครู นบว่าเป็ นบุคคล
                                                       ั                                     ั
       สําคัญทีจะทําให้การสอนสําเร็ จผล ดังนันจึงควรรู ้จกบทบาทของตน ดังนี คือ
                                                                ั
   •   จัดบรรยากาศการเรี ยนรู ้ ให้เหมาะสม โดยควบคุมกระบวนการการเรี ยนรู ้ให้บรรลุเป้ าหมายตามที
       กําหนดไว้และคอยอํานวยความสะดวกให้ผเู ้ รี ยนดําเนินงานไปได้อย่างราบรื น
   •   แสดงความคิดเห็ นและให้ขอมูลทีเป็ นประโยชน์แก่ผเู ้ รี ยนตามโอกาสทีเหมาะสม(ต้องคอยสังเกต
                                        ้
                                                                                ่
       พฤติกรรมการเรี ยนรู ้ของผูเ้ รี ยนและบรรยากาศการเรี ยนทีเกิดขึนอยูตลอดเวลา)
   •   เปิ ดโอกาสให้ผเู ้ รี ยนได้เรี ยนรู ้ตามแนวทางของทฤษฎี Constructionismโดยเน้นให้ผเู ้ รี ยนสร้างองค์
       ความรู ้ดวยตนเอง เป็ นผูจุดประกายความคิดและกระตุนให้ผเู ้ รี ยนได้มีส่วนร่ วมในกิจกรรมการเรี ยน
                   ้               ้                               ้
                                                                       ํ
       โดยทัวถึงกัน ตลอดจนรับฟังและสนับสนุนส่ งเสริ มให้กาลังใจแก่ผเู ้ รี ยนทีจะเรี ยนรู ้เพือประจักษ์แก่
       ใจด้วยตนเอง
   •   ช่วยเชือมโยงความคิดเห็นของผูเ้ รี ยนและสรุ ปผลการเรี ยนรู้ ตลอดจนส่ งเสริ มและนําทางให้ผเู ้ รี ยน
       ได้รู้วธีวเิ คราะห์พฤติกรรมการเรี ยนรู ้ เพือผูเ้ รี ยนจะได้นาไปใช้ให้เกิดประโยชน์ได้
              ิ                                                      ํ

คุณสมบัติทครู ควรมีในการสอนแบบ Constructionism
          ี

   •   มีความเข้าใจทฤษฎี Constructionism และพร้อมทีจะเปิ ดโอกาสให้ผเู ้ รี ยนได้เรี ยนรู ้ตามแนวทางของ
       ทฤษฎี Constructionism
   •   มีความรู ้ในเนือหาทีสอนอย่างดี
   •   มีความเข้าใจมนุษย์ มีจิตละเอียดพอทีจะสามารถตรวจสอบความคิดของผูเ้ รี ยนและดึงความคิดของ
       ผูเ้ รี ยนให้แสดงออกมามากทีสุ ด
   •   มีการพัฒนาตนเอง ทางร่ างกาย สติปัญญาและจิตใจอยูเ่ สมอ ครู ควรรู ้จกตนเองและพัฒนาความรู ้
                                                                                ั
       บุคลิ กภาพ ของตนให้ดีขึน มีใจกว้าง ยอมรับฟั งความคิ ดเห็ นของผูเ้ รี ยน ไม่ถือว่าความคิ ดตน
       ถูกต้องเสมอ เข้าใจและยอมรับว่าบุคคลมีความแตกต่างกัน ไม่ด่วนตัดสิ นผูเ้ รี ยนอย่างผิวเผิน
   •                                  ั
       ควรมีมนุ ษย์สัมพันธ์ทีดีกบผูเ้ รี ยน เพราะการมีมนุ ษย์สัมพันธ์ทีดีของครู จะทําให้บรรยากาศในการ
       เรี ยนการสอนเกิดความเป็ นกันเองและมีความเป็ นมิตรทีดีต่อกัน
   •   ครู ควรมีทกษะในการสื อความหมายกับผูเ้ รี ยน ในการสอนนันครู มกจะมีการสื อความหมายกับ
                     ั                                                       ั
       ผูเ้ รี ยนเสมอ จึงควรสื อความหมายให้ชดเจน ไม่คลุ มเครื อ รู ้จกใช้วาทศิลป์ ให้เหมาะกับกาลเทศะ
                                                       ั              ั
                                                                 ั
       และเหมาะสมกับผูเ้ รี ยนแต่ละคน(การสื อความหมายให้กบผูเ้ รี ยนแต่ละคนจะไม่เหมือนกันเพราะ
       ผูเ้ รี ยนมีการรับรู ้และเรี ยนรู ้ได้ไม่เท่ากัน)
18

    •   มีทกษะในการใช้วจารณญาณตัดสิ นใจและแก้ไขปั ญหา ทักษะด้านนีทําให้ครู ดาเนิ นงานได้สะดวก
            ั               ิ                                                         ํ
        ราบรื น เนื องจากการสอนแบบ Constructionism นันผูสอนจะต้องคอยสังเกตบรรยากาศการเรี ยนที
                                                            ้
                   ่
        เกิดขึนอยูตลอดเวลา และจะต้องคอยแก้ไขปั ญหาในแต่ละช่วงให้เหมาะสม ดังนันผูสอนจึงต้องมี  ้
        ทักษะในการใช้วจารณญาณตัดสิ นใจและแก้ไขปั ญหาทีดี
                          ิ
    •   มีทกษะในการช่ วยเหลือผูเ้ รี ยน บ่อยครัง ครู ตองคอยช่วยแก้ปัญหาให้ผเู ้ รี ยนครู จึงควรมีความเป็ น
              ั                                         ้
        มิตรเป็ นกันเองกับนักเรี ยนเสมอ หากครู ไม่มีทกษะทางด้านนีแล้ว การช่วยเหลืออาจไม่บรรลุผล
                                                      ั
    •   จากทีกล่าวมาข้างต้นนันเป็ นคุ ณสมบัติทีครู ควรมีเพือนํามาใช้ปรับปรุ งมนุ ษยสัมพันธ์ในการเรี ยน
        การสอนและการดําเนินชีวตประจําวันให้ดีขึน นอกจากนันสิ งทีสําคัญมากก็คือครู ควรมีพืนฐานของ
                                   ิ
        ความรักในวิชาชีพครู พยายามเข้าใจผูเ้ รี ยนแต่ละคนให้มากๆโดยยึดหลักทีว่าคนเรามีความแตกต่าง
        กัน(ไม่นาคนหนึ งมาเปรี ยบเทียบกับอีกคนหนึ ง) ครู ควรรู ้ จกเคารพความคิดของตนเองและผูอืน
                 ํ                                                ั                                   ้
        (โดยเฉพาะผูเ้ รี ยน) และควรรักษาสุ ขภาพร่ างกายและจิตใจของครู เองให้สมบูรณ์ และแจ่มใสอยู่
        เสมอ

ทัศนคติทครู ควรเปลียนและสิ งทีต้ องคํานึงถึง
        ี

    •   ในการเรี ยนการสอนตามทฤษฎี Constructionism ครู ควรเปลียนแปลงทัศนคติให้เหมาะสม เพือเปิ ด
        โอกาสให้ผเู ้ รี ยนมีส่วนร่ วมในการเรี ยนรู ้ดวยตนเองมากยิงขึน ทัศนคติทีครู ควรเปลียนแปลงไปและ
                                                          ้
        สิ งทีครู ควรคํานึงถึงมีดงนี
                                   ั
    •   ครู ตองไม่ถือว่า ครู เป็ นผูรู้แต่ผูเ้ ดี ยว ผูเ้ รี ยนต้องเชื อตามที ครู บอกโดยไม่มีเงื อนไข แต่ครู ตอง
                   ้                    ้                                                                     ้
        ตระหนักว่าตนเองมีความรู ้ทีจะช่วยเหลือนักเรี ยนเท่าทีจะช่วยได้ ดังนันครู จึงไม่อบอายผูเ้ รี ยนทีจะ
                                                                                                   ั
        พูดว่า “ครู ก็ยงไม่ทราบ พวกเรามาช่วยกันหาคําตอบดูซิ”ฯลฯ
                        ั
    •   ครู ตองพยายามช่ วยให้ผูเ้ รี ยนเกิ ดการเรี ยนรู ้ ดวยตนเองมากทีสุ ดเท่าทีจะมากได้ ต้องอดทนและ
               ้                                               ้
        ปล่อยให้นกเรี ยนประกอบกิจกรรมด้วยตนเอง อย่าด่วนไปชิ งบอกคําตอบเสี ยก่อน ควรช่วยเหลื อ
                      ั
        แนะนําผูเ้ รี ยนทีเรี ยนช้าและเรี ยนเร็ วให้สามารถเรี ยนไปตามความสามารถของตนเองด้วยตนเองให้
        มากทีสุ ด
    •   ไม่ควรถือว่า “ผูเ้ รี ยนทีดีตองเงียบ” แต่ครู ควรจะเปิ ดโอกาสให้ผเู ้ รี ยนได้พูดคุยกันในเนื อหา หรื อได้
                                      ้
        พูดคุยแลกเปลียนความคิดเห็นหรื อความรู ้กนได้         ั
    •   ครู ตองไม่ถือว่าการที ผูเ้ รี ยนเดิ นไปเดิ นมาเพือประกอบกิ จกรรมการเรี ยนรู ้ นันเป็ นการแสดงถึ ง
                 ้
        ความไม่มีระเบียบวินย แต่ตองคิ ดว่าการเดิ นไปเดิ นมาเป็ นกระบวนการหนึ งทีช่ วยให้การเรี ยนรู ้
                                 ั        ้
        เป็ นไปอย่างต่อเนือง และช่วยทําให้ผเู ้ รี ยนไม่เบือหน่ายต่อการเรี ยน
    •   ครู ตองลดบทบาทตัวเองลง (ทําตัวให้เล็กทีสุ ด) พูดในสิ งทีจําเป็ น เลือกสรรคําพูดให้แน่ใจว่าผูเ้ รี ยน
             ้
        มีความต้องการฟังในสิ งทีครู พด ก่อนทีจะพูดครู จึงควรเร้าความสนใจของผูเ้ รี ยนเสี ยก่อน
                                            ู
19

    •                                        ้ ่
        ขณะทีผูเ้ รี ยนประกอบกิจกรรมครู ตองอยูดูแลเอาใจใส่ พฒนาการของผูเ้ รี ยนแต่ละคน ต้องไม่คิดว่า
                                                                    ั
        เมือผูเ้ รี ยนสามารถเรี ยนได้เองแล้วครู ก็เอาเวลาทําอย่างอืนได้
    •   ครู ควรมีใจกว้างและชมเชยนักเรี ยนทีทําดีหรื อประสบความสําเร็ จแม้เพียงเล็กน้อย ไม่ตาหนิ หรื อ
                                                                                              ํ
        ลงโทษเมือผูเ้ รี ยนทําผิดพลาด หรื อทําไม่ถูกใจครู
    •   ครู ไม่ควรจะเอาตนเองไปยึดติดกับหลักสู ตรมากจนเกิ นไป ไม่ควรจะยัดเยียดเนื อหาทีไม่จาเป็ น  ํ
             ั
        ให้กบผูเ้ รี ยน ควรคิดว่าการให้เนื อหาทีจําเป็ นแม้จะน้อยอย่างก็ยงดีกว่าสอนหลายๆอย่าง แต่ผเู ้ รี ยน
                                                                          ั
        เกิดการเรี ยนรู ้นอยมาก(รู ้แบบงูๆปลาๆ) หรื อนําความรู ้ทีเรี ยนไปประยุกต์ใช้ไม่ได้
                          ้
    •   การจัดตารางสอนควรจัดให้ยืดหยุ่นเหมาะสมกับเวลาทีให้ผเู ้ รี ยนได้ลงมือปฎิ บติกิจกรรม ครู ตอง
                                                                                         ั                ้
        พยายามเปิ ดโอกาสให้ผเู ้ รี ยนได้ลงมือปฎิบติกิจกรรมภายในเวลาทีเหมาะสม ไม่มากหรื อน้อยไป
                                                      ั

บทบาทของผู้เรี ยน

ในการเรี ยนตามทฤษฎี Constructionism ผูเ้ รี ยนจะมีบทบาทเป็ นผูปฎิบติและสร้างความรู ้ไปพร้อมๆกันด้วย
                                                              ้ ั
ตัวของเขาเอง(ทําไปและเรี ยนรู ้ไปพร้อมๆกัน) บทบาททีคาดหวังจากผูเ้ รี ยน คือ

    •   มีความยินดีร่วมกิจกรรมทุกครังด้วยความสมัครใจ
    •   เรี ยนรู ้ได้เอง รู ้จกแสวงหาความรู ้จากแหล่งความรู ้ต่างๆทีมีอยูดวยตนเอง
                              ั                                          ่ ้
    •   ตัดสิ นปั ญหาต่างๆอย่างมีเหตุผล
    •   มีความรู ้สึกและความคิดเป็ นของตนเอง
    •   วิเคราะห์พฤติกรรมของตนเองและผูอืนได้    ้
    •                                      ั                                 ่
        ให้ความช่วยเหลือกันและกัน รู ้จกรับผิดชอบงานทีตนเองทําอยูและทีได้รับมอบหมาย
    •   นําสิ งทีเรี ยนรู ้ไปประยุกต์ใช้ประโยชน์ในชีวตจริ งได้นน
                                                      ิ           ั

        จากการได้เข้ามาสัมผัสกับทฤษฎี Constructionism ผมสังเกตว่าผูเ้ รี ยนมีความสุ ขกับการเรี ยนมาก
ขึนและมีผลดี คือ

    1. ผูเ้ รี ยนได้รู้จกและเข้าใจตนเองดีขึนโดยทราบข้อดีและข้อบกพร่ องของตนเอง
                             ั
    2. ผูเ้ รี ยนรู ้ จกคิดอย่างมีระบบมากขึน เพราะการเรี ยนรู ้ จากการทํางาน ทําให้ตองพยายามคิดพิจารณา
                           ั                                                        ้
       หาคําตอบและวิธีการแก้ปัญหา ทําให้รู้จกจัดระบบความคิดเพือแก้ปัญหานัน
                                                 ั
                       ั                     ้                    ่
    3. ผูเ้ รี ยนรู ้จกวิธีการแสวงหาความรู ้ดวยตนเองมากขึน รู ้วาจะแสวงหาความรู ้ตามแนวทางทีเหมาะสม
                                       ่
       กับตนเองได้อย่างไร และรู ้วาคนเป็ นแหล่งความรู ้อีกแหล่งหนึงทีสําคัญ
    4. ผูเ้ รี ยนรู ้จกแก้ปัญหาและตัดสิ นปั ญหาอย่างมีเหตุผลมากขึน จากการฝึ กฝนการวิเคราะห์ปัญหาและ
                         ั
       ข้อมูลต่างๆทีพบในระหว่างการลงมือปฏิบติ อันจะนําไปสู่ การแก้ปัญหาในชีวตจริ งได้
                                                   ั                                  ิ
20

