O slideshow foi denunciado.
Seu SlideShare está sendo baixado. ×
Anúncio
Anúncio
Anúncio
Anúncio
Anúncio
Anúncio
Anúncio
Anúncio
Anúncio
Anúncio
Anúncio
Anúncio
Carregando em…3
×

Confira estes a seguir

1 de 14 Anúncio

Man lg handout s

Baixar para ler offline

aj kittima

aj kittima

Anúncio
Anúncio

Mais Conteúdo rRelacionado

Diapositivos para si (17)

Quem viu também gostou (20)

Anúncio

Semelhante a Man lg handout s (20)

Mais de Heritagecivil Kasetsart (18)

Anúncio

Mais recentes (20)

Man lg handout s

  1. 1. 1/18/2014 1 มนุษย์กับภาษา รองศศาาสตรราาจจาารย ์ดร. กิติมา อินทรัมพรรย์ เเนนืื้้อหหาา  ภาษามนุษย์กับภาษาสัตว์  หน้าที่ของภาษา  บทบาทของภาษาในสังคม  วิวัฒนาการของภาษามนุษย์  แนวคิดเกี่ยวกับกำเนิดของภาษามนุษย์  ภาษากับตัวอักษร  ตระกูลภาษา มนุษย์กับภาษา รศ.ดร.กิติมา อินทรัมพรรย์2 ภภาาษษาามนษษุุยกก์์ัับภภาาษษาาสตตััวว์์ ภาษามนุษย์ ภาษาสัตว์  ไม่มีอวัยวะในการออกเสียง  ไม่มี  ไม่สามารถคิดค้นศัพท์ใหม่ สร้างประโยค ใหม่ ในสถานการณ์ใหม่ๆ มักใช้การ เลียนแบบ  ระบบการสื่อสารแบบปิด ไม่สามารถเรียนรู้ ภาษาของสัตว์อื่นๆ ได้  สื่อสารได้เฉพาะเหตุการณ์เฉพาะหน้า  อวัยวะในการออกเสียง  มีระบบภาษาสองระดับทั้งหน่วยเสียงและ หน่วยคำ  มีความสามารถในการเข้าใจและสร้างคำ แต่งประโยค สำนวนใหม่ๆ  รับภาษาใหม่ด้วยการเรียนรู้ภาษา  สามารถสื่อสารและอ้างถึงบุคคลที่ไม่ เกี่ยวข้อง หรือ เรื่องในจิตนาการ อดีต หรือ อนาคต  แต่ละภาษามีการใช้คำศัพท์แตกต่างกัน  โต้ตอบด้วยสัญชาตญาณ มนุษย์กับภาษา รศ.ดร.กิติมา อินทรัมพรรย์3 หน้าที่ของภาษา  เป็นเครื่องมือในการสื่อสาร  เป็นเครื่องมือถ่ายทอดวิทยาการ  สะท้อนความคิดของมนุษย์ในแต่ละสังคมที่มีต่อโลก  สะท้อนวัฒนธรรม  บ่งบอกถึงเอกลักษณ์และลักษณะของผู้ใช้ กลุ่มสังคม หรือชนชั้น มนุษย์กับภาษา รศ.ดร.กิติมา อินทรัมพรรย์4
  2. 2. 1/18/2014 2 ภาษาเป็นเครื่องมือสื่อสาร  ภาษาพูด การใช้ภาษาแตกต่างกันตามสถานการณ์ ตามบุคคลที่ สื่อสารด้วย  ภาษาเขียน  ภาษาท่าทาง  สายตา  ท่าทาง  ระยะห่าง มนุษย์กับภาษา รศ.ดร.กิติมา อินทรัมพรรย์5 ภาษาเป็นเครื่องมือถ่ายทอดวิทยาการ  แฟกซ์ โปสต์การ์ด อีเมล์ ไลน์ โทรศัพท์ มนุษย์กับภาษา รศ.ดร.กิติมา อินทรัมพรรย์6 ภาษาสะท้อนความคิดของคนในสังคม  ภาษาสะท้อนความคิด มุมมองอย่างไร  ภาษาญี่ปุ่น ภาษาไทย ภาษาเขมร มี honorific term สะท้อนเฉพาะกลุ่มคนต่างชนชั้น  ภาษาสะท้อนสังคม  ความสัมพันธ์ระหว่างเครือญาติ - คำเรียกญาติ  ความไม่เท่าเทียมกันทางสังคม  การแบ่งระดับชั้นในสังคม - คำนำหน้าชื่อ  ความแตกต่างระหว่างชาย หญิง  – master vs. mistress  -- นาง นางสาว vs. นาย มนุษย์กับภาษา รศ.