O slideshow foi denunciado.
Seu SlideShare está sendo baixado. ×

อบรม eCommerce วิทยาลัยชุมชน แม่ฮ่องสอน

Anúncio
Anúncio
Anúncio
Anúncio
Anúncio
Anúncio
Anúncio
Anúncio
Anúncio
Anúncio
Anúncio
Anúncio
Carregando em…3
×

Confira estes a seguir

1 de 66 Anúncio

อบรม eCommerce วิทยาลัยชุมชน แม่ฮ่องสอน

Baixar para ler offline

Digital Economy, eCommerce รูปแบบต่างๆ, ประเภทของ eCommerce, ประโยชน์และข้อจำกัดของ eCommerce, ร้านค้าแบบต่างๆ, การประมูลอิเล็กทรอนิกส์, การตลาดอิเล็กทรอนิกส์, Digital trends, กระบวนการลงขายสินค้าบนกระดานขาย หรือหน้าร้านอิเล็กทรอนิกส์

Digital Economy, eCommerce รูปแบบต่างๆ, ประเภทของ eCommerce, ประโยชน์และข้อจำกัดของ eCommerce, ร้านค้าแบบต่างๆ, การประมูลอิเล็กทรอนิกส์, การตลาดอิเล็กทรอนิกส์, Digital trends, กระบวนการลงขายสินค้าบนกระดานขาย หรือหน้าร้านอิเล็กทรอนิกส์

Anúncio
Anúncio

Mais Conteúdo rRelacionado

Quem viu também gostou (17)

Semelhante a อบรม eCommerce วิทยาลัยชุมชน แม่ฮ่องสอน (20)

Anúncio

Mais recentes (20)