    5. ผูเ้ รี ยนกล้าแสดงออกอย่างมีเหตุผลมากขึนเป็ นผูพดและผูฟังทีดี
                                                           ้ ู     ้
    6. ผูเ้ รี ยนมีความคิดริ เริ มสร้างสรรค์ จากการทํางานทีมีโอกาสได้คิดสร้างสิ งต่างๆ มีโอกาสได้ลองผิด
       ลองถูก หรื อการทีได้พยายามแก้ปัญหาด้วยวิธีการคิดทีหลากหลายพยายามแก้ปัญหาโดยไม่ตีกรอบ
       ความคิดตนเองมากเกินไป
                                                                                             ่
    7. ทําให้เป็ นคนใจกว้าง ยอมรับฟังความคิดเห็นของคนอืนมากขึน ไม่ปิดใจเชือตนเองอยูฝ่ายเดียว และ
                                         ่                               ้ ่
       รู ้จกการเป็ นผูให้โดยเรี ยนรู ้วาการให้เป็ นความสุ ขอย่างหนึง (ผูให้ยอมเป็ นทีรัก)
             ั              ้
    8. รู ้จกการเคารพตนเองและผูอืน จากการทํางานร่ วมกันในบรรยากาศทีเป็ นกันเองมีความเป็ นมิตร ทํา
               ั                       ้
       ให้ผเู ้ รี ยนรู ้จกเคารพตนเองและปฏิบติตนด้วยความเคารพต่อผูอืน มีระเบียบวินยในตนเองมากขึน
                          ั                     ั                         ้                ั
       รู ้จกบังคับตนเอง
                   ั
    9. รู ้จกการทําใจเป็ นกลางและเลือกปฏิบติตนตามทางสายกลาง รวมทังมีเป้ าหมายชี วิตและมีแนวทาง
                 ั                                ั
       ในการดําเนินชีวตของตนเองทีชัดเจนขึน
                              ิ

        กล่าวโดยสรุ ป หลักการเรี ยนการสอนตามทฤษฎี Constructionism เป็ นการเรี ยนการสอนทีผูเ้ รี ยน
เรี ยนรู ้ จากการสร้างงาน ผูเ้ รี ยนได้ดาเนิ นกิ จกรรมการเรี ยนด้วยตนเองโดยการลงมือปฏิบติหรื อสร้างงานที
                                        ํ                                              ั
ตนเองสนใจ ในขณะเดียวกันก็เปิ ดโอกาสให้สัมผัสและแลกเปลียนความรู ้กบสมาชิ กในกลุ่ม ผูเ้ รี ยนจะสร้าง
                                                                 ั
องค์ความรู ้ขึนด้วยตนเองจากการปฏิบติงานทีมีความหมายต่อตนเอง
                                  ั

ครู ผ้ ูสอนจะต้ องสร้ างให้ เกิดองค์ ประกอบครบทัง 3 ประการ คือ

1) ให้ผเู ้ รี ยนได้ลงมือประกอบกิจกรรมด้วยตนเอง (ได้สร้างงาน) ตามความสนใจ ตามความชอบหรื อความ
ถนัด ของแต่ละบุคคล

2) ให้ผเู ้ รี ยนได้เรี ยนรู ้ภายใต้บรรยากาศและสภาพแวดล้อมในการเรี ยนรู ้ทีดี

3) มีเครื องมืออุปกรณ์ในการประกอบกิจกรรมการเรี ยนรู ้ทีเหมาะสม

                                                         ั
        สําหรับการนําทฤษฎี Constructionism มาประยุกต์ใช้กบการเรี ยนการสอนปกตินน ผมมองว่าครู
                                                                              ั
สามารถประยุกต์ใช้ได้ง่ายในวิชาทีมีการปฏิบติหรื อวิชาทีต้องการฝึ กทักษะ โดยแยกแยะได้ 3 ลักษณะ คือ
                                         ั

    •   ประยุกต์ใช้บางส่ วน กล่าวคือ นําทฤษฎี Constructionism มาประยุกต์ใช้เป็ นครังคราว โดยเลือกให้
        เหมาะสมกับวัตถุประสงค์และเนือหา
21

    •   ประยุกต์ใช้ในชัวโมงปฏิบติเต็มเวลา กล่าวคือ นําทฤษฎี Constructionism มาประยุกต์ใช้ในชัวโมง
                                    ั
               ั ั                                           ั                               ั
        ปฏิบติทงหมดของวิชานัน โดยครู ให้ผเู ้ รี ยนลงมือปฏิบติและเชือมโยงความรู ้ให้สัมพันธ์กบทฤษฎีที
        เรี ยน
    •   ประยุกต์ใช้ทงวิชา กล่าวคือ นําทฤษฎี Constructionism มาประยุกต์ใช้ในการเรี ยนการสอนทังวิชา
                       ั
        ซึ งนับว่าเป็ นวิธีทีดีหากปฏิบติได้จริ ง เพราะการเปลียนแปลงความคิดและทัศนคติของผูเ้ รี ยนนัน
                                      ั
        จะต้องอาศัยระยะเวลานานพอสมควรและจะต้องทําอย่างต่อเนืองจึงจะเห็นผล

        อย่างไรก็ตามข้าพเจ้าว่า การจะทําให้เกิดกระบวนเรี ยนรู ้ตามทฤษฎี Constructionismนันไม่ยากนัก
เพราะเมือมีการเริ มต้นแล้วการเรี ยนรู ้จะเกิดขึนเองโดยอัตโนมัติและมีพลังเพียงพอทีจะขับตัวเองให้ทางาน
                                                                                                ํ
สําเร็ จตามเป้ าหมาย(แต่ในระยะแรกนันจะต้องอาศัยเวลาในการเริ มต้นพอสมควร) ครู เองจะได้สัมผัสกับ
บรรยากาศการเรี ยนรู ้ ทีมี ชีวิตชี วา ผูเ้ รี ยนมีความสุ ขและมุ่งมันทีจะทํางานด้วยตนเองจนสําเร็ จและที น่ า
ประหลาดใจก็คือผลงานทีออกมาจะมีความหลากหลาย ท่านจะเห็นความคิดดีๆหรื อสิ งใหม่ๆทีเจริ ญงอกงาม
ขึน ดังนันการให้โอกาสในการเริ มต้นนันเป็ นสิ งทีสําคัญทีสุ ด ครู ผูสอนเพียงแค่เปิ ดความคิดและเปิ ดใจ
                                                                   ้
เพือให้โอกาสกับผูเ้ รี ยนได้สัมผัสกับสิ งเหล่านี ด้วยตัวของเขาเอง คอยอํานวยความสะดวกและควบคุ ม
กระบวนการเรี ยนรู ้ให้เป็ นไปตามกระบวนการดังทีกล่าวมาแล้วข้างต้นเท่านัน
การจัดเรียนเรียนรู้โดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ (Constructivism)
การจัดเรียนเรียนรู้โดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ (Constructivism)
การจัดเรียนเรียนรู้โดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ (Constructivism)
การจัดเรียนเรียนรู้โดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ (Constructivism)
การจัดเรียนเรียนรู้โดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ (Constructivism)
การจัดเรียนเรียนรู้โดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ (Constructivism)
การจัดเรียนเรียนรู้โดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ (Constructivism)
การจัดเรียนเรียนรู้โดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ (Constructivism)
การจัดเรียนเรียนรู้โดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ (Constructivism)
การจัดเรียนเรียนรู้โดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ (Constructivism)
การจัดเรียนเรียนรู้โดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ (Constructivism)
การจัดเรียนเรียนรู้โดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ (Constructivism)
การจัดเรียนเรียนรู้โดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ (Constructivism)
การจัดเรียนเรียนรู้โดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ (Constructivism)
การจัดเรียนเรียนรู้โดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ (Constructivism)
การจัดเรียนเรียนรู้โดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ (Constructivism)
การจัดเรียนเรียนรู้โดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ (Constructivism)
การจัดเรียนเรียนรู้โดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ (Constructivism)
การจัดเรียนเรียนรู้โดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ (Constructivism)
การจัดเรียนเรียนรู้โดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ (Constructivism)
การจัดเรียนเรียนรู้โดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ (Constructivism)
การจัดเรียนเรียนรู้โดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ (Constructivism)
การจัดเรียนเรียนรู้โดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ (Constructivism)
การจัดเรียนเรียนรู้โดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ (Constructivism)
การจัดเรียนเรียนรู้โดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ (Constructivism)
การจัดเรียนเรียนรู้โดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ (Constructivism)
การจัดเรียนเรียนรู้โดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ (Constructivism)
การจัดเรียนเรียนรู้โดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ (Constructivism)
การจัดเรียนเรียนรู้โดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ (Constructivism)
การจัดเรียนเรียนรู้โดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ (Constructivism)
การจัดเรียนเรียนรู้โดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ (Constructivism)
การจัดเรียนเรียนรู้โดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ (Constructivism)
การจัดเรียนเรียนรู้โดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ (Constructivism)
การจัดเรียนเรียนรู้โดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ (Constructivism)
การจัดเรียนเรียนรู้โดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ (Constructivism)
การจัดเรียนเรียนรู้โดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ (Constructivism)
การจัดเรียนเรียนรู้โดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ (Constructivism)
การจัดเรียนเรียนรู้โดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ (Constructivism)
การจัดเรียนเรียนรู้โดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ (Constructivism)
การจัดเรียนเรียนรู้โดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ (Constructivism)
การจัดเรียนเรียนรู้โดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ (Constructivism)
การจัดเรียนเรียนรู้โดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ (Constructivism)
การจัดเรียนเรียนรู้โดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ (Constructivism)
การจัดเรียนเรียนรู้โดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ (Constructivism)
การจัดเรียนเรียนรู้โดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ (Constructivism)
การจัดเรียนเรียนรู้โดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ (Constructivism)
การจัดเรียนเรียนรู้โดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ (Constructivism)
การจัดเรียนเรียนรู้โดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ (Constructivism)
การจัดเรียนเรียนรู้โดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ (Constructivism)
การจัดเรียนเรียนรู้โดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ (Constructivism)
การจัดเรียนเรียนรู้โดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ (Constructivism)
การจัดเรียนเรียนรู้โดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ (Constructivism)
การจัดเรียนเรียนรู้โดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ (Constructivism)
การจัดเรียนเรียนรู้โดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ (Constructivism)
การจัดเรียนเรียนรู้โดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ (Constructivism)
การจัดเรียนเรียนรู้โดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ (Constructivism)
การจัดเรียนเรียนรู้โดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ (Constructivism)
การจัดเรียนเรียนรู้โดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ (Constructivism)
การจัดเรียนเรียนรู้โดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ (Constructivism)
การจัดเรียนเรียนรู้โดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ (Constructivism)
การจัดเรียนเรียนรู้โดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ (Constructivism)
การจัดเรียนเรียนรู้โดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ (Constructivism)
การจัดเรียนเรียนรู้โดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ (Constructivism)
การจัดเรียนเรียนรู้โดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ (Constructivism)
การจัดเรียนเรียนรู้โดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ (Constructivism)
การจัดเรียนเรียนรู้โดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ (Constructivism)
การจัดเรียนเรียนรู้โดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ (Constructivism)
การจัดเรียนเรียนรู้โดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ (Constructivism)
การจัดเรียนเรียนรู้โดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ (Constructivism)
การจัดเรียนเรียนรู้โดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ (Constructivism)
การจัดเรียนเรียนรู้โดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ (Constructivism)
การจัดเรียนเรียนรู้โดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ (Constructivism)
การจัดเรียนเรียนรู้โดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ (Constructivism)
การจัดเรียนเรียนรู้โดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ (Constructivism)
การจัดเรียนเรียนรู้โดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ (Constructivism)
การจัดเรียนเรียนรู้โดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ (Constructivism)
การจัดเรียนเรียนรู้โดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ (Constructivism)

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

ใบงานที่ 1 เรื่อง รู้จักกับโปรแกรมเพ้นท์
ใบงานที่ 1   เรื่อง รู้จักกับโปรแกรมเพ้นท์ใบงานที่ 1   เรื่อง รู้จักกับโปรแกรมเพ้นท์
ใบงานที่ 1 เรื่อง รู้จักกับโปรแกรมเพ้นท์ณัฐพล บัวพันธ์
 
รายงานบำเพ็ญ4 4
รายงานบำเพ็ญ4 4รายงานบำเพ็ญ4 4
รายงานบำเพ็ญ4 4Wichai Likitponrak
 
แบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆแบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆNaphachol Aon
 
บันทึกการเยี่ยมชมนวัตกรรม
บันทึกการเยี่ยมชมนวัตกรรมบันทึกการเยี่ยมชมนวัตกรรม
บันทึกการเยี่ยมชมนวัตกรรมJirathorn Buenglee
 
คำอธิบายรายวิชา การใช้โปรแกรมสำนักงาน
คำอธิบายรายวิชา การใช้โปรแกรมสำนักงานคำอธิบายรายวิชา การใช้โปรแกรมสำนักงาน
คำอธิบายรายวิชา การใช้โปรแกรมสำนักงานsomdetpittayakom school
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 8
สุขฯ ม.2 หน่วย 8สุขฯ ม.2 หน่วย 8
สุขฯ ม.2 หน่วย 8supap6259
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงพัน พัน
 
กาพย์ยานี
กาพย์ยานีกาพย์ยานี
กาพย์ยานีkhorntee
 
การเขียนบรรณานุกรม
การเขียนบรรณานุกรมการเขียนบรรณานุกรม
การเขียนบรรณานุกรมSupaporn Khiewwan
 
ข้อสอบวิชาศิลปะ ม.3 ฉบับที่ 1 พร้อมเฉลย
ข้อสอบวิชาศิลปะ ม.3 ฉบับที่ 1 พร้อมเฉลยข้อสอบวิชาศิลปะ ม.3 ฉบับที่ 1 พร้อมเฉลย
ข้อสอบวิชาศิลปะ ม.3 ฉบับที่ 1 พร้อมเฉลยKhunnawang Khunnawang
 
ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียง
ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียงถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียง
ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียงkrupornpana55
 
ตัวอย่างกิตติกรรมประกาศ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างกิตติกรรมประกาศ เล่มโปรเจ็คตัวอย่างกิตติกรรมประกาศ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างกิตติกรรมประกาศ เล่มโปรเจ็คtumetr1
 