ดร.กิติมา อินทรัมพรรย์7 ภาษาสะท้อนวัฒนธรรม  คำว่า ‘หิมะ’ ในภาษาอังกฤษ ให้ความหมายแตกต่างตามประเภทของ หิมะ “blizzard", “flurry", "pack", "slush", "drift", "sleet", and "powder”  ฝน ในภาษาไทย  แสดงลักษณะ ฝน เช่น สายฝน ละอองฝน ฝนขาดเม็ด ฝนสั่งฟ้า พายุฝน ฝนแล้ง ฝนหลงฤดู  กริยาใช้กับ ฝน เช่น ฝนกระหน่ำ ฝนชุก ฝนปรอย ฝนพรำ ติดฝน ตากฝน  มโนทัศน์ คำว่า เกรงใจ ไม่พบในวัฒนธรรมอื่น มนุษย์กับภาษา รศ.ดร.กิติมา อินทรัมพรรย์8
  3. 3. 1/18/2014 3 ภาษาสะท้อนวัฒนธรรม คำเรียกสีกับวัฒนธรรม สีอะไร Paul Kay, “Synchronic Variability and Diachronic Change in Basic Colour Terms,” in Language, Culture and Cognition (1975) : 257-272. วัฒนธรรมที่เรียบง่าย ไม่มีควมซับซ้อนด้านเทคโนโลยี มีจำนวนคำเรียกสีพื้นฐานน้อย http://en.wikipedia.org/wiki/Color_term มนุษย์กับภาษา รศ.ดร.กิติมา อินทรัมพรรย์9 GRUE  ภาษาไทยสุโขทัยมี 5 คำ คือ ขาว ดำ แดง เหลือง เขียว  สีเขียวในภาษาไทยสมัยสุโขทัย มีขอบเขตสีกว้างกว่าปัจจุบัน คือ ครอบคลุม เขียว น้ำเงิน ม่วง -- เขียวดังดอกผักตบ -- เขียวดังดอกอินทนิล -- เขียวดังดอกอัญชัน  ในภาษาไทยปัจจุบันมี 12 คำ มนุษย์กับภาษา รศ.ดร.กิติมา อินทรัมพรรย์ 10 คำเรียกสีในภาษาไทย  สีกับประสบการณ์ -- สีช็อกกิ งพิ ง สีดอกไลแล็ก  สีจากสิง#ของ สัตว์ หรือสิง#ใกลตั้ว -- สีแดงเลือดหมู สีแดงกำมะหยี #สีแดงเลือดนก สีชมพูบานเย็น สีกะปิ สีอิฐ http://thorfun.com/oazth/story/51a8a870aeeb59372800c47e มนุษย์กับภาษา รศ.ดร.กิติมา อินทรัมพรรย์ 11 ม ภาษาสะท้อนสังคม วัฒนธรรม  สาเหตุของการยืมคำ  สภาพภูมิศาสตร์ ความสัมพันธ์ใกล้ชิดทางสังคม - ลาว เขมร พม่า มาเลย์  การย้ายถิ่นฐาน ตั้งรกรากของคนในประวัติศาสตร์ – เขมร ละว้า มอญ จีน  การค้าขาย - อังกฤษ ฝรั่งเศส จีน โปรตุเกส  การถ่ายทอดทางวรรณคดีและศาสนา – วรรณคดีอินเดีย และชวาใช้ภาษาสันสกฤต ศาสนาพราหมณ์ใช้ภาษา สันสกฤต ศาสนาพุทธใช้ภาษาบาลี มนุษย์กับภาษา รศ.ดร.กิติมา อินทรัมพรรย์12