อบรม eCommerce วิทยาลัยชุมชน แม่ฮ่องสอน

  1. 1. การขายสินค้าออนไลน์ 19 - 21 มกราคม 2558 เวลา 09.00 – 16.00 น. จัดโดย วิทยาลัยชุมชนแม่ฮ่องสอน ณ ศูนย์พัฒนาทักษะและการเรียนรู้ ICT แม่ฮ่องสอน วิทยากร: อ. จีรัง คานวนตา
  2. 2. วัตถุประสงค์หลักสูตรฝึกอบรม การขายสินค้าออนไลน์  ให้ผู้อบรมตระหนักถึงสภาพการแข่งขัน การค้าขาย และความจาเป็นในการใช้งานเทคโนโลยีเพื่อการ ประกอบธุรกิจในยุคปัจจุบัน  ให้ผู้อบรมทราบถึงกระบวนการในการประกอบธุรกิจออนไลน์ สามารถวิเคราะหื วางแผนเรื่องต่างๆที่ เกี่ยวข้องได้  ให้ผู้อบรมสามารถสร้างร้าน ลงขายสินค้า ผ่านทางช่องทางอิเล็กทรอนิกส์ได้ด้วยตนเอง  ให้ผู้อบรมตระหนักถึงความสาคัญของกลุ่มเครือข่ายสังคมออนไลน์ต่อการประกอบธุรกิจ  ให้ผู้อบรมรู้จัก และทดลองใช้เครื่องมือต่างๆที่จาเป็นต่อการประกอบธุรกิจออนไลน์
  3. 3. Digital Economy
  4. 4. ใครเคยทากิจกรรมเหล่านี้ ยกมือขึ้น • ซื้อสินค้าหรือบริการผ่านทางอินเตอร์เน็ต / มือถือ • ใช้บริการธนาคารออนไลน์ • หาข้อมูล / เปรียบเทียบราคาสินค้าจากอินเตอร์เน็ต • เขียนรีวิว สะท้อนคุณภาพสินค่า / บริการ • แบ่งปัน ข้อมูลสินค้าหรือบริการที่ชื่นชอบให้เพื่อน • ชาระค่าใช้จ่ายด้วยบัตรเครดิต / เงินอิเล็กทรอนิกส์
  5. 5. เศรษฐกิจดิจิตอล (DIGITAL ECONOMY)  เศรษฐกิจที่อยู่บนพื้นฐานของเทคโนโลยีสารสนเทศ การติดต่อสื่อสารแบบดิจิตอลเพื่อการขับเคลื่อนทุกมิติ ทางเศรษฐกิจ เช่น การเงิน การผลิต การบริการ การ บริหารจัดการ  เศรษฐกิจภายใต้สภาพแวดล้อมใหม่ ที่มีรากฐานและ การขับเคลื่อน/ผลักดันจากเทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสาร เพื่อสร้างคุณค่าเพิ่มและศักยภาพการ แข่งขันในระดับสากล  ระบบเศรษฐกิจยุคใหม่ที่ไร้พรมแดนอย่างแท้จริง เครือข่ายคอมพิวเตอร์จะเชื่อมคนทุกคนในโลกให้อยู่บน เครือข่ายเดียวกัน สามารถติดต่อสื่อสาร พูดคุยกัน ผ่านทางเครือข่ายนี้  สหรัฐอเมริกา ครึ่งหนึ่งของผลผลิตมวลรวมประชาชาติ ใน ปัจจุบันผูกพันกับเทคโนโลยีสารสนเทศ บริษัทยักษ์ใหญ่ที่ เติบโต ขึ้นอย่างรวดเร็วในยุคหลัง ล้วนมีธุรกิจเกี่ยวข้องกับไอ ทีทั้งสิ้น  มีการเปลี่ยนแนวคิดจากระบบรวมศูนย์ มาเป็นแบบการ กระจายให้บริการ  การบริการของธนาคารผ่านเอทีเอ็ม การสร้างร้านค้ากระจายไป ทุกหนทุกแห่ง  โครงสร้างของ องค์กรมีลักษณะติดต่อประสานรายได้สองทิศทาง  การจัดองค์กรมีขนาดกระทัดรัด และรูปแบบองค์กรจะแบนราบ หรือมีลาดับ ชั้นการบังคับบัญชาน้อยลง แต่จะมีรูปแบบลักษณะ เครือข่ายเพื่อการทางานร่วมกัน  การดาเนินธุรกรรมต่าง ๆ จะตัดคนกลางหรือ กิจกรรมที่อยู่ตรง กลางออกไป ทาให้กิจกรรมต่าง ๆ มีลักษณะจากปลายสู่ปลาย เช่น จากผู้ผลิตสู่ผู้ใช้โดยไม่ต้องมีคนกลาง