เทคนิคการสอนในศตวรรษที่21
เทคนิคการสอนในศตวรรษที่21เทคนิคการสอนในศตวรรษที่21
เทคนิคการสอนในศตวรรษที่21Prachyanun Nilsook
 
แผนการสอน (เพิ่มเติม)
แผนการสอน (เพิ่มเติม)แผนการสอน (เพิ่มเติม)
แผนการสอน (เพิ่มเติม)Kruthai Kidsdee
 
สรุปผลการประเมินความพึงพอใจ
สรุปผลการประเมินความพึงพอใจสรุปผลการประเมินความพึงพอใจ
สรุปผลการประเมินความพึงพอใจAnnop Phetchakhong
 
2562-2ประชุมผู้ปกครองงานวิชาการ.pptx
2562-2ประชุมผู้ปกครองงานวิชาการ.pptx2562-2ประชุมผู้ปกครองงานวิชาการ.pptx
2562-2ประชุมผู้ปกครองงานวิชาการ.pptxJessadarLuksoom
 
หัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบหัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบworapanthewaha
 
คำอุทานงานนำเสนอคำอุทาน
คำอุทานงานนำเสนอคำอุทานคำอุทานงานนำเสนอคำอุทาน
คำอุทานงานนำเสนอคำอุทานKu'kab Ratthakiat
 

Mais procurados (20)

ใบงานที่ 1 เรื่อง รู้จักกับโปรแกรมเพ้นท์
ใบงานที่ 1   เรื่อง รู้จักกับโปรแกรมเพ้นท์ใบงานที่ 1   เรื่อง รู้จักกับโปรแกรมเพ้นท์
ใบงานที่ 1 เรื่อง รู้จักกับโปรแกรมเพ้นท์
 
รายงานบำเพ็ญ4 4
รายงานบำเพ็ญ4 4รายงานบำเพ็ญ4 4
รายงานบำเพ็ญ4 4
 
แบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆแบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆ
 
บันทึกการเยี่ยมชมนวัตกรรม
บันทึกการเยี่ยมชมนวัตกรรมบันทึกการเยี่ยมชมนวัตกรรม
บันทึกการเยี่ยมชมนวัตกรรม
 
คำอธิบายรายวิชา การใช้โปรแกรมสำนักงาน
คำอธิบายรายวิชา การใช้โปรแกรมสำนักงานคำอธิบายรายวิชา การใช้โปรแกรมสำนักงาน
คำอธิบายรายวิชา การใช้โปรแกรมสำนักงาน
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 8
สุขฯ ม.2 หน่วย 8สุขฯ ม.2 หน่วย 8
สุขฯ ม.2 หน่วย 8
 
ข้อสอบพลศึกษาป.2
ข้อสอบพลศึกษาป.2ข้อสอบพลศึกษาป.2
ข้อสอบพลศึกษาป.2
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
กาพย์ยานี
กาพย์ยานีกาพย์ยานี
กาพย์ยานี
 
การเขียนบรรณานุกรม
การเขียนบรรณานุกรมการเขียนบรรณานุกรม
การเขียนบรรณานุกรม
 
ข้อสอบวิชาศิลปะ ม.3 ฉบับที่ 1 พร้อมเฉลย
ข้อสอบวิชาศิลปะ ม.3 ฉบับที่ 1 พร้อมเฉลยข้อสอบวิชาศิลปะ ม.3 ฉบับที่ 1 พร้อมเฉลย
ข้อสอบวิชาศิลปะ ม.3 ฉบับที่ 1 พร้อมเฉลย
 
ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียง
ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียงถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียง
ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียง
 
ตัวอย่างกิตติกรรมประกาศ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างกิตติกรรมประกาศ เล่มโปรเจ็คตัวอย่างกิตติกรรมประกาศ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างกิตติกรรมประกาศ เล่มโปรเจ็ค
 
เทคนิคการสอนในศตวรรษที่21
เทคนิคการสอนในศตวรรษที่21เทคนิคการสอนในศตวรรษที่21
เทคนิคการสอนในศตวรรษที่21
 
แผนการสอน (เพิ่มเติม)
แผนการสอน (เพิ่มเติม)แผนการสอน (เพิ่มเติม)
แผนการสอน (เพิ่มเติม)
 
สรุปผลการประเมินความพึงพอใจ
สรุปผลการประเมินความพึงพอใจสรุปผลการประเมินความพึงพอใจ
สรุปผลการประเมินความพึงพอใจ
 
แนวข้อสอบประโยคคำสั่ง
แนวข้อสอบประโยคคำสั่งแนวข้อสอบประโยคคำสั่ง
แนวข้อสอบประโยคคำสั่ง
 
2562-2ประชุมผู้ปกครองงานวิชาการ.pptx
2562-2ประชุมผู้ปกครองงานวิชาการ.pptx2562-2ประชุมผู้ปกครองงานวิชาการ.pptx
2562-2ประชุมผู้ปกครองงานวิชาการ.pptx
 
หัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบหัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบ
 
คำอุทานงานนำเสนอคำอุทาน
คำอุทานงานนำเสนอคำอุทานคำอุทานงานนำเสนอคำอุทาน
คำอุทานงานนำเสนอคำอุทาน
 

Destaque

Social Media (โซเชียลมีเดีย)
Social Media (โซเชียลมีเดีย)Social Media (โซเชียลมีเดีย)
Social Media (โซเชียลมีเดีย)Kanda Runapongsa Saikaew
 
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2555
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2555รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2555
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2555Nattapon
 
ตัวอย่างข้อสอบวิชาวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างข้อสอบวิชาวิทยาศาสตร์ตัวอย่างข้อสอบวิชาวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างข้อสอบวิชาวิทยาศาสตร์iamaomkitt
 
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 04
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 04แผนจัดการเรียนรู้ที่ 04
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 04jirupi
 
แผนการสอนปรับพื้นฐานม.4 การเคลื่อนที่
แผนการสอนปรับพื้นฐานม.4 การเคลื่อนที่แผนการสอนปรับพื้นฐานม.4 การเคลื่อนที่
แผนการสอนปรับพื้นฐานม.4 การเคลื่อนที่เกษรา จุ้งลก
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 2 ชุดที่ 2
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 2 ชุดที่ 2ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 2 ชุดที่ 2
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 2 ชุดที่ 2คุณครูพี่อั๋น
 
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)Miss.Yupawan Triratwitcha
 
การเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย
การเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัยการเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย
การเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัยBenjapron Seesukong
 
ข้อสอบตามตัวชี้วัด คณิตศาสตร์ ม3ภาคเรียนที1
ข้อสอบตามตัวชี้วัด คณิตศาสตร์ ม3ภาคเรียนที1ข้อสอบตามตัวชี้วัด คณิตศาสตร์ ม3ภาคเรียนที1
ข้อสอบตามตัวชี้วัด คณิตศาสตร์ ม3ภาคเรียนที1ทับทิม เจริญตา
 
การวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัย
การวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัยการวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัย
การวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัยTupPee Zhouyongfang
 
ข้อสอบตามตัวชี้วัดคณิตศาสตร์ ม3ภาคเรียนที2
ข้อสอบตามตัวชี้วัดคณิตศาสตร์ ม3ภาคเรียนที2ข้อสอบตามตัวชี้วัดคณิตศาสตร์ ม3ภาคเรียนที2
ข้อสอบตามตัวชี้วัดคณิตศาสตร์ ม3ภาคเรียนที2ทับทิม เจริญตา
 
ตัวอย่างการสร้างข้อสอบ
ตัวอย่างการสร้างข้อสอบตัวอย่างการสร้างข้อสอบ
ตัวอย่างการสร้างข้อสอบwanchalerm sotawong
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 1 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 1 ชุดที่ 1ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 1 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 1 ชุดที่ 1คุณครูพี่อั๋น
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 1 ชุดที่ 2
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 1 ชุดที่ 2ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 1 ชุดที่ 2
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 1 ชุดที่ 2คุณครูพี่อั๋น
 
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Designตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Designคุณครูพี่อั๋น
 

Destaque (20)

Social Media (โซเชียลมีเดีย)
Social Media (โซเชียลมีเดีย)Social Media (โซเชียลมีเดีย)
Social Media (โซเชียลมีเดีย)
 
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2555
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2555รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2555
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2555
 
ตัวอย่างข้อสอบวิชาวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างข้อสอบวิชาวิทยาศาสตร์ตัวอย่างข้อสอบวิชาวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างข้อสอบวิชาวิทยาศาสตร์
 
Thai socialmedia
Thai socialmediaThai socialmedia
Thai socialmedia
 
หน้าปก
หน้าปกหน้าปก
หน้าปก
 
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 04
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 04แผนจัดการเรียนรู้ที่ 04
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 04
 
Social media with Thailand
Social media with ThailandSocial media with Thailand
Social media with Thailand
 
แผนการสอนปรับพื้นฐานม.4 การเคลื่อนที่
แผนการสอนปรับพื้นฐานม.4 การเคลื่อนที่แผนการสอนปรับพื้นฐานม.4 การเคลื่อนที่
แผนการสอนปรับพื้นฐานม.4 การเคลื่อนที่
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 2 ชุดที่ 2
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 2 ชุดที่ 2ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 2 ชุดที่ 2
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 2 ชุดที่ 2
 
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
 
รวมแนวข้อสอบกรุข้อสอบผู้บริหาร
รวมแนวข้อสอบกรุข้อสอบผู้บริหารรวมแนวข้อสอบกรุข้อสอบผู้บริหาร
รวมแนวข้อสอบกรุข้อสอบผู้บริหาร
 
การเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย
การเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัยการเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย
การเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย
 
ข้อสอบตามตัวชี้วัด คณิตศาสตร์ ม3ภาคเรียนที1
ข้อสอบตามตัวชี้วัด คณิตศาสตร์ ม3ภาคเรียนที1ข้อสอบตามตัวชี้วัด คณิตศาสตร์ ม3ภาคเรียนที1
ข้อสอบตามตัวชี้วัด คณิตศาสตร์ ม3ภาคเรียนที1
 
การวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัย
การวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัยการวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัย
การวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัย
 
I30201 2-แผนการสอน
I30201 2-แผนการสอนI30201 2-แผนการสอน
I30201 2-แผนการสอน
 
ข้อสอบตามตัวชี้วัดคณิตศาสตร์ ม3ภาคเรียนที2
ข้อสอบตามตัวชี้วัดคณิตศาสตร์ ม3ภาคเรียนที2ข้อสอบตามตัวชี้วัดคณิตศาสตร์ ม3ภาคเรียนที2
ข้อสอบตามตัวชี้วัดคณิตศาสตร์ ม3ภาคเรียนที2
 
ตัวอย่างการสร้างข้อสอบ
ตัวอย่างการสร้างข้อสอบตัวอย่างการสร้างข้อสอบ
ตัวอย่างการสร้างข้อสอบ
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 1 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 1 ชุดที่ 1ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 1 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 1 ชุดที่ 1
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 1 ชุดที่ 2
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 1 ชุดที่ 2ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 1 ชุดที่ 2
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 1 ชุดที่ 2
 
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Designตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design
 

Semelhante a การจัดเรียนเรียนรู้โดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ (Constructivism)

การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...Nattapon
 
Development of Blended Learning Model by Using Cognitive Tools to Develop Cri...
Development of Blended Learning Model by Using Cognitive Tools to Develop Cri...Development of Blended Learning Model by Using Cognitive Tools to Develop Cri...
Development of Blended Learning Model by Using Cognitive Tools to Develop Cri...Panita Wannapiroon Kmutnb
 
วิจัยเรื่องผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแก้ปัญห...
วิจัยเรื่องผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแก้ปัญห...วิจัยเรื่องผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแก้ปัญห...
วิจัยเรื่องผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแก้ปัญห...apiwat97
 
แบบรายงานการพัฒนานวัตกรรมการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามจุด
แบบรายงานการพัฒนานวัตกรรมการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามจุดแบบรายงานการพัฒนานวัตกรรมการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามจุด
แบบรายงานการพัฒนานวัตกรรมการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามจุดKrupol Phato
 
สรุปวิจัยเรื่องการพัฒนาสื่อแอนิเมชัน
สรุปวิจัยเรื่องการพัฒนาสื่อแอนิเมชันสรุปวิจัยเรื่องการพัฒนาสื่อแอนิเมชัน
สรุปวิจัยเรื่องการพัฒนาสื่อแอนิเมชันParishat Tanteng
 
apiwat act ppt
apiwat act pptapiwat act ppt
apiwat act pptapiwat97
 
วิจัยในชั้นเรียน ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแ...
วิจัยในชั้นเรียน ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแ...วิจัยในชั้นเรียน ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแ...
วิจัยในชั้นเรียน ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแ...apiwat97
 
Model of learning by social media
Model of learning by social mediaModel of learning by social media
Model of learning by social mediaKrit Chanthraphrom
 
ระดับครูมือใหม่1
ระดับครูมือใหม่1ระดับครูมือใหม่1
ระดับครูมือใหม่1Kiw E D
 
Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...
Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...
Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...Panita Wannapiroon Kmutnb
 
บทที่ 3 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพ
บทที่ 3 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพบทที่ 3 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพ
บทที่ 3 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพrubtumproject.com
 
เอกสารรายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ปี 2554
เอกสารรายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ปี 2554เอกสารรายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ปี 2554
เอกสารรายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ปี 2554pentanino
 
เอกสารรายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ปี 2554
เอกสารรายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ปี 2554เอกสารรายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ปี 2554
เอกสารรายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ปี 2554pentanino
 
การออกแบบการเรียนการสอน ห้องเรียนแห่งศตวรรษใหม่
การออกแบบการเรียนการสอน ห้องเรียนแห่งศตวรรษใหม่การออกแบบการเรียนการสอน ห้องเรียนแห่งศตวรรษใหม่
การออกแบบการเรียนการสอน ห้องเรียนแห่งศตวรรษใหม่Wichit Thepprasit
 
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
บทความเผยแพร่การวิจัย
บทความเผยแพร่การวิจัยบทความเผยแพร่การวิจัย
บทความเผยแพร่การวิจัยprachid007
 
Curriculum Planning
Curriculum PlanningCurriculum Planning
Curriculum PlanningChompri Ch
 

Semelhante a การจัดเรียนเรียนรู้โดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ (Constructivism) (20)

การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...
 
Development of Blended Learning Model by Using Cognitive Tools to Develop Cri...
Development of Blended Learning Model by Using Cognitive Tools to Develop Cri...Development of Blended Learning Model by Using Cognitive Tools to Develop Cri...
Development of Blended Learning Model by Using Cognitive Tools to Develop Cri...
 