  4. 4. 1/18/2014 4 ตัวอย่างคำยืมภาษาต่างๆ ในภาษาไทย  คำยืม แสดงถึงความสัมพันธ์ระหว่างสังคม วัฒนธรรม  จีน - ก๋วยเตี๋ยว บะหมี่ เฉาก๊วย จับฉ่าย หุน้ หา้ง ก๋ง ตุ๋น  เขมร – ขนบ ตำรวจ กะทิ บำบัด เจริญ ฉงน สงบ  บาลี – กิริยา วิญญาณ อัคคี สัจจะ มัจฉา สูญ  สันสกฤต – อาจารย์ จุฑา กษัตริย์ บุรุษ สตรี ศูนย์  มาเลย์ – บูดู สเต๊ะ ซาหริ่ม ปาเต๊ะ ทุเรียน สลัด  มอญ - ประเคน  อังกฤษ - เลน แท็กซี่  โปรตุเกส – สบู่ ปิ่นโต  ทมิฬ - กุลี มนุษย์กับภาษา รศ.ดร.กิติมา อินทรัมพรรย์13 ภาษาแสดงเอกลักษณ์ของคนในสังคม  ภาษาแสดงเอกลักษณ์และภูมิหลังของผู้ใช้ เช่น เชื้อชาติ ถิ่นกำเนิด อายุ เพศ  เสียงพยัญชนะ  ผู้พูดภาษาไทยถิ่นเหนือ -- ฮ แทน ร ใน รัก > ฮัก  สำเนียงบ่งบอกเจ้าของภาษาแต่ละถิ่น มนุษย์กับภาษา รศ.ดร.กิติมา อินทรัมพรรย์14 ภาษาแสดงเอกลักษณ์ของคนในสังคม  ภาษาแสดงเอกลักษณ์และภูมิหลังของผู้ใช้ เช่น เชื้อชาติ ถิ่น กำเนิด อายุ เพศ  ศัพท์สแลง  วัยรุ่น -- เกรียน แจ่มๆ  คำลงท้าย  เพศหญิง -- นะคะ คะ ค่ะ  เพศหญิง --- เจ้า (ถิ่นเหนือ) มนุษย์กับภาษา รศ.ดร.กิติมา อินทรัมพรรย์15 ทฤษฎี/ข้อสันนิษฐานอธิบายกำเนิดของภาษา  แนวคิดทางศาสนาและความเชื่อโบราณ  แนวความคิดที่ว่ามนุษย์เป็นผู้สร้างภาษาและ การเลียนเสียงธรรมชาติ  แนวความคิดด้านวิทยาศาสตร์ มนุษย์กับภาษา รศ.ดร.กิติมา อินทรัมพรรย์16
  5. 5. 1/18/2014 5 แนวคิดทางศาสนาและความเชือโบราณ  ภาษามีกำเนิดมาจากเทพ อาจเนื่องจากภาษา มีบทบาทมากในทางศาสนา ปรากฏในบทสวด และพิธีกรรม มนุษย์กับภาษา รศ.ดร.กิติมา อินทรัมพรรย์17 แนวคิดทางศาสนาและความเชื่อโบราณ  ศาสนาคริสต์  เชื่อว่าพระผู้เป็นเจ้าทรงให้อำนาจแก่อดัม (มนุษย์คนแรกของโลก) ในการเรียกชื่อสิ่ง ต่างๆที่เขาพบเห็น  เชื่อว่าแรกเริ่มมนุษย์ทุกคนพูดภาษาเดียวกัน หมด มนุษย์กับภาษา รศ.ดร.กิติมา อินทรัมพรรย์18 ศาสนาคริสต์ แรกเริ่มมนุษย์ทุกคนพูดภาษาเดียวกันหมด มนุษย์ทำบาปโดยพยายามทำตัวทัดเทียม พระผู้เป็นเจ้า โดยการสร้างหอคอยบาเบล พระผู้เป็นเจ้าสาปให้มนุษย์เกิดความลำบาก ในการสื่อสารโดยให้พูดภาษาต่างกันไป เกิดเป็นภาษาต่างๆขึ้น มนุษย์กับภาษา รศ.ดร.กิติมา อินทรัมพรรย์19 แนวคิดทางศาสนาและความเชื่อโบราณ  ชาวอียิปต์โบราณ  เทพโทท (Thoth) ประทานภาษาให้มนุษย์  ภาษาฟรีเจียน (Phrygian) ภาษาแรกของโลก คล้ายภาษากรีก  ศาสนาฮินดู  พระสุรัสวดี (มเหสีของพระพรหม) เป็นผู้ให้ กำเนิดภาษา มนุษย์กับภาษา รศ.ดร.กิติมา อินทรัมพรรย์20
  6. 6. 1/18/2014 6 แนวความคิดที่ว่ามนุษย์เป็นผู้สร้างภาษาและเลียนเสียงธรรมชาติ  กลุ่มธรรมชาตินิยม  ชื่อและสิ่งที่ถูกเรียกมีความสัมพันธ์ทาง ธรรมชาติกัน  ภาษาจึงมีคำเลียนเสียงธรรมชาติซึ่งเป็น หลักฐานในการสร้างคำอื่นต่อไป มนุษย์กับภาษา รศ.ดร.กิติมา อินทรัมพรรย์21 http://www.boredpanda.com/animมนaุษยl์-กับsภoาษuา n d s - d i f รfศe.ดrรe.