  6. 6. องค์ประกอบของระบบเศรษฐกิจดิจิตอล 1. ผู้บริโภค (Consumer) 2. ผู้ขาย (Seller)  โฆษณา  ให้ข้อมูล  เสนอสินค้าเพื่อขาย 3. คนกลาง (Intermediaries)  เสนอบริการบนเว็บไซต์  มีหน้าที่ในการให้บริการจัดสร้างและจัดการตลาดออนไลน์เช่น จับคู่ระหว่างผู้ซื้อ ผู้ขายเป็นต้น  ให้บริการโครงสร้างพื้นฐาน  ทางานบนระบบคอมพิวเตอร์เท่านั้น ต่างจากคนกลางในตลาด ปกติ ที่ทาหน้าที่ขนส่งสินค้า หรือเกี่ยวข้องกับตัวสินค้าเป็นหลัก 4. บริการสนับสนุน (Support Service)  ออกใบรับรอง  ให้ความรู้  คอยให้บริการเพื่อใช้ในการดาเนินงานจริง  เช่น ธนาคาร 5. บริษัทที่เป็นผู้จัดโครงสร้าง (Infrastructure Company)  เสนอขาย หรือสนับสนุนด้านฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์  ให้บริการด้านคาปรึกษา 6. ผู้สร้างเนื้อหา (Content Provider)  บริษัทต่างๆ ที่สร้างและปรับปรุงเว็บเพจ  คุณภาพของเนื้อหาในเว็บถือว่าเป็นปัจจัยสาคัญ 7. ผู้ร่วมมือทางธุรกิจ (Business Partner)  ผู้ซื้อ-ผู้ขาย  สมาชิกห่วงโซ่อุปทาน 8. ตลาดอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Marketplace)  ตลาดแลกเปลี่ยน = many-to-many  ตลาดเน้นการขาย = one seller-many buyers  ตลาดเน้นการซื้อ = one buyer-many sellers  ตลาดสาธารณะ เปิดให้บริการกับทุกคน  ตลาดส่วนตัว ให้บริการเฉพาะบุคคลที่ได้รับอนุญาตเท่านั้น
  7. 7. E-COMMERCE ในรูปแบบต่างๆ  การค้าปลีกอิเล็กทรอนิกส์ (e-Retailing)  การขายสินค้าและบริการให้กับผู้บริโภคโดยตรงผ่านทางสื่ออิเล็กทรอนิกส์ โดยไม่ผ่านทางตลาดกลางอิเล็กทรอนิกส์  การโฆษณาพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (e-Advertisement)  การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับตัวสินค้าและบริการ เพื่อกระตุ้นให้เกิดการซื้อ-ขายสินค้าหรือบริการนั้น ๆ  การประมูลอิเล็กทรอนิกส์ (e-Auctions)  เป็นวิธีการจัดซื้อจัดจ้างผ่านทางเว็บไซต์โดยอาศัยตลาดกลางอิเล็กทรอนิกส์ ทาหน้าที่เสมือนเป็นคนกลางหรือนายหน้า ขายสินค้าและบริการตามข้อตกลงในลักษณะการประมูล  การให้บริการอิเล็กทรอนิกส์ (e-Service)  ช่วยอานวยความสะดวกในด้านต่าง ๆ เช่น การชาระเงินทางออนไลน์ ตลาดแรงงานอิเล็กทรอนิกส์ การส่งเสริมการ ท่องเที่ยว  รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ (e-government)  เป็นวิธีการบริหารจัดการหน่วยงานราชการสมัยใหม่ ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการดาเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ การ ปรับปรุงการให้บริการแก่ประชาชน  โมบายคอมเมิร์ซ (Mobile Commerce)  การนา e-commerce มาประยุกต์ใช้ผ่านช่องทางการติดต่อสื่อสารชนิดไร้สาย
  8. 8. ประเภทของ E-COMMERCE  Business-to-Business (B2B) เป็นการทาธุรกรรมทางการค้าระหว่างองค์กรธุรกิจ กับองค์กรธุรกิจ เช่นกลุ่มธุรกิจการบิน กลุ่มธุรกิจ ค้าส่ง กลุ่มธุรกิจนาเข้าสินค้า-ส่งออก กลุ่มธุรกิจบ้านและที่ดิน  Business-to-Consumer (B2C) เป็ นการทาธุรกรรมทางการค้าระหว่างผู้ประกอบการ กับผู้บริโภคโดยตรง เช่น www.yahoo.com , www.amazon.com  Consumer-to-Consumer (C2C) เป็นการทาธุรกรรมทางการค้าระหว่างผู้บริโภค กับผู้บริโภค เช่น การแลกเปลี่ยนสินค้าระหว่างกัน การ ขายสินค้ามือสอง การรับสมัครงาน  Consumer-to-Business (C2B) เป็นการทาธุรกรรมทางการค้าระหว่างผู้บริโภค กับผู้ประกอบการ เช่น การจัดตั้งเป็นกลุ่มสมาชิกหรือ สหกรณ์