วิจัยเรื่องผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแก้ปัญห...
วิจัยเรื่องผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแก้ปัญห...วิจัยเรื่องผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแก้ปัญห...
วิจัยเรื่องผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแก้ปัญห...
 
แบบรายงานการพัฒนานวัตกรรมการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามจุด
แบบรายงานการพัฒนานวัตกรรมการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามจุดแบบรายงานการพัฒนานวัตกรรมการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามจุด
แบบรายงานการพัฒนานวัตกรรมการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามจุด
 
สรุปวิจัยเรื่องการพัฒนาสื่อแอนิเมชัน
สรุปวิจัยเรื่องการพัฒนาสื่อแอนิเมชันสรุปวิจัยเรื่องการพัฒนาสื่อแอนิเมชัน
สรุปวิจัยเรื่องการพัฒนาสื่อแอนิเมชัน
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
apiwat act ppt
apiwat act pptapiwat act ppt
apiwat act ppt
 
วิจัยในชั้นเรียน ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแ...
วิจัยในชั้นเรียน ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแ...วิจัยในชั้นเรียน ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแ...
วิจัยในชั้นเรียน ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแ...
 
Model of learning by social media
Model of learning by social mediaModel of learning by social media
Model of learning by social media
 
ระดับครูมือใหม่1
ระดับครูมือใหม่1ระดับครูมือใหม่1
ระดับครูมือใหม่1
 
Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...
Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...
Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...
 
บทที่ 3 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพ
บทที่ 3 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพบทที่ 3 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพ
บทที่ 3 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพ
 
วิจัย
วิจัยวิจัย
วิจัย
 
เอกสารรายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ปี 2554
เอกสารรายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ปี 2554เอกสารรายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ปี 2554
เอกสารรายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ปี 2554
 
เอกสารรายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ปี 2554
เอกสารรายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ปี 2554เอกสารรายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ปี 2554
เอกสารรายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ปี 2554
 
แนวทาง Tok
แนวทาง Tokแนวทาง Tok
แนวทาง Tok
 
การออกแบบการเรียนการสอน ห้องเรียนแห่งศตวรรษใหม่
การออกแบบการเรียนการสอน ห้องเรียนแห่งศตวรรษใหม่การออกแบบการเรียนการสอน ห้องเรียนแห่งศตวรรษใหม่
การออกแบบการเรียนการสอน ห้องเรียนแห่งศตวรรษใหม่
 
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
บทความเผยแพร่การวิจัย
บทความเผยแพร่การวิจัยบทความเผยแพร่การวิจัย
บทความเผยแพร่การวิจัย
 
Curriculum Planning
Curriculum PlanningCurriculum Planning
Curriculum Planning
 

Mais de Nattapon

About Python
About PythonAbout Python
About PythonNattapon
 
มาตรฐานการศึกษา โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ปทุมธานี
มาตรฐานการศึกษา โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ปทุมธานีมาตรฐานการศึกษา โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ปทุมธานี
มาตรฐานการศึกษา โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ปทุมธานีNattapon
 
ใบความรู้ที่ 10 application calculator
ใบความรู้ที่ 10 application calculatorใบความรู้ที่ 10 application calculator
ใบความรู้ที่ 10 application calculatorNattapon
 
รายงานการวิจัยการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต (E-Learning) ...
รายงานการวิจัยการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต (E-Learning) ...รายงานการวิจัยการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต (E-Learning) ...
รายงานการวิจัยการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต (E-Learning) ...Nattapon
 
รายงานการวิจัยวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล ม.5/8
รายงานการวิจัยวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล ม.5/8รายงานการวิจัยวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล ม.5/8
รายงานการวิจัยวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล ม.5/8Nattapon
 
รายงานการวิจัยในชั้นเรียนเรื่องการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เ...
รายงานการวิจัยในชั้นเรียนเรื่องการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เ...รายงานการวิจัยในชั้นเรียนเรื่องการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เ...
รายงานการวิจัยในชั้นเรียนเรื่องการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เ...Nattapon
 
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556Nattapon
 
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556Nattapon
 
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556Nattapon
 
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556Nattapon
 
ใบความรู้ที่ 8 application paint pot2
ใบความรู้ที่ 8 application paint pot2ใบความรู้ที่ 8 application paint pot2
ใบความรู้ที่ 8 application paint pot2Nattapon
 
ใบความรู้ที่ 7 application paint pot
ใบความรู้ที่ 7 application paint potใบความรู้ที่ 7 application paint pot
ใบความรู้ที่ 7 application paint potNattapon
 
ใบความรู้ที่ 6 application talk to me
ใบความรู้ที่ 6 application talk to meใบความรู้ที่ 6 application talk to me
ใบความรู้ที่ 6 application talk to meNattapon
 
ใบความรู้ที่ 5 ส่วนประกอบของโปรแกรม mit app inventor
ใบความรู้ที่ 5 ส่วนประกอบของโปรแกรม mit app inventorใบความรู้ที่ 5 ส่วนประกอบของโปรแกรม mit app inventor
ใบความรู้ที่ 5 ส่วนประกอบของโปรแกรม mit app inventorNattapon
 
ใบความรู้ที่ 4 เริ่มต้นสร้างแอพลิเคชันด้วย mit app inventor
ใบความรู้ที่ 4 เริ่มต้นสร้างแอพลิเคชันด้วย mit app inventorใบความรู้ที่ 4 เริ่มต้นสร้างแอพลิเคชันด้วย mit app inventor
ใบความรู้ที่ 4 เริ่มต้นสร้างแอพลิเคชันด้วย mit app inventorNattapon
 
ใบความรู้ที่ 3 เริ่มต้นเกี่ยวกับ mit app inventor 2
ใบความรู้ที่ 3 เริ่มต้นเกี่ยวกับ mit app inventor 2ใบความรู้ที่ 3 เริ่มต้นเกี่ยวกับ mit app inventor 2
ใบความรู้ที่ 3 เริ่มต้นเกี่ยวกับ mit app inventor 2Nattapon
 
ใบความรู้ที่ 2 การวางแผนจัดทำ application
ใบความรู้ที่ 2 การวางแผนจัดทำ applicationใบความรู้ที่ 2 การวางแผนจัดทำ application
ใบความรู้ที่ 2 การวางแผนจัดทำ applicationNattapon
 
ใบความรู้ที่ 1 หลักการและขั้นตอนการพัฒนา application
ใบความรู้ที่ 1 หลักการและขั้นตอนการพัฒนา applicationใบความรู้ที่ 1 หลักการและขั้นตอนการพัฒนา application
ใบความรู้ที่ 1 หลักการและขั้นตอนการพัฒนา applicationNattapon
 
การติดตั้งโปรแกรม Microsoft visual studio 2010
การติดตั้งโปรแกรม Microsoft visual studio 2010การติดตั้งโปรแกรม Microsoft visual studio 2010
การติดตั้งโปรแกรม Microsoft visual studio 2010Nattapon
 

Mais de Nattapon (20)

Resume
ResumeResume
Resume
 
About Python
About PythonAbout Python
About Python
 
มาตรฐานการศึกษา โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ปทุมธานี
มาตรฐานการศึกษา โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ปทุมธานีมาตรฐานการศึกษา โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ปทุมธานี
มาตรฐานการศึกษา โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ปทุมธานี
 
ใบความรู้ที่ 10 application calculator
ใบความรู้ที่ 10 application calculatorใบความรู้ที่ 10 application calculator
ใบความรู้ที่ 10 application calculator
 
รายงานการวิจัยการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต (E-Learning) ...
รายงานการวิจัยการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต (E-Learning) ...รายงานการวิจัยการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต (E-Learning) ...
รายงานการวิจัยการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต (E-Learning) ...
 
รายงานการวิจัยวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล ม.5/8
รายงานการวิจัยวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล ม.5/8รายงานการวิจัยวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล ม.5/8
รายงานการวิจัยวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล ม.5/8
 
รายงานการวิจัยในชั้นเรียนเรื่องการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เ...
รายงานการวิจัยในชั้นเรียนเรื่องการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เ...รายงานการวิจัยในชั้นเรียนเรื่องการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เ...
รายงานการวิจัยในชั้นเรียนเรื่องการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนเครือข่ายอินเทอร์เ...
 
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
 
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556
 
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
 
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556
 
ใบความรู้ที่ 8 application paint pot2
ใบความรู้ที่ 8 application paint pot2ใบความรู้ที่ 8 application paint pot2
ใบความรู้ที่ 8 application paint pot2
 
ใบความรู้ที่ 7 application paint pot
ใบความรู้ที่ 7 application paint potใบความรู้ที่ 7 application paint pot
ใบความรู้ที่ 7 application paint pot
 
ใบความรู้ที่ 6 application talk to me
ใบความรู้ที่ 6 application talk to meใบความรู้ที่ 6 application talk to me
ใบความรู้ที่ 6 application talk to me
 
ใบความรู้ที่ 5 ส่วนประกอบของโปรแกรม mit app inventor
ใบความรู้ที่ 5 ส่วนประกอบของโปรแกรม mit app inventorใบความรู้ที่ 5 ส่วนประกอบของโปรแกรม mit app inventor
ใบความรู้ที่ 5 ส่วนประกอบของโปรแกรม mit app inventor
 
ใบความรู้ที่ 4 เริ่มต้นสร้างแอพลิเคชันด้วย mit app inventor
ใบความรู้ที่ 4 เริ่มต้นสร้างแอพลิเคชันด้วย mit app inventorใบความรู้ที่ 4 เริ่มต้นสร้างแอพลิเคชันด้วย mit app inventor
ใบความรู้ที่ 4 เริ่มต้นสร้างแอพลิเคชันด้วย mit app inventor
 
ใบความรู้ที่ 3 เริ่มต้นเกี่ยวกับ mit app inventor 2
ใบความรู้ที่ 3 เริ่มต้นเกี่ยวกับ mit app inventor 2ใบความรู้ที่ 3 เริ่มต้นเกี่ยวกับ mit app inventor 2
ใบความรู้ที่ 3 เริ่มต้นเกี่ยวกับ mit app inventor 2
 
ใบความรู้ที่ 2 การวางแผนจัดทำ application
ใบความรู้ที่ 2 การวางแผนจัดทำ applicationใบความรู้ที่ 2 การวางแผนจัดทำ application
ใบความรู้ที่ 2 การวางแผนจัดทำ application
 
ใบความรู้ที่ 1 หลักการและขั้นตอนการพัฒนา application
ใบความรู้ที่ 1 หลักการและขั้นตอนการพัฒนา applicationใบความรู้ที่ 1 หลักการและขั้นตอนการพัฒนา application
ใบความรู้ที่ 1 หลักการและขั้นตอนการพัฒนา application
 
การติดตั้งโปรแกรม Microsoft visual studio 2010
การติดตั้งโปรแกรม Microsoft visual studio 2010การติดตั้งโปรแกรม Microsoft visual studio 2010
การติดตั้งโปรแกรม Microsoft visual studio 2010
 

การจัดเรียนเรียนรู้โดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ (Constructivism)