กิnติมtา- อlินaทnรัมgพuรรยa์ges-james-chapman/ 22 แนวความคิดที่ว่ามนุษย์เป็นผู้สร้างภาษาและเลียน เสียงธรรมชาติ  กลุ่มประเพณีนิยม  เชื่อว่าคำ / ชื่อ เกิดจากการตกลงร่วมกันของ เจ้าของภาษา  อังกฤษ table  ฝรั่งเศส la table  เยอรมัน die Tabelle  สเปน una mesa มนุษย์กับภาษา รศ.ดร.กิติมา อินทรัมพรรย์23 แนวความคิดด้านวิทยาศาสตร์  เชื่อว่ามนุษย์ออสตราโลพิเทคัส (4-5 ล้านปี ก่อนค.ศ.) ไม่น่าจะพูดได้ (หลักฐานทาง มนุษยวิทยา)  แต่ต่อมามนุษย์มีพัฒนาการทางอวัยวะในการ ออกเสียงมากขึ้น มนุษย์กับภาษา รศ.ดร.กิติมา อินทรัมพรรย์24
  7. 7. 1/18/2014 7 http://churchofcriticalthinking.org/missing_link.html Human evolution มนุษย์กับภาษา รศ.ดร.กิติมา อินทรัมพรรย์25 พัฒนาการอวัยวะในการออกเสียง มนุษย์กับภาษา รศ.ดร.กิติมา อินทรัมพรรย์26 เมือช่องของเสียงได้รับการพัฒนามากขึน มนุษย์สามารถออกเสียงได้ชัดเจนมากขึน แต่ สูญเสียความสามารถในการหายใจ เคียว และกลืนได้อย่างคล่องแคล่วเหมือนแต่ก่อน http://www.ling.upenn.edu/courses/ling001/com_bio.html มนุษย์กับภาษา รศ.ดร.กิติมา อินทรัมพรรย์27 ภาษากับการเขียน  อักษรภาพ  อักษรรูปลิ่ม  อักษรพยางค์และ อักษรตัวเขียน  อักษรในอินเดีย  อักษรไทย มนุษย์กับภาษา รศ.ดร.กิติมา อินทรัมพรรย์28
  8. 8. 1/18/2014 8 อักษรภาพ และ ภาพความคิด  อักษรภาพ (Pictogram)  ใช้ภาพแทนสิ่งที่เป็นรูปธรรม เช่น พระอาทิตย์ พืชผล  ภาพความคิด (Ideogram) ใช้แทนความคิด Pictogram of Mesopotemia Petroglyph Ancient Hebrew pictogram มนุษย์กับภาษา รศ.ดร.กิติมา อินทรัมพรรย์29 http://www.hebrew4christians.com/Grammar/Unit_One/Pictograms/pictograms.html Modern pictograms and ideograms American Indian pictogram Grade 4 pictogram Grade 4 pictogram มนุษย์กับภาษา รศ.ดร.กิติมา อินทรัมพรรย์30 ภาพความคิด  อักษรภาพ / ภาพความคิด ต่างไม่มีความสัมพันธ์กับ เสียงในภาษาที่พูด  ภาพความคิดในปัจจุบัน เช่น ป้ายจราจรหรือป้ายสื่อ ความหมายต่างๆ มนุษย์กับภาษา รศ.ดร.กิติมา อินทรัมพรรย์31 มนุษย์กับภาษา รศ.ดร.กิติมา อินทรัมพรรย์32
  9. 9. 1/18/2014 9 ฮีโรกลิฟ Hieroglyps  อักษรภาพของชาวอียิปต์  ใช้ในพิธีกรรมทางศาสนา  ผสมผสานระหว่างอักษรภาพ ภาพความคิด และสัญลักษณ์รูปคล้ายที่ใช้แทนพยัญชนะ มนุษย์กับภาษา รศ.ดร.กิติมา อินทรัมพรรย์33 อักษรภาพอียิปต์ Hieroglyphic 12,425 birds ภาพเขียนในยุคแรก มี ลักษณะเป็นรูปวาดที่มี ลักษณะคล้ายคลึงกับสิ่งที่ ต้องการสื่อ มนุษย์กับภาษา รศ.ดร.