  9. 9. ประโยชน์ของ E-COMMERCE  ความสะดวก ประหยัดเวลาในการซื้อสินค้า  มีสินค้าและบริการให้เลือกมากขึ้น  เลือกชมสินค้าได้ตลอดเวลา  สามารถเปรียบเทียบราคาของสินค้า และ รับทราบความคิดเห็นต่อสินค้าและบริการ ผ่านทางเว็บบอร์ดได้ก่อนติดสินใจซื้อ  ได้สินค้าคุณภาพดี ราคายุติธรรม ไม่ต้อง ผ่านพ่อค้าคนกลาง  ได้รับสินค้าอย่างรวดเร็วที่สามารถส่งผ่านทาง สื่ออิเล็กทรอนิกส์ เช่น เพลง Software  เพิ่มยอดขาย เพิ่ม เข้าถึงลูกค้าทั่วโลก สถานที่ของ บริษัทไม่เป็นข้อจากัดในการดาเนินกิจการ  ลดต้นทุน ลดภาระสินค้าคงคลัง  ผู้ประกอบการรายย่อยมีโอกาสในการแข่งขันเท่าเทียม กับผู้ประกอบการรายใหญ่  ให้บริการและทาการตลาดต่อลูกค้ารายบุคคลได้  เพิ่มประสิทธิภาพในการขายและการทางานภายใน สานักงานโดยนาระบบสานักงานอัตโนมัติมาใช้ ผู้บริโภค ผู้ประกอบการ  เพิ่มช่องทางในการจัดจาหน่าย เปิดตลาดใหม่  เพิ่มความสัมพันธ์กับลูกค้า  ลดค่าใช้จ่ายและความผิดพลาดในเรื่องข้อมูลการซื้อขาย  เพิ่มประสิทธิภาพในการผลิต  ลดภาระสินค้าคงคลัง ผู้ผลิต
  10. 10. ข้อจากัดของ E-COMMERCE มาตรฐานด้านคุณภาพ ความปลอดภัย และระดับความน่าเชื่อถือ ช่องทางในการติดต่อสื่อสารถูกจากัด ต้องมีอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ / มือถือ อินเตอร์เน็ต และไฟฟ้ า มีต้นทุนแฝงในการสร้างและพัฒนาเว็บไซต์ ลูกค้าไม่เชื่อมั่นเกี่ยวกับคุณภาพของสินค้า ลูกค้าบางส่วนยังชอบวิธีการซื้อขายแบบเดิม ปัญหาการหลอกลวงต่างๆ
  11. 11. รายละเอียด การทาธุรกิจทั่วไป e-Commerce วันและเวลาที่ให้บริการ ขึ้นอยู่กับผู้ประกอบการ ทุกวันตลอด 24 ชม. ดาเนินการสั่งซื้อ ให้พนักงานอานวยความสะดวก ลูกค้าเป็นผู้ดาเนินการเอง การครอบงาจากผู้ขาย เกิดขึ้นบ่อยครั้ง ไม่เกิดขึ้น เพราะลูกค้าเป็นผู้ดาเนินการสั่งซื้อ และตัดสินใจด้วยตนเอง การตอบสนองต่อการแข่งขัน ต้องใช้เวลา และงบประมาณค่อนข้างสูง ทาได้ทันที และใช้งบประมาณต่า การทาธุรกิจทั่วไป VS E-COMMERCE รายละเอียด การทาธุรกิจทั่วไป e-Commerce สถานประกอบการ ใช้ร้านค้าจริง ใช้ร้านค้าเสมือน โดยขายผ่านทางเว็บไซต์ ต้นทุนจาการดาเนินงาน สูง เพราะต้องสร้างสถานประกอบการจริง ต่ากว่า โดยเป็นต้นทุนจากการพัฒนาระบบ ช่องทางการจัดจาหน่ายสินค้า ผ่านทางหน้าร้านค้า หรือตัวแทนจาหน่าย ผ่านทางเครือข่ายอิเล็กทรอนิกส์ทุกรูปแบบ เช่น Internet, Intranet, Extranet