  • 1. รายงานการวิจัย การจัดการเรี ยนรู ้โดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู ้ดวยตนเอง (Constructivism) ้ นายณัฐพล บัวอุไร กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้การงานอาชีพและเทคโนโลยี โรงเรี ยนเตรี ยมอุดมศึกษาพัฒนาการ ลําลูกกา สํานักงานเขตพืนทีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 4 สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขันพืนฐาน กระทรวงศึกษาธิการ
  • 2. รายงานการวิจัย การจัดการเรี ยนรู ้โดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู ้ดวยตนเอง (Constructivism) ้ นายณัฐพล บัวอุไร กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้การงานอาชีพและเทคโนโลยี โรงเรี ยนเตรี ยมอุดมศึกษาพัฒนาการ ลําลูกกา สํานักงานเขตพืนทีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 4 สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขันพืนฐาน กระทรวงศึกษาธิการ
  • 3.
  • 4. บทคัดย่ อ คําสําคัญ : Social Media, Constructivism, สื อสังคมออนไลน์, ทฤษฎีการสร้างองค์ความรู ้ดวยตนเอง ้ ณัฐพล บัวอุ ไ ร : การจัดการเรี ยนรู ้ โดยใช้ Social Media ตามทฤษฎี การสร้ างองค์ความรู ้ ด้วยตนเอง (Constructivism) โรงเรี ยนเตรี ยมอุดมศึกษาพัฒนาการ ลําลูกกา อ.ลําลูกกา จ.ปทุมธานี การวิจยครังนีเป็ นการวิจยเชิ งทดลอง มีแผนการวิจยแบบ One Group Pretest – Posttest Design โดย ั ั ั มีวตถุประสงค์ของการวิจย คือ 1) เปรี ยบเทียบผลสัมฤทธิ ก่อนเรี ยนและหลังเรี ยนวิชาการสร้างงานสื อผสม ั ั ระดับชันมัธยมศึกษาปี ที 4 ทีจัดการเรี ยนการสอนโดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู ้ (Constructivism) 2) ศึกษาความสามารถในการสร้างองค์ความรู ้ ของนักเรี ยนระดับชันมัธยมศึกษาปี ที 4 ที จัดการเรี ยนการสอนโดยใช้ Social Media ตามทฤษฎี การสร้ างองค์ความรู ้ (Constructivism) 3) ศึกษา ความสามารถในการใช้ Social Media ในการเรี ยนรู ้ ของนักเรี ยนระดับชันมัธยมศึกษาปี ที 4 ทีจัดการเรี ยน การสอนโดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู ้ (Constructivism) 4) ศึกษาความพึงพอใจต่อ การจัดการเรี ยนการสอนการสร้างงานสื อผสม ระดับชันมัธยมศึกษาปี ที 4 ทีสอนโดยใช้ Social Media ตาม ทฤษฎีการสร้างองค์ความรู ้ (Constructivism) และ 5) เปรี ยบเทียบความชอบของนักเรี ยนเกี ยวกับการเรี ยน ด้วย Social Media 4 ชนิ ด ได้แก่ Wordpress, Facebook, Twitter, Slideshare และ Youtube โดยกลุ่มตัวอย่าง ทีใช้ในการวิจยเป็ นนักเรี ยนชันมัธยมศึกษาปี ที 4/1 โรงเรี ยนเตรี ยมอุดมศึกษาพัฒนาการ ลําลูกกา ภาคเรี ยนที ั 2 ปี การศึกษา 2553 โดยใช้วธีการสุ่ มตัวอย่างแบบง่าย (Simple Random Sampling) ิ เครื องมือทีใช้ในการวิจยประกอบด้วย 1) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ ทางการเรี ยนวิชาการสร้างงาน ั สื อผสม 2) แบบประเมินการสร้างองค์ความรู ้ 3) แบบประเมินความสามารถในการใช้ Social Media ในการ เรี ยนรู ้ 4) แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรี ยนทีมีต่อวิธีสอนโดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้าง องค์ความรู ้ (Constructivism) การวิเคราะห์ขอมูลใช้สถิติ Non – Parametric แบบ The Wilcoxon Matched ้ Pairs Signed Ranks Test และ The Friedman Test ผลการวิจยพบว่า ั 1. ผลสัมฤทธิ ทางการเรี ยนวิชาการสร้างงานสื อผสม ทีเรี ยนโดยการใช้ Social Media ตามทฤษฎีการ สร้างองค์ความรู ้ (Constructivism) มีความแตกต่างกัน อย่างมีนยสําคัญทางสถิติทีระดับ .05 ั
  • 5. ่ 2. นักเรี ยนส่ วนใหญ่มีระดับความสามารถในการสร้างองค์ความรู ้อยูในเกณฑ์ดี เป็ นจํานวน 36 คน คิดเป็ นร้ อยละ 83.72 ของนักเรี ยนทังหมด และอยู่ในเกณฑ์ปานกลาง จํานวน 7 คน คิดเป็ นร้ อยละ 16.28 ่ และค่าเฉลียรวมเท่ากับ 15.81 แสดงว่านักเรี ยนมีความสามารถในการสร้างองค์ความรู ้อยูในระดับดี 3. นักเรี ยนส่ วนใหญ่จานวน 30 คน มีความสามารถในการใช้ Social Media ในการศึกษาเรี ยนรู ้อยู่ ํ ในระดับดี คิดเป็ นร้ อยละ 69.77 และนักเรี ยนจํานวน 13 คน มีความสามารถในการใช้ Social Media ใน การศึกษาเรี ยนรู ้ อยูในระดับปานกลาง คิดเป็ นร้อยละ 30.23 และนักเรี ยนทุกคนมีค่าเฉลียรวมความสามารถ ่ ่ ในการใช้ Social Media ในการศึกษาเรี ยนรู ้เท่ากับ 20.09 ซึ งอยูในระดับดี เมือเทียบกับเกณฑ์ทีกําหนด 4. นักเรี ยนชันมัธยมศึกษาปี ที 4/1 ทีเรี ยนวิชาการสร้างงานสื อผสม เรื องการพัฒนาเว็บไซต์ดวยชุ ด ้ พัฒนาเว็บสําเร็ จรู ป (CMS) ทีจัดการเรี ยนการสอนโดยใช้ Social Media ตามทฤษฎี การสร้ างองค์ความรู ้ ่ (Constructivism) มีระดับความพอพอใจอยูในระดับมาก ( =3.51, S.D. = 0.77) 5. นักเรี ยนมีความชอบ Social Media ทัง 5 ชนิ ด ได้แก่ Wordpress, Facebook, Twitter, Slideshare และ Youtube แตกต่างกันอย่างมีนยสําคัญทางสถิติทีระดับ .05 ั
  • 6. สารบัญ หน้า บทคัดย่ อ ก สารบัญ ค สารบัญตาราง ง บทที 1 บทนํา 1 ทีมาและความสําคัญของปั ญหา 1 วัตถุประสงค์การวิจย ั 4 ขอบเขตการวิจย ั 4 นิยามศัพท์ 5 บทที 2 การตรวจเอกสาร 7 Social Media 7 ทฤษฎีการสร้างองค์ความรู ้ (Constructivism) 15 การจัดการเรี ยนรู ้โดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู ้ 22 งานวิจยทีเกียวข้อง ั 32 บทที 3 วิธีดําเนินการวิจัย 34 ขันเตรี ยมการ 34 ขันดําเนิ นการทดลอง 43 ขันวิเคราะห์ขอมูลและอภิปรายผล ้ 45 บทที 4 ผลการวิเคราะห์ ข้อมูล 48 บทที 5 สรุ ปผล และข้ อเสนอแนะ 60 สรุ ปผลการวิจย ั 61 ข้อเสนอแนะ 62 บรรณานุกรม 63 ภาคผนวก 64 คะแนนนักเรี ยน 65 แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิทางการเรี ยน 68 แบบประเมินความสามารถในการสร้างองค์ความรู ้ 76 แบบประเมินความสามารถในการใช้ Social Media 80 แบบสอบถามความพึงพอใจ 85 ตัวอย่างเว็บบล็อก 88
  • 7. สารบัญตาราง หน้า ตารางที 1 เกณฑ์การประเมินความสามารถในการสร้างองค์ความรู ้ 37 ตารางที 2 เกณฑ์การประเมินความสามารถในการใช้ Social Media ในการศึกษา 39 ตารางที 3 เกณฑ์การกําหนดค่าระดับความคิดเห็น 42 ตารางที 4 เกณฑ์การแปลความหมายของค่าความคิดเห็น 43 ตารางที 5 การวิเคราะห์ผลสัมฤทธิ ก่อนและหลังเรี ยนวิชาการสร้างงานสื อผสม ทีสอนโดยใช้ Social Media ในการจัดการเรี ยนรู ้ ตามทฤษฎี การสร้ างองค์ความรู ้ (Constructivism) โดยใช้ สถิติ Non-Parametric แบบ The Wilcoxon Match Pairs Signed Ranks Test 49 ตารางที 6 การวิเคราะห์ความสามารถในการสร้างองค์ความรู ้ดวยตนเอง ้ 52 ตารางที 7 การวิเคราะห์ความสามารถในการใช้ Social Media ในการศึกษาเรี ยนรู ้ 54 ตารางที 8 ระดับความพึงพอใจของนักเรี ยนชันมัธยมศึกษาปี ที 4/1 ทีมีต่อการจัดการเรี ยนการ สอนโดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู ้ (Constructivism) 56 ตารางที 9 วิเคราะห์ความชอบของนักเรี ยนเกียวกับการเรี ยนด้วย Social Media 4 ชนิ ด ได้แก่ Wordpress, Facebook, Twitter, Slideshare และ Youtube โดยใช้สถิติ Non – Parametric แบบ The Friedman Test 57
  • 8. บทที 1 บทนํา ทีมาและความสํ าคัญของปัญหา ปั จจุบนเทคโนโลยีสารสนเทศและอินเทอร์ เน็ตได้เข้ามามีบทบาทต่อการดําเนิ นชี วิตของเรามากขึน ั นับตังแต่ตืนขึนมา เราอาจไม่รู้สึกตัวว่าอินเทอร์ เน็ตกลายเป็ นปั จจัยทีสําคัญต่อการดํารงชี วิตในยุคทีข้อมูล ข่ า วสารมี ค วามสํ า คัญ คนหันมาบริ โ ภคข้อ มู ล ข่ า วสารกันมากขึ น นอกจากเทคโนโลยีอิ น เทอร์ เ น็ ต ที เปรี ยบเสมือนถนนสําหรับการเข้าไปถึ งข้อมูลทีต้องการ เรายังต้องการเครื องมือทีจะสามารถสร้ างเนื อหา และข้อมูลต่างๆ ไว้รองรับการเข้าถึงซึ งนันก็คือเทคโนโลยีเว็บไซต์ทีเป็ นตัวกลางคอยให้ขอมูลต่างๆ แก่ผใช้ ้ ู้ โดยการพัฒนาของเทคโนโลยีอินเทอร์ เน็ตและเว็บไซต์ได้ถูกเปลียนแปลงจากเดิมไปมาก Wikipedia (www, 2011) ได้แบ่งลักษณะการพัฒนาเทคโนโลยีได้เป็ น 3 ยุค คือ ั ้ 1. ยุคเว็บ 1.0 (2537 – 2547) เน้นการนําเสนอเนื อหาให้กบผูใช้งานเพียงทางเดียว ไม่เปิ ดโอกาสให้ ผูใช้งานมีส่วนร่ วมกับเนื อหา ผูทีพัฒนาเว็บไซต์จะเป็ นผูกาหนดเนื อหาเพียงผูเ้ ดี ยวและความเร็ วเฉลี ยของ ้ ้ ้ ํ อินเทอร์ เน็ตในยุคเว็บ 1.0 คือ 50 Kbps 2. ยุคเว็บ 2.0 (2547 – 2552) มีลกษณะการทํางานในรู ปแบบของเว็บไซต์ทีเป็ นเครื อข่ายทางสังคม ั (Social Network) เน้นการมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างผูใช้งานทีอยูในเครื อข่ายหรื อกลุ่มบุคคลทีมีความสนใจใน ้ ่ เรื องเดี ยวกัน โดยเปิ ดโอกาสให้ผูใช้งานทุ ก คนมี ส่ วนร่ วมในการจัดการเนื อหา มี การแลกเปลี ยนข้อมู ล ้ ระหว่างกัน จึงก่อให้เกิดสังคมออนไลน์ทางความรู ้ทีประกอบไปด้วยองค์ความรู ้ใหม่ๆ มากมาย มีคุณสมบัติ ทีเรี ยกว่า Rich Internet Application (RIA) ซึ งเป็ นเทคโนโลยีทีทําให้เว็บไซต์มีประสิ ทธิ ภาพการทํางาน เทียบเท่ากับแอพลิเคชันทัวๆไป (Desktop Application) โดยจะมีลกษณะหน้าตา (User Interface) ทีสวยงาม ั มากขึน ตัวอย่างเว็บไซต์ในยุคเว็บ 2.0 ก็คือเว็บบล็อก (Weblog) สารานุ กรมออนไลน์ (Wiki) เป็ นต้น โดย ความเร็ วเฉลียของอินเทอร์ เน็ตในยุคนีคือ 1 Mbps 3. ยุคเว็บ 3.0 (2553 เป็ นต้นไป) เป็ นการพัฒนาเว็บไซต์ให้เหมือนมีความฉลาดเทียม (Artificial intelligence) โดยสามารถเรี ยนรู ้พฤติกรรมของผูใช้งานเว็บไซต์ได้ ใช้ขอมูลบางส่ วนเพืออธิ บายความหมาย ้ ้ ของข้อมูลในส่ วนใหญ่ (Tag) เว็บไซต์ในยุคเว็บ 3.0 นันกล่าวไว้ว่าเป็ นการพัฒนาต่อมาจากยุคเว็บ 2.0