  12. 12. รายละเอียด การทาธุรกิจทั่วไป e-Commerce การติดตามพฤติกรรมผู้ซื้อ ไม่สามารถทาได้ ใช้ระบบติดตามการใช้งาน ภาพลักษณ์ขององค์กร ขึ้นอยู่กับการให้บริการของพนักงาน การจัด วางสินค้าในสถานประกอบการจริง ขึ้นอยู่กับความสามารถในการออกแบบ เว็บไซต์ให้ใช้งานง่าย สะดวก รวดเร็ว และให้ ผลลัพธ์ที่ถูกต้อง รวมทั้งต้องใช้กลยุทธ์ดึงดูด ความสนใจให้มีผู้เข้ามาเยี่ยมชมเว็บไซท์ด้วย การทาธุรกิจทั่วไป VS E-COMMERCE (ต่อ)
  13. 13. Electronic Storefront การค้าปลีกอิเล็กทรอนิกส์ (e-Retailing) Electronic Mall การขายสินค้าและบริการให้กับผู้บริโภคผ่านช่อง ทางการสื่อสารอิเล็กทรอนิกส์โดยตรง โดยไม่ ผ่านพ่อค้าคนกลางหรือตลาดกลาง อิเล็กทรอนิกส์ (E-Marketplace)
  14. 14. ELECTRONIC STOREFRONT plantoysshop.com siamflorist.com
  15. 15. ELECTRONIC MALL Aliexpress.com Amazon.com Lazada.com
  16. 16. การประมูลอิเล็กทรอนิกส์ E-AUCTION (e-Auction) หมายถึง การเสนอซื้อ-ขายสินค้าหรือบริการ ผ่านสื่อ อิเล็กทรอนิกส์ ระหว่างผู้ซื้อกับผู้ขาย ที่เข้ามาแข่งขันกันเสนอราคาในช่วงเวลาที่ กาหนด ประโยชน์ของการประมูล  ช่วยเพิ่มโอกาสในการซื้อขายสินค้า  ช่วยให้ผู้ซื้อและผู้ขายพึงพอใจกับราคาสินค้า  ราคาสินค้าไม่มีการกาหนดตายตัว ขึ้นอยู่กับการเจรจาตกลงกันระหว่างผู้ซื้อและผู้ขาย
  17. 17. การเสนอซื้อ-ขายสินค้าแบบดั้งเดิม VS. การประมูลอิเล็กทรอนิกส์ 17
  18. 18. การประมูลแบบพื้นฐาน ประมูลขาย ประมูลซื้อ
  19. 19. ตัวอย่างเว็บประมูลสินค้า
  20. 20. ตัวอย่างการค้าขายบนเว็บเฉพาะกลุ่ม พระเครื่อง คนรักมีด อื่นๆอีกมากมาย siamnaliga.com thaiscooter.com ฯลฯ
  21. 21. การตลาดอิเล็กทรอนิกส์
  22. 22. การวางแผนทางการตลาด  การวางแผนทางการตลาดทั้ง 4 ด้าน หรือเรียกว่า “4Ps” หรือการตลาดแบบ ผสมผสาน  ผลิตภัณฑ์ (Product) จะต้องตรงความต้องการของลูกค้าทั้งในด้านคุณภาพ รูปแบบ สีสัน และประโยชน์ใช้สอยรวมไปถึงตรายี่ห้อสินค้า  ราคา (Price) การตั้งราคาสินค้าเป็นสิ่งสาคัญในการดึงดูดใจลูกค้า ควรตั้งราคาให้ เหมาะสมกับตลาดและผู้บริโภค  การส่งเสริมการตลาด (Promotion) เป็นกระบวนการที่ทาให้ขายสินค้าได้มาก ไม่ว่าจะเป็นการโฆษณาชวนเชื่อด้วยการลด แลก แจก แถม  ช่องทางการจัดจาหน่าย (Places/Physical Distribution) ทาให้การ ส่งมอบสินค้าถึงมือลูกค้าได้ในเวลาที่ต้องการ โดยการบรรจุหีบห่อ สถานที่ในการรับส่ง สินค้า และสถานที่ตั้งของผู้ประกอบการ 22
  23. 23. ตัวอย่างสินค้าดิจิตอล  เอกสาร หนังสือ แมกกาซีน อิเล็กทรอนิกส์  แคตาลอกอิเล็กทรอนิกส์ ไฟล์คู่มือ การใช้งาน  กราฟฟิก รูปถ่าย โปสต์การ์ด อิเล็กทรอนิกส์  เพลง สื่อการสอน สื่อวีดิโอ ภาพยนต์โทรทัศน์ดิจิตอล  ซอฟต์แวร์เช่น โปรแกรม เกมส์  ตั๋วและการจองเช่น สายการบิน โรงแรม การขนส่ง  เครื่องมือทางการเงินเช่น เครดิต การ์ด เงินอิเล็กทรอนิกส์  บริการภาครัฐเช่น ใบอนุญาติ แบบฟอร์มออนไลน์ เป็นต้น  การส่งข้อความเช่น อีเมล แฟกซ์ โทรศัพท์อินเตอร์เน็ต  การขายสินค้า การประมูลสินค้า  การศึกษาทางไกล ผลิตภัณฑ์ กระบวนการ และการบริการ
  24. 24. ประเภทของผู้บริโภค  ผู้บริโภคที่ต้องการประหยัดเวลา  ผู้บริโภคที่ยอมเสียเงินแพงมากขึ้นกว่าเดิม โดยไม่ต้องเสียเวลาเดินทางไปยังร้านค้า  ผู้บริโภคที่ต้องการหลีกเลี่ยงปัญหา  ผู้บริโภคที่ไม่ชอบการซื้อสินค้าตามร้านค้า เนื่องจากปัญหาการจราจร เส้นทางไกล จึง ยอมที่จะซื้อสินค้าผ่านทางอินเทอร์เน็ต  ผู้บริโภคที่มีหัวก้าวหน้า  ผู้บริโภคที่ชอบที่ชอบซื้อสินค้าตามกระแสของเทคโนโลยีสมัยใหม่ ซึ่งส่วนใหญ่เป็นวัยรุ่น  ผู้บริโภคที่ชอบท่องเว็บแต่ไม่ชอบซื้อผ่านอินเทอร์เน็ต  ผู้บริโภคที่เลือกดูสินค้าและบริการที่ต้องการเพียงอย่างเดียว แต่ไม่ซื้อสินค้าผ่านทาง อินเทอร์เน็ต เนื่องจากยังไม่มั่นใจในระบบรักษาความปลอดภัยบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต จึงซื้อสินค้าจากร้านค้าทั่วไป
  25. 25. ประเภทของผู้บริโภค (ต่อ)  ผู้บริโภคที่ซื้อสินค้าที่เห็นหน้าค่าตาที่จับต้องได้เท่านั้น  ผู้บริโภคซื้อสินค้าจากร้านค้าทั่วไป เพราะสามารถจับต้องสินค้าได้ จึงไม่ชอบที่ซื้อสินค้าผ่านทาง อินเทอร์เน็ต แต่ยังคงชอบที่จะท่องดูเว็บไซต์ต่าง ๆ  ผู้บริโภคที่ชอบสืบเสาะและแสวงหาสิ่งแปลกใหม่  ผู้บริโภคที่สอบสืบเสาะสินค้าด้วยวิธีการเปรียบเทียบราคา คุณภาพ บริการ ประโยชน์ใช้สอยก่อนที่ จะตัดสินใจซื้อ ส่วนใหญ่จะเป็นสินค้าที่หาได้ยากเพื่อการสะสม  ผู้บริโภคที่นิยมตรายี่ห้อสินค้า  ผู้บริโภคชอบนิยมตรายี่ห้อสินค้าที่มีชื่อเสียงและมีเว็บไซต์เป็นของตนเอง จึงชอบติดตามข่าวสาร เกี่ยวกับสินค้า  ผู้บริโภคที่ชอบยกระดับคุณภาพชีวิต  ผู้บริโภคชอบใช้อินเทอร์เน็ตในการดาเนินชีวิต เช่น การซื้อสินค้า การชาระเงิน การติดต่อสื่อสาร
  26. 26. การตลาดอิเล็กทรอนิกส์ (E-MARKETING) เป็นการดาเนินกิจกรรมทางการตลาดโดยใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ เป็นเครื่องมือ การเข้าสู่ตลาด E-Commerce  การเป็นผู้นารายแรก (First Mover)  การสร้างพันธมิตร (Alliances)  การเป็นผู้ตามอย่างรวดเร็ว (Fast Follower)  การขยายธุรกิจเพิ่ม (Brand Extender)
  27. 27. •Groupon.com, Kactoos.com : คน 100 คนอาจเข้าไปลงชื่อ ในเว็บไซต์ Groupon.com เพื่อซื้อสินค้าชนิดใดชนิดหนึ่งจากร้านค้าร้าน หนึ่ง เมื่อครบ 100 คน และร้านค้าโอเค คนเหล่านั้นก็สามารถดาวน์โหลดคูปอง เพื่อ “ร่วมกันซื้อ” สินค้าในราคาลดถึง 50%
  28. 28. M Commerce •การค้นหาข้อมูล เพื่อให้ตัดสินใจช้อปปิ้งได้ดีขึ้น • ใช้ Mobile Application ประเภทบาร์โค้ดสแกนเนอร์ ในสมาร์ทโฟน อ่านบาร์โค้ด บนสินค้า เพื่อแสดงรายการเปรียบเทียบราคาของสินค้านั้นๆจาก หลายๆร้าน •Application “Food Scanner” เมื่อสแกนบาร์โค้ด แล้ว Application จะบอกเราได้เลยว่าอาหารชนิดนั้นๆ มีพลังงานกี่แคลอรี