  • 9. 2 หลังจากเว็บไซต์ก ลายเป็ นเครื อข่ายสังคมออนไลน์ขนาดใหญ่ ดัง นันเนื อหาและข้อมู ลต่างๆ จึ งมากขึ น ตามมาด้วย ก่อนให้เกิ ดการพัฒนาเว็บไซต์ทีจะสามารถตอบสนองความต้องการในการบริ โภคข้อมูลที มี ประสิ ทธิ ภาพมากขึน เนื องจากเรามีขอมูลมากมายในเว็บไซต์ จึงต้องเกิดการวิเคราะห์และคัดแยกข้อมูลให้ ้ ตรงกับสิ งทีผูใช้งานต้องการมากทีสุ ด โดยตัวอย่างของลักษณะเว็บไซต์ในยุค 3.0 นันก็คือ Sematic Web ้ โดยความเร็ วอินเทอร์ เน็ตในยุคนีคือ 2.0 Mbps สื อเนื องจากการทีความเจริ ญก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีได้เข้ามามีบทบาทสําคัญต่อ การดําเดิ นงาน ทังการบริ หารและการจัดการของหน่ วยงานทางการศึ กษา โดยเฉพาะอย่างยิงเทคโนโลยี คอมพิวเตอร์ และอินเทอร์ เน็ตเป็ นสิ งจําเป็ นทีทุกหน่ วยงานต้องจัดหามาใช้ในการดําเนิ นงาน เพราะจะช่วย ทําให้การบริ หารและการจัดการทางการศึกษาเป็ นไปอย่างสะดวก รวดเร็ ว มีประสิ ทธิ ภาพและทันต่อการ เปลี ยนแปลง ดังนันบุ คลากรทางการศึ ก ษาจึ ง ต้องมี ค วามรู ้ ความสามารถ มี ทกษะ และมี ค วามเข้าใจใน ั กระบวนการทํางานและการใช้งานคอมพิวเตอร์ และอินเทอร์ เน็ต สามารถนําไปประยุกต์ใช้ในการบริ หาร การจัดการศึกษา และทีสําคัญคือการนําไปใช้ในการจัดการเรี ยนการสอนได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ ทังนี คอมพิวเตอร์ ได้เข้ามามี บทบาทในการศึ กษามากขึนเรื อยๆ นับแต่เริ มใช้เพือการศึ กษา เช่ น การศึกษาการเรี ยนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ การศึกษาการออกแบบแผงวงจรอิเล็กทรอนิกส์ อีกทังยังได้พฒนา ั ให้มีความสามารถในการสื อสารผ่านระบบเครื อข่าย ระบบคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน (Computer Assisted Instruction : CAI) และหนังสื ออิเล็กทรอนิกส์ (EBook) แต่ปัญหาของการใช้เครื องมือดังกล่าว คือ การไม่ได้ การตอบรับจากนักเรี ยน ไม่ส่งเสริ มให้นกเรี ยนเกิ ดความสนใจใฝ่ เรี ยนรู ้ อี กทังนักเรี ยนสามารถเข้าถึ งสื อ ั เหล่านันได้ยาก เพราะเป็ นสื อทีไม่สามารถใช้งานได้บนระบบเครื อข่ายอินเทอร์ เน็ต ดังนันการพัฒนาสื อเพือ ส่ งเสริ มการเรี ยนรู ้ของนักเรี ยนในปั จจุบน จึงควรเป็ นสื อออนไลน์ทีนักเรี ยนสามารถเข้าถึงและเรี ยนรู ้ได้จาก ั ทุกหนทุกแห่ งหรื อทุกสถานที ซึ งสื อทีได้รับความนิ ยมและนักเรี ยนสามารถเข้าถึงได้ง่ายในปั จจุบนจึงเป็ น ั สื อประเภท Social Media และเว็บไซต์ แต่การทีจะนําสื อ Social Media และสื อออนไลน์ต่างๆ มาใช้ในการ จัดการเรี ยนการสอนได้นน สิ งสําคัญคือครู ผสอนจะต้องรู ้ เข้าใจ และสามารถใช้สือเหล่านันได้เป็ นอย่างดี ั ู้ ั ั สามารถพัฒนาผลงาน สื อ และเนือหา เพือเผยแพร่ ให้กบนักเรี ยนได้เรี ยนรู ้ และต้องมีปฏิสัมพันธ์กบนักเรี ยน อยู่เสมอๆ เช่ นการตังประเด็ นคํา ถาม การตอบคํา ถามข้อสงสั ย การติ ดตามผลงาน การให้ค า แนะนํา ที ํ เหมาะสม นันคือจะต้องมีการพัฒนาครู ให้มีความรู ้ ความสามารถในการใช้ Social Media ในการจัดการเรี ยน การสอนได้นนเอง ั
  • 10. 3 โดยในหลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขันพืนฐาน 2551 ได้กาหนดไว้อย่างชัดเจนเกียวกับจุดมุ่งหมาย ํ ทีต้องการให้เกิดกับผูเ้ รี ยนและสมรรถนะสําคัญของผูเ้ รี ยนในด้านความสามารถในการคิด โดยให้ผูเ้ รี ยนมี ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การแก้ปัญหา การใช้เทคโนโลยี เพือนําไปสู่ การสร้ าง องค์ความรู ้หรื อสารสนเทศเพือการตัดสิ นใจเกียวกับตนเองและสังคมได้อย่างเหมาะสม โดยเน้นผูเ้ รี ยนเป็ น สําคัญ ซึ งสอดคล้องกับทฤษฎี การสร้ างองค์ความรู ้ (Constructivism) หรื อเรี ยกอี กชื อหนึ งว่าทฤษฎี การ เรี ยนรู ้ พุทธิ ปัญญานิ ยม มีหลักการทีสําคัญว่า ในการเรี ยนรู ้ ผูเ้ รี ยนจะต้องเป็ นผูกระทํา (active) และสร้ าง ้ ่ ความรู ้ (สุ รางค์ โค้วตระกูล, 2552: 210) โดยเชื อว่าผูเ้ รี ยนมีความสามารถพัฒนาความรู ้ของตนเองอยูแล้ว (ชาตรี เกิดธรรม, 2542: 27 อ้างถึงใน วีระศักดิ เดือนแจ่ม, 2548: 3) มนุ ษย์มีศกยภาพในการสร้างความรู ้ดวย ั ้ ตนเองเมือได้มีปฏิ สัมพันธ์ กบสิ งต่างๆ ทีอยู่รอบตัว โดยการใช้ความรู ้ และประสบการณ์ เดิ มที มีอยู่ สร้ าง ั ความหมายของประสบการณ์ ใหม่ แต่เนื องจากมนุ ษย์แต่ละคนมีพฒนาการทางสติปัญญาทีแตกต่างกัน มี ั ความรู ้ และประสบการณ์ เ ดิ ม ที ไม่ เ หมื อนกัน มี ค วามสนใจที แตกต่ า งกัน มี ค วามสามารถในการแปล ความหมายประสบการณ์ ไม่เท่ากัน จึ งทําให้มนุ ษย์แต่ละคนสร้ างความรู ้ ได้แตกต่างกัน มี พฒนาการทาง ั ความรู ้ความเข้าใจทีแตกต่างกัน แม้จะได้รับประสบการณ์ทีเหมือนกัน (สุ จินต์ เลียงจรู ญรัตน์, 2543) ทฤษฎี ่ ั คอนสตรัคติวซึมกล่าวไว้วา การมีปฏิสัมพันธ์กนของมนุษย์จะทําให้มนุษย์ได้ปรับเปลียนความรู ้ ความเข้าใจ ิ ของตนเองให้มีความสมเหตุสมผลยิงขึน และในสภาพทีเป็ นจริ งนันความรู ้ เป็ นสหวิทยาการ มนุ ษย์สร้ าง ั ความรู ้และนําความรู ้ไปใช้ในชีวตประจําวันในลักษณะทีสาขาวิชาต่างๆ มีความสัมพันธ์กน ิ จากความสําคัญของ Social Media ในการจัดการเรี ยนการสอนทีจะช่วยให้ผเู ้ รี ยนเกิดการเรี ยนรู ้ได้ อย่างมีประสิ ทธิ ภาพและปลูกฝังให้ผเู ้ รี ยนรู ้จกการใช้เทคโนโลยีเพือช่วยให้เกิดการเรี ยนรู ้ และหลักการตาม ั ทฤษฎีการสร้างองค์ความรู ้ ทีจะช่วยดึงความสามารถและประสบการณ์ออกมาเป็ นความรู ้ทีถูกต้อง ผูวิจยจึง ้ ั มีความสนใจทีจะทําการวิจยเรื องการจัดการเรี ยนการสอนโดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ ั ความรู ้ (Constructivism) เพือส่ งเสริ มการใช้เทคโนโลยีในเชิ งสร้ างสรรค์ และเกิดประโยชน์ต่อการเรี ยนรู ้ ของตนเอง อีกทังยังช่วยพัฒนากระบวนการคิดวิเคราะห์ และสังเคราะห์ของนักเรี ยนให้มีประสิ ทธิ ภาพอีก ด้วย
  • 11. 4 วัตถุประสงค์ การวิจัย 1. เปรี ยบเทียบผลสัมฤทธิ ก่อนเรี ยนและหลังเรี ยนวิชาการสร้างงานสื อผสม ระดับชันมัธยมศึกษาปี ที 4 ทีจัดการเรี ยนการสอนโดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู ้ (Constructivism) 2. ศึกษาความสามารถในการสร้างองค์ความรู ้ ของนักเรี ยนระดับชันมัธยมศึกษาปี ที 4 ทีจัดการเรี ยน การสอนโดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู ้ (Constructivism) 3. ศึกษาความสามารถในการใช้ Social Media ในการเรี ยนรู ้ ของนักเรี ยนระดับชันมัธยมศึกษาปี ที 4 ทีจัดการเรี ยนการสอนโดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู ้ (Constructivism) 4. ศึกษาความพึงพอใจต่อการจัดการเรี ยนการสอนการสร้างงานสื อผสม ระดับชันมัธยมศึกษาปี ที 4 ทีสอนโดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู ้ (Constructivism) 5. เปรี ยบเทียบความชอบของนักเรี ยนเกียวกับการเรี ยนด้วย Social Media 4 ชนิ ด ได้แก่ Wordpress, Facebook, Twitter, Slideshare และ Youtube ขอบเขตของการวิจัย 1. ประชากรและกลุ่มตัวอย่ าง ประชากรคื อนักเรี ยนระดับชันมัธยมศึ กษาปี ที 4 โรงเรี ยนเตรี ยมอุ ดมศึ กษาพัฒนาการ ลําลูกกา ปี การศึกษา 2553 จํานวน 3 ห้องเรี ยน รวมนักเรี ยนทังหมด 133 คน กลุ่มตัวอย่างคือนักเรี ยนระดับชันมัธยมศึกษาปี ที 4 โรงเรี ยนเตรี ยมอุดมศึกษาพัฒนาการ ลํา ลูกกา ปี การศึกษา 2553 ทีได้จากการสุ่ มห้องเรี ยนอย่างง่าย (Simple Random Sampling) มา 1 ห้องเรี ยน 2. ตัวแปรทีศึกษา ตัวแปรทีศึกษาสําหรับการวิจยในครังนีประกอบด้วย ั 2.1 ตัวแปรจัดกระทํา คือ การจัดการเรี ยนการสอนโดยใช้ Social Media ตามทฤษฎี การ สร้างองค์ความรู ้
  • 12. 5 2.2 ตัวแปรตาม ได้แก่ 2.2.1 ผลสัมฤทธิ ทางการเรี ยนวิชาการสร้างงานสื อผสม 2.2.2 ความสามารถในการสร้างองค์ความรู ้ 2.2.3 ความสามารถในการใช้เครื องมือ Social Media 2.2.4 ความพึงพอใจต่อการเรี ยนวิชาการสร้างงานสื อผสม 3. เนือหาทีใช้ ทดลอง เนือหาทีนํามาทดลอง คือ เนือหาวิชาการสร้างงานสื อผสม เรื องการพัฒนาเว็บไซต์ดวยชุด ้ พัฒนาเว็บสําเร็ จรู ป (Joomla) 4. ระยะเวลาทีใช้ ในการทดลอง ํ การทดลองครังนี ผูวิจยได้กาหนดเวลาทดลองทังสิ น 20 คาบ คาบละ 50 นาที โดยใช้เวลา ้ ั สอน 10 สัปดาห์ ภาคเรี ยนที 2 ปี การศึกษา 2553 นิยามศัพท์ เพือให้เกิดความเข้าใจตรงกัน ผูวจยจึงกําหนดความหมายคําศัพท์เฉพาะสําหรับการวิจยดังต่อไปนี ้ิั ั Social Media หมายถึ ง สังคมออนไลน์ทีมีผูใช้เป็ นผูสือสาร หรื อเขียนเรื องราว ประสบการณ์ ้ ้ ั บทความ รู ปภาพ และวีดีโอ ทีผูใช้เขียนขึนเอง ทําขึนเอง หรื อพบเจอจากสื ออืนๆ แล้วนํามาแบ่งปั นให้กบ ้ ผูอืนทีอยู่ในเครื อข่ายของตน ผ่านทางเว็บไซต์ Social Network ทีให้บริ การบนโลกออนไลน์ ปั จจุบนการ ้ ั สื อสารแบบนีจะทําผ่านทาง Internet และโทรศัพท์มือถือเท่านัน ทฤษฎีการสร้ า งองค์ ค วามรู้ (Constructivism) หมายถึ ง การเรี ย นรู ้ ผูเ้ รี ย นจะต้องเป็ นผูก ระทํา ้ ่ (active) และสร้างความรู ้ โดยเชื อว่าผูเ้ รี ยนมีความสามารถพัฒนาความรู ้ของตนเองอยูแล้ว มนุ ษย์มีศกยภาพ ั ในการสร้ า งความรู ้ ด้ว ยตนเองเมื อได้มี ป ฏิ สั ม พัน ธ์ ก ับ สิ งต่ า งๆ ที อยู่ ร อบตัว โดยการใช้ ค วามรู ้ แ ละ ประสบการณ์เดิมทีมีอยู่ สร้างความหมายของประสบการณ์ใหม่