  29. 29. Social Commerce •คือการใช้ Social Technology ในการยกระดับประสบการณ์ การ Shopping ให้ดีและสะดวกยิ่งขึ้น •Social Technology ที่เราเห็นๆ กันอยู่ในทุกวันนี้มันสามารถเอามาทา อะไรให้กับผู้บริโภคได้บ้าง? •เราจะติดต่อสื่อสารและทาความเข้าใจวิธีการที่ผู้คนช้อปปิ้งกันให้ดียิ่งขึ้น ได้ อย่างไร? •เราจะ Design ประสบการณ์ในการซื้อของผู้บริโภคใหม่ได้อย่างไร? •เราจะสร้างความน่าติดตามของสินค้าและบริการ ด้วย Social Technology ได้อย่างไร?
  30. 30. Community •คนรักหนังสือหันมาซื้อหนังสือตามคาแนะนาของชุมชนคนรักหนังสือในเว็บไซต์ Amazon.com และเมื่อซื้อมาแล้วยังได้ราคาดีกว่า เพราะในชุมชนยังมีการ เปิดให้ผู้ที่ซื้อหนังสือไปแล้วเอาหนังสือมือสองมาขายกันได้ด้วย สิ่งที่เกิดขึ้นคือ ลูกค้าจะไม่ไปเว็บไซต์อื่นง่ายๆ ถึงเว็บไซต์อื่นจะเสนอราคาถูกกว่า แต่ลูกค้าของ Amazon รู้สึกว่าใน Amazon มีทั้งชุมชนคนอ่านหนังสือที่มีคุณภาพ แนะนาหนังสือที่ดีได้ มีหนังสือมือสอง หรือแม้กระทั่ง eBook ที่ราคาถูกกว่า หนังสือจริงครึ่งๆ
  31. 31. ตลาด ecommerce ต่างประเทศ •Ebay •Amazon •Alibaba •Aliexpress •ฯลฯ
  32. 32. อะไรไม่มีขายในตลาด ecommerce ต่างประเทศ? •ของเล่นผู้ใหญ่ 18+ •ลูกกรอก / รักยม •โบราณวัตถุ •สัตว์สงวน •อวัยวะสัตว์หายาก
  33. 33. สินค้าต้องห้ามบนตลาด ebay •ยา / ยาเสพติด •สินค้าก๊อป •หนังสือ international edition •อาวุธ และกระสุน •อวัยวะ ชิ้นส่วนอวัยวะ •สารอันตราย หรือสารพิษ •ยาสูบ
  34. 34. กิจกรรม ค้นหาเว็บไซต์ขายสินค้า หรือรายการสินค้าที่ท่านคิด ว่าดี น่าสนใจ มีความโดดเด่น • วิเคราะห์ข้อดี จุดแข็งของการลงขายสินค้านั้นๆ • วิเคราะห์จุดที่ควรได้รับการพัฒนา เพื่อให้การขาย สินค้านั้นดียิ่งขึ้น
  35. 35. การถ่ายภาพ
  36. 36. การถ่ายภาพ (www.blisby.com/blog/how-to-take-product-photos/) •โหมดการถ่าย •การจัดแสง •macro
  37. 37. การจัดวางภาพ (www.blisby.com/blog/how-to-take-product-photos/)
  38. 38. www.ilovetogo.com/Article/102/11500
  39. 39. โต๊ะ A4 ฉากหลังธรรมชาติ เต๊นท์ขาว หรืออุปกรณ์ช่วยด้านแสง ใช้คนประกอบฉาก
  40. 40. การจัดการภาพถ่าย
  41. 41. การจัดการภาพ •Crop ภาพ •ปรับขนาดภาพ •ปรับความสว่าง ความมืดของภาพ •ปรับโทนสีภาพ •เขียนตัวหนังสือลงบนภาพ •ใส่กรอบ หรือ effect อื่นๆให้ภาพ
  42. 42. การลงขายสินค้า OLX สร้างร้านค้าบน เทพshop สร้าง Facebook Fan Page
  43. 43. การขายของบน OLX
  44. 44. ทาความรู้จัก OLX  ชื่อใหม่ของ Dealfish.co.th  เว็บในเครือ Naspers ที่มีให้บริการอยู่กว่า 90 ประเทศทั่วโลก  ประกาศขายของมือสอง หรือของเก่าเก็บไม่ใช้ได้เองง่ายๆ เหมือน การาจ เซลล์ (garage sale) การเปิดบ้านขายของซึ่งเป็นที่นิยมในหลายประเทศทั่วโลก  เป็นเว็บไซต์สื่อกลางที่เปิดโอกาสให้ผู้ซื้อและผู้ขายทั่วไปได้มาพบกัน  ใช้บริการได้ฟรี ไม่มีค่าใช้จ่าย สามารถลงประกาศได้ทั้งแบบเป็นสมาชิก และไม่ใช่สมาชิก  สมาชิกสามารถจัดการกับประกาศต่างๆได้ง่ายกว่า  มีสิทธิประโยชน์อื่นๆเพิ่มเติมจากทางเว็บ  ใช้งานผ่านคอมพิวเตอร์ โน๊ตบุ๊ค มือถือ หรือแท็บเล็ต สะดวก ง่าย ทาได้ทุกที่ ทุกเวลา
  45. 45. สินค้าห้ามขายบน OLX  หมวด เคเบิ้ล หรือ กล่องสัญญาณดาวเทียม เช่น กล่อง Sky Box, Dream Box, Open Box, HD Vision (ห้ามลงประกาศโดย กสทช)  สินค้าที่มีตัวแทนจาหน่ายแต่เพียงผู้เดียว  สินค้าละเมิดลิขสิทธิ์  ผลิตภัณฑ์จาพวก ยา ทั้งเพื่อความงามและสุขภาพ, อาหารเสริม, เครื่องสาอางค์และเวช สาอางค์  สินค้าที่ไม่มี อย. เช่น อาหารสาเร็จรูปที่ไม่มี อย.  อุปกรณ์ทางการแพทย์ที่ไม่มีใบอนุณาตหรือไม่ได้แสดงเลขที่ใบอนุญาตโฆษณา  ผลิตภัณฑ์สารเคมีที่เป็นอันตรายร้ายแรง หรือ ห้ามจาหน่าย เช่น น้ายาฆ่าแมลง, ผลิตภัณฑ์ Stemcell ทุกชนิด
  46. 46. สินค้าห้ามขายบน OLX  สินค้าผิดกฎหมายหรือผิดศีลธรรม วัฒนธรรม เช่น เครื่องดื่มแอลกอฮอล์, บุหรี่และสิ่งเสพ ติดทุกชนิด, อาวุธ, สื่อลามกอนาจาร, อุปกรณ์การพนัน, ชิ้นส่วนหรืออวัยวะมนุษย์  ธุรกิจเครือข่ายที่เข้าลักษณะแชร์ลูกโซ่  โฆษณาชวนเชื่อเกี่ยวกับการทางานผ่านเน็ต  การเป็นตัวแทนโฆษณาของเว็บไซต์ต่างๆ เช่น Amazon Affiliate, Lazada Affiliate  ประกันทางการเงิน เช่น สินเชื่อ-เงินกู้, การประกันเงินกู้ทุกรูปแบบ, บริการเกี่ยวกับการเงิน ทุกประเภท  สิ่งของหลุดจานา  รถยนต์จดประกอบ, รถยนต์นาเข้า รถยนต์ ที่ไม่มี เอกสารจดทะเบียนจากกรมการขนส่ง ทางบก
  47. 47. สินค้าห้ามขายบน OLX  หุ้น และ หลักทรัพย์ ต่างๆ  สินค้าในรูปแบบการประมูล  ฐานข้อมูลลูกค้า เช่น ชื่อ ที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์, อีเมล หรือ ชื่อในระบบออนไลน์  ปริญญาบัตร, ประกาศนียบัตร, ใบสาเร็จการศึกษาต่างๆ, การรับทาวิทยานิพนธ์, งานวิจัย  สัตว์ป่าสงวนและสัตว์ป่าคุ้มครองทุกชนิด  ไม้หวงห้าม  ภาพที่มีโลโก้ของเว็บไซต์อื่นประทับเป็นลายน้า โดยโลโก้นั้นมิใช่ของเว็บไซต์ของทางร้านค้า รวมถึงภาพที่เป็นลิขสิทธิ์ของผู้อื่น
  48. 48. การสมัคร OLX ตัวอย่างการสมัครด้วย email
  49. 49. การประกาศขายสินค้าบน OLX
  50. 50. การเปิดร้านบน LNWSHOP
  51. 51. การเปิดร้านบน Lnwshop
  52. 52. เช็ค EMAIL ที่ใช้สมัคร แล้วกด ACTIVATE
  53. 53. ปรับแต่งข้อมูลร้านค้า
  54. 54. แก้ไขเพิ่มเติมหมวดหมู่สินค้า และตัวสินค้า
  55. 55. การสร้าง FACEBOOK FAN PAGE
  56. 56. การสร้าง FACEBOOK FAN PAGE  เข้าไปที่ www.facebook.com/pages/create.php  เลือกหมวดธุรกิจ  Local Business or Place of interest – ร้านค้า ธุรกิจ ท้องถิ่น หรือ สถานที่สาคัญๆ  Company, Organization or Institution – บริษัท, องค์กร หรือ สถาบัน ต่างๆ  Brand or Product – แบรนด์สินค้า หรือ ชนิดของสินค้า  Artist, Band or Public Figure – ศิลปิน ดารา วงดนตรี และตัวบุคคล  Entertainment – ประเภทความบันเทิง  Cause of Topic – ประเด็น เรื่องราวที่น่าสนใจ  ใส่ข้อมูลรายละเอียดเพิ่มเติม
  57. 57. เปลี่ยนรูป PROFILE และ COVER ให้เข้ากับธุรกิจ

×