  • 13. 6 เว็บ บล็อ ก (Weblog) หมายถึ ง เว็บ ไซต์ที เจ้า ของทํา การบันทึ ก บทความของตนเอง (Personal ่ Journal) ลงบนเว็บไซต์ โดยเนือหาของ blog นันจะครอบคลุมได้ทุกเรื อง ไม่วาจะเป็ นเรื องราวส่ วนตัว หรื อ เป็ นบทความเฉพาะด้านต่างๆ เช่น เรื องการเมือง เรื องกล้องถ่ายรู ป เรื องกีฬา เรื องธุ รกิจ เป็ นต้น โดยจุดเด่น ทีทําให้บล็อกเป็ นทีนิยมก็คือ ผูเ้ ขียนบล็อก จะมีการแสดงความคิดเห็นของตนเอง ใส่ ลงไปในบทความนัน ๆ โดยบล็อกบางแห่ ง จะมีอิทธิ พลในการโน้มน้าวจิตใจผูอ่านสู งมาก แต่ในขณะเดียวกัน บางบล็อกก็จะเขียน ้ ขึนมาเพือให้อ่านกันในกลุ่มเฉพาะ เช่นกลุ่มเพือน ๆ หรื อครอบครัวตนเอง เฟซบุ๊ก (Facebook) หมายถึง เว็บไซต์เครื อข่ายสังคมสําหรับติดต่อแลกข้อมูลข่าวสาร เปิ ดใช้งาน เมือ 4 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2547 โดย มาร์ ก ซักเคอร์ เบิร์ก นักศึกษาจากมหาวิทยาลัยฮาร์ เวิร์ด ในช่วงแรกนัน เฟซบุกเปิ ดให้ใช้งานเฉพาะนักศึกษามหาวิทยาลัยฮาร์ เวิร์ด ซึ งต่อมาได้ขยายตัวออกไปสําหรับมหาวิทยาลัย ๊ ทัวสหรัฐอเมริ กา และตังแต่ 11 กันยายน พ.ศ. 2549 ได้ขยายมาสําหรับผูใช้ทวไปทุกคนเหมือนในปั จจุบน ้ ั ั ทวิตเตอร์ (Twitter) หมายถึง เว็บไซต์ทีให้บริ การ blog สัน หรื อทีภาษาอังกฤษเรี ยกกันว่า Micro- Blog ซึ งสามารถให้ผใช้ส่งข้อความของตนเอง ให้เพือนๆ ทีติดตาม twitter ของเราอยูอ่านได้ และเราเองก็ ู้ ่ ่ สามารถอ่านข้อความของเพือน หรื อคนทีเราติดตามเค้าอยูได้ Slideshare หมายถึง เว็บไซต์สาหรับฝากไฟล์เอกสาร ได้แก่ .doc, .pdf, .ppt เพือจัดเก็บเอกสารและ ํ แสดงเอกสารให้ผทีใช้บริ การสามารถอ่านได้ทนทีหรื อนําไปแสดงผลบนเว็บไซต์ของตนเองได้ ู้ ั Youtube หมายถึ ง เว็บไซต์สําหรับฝากไฟล์ประเภทวีดีโอ และเป็ นแหล่งรวบรวมวีดีโอทีทุกคน สามารถเข้าไปศึกษา ดู หรื อนําไปใช้งานต่อได้
  • 14. บทที 2 การตรวจเอกสาร การวิ จ ัย เรื อง การจัด การเรี ย นรู ้ โ ดยใช้ Social Media ตามทฤษฎี ก ารสร้ า งองค์ ค วามรู ้ (Constructivism) สําหรั บนักเรี ยนมัธยมศึ กษาปี ที 4 ผูวิจยได้ศึ กษาเอกสารที เกี ยวข้อง เพือเป็ นพื นฐาน ้ ั สําหรับการดําเนินการวิจย ดังนี ั 1. Social Media 2. ทฤษฎีการสร้างองค์ความรู ้ (Constructivism) 3. การจัดการเรี ยนรู ้โดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู ้ 4. งานวิจยทีเกียวข้อง ั Social Media ่ ั ทุกวันนี พวกเราหลายคนใช้ชีวิตอยูกบ Social Network และ Social Media มากขึนทุกวัน แต่พอพูด ถึง ‘Social Media’ ว่าคืออะไร หลายคนทีใช้อยู่ ก็ยงถึงกับอึง และตอบไม่ได้ว่ามันคืออะไร และไม่รู้จะ ั ่ อธิ บายอย่างไร วันนี Marketing Oops! เลยขอทําหน้าทีอธิ บายคําๆ นีแทน เพือให้คนทีใช้เป็ นประจําอยูแล้ว สามารถอธิ บ ายต่ อ ให้ค นอื นทราบได้ และสํ า หรั บ คนที ยัง ไม่ เคยรู ้ ก็ ส ามารถทํา ความรู ้ จก ได้เช่ นกัน ั
  • 15. 8 Social ในทีนี หมายถึง สังคมออนไลน์ Media ในทีนี หมายถึง เนื อหา เรื องราว และบทความ Social Media จึ งหมายถึ งสังคมออนไลน์ทีมี ผูใช้เป็ นผูสือสาร หรื อเขี ยนเล่ า เนื อหา เรื องราว ประสบการณ์ ้ ้ ั บทความ รู ปภาพ และวิดีโอ ทีผูใช้เขียนขึนเอง ทําขึนเอง หรื อพบเจอจากสื ออืนๆ แล้วนํามาแบ่งปั นให้กบ ้ ้ ่ ผูอืนทีอยูในเครื อข่ายของตน ผ่านทางเว็บไซต์ Social Network ทีให้บริ การบนโลกออนไลน์ ปั จจุบนการ ั สื อสารแบบนีจะทําผ่านทาง Internet และโทรศัพท์มือถือเท่านัน เนือหาของ Social Media โดยทัวไปเปรี ยบได้หลายรู ปแบบ ทัง กระดานความคิดเห็น (Discussion boards), เว็บบล็อค (Weblogs), วิกิ (wikis), Podcasts, รู ปภาพ และวิดีโอ ส่ วนเทคโนโลยีทีรองรับเนื อหา เหล่านี ก็รวมถึง เว็บบล็อค (Weblogs), เว็บไซต์แชร์ รูปภาพ, เว็บไซต์แชร์ วิดีโอ, เว็บบอร์ ด, อีเมล์, เว็บไซต์ แชร์ เพลง, Instant Messaging, Tool ทีให้บริ การ Voice over IP เป็ นต้น
  • 16. 9 เว็บไซต์ ทีให้ บริการ Social Network หรือ Social Media Google Group – เว็บไซต์ในรู ปแบบ Social Networking Wikipedia – เว็บไซต์ในรู ปแบบข้อมูลอ้างอิง
  • 17. 10 MySpace – เว็บไซต์ในรู ปแบบ Social Networking Facebook -เว็บไซต์ในรู ปแบบ Social Networking
  • 18. 11 MouthShut – เว็บไซต์ในรู ปแบบ Product Reviews Youmeo – เว็บทีรวม Social Network
  • 19. 12 Yelp – เว็บไซต์ในรู ปแบบ Product Reviews Last.fm – เว็บเพลงส่ วนตัว Personal Music
  • 20. 13 YouTube – เว็บไซต์ Social Networking และ แชร์ วดีโอ ิ Avatars United – เว็บไซต์ในรู ปแบบ Social Networking
  • 21. 14 Second Life – เว็บไซต์ในรู ปแบบโลกเสมือนจริ ง Virtual Reality Flickr – เว็บแชร์ รูปภาพ
  • 22. 15 ทฤษฎีการสร้ างองค์ ความรู้ (Constructivism) Constructionism เป็ นทฤษฎีทางการศึกษาทีพัฒนาขึนโดย Professor Seymour Papert แห่ ง M.I.T. (Massachusette Institute of Technology) ทฤษฎีคอนสตรัคชันนิ สซึ ม (Constructionism) หรื อทฤษฎีการ สร้างองค์ความรู ้ดวยตนเอง เป็ นทฤษฎีการเรี ยนรู ้ทีเน้นผูเ้ รี ยนเป็ นผูสร้างองค์ความรู ้ดวยตนเอง ้ ้ ้ ประสบการณ์ใหม่ / ความรู ้ใหม่ + ประสบการณ์เดิม / ความรู ้เดิม = องค์ความรู ้ใหม่ บุคคล ่ ซี มวร์ พาร์ เพิร์ท (Seymour Papert) ได้ให้ความเห็นว่า ทฤษฎีการศึกษาการเรี ยนรู ้ ทีมีพืนฐานอยูบน ั กระบวนการการสร้าง 2 กระบวนการด้วยกัน สิ งแรก คือ ผูเ้ รี ยนเรี ยนรู ้ดวยการสร้างความรู ้ใหม่ขึนด้วยตนเอง ไม่ใช่รับแต่ขอมูลทีหลังไหลเข้ามา ้ ้ ในสมองของผูเ้ รี ยนเท่านัน โดยความรู ้จะเกิดขึนจากการแปลความหมายของประสบการณ์ทีได้รับ ่ สังเกตว่าในขณะทีเรา สนใจทําสิ งใดสิ งหนึงอยูอย่าง ตังใจเราจะไม่ ลดละความพยายาม เราจะคิดหาวิธีการแก้ไขปั ญหานันจนได้ สิ งทีสอง คือ กระบวนการการเรี ยนรู ้จะมีประสิ ทธิ ภาพมากทีสุ ด หากกระบวนการนันมีความหมาย กับผูเ้ รี ยนคนนัน จากทีกล่าวมาสามารถสรุ ปให้เป็ นหลักการต่างๆทีมีความสัมพันธ์ซึงกันและกัน ได้ดงนี ั 1.หลักการทีผู้เรี ยนได้ สร้ างองค์ ความรู้ ด้วยตนเอง หลักการเรี ยนรู ้ตามทฤษฎี Constructionism คือ การสร้ า งองค์ค วามรู ้ ด้ว ยตนเอง โดยให้ ผูเ้ รี ย นลงมื อประกอบกิ จ กรรมการเรี ย นรู ้ ด้วยตนเองหรื อได้
  • 23. 16 ปฏิสัมพันธ์กบสิ งแวดล้อมภายนอกทีมีความหมาย ซึ งจะรวมถึงปฏิกิริยาระหว่างความรู ้ในตัวของผูเ้ รี ยนเอง ั ประสบการณ์ และสิ งแวดล้อมภายนอก การเรี ยนรู ้ จะได้ผลดี ถ้าหากว่าผูเ้ รี ยนเข้าใจในตนเอง มองเห็ น ั ่ ความสําคัญในสิ งทีเรี ยนรู ้และสามารถเชือมโยงความรู ้ระหว่างความรู ้ใหม่กบความรู ้เก่า(รู ้วาตนเองได้เรี ยนรู ้ อะไรบ้าง) และสร้างเป็ นองค์ความรู ้ใหม่ขึนมา และเมือพิจารณาการเรี ยนรู ้ทีเกิดขึนในการเรี ยนการสอนโดย ปกติทีเกิดขึนในห้องเรี ยนนันสามารถจะแสดงได้ดงรู ป ั ความรู ้ ครู -------> ผูเ้ รี ยน 2.หลักการทียึดผู้เรี ยนเป็ นศู นย์ กลางการเรี ยนรู้ โดยครู ควรพยายามจัดบรรยากาศการเรี ยนการสอน ทีเปิ ดโอกาสให้ผูเ้ รี ยนลงมือปฏิ บติกิจกรรมการเรี ยนด้วยตนเองโดยมีทางเลือกในการเรี ยนรู ้ทีหลากหลาย ั ั (Many Choice) และเรี ยนรู ้อย่างมีความสุ ขสามารถเชือมโยงความรู ้ระหว่างความรู ้ใหม่กบความรู ้เก่าได้ ส่ วน ครู เป็ นผูช่วยเหลือและคอยอํานวยความสะดวก ้ 3.หลักการเรี ยนรู้ จากประสบการณ์ และสิ งแวดล้ อม หลักการนี เน้นให้เห็ นความสําคัญของการ เรี ยนรู ้ ร่วมกัน(Social value) ทําให้ผูเ้ รี ยนเห็ นว่าคนเป็ นแหล่งความรู ้อีกแหล่งหนึ งทีสําคัญ การสอนตาม ทฤษฎี Constructionism เป็ นการจัดประสบการณ์เพือเตรี ยมคนออกไปเผชิ ญโลก ถ้าผูเ้ รี ยนเห็นว่าคนเป็ น แหล่งความรู ้สําคัญและสามารถแลกเปลียนความรู ้ กนได้ เมือเขาจบออกไปก็จะปรับตัวได้ง่ายและทํางาน ั ร่ วมกับผูอืนอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ ้ 4.หลักการทีใช้ เทคโนโลยีเป็ นเครื องมือการรู้ จักแสวงหาคําตอบจากแหล่ งความรู้ ต่างๆด้ วยตนเอง ่ เป็ นผลให้เกิดพฤติกรรมทีฝังแน่นเมือผูเ้ รี ยน "เรี ยนรู ้วาจะเรี ยนรู ้ได้อย่างไร (Learn how to Learn)" บทบาทและคุณสมบัติทครู ควรมีใน การสอนแบบ Constructionism ี ในการสอนตามทฤษฎี Constructionism ครู เองนับว่ามี บทบาทสําคัญมากในการที จะควบคุ ม กระบวนการให้ บ รรลุ ตามเป้ าหมายที กํา หนดไว้ ซึ งครู ที ศึ ก ษาทฤษฎี นีควรมี ค วามเข้า ใจในบทบาท คุณสมบัติทีครู ควรจะมี รวมทังทัศนคติทีครู ควรเปลียนและสิ งทีต้องคํานึงถึง
  • 24. 17 บทบาทของครู • ในการดําเนิ นกิ จกรรมการสอน ครู ควรรู ้ จกบทบาทของตนเองอย่างแจ่มแจ้ง ครู นบว่าเป็ นบุคคล ั ั สําคัญทีจะทําให้การสอนสําเร็ จผล ดังนันจึงควรรู ้จกบทบาทของตน ดังนี คือ ั • จัดบรรยากาศการเรี ยนรู ้ ให้เหมาะสม โดยควบคุมกระบวนการการเรี ยนรู ้ให้บรรลุเป้ าหมายตามที กําหนดไว้และคอยอํานวยความสะดวกให้ผเู ้ รี ยนดําเนินงานไปได้อย่างราบรื น • แสดงความคิดเห็ นและให้ขอมูลทีเป็ นประโยชน์แก่ผเู ้ รี ยนตามโอกาสทีเหมาะสม(ต้องคอยสังเกต ้ ่ พฤติกรรมการเรี ยนรู ้ของผูเ้ รี ยนและบรรยากาศการเรี ยนทีเกิดขึนอยูตลอดเวลา) • เปิ ดโอกาสให้ผเู ้ รี ยนได้เรี ยนรู ้ตามแนวทางของทฤษฎี Constructionismโดยเน้นให้ผเู ้ รี ยนสร้างองค์ ความรู ้ดวยตนเอง เป็ นผูจุดประกายความคิดและกระตุนให้ผเู ้ รี ยนได้มีส่วนร่ วมในกิจกรรมการเรี ยน ้ ้ ้ ํ โดยทัวถึงกัน ตลอดจนรับฟังและสนับสนุนส่ งเสริ มให้กาลังใจแก่ผเู ้ รี ยนทีจะเรี ยนรู ้เพือประจักษ์แก่ ใจด้วยตนเอง • ช่วยเชือมโยงความคิดเห็นของผูเ้ รี ยนและสรุ ปผลการเรี ยนรู้ ตลอดจนส่ งเสริ มและนําทางให้ผเู ้ รี ยน ได้รู้วธีวเิ คราะห์พฤติกรรมการเรี ยนรู ้ เพือผูเ้ รี ยนจะได้นาไปใช้ให้เกิดประโยชน์ได้ ิ ํ คุณสมบัติทครู ควรมีในการสอนแบบ Constructionism ี • มีความเข้าใจทฤษฎี Constructionism และพร้อมทีจะเปิ ดโอกาสให้ผเู ้ รี ยนได้เรี ยนรู ้ตามแนวทางของ ทฤษฎี Constructionism • มีความรู ้ในเนือหาทีสอนอย่างดี • มีความเข้าใจมนุษย์ มีจิตละเอียดพอทีจะสามารถตรวจสอบความคิดของผูเ้ รี ยนและดึงความคิดของ ผูเ้ รี ยนให้แสดงออกมามากทีสุ ด • มีการพัฒนาตนเอง ทางร่ างกาย สติปัญญาและจิตใจอยูเ่ สมอ ครู ควรรู ้จกตนเองและพัฒนาความรู ้ ั บุคลิ กภาพ ของตนให้ดีขึน มีใจกว้าง ยอมรับฟั งความคิ ดเห็ นของผูเ้ รี ยน ไม่ถือว่าความคิ ดตน ถูกต้องเสมอ เข้าใจและยอมรับว่าบุคคลมีความแตกต่างกัน ไม่ด่วนตัดสิ นผูเ้ รี ยนอย่างผิวเผิน • ั ควรมีมนุ ษย์สัมพันธ์ทีดีกบผูเ้ รี ยน เพราะการมีมนุ ษย์สัมพันธ์ทีดีของครู จะทําให้บรรยากาศในการ เรี ยนการสอนเกิดความเป็ นกันเองและมีความเป็ นมิตรทีดีต่อกัน • ครู ควรมีทกษะในการสื อความหมายกับผูเ้ รี ยน ในการสอนนันครู มกจะมีการสื อความหมายกับ ั ั ผูเ้ รี ยนเสมอ จึงควรสื อความหมายให้ชดเจน ไม่คลุ มเครื อ รู ้จกใช้วาทศิลป์ ให้เหมาะกับกาลเทศะ ั ั ั และเหมาะสมกับผูเ้ รี ยนแต่ละคน(การสื อความหมายให้กบผูเ้ รี ยนแต่ละคนจะไม่เหมือนกันเพราะ ผูเ้ รี ยนมีการรับรู ้และเรี ยนรู ้ได้ไม่เท่ากัน)
  • 25. 18 • มีทกษะในการใช้วจารณญาณตัดสิ นใจและแก้ไขปั ญหา ทักษะด้านนีทําให้ครู ดาเนิ นงานได้สะดวก ั ิ ํ ราบรื น เนื องจากการสอนแบบ Constructionism นันผูสอนจะต้องคอยสังเกตบรรยากาศการเรี ยนที ้ ่ เกิดขึนอยูตลอดเวลา และจะต้องคอยแก้ไขปั ญหาในแต่ละช่วงให้เหมาะสม ดังนันผูสอนจึงต้องมี ้ ทักษะในการใช้วจารณญาณตัดสิ นใจและแก้ไขปั ญหาทีดี ิ • มีทกษะในการช่ วยเหลือผูเ้ รี ยน บ่อยครัง ครู ตองคอยช่วยแก้ปัญหาให้ผเู ้ รี ยนครู จึงควรมีความเป็ น ั ้ มิตรเป็ นกันเองกับนักเรี ยนเสมอ หากครู ไม่มีทกษะทางด้านนีแล้ว การช่วยเหลืออาจไม่บรรลุผล ั • จากทีกล่าวมาข้างต้นนันเป็ นคุ ณสมบัติทีครู ควรมีเพือนํามาใช้ปรับปรุ งมนุ ษยสัมพันธ์ในการเรี ยน การสอนและการดําเนินชีวตประจําวันให้ดีขึน นอกจากนันสิ งทีสําคัญมากก็คือครู ควรมีพืนฐานของ ิ ความรักในวิชาชีพครู พยายามเข้าใจผูเ้ รี ยนแต่ละคนให้มากๆโดยยึดหลักทีว่าคนเรามีความแตกต่าง กัน(ไม่นาคนหนึ งมาเปรี ยบเทียบกับอีกคนหนึ ง) ครู ควรรู ้ จกเคารพความคิดของตนเองและผูอืน ํ ั ้ (โดยเฉพาะผูเ้ รี ยน) และควรรักษาสุ ขภาพร่ างกายและจิตใจของครู เองให้สมบูรณ์ และแจ่มใสอยู่ เสมอ ทัศนคติทครู ควรเปลียนและสิ งทีต้ องคํานึงถึง ี • ในการเรี ยนการสอนตามทฤษฎี Constructionism ครู ควรเปลียนแปลงทัศนคติให้เหมาะสม เพือเปิ ด โอกาสให้ผเู ้ รี ยนมีส่วนร่ วมในการเรี ยนรู ้ดวยตนเองมากยิงขึน ทัศนคติทีครู ควรเปลียนแปลงไปและ ้ สิ งทีครู ควรคํานึงถึงมีดงนี ั • ครู ตองไม่ถือว่า ครู เป็ นผูรู้แต่ผูเ้ ดี ยว ผูเ้ รี ยนต้องเชื อตามที ครู บอกโดยไม่มีเงื อนไข แต่ครู ตอง ้ ้ ้ ตระหนักว่าตนเองมีความรู ้ทีจะช่วยเหลือนักเรี ยนเท่าทีจะช่วยได้ ดังนันครู จึงไม่อบอายผูเ้ รี ยนทีจะ ั พูดว่า “ครู ก็ยงไม่ทราบ พวกเรามาช่วยกันหาคําตอบดูซิ”ฯลฯ ั • ครู ตองพยายามช่ วยให้ผูเ้ รี ยนเกิ ดการเรี ยนรู ้ ดวยตนเองมากทีสุ ดเท่าทีจะมากได้ ต้องอดทนและ ้ ้ ปล่อยให้นกเรี ยนประกอบกิจกรรมด้วยตนเอง อย่าด่วนไปชิ งบอกคําตอบเสี ยก่อน ควรช่วยเหลื อ ั แนะนําผูเ้ รี ยนทีเรี ยนช้าและเรี ยนเร็ วให้สามารถเรี ยนไปตามความสามารถของตนเองด้วยตนเองให้ มากทีสุ ด • ไม่ควรถือว่า “ผูเ้ รี ยนทีดีตองเงียบ” แต่ครู ควรจะเปิ ดโอกาสให้ผเู ้ รี ยนได้พูดคุยกันในเนื อหา หรื อได้ ้ พูดคุยแลกเปลียนความคิดเห็นหรื อความรู ้กนได้ ั • ครู ตองไม่ถือว่าการที ผูเ้ รี ยนเดิ นไปเดิ นมาเพือประกอบกิ จกรรมการเรี ยนรู ้ นันเป็ นการแสดงถึ ง ้ ความไม่มีระเบียบวินย แต่ตองคิ ดว่าการเดิ นไปเดิ นมาเป็ นกระบวนการหนึ งทีช่ วยให้การเรี ยนรู ้ ั ้ เป็ นไปอย่างต่อเนือง และช่วยทําให้ผเู ้ รี ยนไม่เบือหน่ายต่อการเรี ยน • ครู ตองลดบทบาทตัวเองลง (ทําตัวให้เล็กทีสุ ด) พูดในสิ งทีจําเป็ น เลือกสรรคําพูดให้แน่ใจว่าผูเ้ รี ยน ้ มีความต้องการฟังในสิ งทีครู พด ก่อนทีจะพูดครู จึงควรเร้าความสนใจของผูเ้ รี ยนเสี ยก่อน ู
  • 26. 19 • ้ ่ ขณะทีผูเ้ รี ยนประกอบกิจกรรมครู ตองอยูดูแลเอาใจใส่ พฒนาการของผูเ้ รี ยนแต่ละคน ต้องไม่คิดว่า ั เมือผูเ้ รี ยนสามารถเรี ยนได้เองแล้วครู ก็เอาเวลาทําอย่างอืนได้ • ครู ควรมีใจกว้างและชมเชยนักเรี ยนทีทําดีหรื อประสบความสําเร็ จแม้เพียงเล็กน้อย ไม่ตาหนิ หรื อ ํ ลงโทษเมือผูเ้ รี ยนทําผิดพลาด หรื อทําไม่ถูกใจครู • ครู ไม่ควรจะเอาตนเองไปยึดติดกับหลักสู ตรมากจนเกิ นไป ไม่ควรจะยัดเยียดเนื อหาทีไม่จาเป็ น ํ ั ให้กบผูเ้ รี ยน ควรคิดว่าการให้เนื อหาทีจําเป็ นแม้จะน้อยอย่างก็ยงดีกว่าสอนหลายๆอย่าง แต่ผเู ้ รี ยน ั เกิดการเรี ยนรู ้นอยมาก(รู ้แบบงูๆปลาๆ) หรื อนําความรู ้ทีเรี ยนไปประยุกต์ใช้ไม่ได้ ้ • การจัดตารางสอนควรจัดให้ยืดหยุ่นเหมาะสมกับเวลาทีให้ผเู ้ รี ยนได้ลงมือปฎิ บติกิจกรรม ครู ตอง ั ้ พยายามเปิ ดโอกาสให้ผเู ้ รี ยนได้ลงมือปฎิบติกิจกรรมภายในเวลาทีเหมาะสม ไม่มากหรื อน้อยไป ั บทบาทของผู้เรี ยน ในการเรี ยนตามทฤษฎี Constructionism ผูเ้ รี ยนจะมีบทบาทเป็ นผูปฎิบติและสร้างความรู ้ไปพร้อมๆกันด้วย ้ ั ตัวของเขาเอง(ทําไปและเรี ยนรู ้ไปพร้อมๆกัน) บทบาททีคาดหวังจากผูเ้ รี ยน คือ • มีความยินดีร่วมกิจกรรมทุกครังด้วยความสมัครใจ • เรี ยนรู ้ได้เอง รู ้จกแสวงหาความรู ้จากแหล่งความรู ้ต่างๆทีมีอยูดวยตนเอง ั ่ ้ • ตัดสิ นปั ญหาต่างๆอย่างมีเหตุผล • มีความรู ้สึกและความคิดเป็ นของตนเอง • วิเคราะห์พฤติกรรมของตนเองและผูอืนได้ ้ • ั ่ ให้ความช่วยเหลือกันและกัน รู ้จกรับผิดชอบงานทีตนเองทําอยูและทีได้รับมอบหมาย • นําสิ งทีเรี ยนรู ้ไปประยุกต์ใช้ประโยชน์ในชีวตจริ งได้นน ิ ั จากการได้เข้ามาสัมผัสกับทฤษฎี Constructionism ผมสังเกตว่าผูเ้ รี ยนมีความสุ ขกับการเรี ยนมาก ขึนและมีผลดี คือ 1. ผูเ้ รี ยนได้รู้จกและเข้าใจตนเองดีขึนโดยทราบข้อดีและข้อบกพร่ องของตนเอง ั 2. ผูเ้ รี ยนรู ้ จกคิดอย่างมีระบบมากขึน เพราะการเรี ยนรู ้ จากการทํางาน ทําให้ตองพยายามคิดพิจารณา ั ้ หาคําตอบและวิธีการแก้ปัญหา ทําให้รู้จกจัดระบบความคิดเพือแก้ปัญหานัน ั ั ้ ่ 3. ผูเ้ รี ยนรู ้จกวิธีการแสวงหาความรู ้ดวยตนเองมากขึน รู ้วาจะแสวงหาความรู ้ตามแนวทางทีเหมาะสม ่ กับตนเองได้อย่างไร และรู ้วาคนเป็ นแหล่งความรู ้อีกแหล่งหนึงทีสําคัญ 4. ผูเ้ รี ยนรู ้จกแก้ปัญหาและตัดสิ นปั ญหาอย่างมีเหตุผลมากขึน จากการฝึ กฝนการวิเคราะห์ปัญหาและ ั ข้อมูลต่างๆทีพบในระหว่างการลงมือปฏิบติ อันจะนําไปสู่ การแก้ปัญหาในชีวตจริ งได้ ั ิ
  • 27. 20 5. ผูเ้ รี ยนกล้าแสดงออกอย่างมีเหตุผลมากขึนเป็ นผูพดและผูฟังทีดี ้ ู ้ 6. ผูเ้ รี ยนมีความคิดริ เริ มสร้างสรรค์ จากการทํางานทีมีโอกาสได้คิดสร้างสิ งต่างๆ มีโอกาสได้ลองผิด ลองถูก หรื อการทีได้พยายามแก้ปัญหาด้วยวิธีการคิดทีหลากหลายพยายามแก้ปัญหาโดยไม่ตีกรอบ ความคิดตนเองมากเกินไป ่ 7. ทําให้เป็ นคนใจกว้าง ยอมรับฟังความคิดเห็นของคนอืนมากขึน ไม่ปิดใจเชือตนเองอยูฝ่ายเดียว และ ่ ้ ่ รู ้จกการเป็ นผูให้โดยเรี ยนรู ้วาการให้เป็ นความสุ ขอย่างหนึง (ผูให้ยอมเป็ นทีรัก) ั ้ 8. รู ้จกการเคารพตนเองและผูอืน จากการทํางานร่ วมกันในบรรยากาศทีเป็ นกันเองมีความเป็ นมิตร ทํา ั ้ ให้ผเู ้ รี ยนรู ้จกเคารพตนเองและปฏิบติตนด้วยความเคารพต่อผูอืน มีระเบียบวินยในตนเองมากขึน ั ั ้ ั รู ้จกบังคับตนเอง ั 9. รู ้จกการทําใจเป็ นกลางและเลือกปฏิบติตนตามทางสายกลาง รวมทังมีเป้ าหมายชี วิตและมีแนวทาง ั ั ในการดําเนินชีวตของตนเองทีชัดเจนขึน ิ กล่าวโดยสรุ ป หลักการเรี ยนการสอนตามทฤษฎี Constructionism เป็ นการเรี ยนการสอนทีผูเ้ รี ยน เรี ยนรู ้ จากการสร้างงาน ผูเ้ รี ยนได้ดาเนิ นกิ จกรรมการเรี ยนด้วยตนเองโดยการลงมือปฏิบติหรื อสร้างงานที ํ ั ตนเองสนใจ ในขณะเดียวกันก็เปิ ดโอกาสให้สัมผัสและแลกเปลียนความรู ้กบสมาชิ กในกลุ่ม ผูเ้ รี ยนจะสร้าง ั องค์ความรู ้ขึนด้วยตนเองจากการปฏิบติงานทีมีความหมายต่อตนเอง ั ครู ผ้ ูสอนจะต้ องสร้ างให้ เกิดองค์ ประกอบครบทัง 3 ประการ คือ 1) ให้ผเู ้ รี ยนได้ลงมือประกอบกิจกรรมด้วยตนเอง (ได้สร้างงาน) ตามความสนใจ ตามความชอบหรื อความ ถนัด ของแต่ละบุคคล 2) ให้ผเู ้ รี ยนได้เรี ยนรู ้ภายใต้บรรยากาศและสภาพแวดล้อมในการเรี ยนรู ้ทีดี 3) มีเครื องมืออุปกรณ์ในการประกอบกิจกรรมการเรี ยนรู ้ทีเหมาะสม ั สําหรับการนําทฤษฎี Constructionism มาประยุกต์ใช้กบการเรี ยนการสอนปกตินน ผมมองว่าครู ั สามารถประยุกต์ใช้ได้ง่ายในวิชาทีมีการปฏิบติหรื อวิชาทีต้องการฝึ กทักษะ โดยแยกแยะได้ 3 ลักษณะ คือ ั • ประยุกต์ใช้บางส่ วน กล่าวคือ นําทฤษฎี Constructionism มาประยุกต์ใช้เป็ นครังคราว โดยเลือกให้ เหมาะสมกับวัตถุประสงค์และเนือหา
  • 28. 21 • ประยุกต์ใช้ในชัวโมงปฏิบติเต็มเวลา กล่าวคือ นําทฤษฎี Constructionism มาประยุกต์ใช้ในชัวโมง ั ั ั ั ั ปฏิบติทงหมดของวิชานัน โดยครู ให้ผเู ้ รี ยนลงมือปฏิบติและเชือมโยงความรู ้ให้สัมพันธ์กบทฤษฎีที เรี ยน • ประยุกต์ใช้ทงวิชา กล่าวคือ นําทฤษฎี Constructionism มาประยุกต์ใช้ในการเรี ยนการสอนทังวิชา ั ซึ งนับว่าเป็ นวิธีทีดีหากปฏิบติได้จริ ง เพราะการเปลียนแปลงความคิดและทัศนคติของผูเ้ รี ยนนัน ั จะต้องอาศัยระยะเวลานานพอสมควรและจะต้องทําอย่างต่อเนืองจึงจะเห็นผล อย่างไรก็ตามข้าพเจ้าว่า การจะทําให้เกิดกระบวนเรี ยนรู ้ตามทฤษฎี Constructionismนันไม่ยากนัก เพราะเมือมีการเริ มต้นแล้วการเรี ยนรู ้จะเกิดขึนเองโดยอัตโนมัติและมีพลังเพียงพอทีจะขับตัวเองให้ทางาน ํ สําเร็ จตามเป้ าหมาย(แต่ในระยะแรกนันจะต้องอาศัยเวลาในการเริ มต้นพอสมควร) ครู เองจะได้สัมผัสกับ บรรยากาศการเรี ยนรู ้ ทีมี ชีวิตชี วา ผูเ้ รี ยนมีความสุ ขและมุ่งมันทีจะทํางานด้วยตนเองจนสําเร็ จและที น่ า ประหลาดใจก็คือผลงานทีออกมาจะมีความหลากหลาย ท่านจะเห็นความคิดดีๆหรื อสิ งใหม่ๆทีเจริ ญงอกงาม ขึน ดังนันการให้โอกาสในการเริ มต้นนันเป็ นสิ งทีสําคัญทีสุ ด ครู ผูสอนเพียงแค่เปิ ดความคิดและเปิ ดใจ ้ เพือให้โอกาสกับผูเ้ รี ยนได้สัมผัสกับสิ งเหล่านี ด้วยตัวของเขาเอง คอยอํานวยความสะดวกและควบคุ ม กระบวนการเรี ยนรู ้ให้เป็ นไปตามกระบวนการดังทีกล่าวมาแล้วข้างต้นเท่านัน