กิติมา อินทรัมพรรย์34 อักษรรูปลิ่ม  มีความเป็นภาพน้อยลง เพิ่มความเป็นสัญลักษณ์มาก ขึ้น  เกิดเป็นสัญลักษณ์รูปคล้าย  สัญลักษณ์รูปคล้ายที่รู้จักกันมากที่สุดคือ อักษรรูปลิ่ม  เรียกตามลักษณะของตัวอักษรที่ประดิษฐ์ขึ้น  ใช้เป็นสัญลักษณ์แทนคำ = เริ่มระบบเขียนอย่างจริงจัง มนุษย์กับภาษา รศ.ดร.กิติมา อินทรัมพรรย์35 อักษรรูปลิ่มหรือคูนิฟอร์ม อักษรคูนิฟอร์มหรืออักษรลิมทีชาวสุเมเรียนประดิษฐ์ข นึเมือ 3,500 ปีก่อนคริสต์ศักราช http://board.postjung.com/531221.html มนุษย์กับภาษา รศ.ดร.กิติมา อินทรัมพรรย์36
  10. 10. 1/18/2014 10 อักษรพยางค์และ อักษรตัวเขียน  มาจากการนำอักษรรูปลิ่มไปประยุกต์ใช้แทน พยางค์หรือเสียงในภาษา จึงพัฒนาเป็นอักษร พยางค์ มนุษย์กับภาษา รศ.ดร.กิติมา อินทรัมพรรย์37 Sumerian writing system development pictogram cuneiform มนุษย์กับภาษา รศ.ดร.กิติมา อินทรัมพรรย์38 อักษรพยางค์ อักษรฟินีเชียน อักษรครี มนุษย์กับภาษา รศ.ดร.กิติมา อินทรัมพรรย์39 อักษรจีน  พัฒนามาจากอักษรภาพ  http://www.pasajeen.com/อักษรจีนจำง่าย/  อักษรบางตัวใช้แทนคำ บางตัวเป็นส่วนหนึ่งของคำ  เวียดนาม - นำตัวอักษรจีนมาดัดแปลงใช้ - ต่อมาได้รับอิทธิพลจากหมอสอนศาสนา ชาวโปรตุเกส ฝรั่งเศส อิตาลี จึง เปลี่ยนมาใช้อักษรโรมัน มนุษย์กับภาษา รศ.ดร.กิติมา อินทรัมพรรย์40
  11. 11. 1/18/2014 11 日[rì] ดวงอาทิตย์ 木[mù] ไม้ 林[lín] ป่า 森[sēn] ป่าไม้ 山[shān] ภูเขา 水[shuǐ] นำ 田[tián] นา 夫[fū] ผูช้าย(สามี) 舍[shè] บา้นพัก, 门[mén] ประตู มนุษย์กับภาษา รศ.ดร.กิติมา อินทรัมพรรย์41 อักษรจีน  เกาหลี - ใช้อักษรจีนก่อนจะประดิษฐ์อักษรใช้ เอง  ญีปุ่น - รับอักษรจีน - ดัดแปลงอักษรให้เข้ากับภาษาของตน มนุษย์กับภาษา รศ.ดร.กิติมา อินทรัมพรรย์42 อักษรในอินเดีย  แบ่งเป็น 2 ยุค  ยุคแรก เป็นอักษรภาพ แต่ข้อมูลเกียวกับอักษรยุคนี ค่อนข้างจำกัด  ยุคที 2  ปรากฏหลักฐานในศิลาจารึกของพระเจ้าอโศก มหาราช  มี 2 แบบ คือ อักษรขโรษฐี และ อักษรพราห์มี (ต้น กำเนิดของอักษรเขียนในสมัยต่อมา) มนุษย์กับภาษา รศ.ดร.กิติมา อินทรัมพรรย์43 อักษรพราห์มี อักษรพราหมีพบครั้งแรก ในจารึกของพระเจ้าอโศกมหาราชแห่งราชวงศ์เมารยะ อักษรพราห์มีเป็นต้นกำเนิดของอักษรเทวนาครี อักษรขอม อักษรเทวนาครีจากโปรแกรมที่ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงสร้าง http://www.ku.ac.th/e-magazine/jun49/it/it.htm มนุษย์กับภาษา รศ.ดร.กิติมา อินทรัมพรรย์44
  12. 12. 1/18/2014 12 อักษณคฤณห์ที#พบในประเทศไทย ภาพจารึกชืองสระแจง พุทธศตวรรษที ๑๒ อักษรปัลวะ ภาษาสันสกฤต ทีมา : http://www.sac.or.th/databases/inscriptions/th/m ain.php?p=ZGV0YWlsid=12 มนุษย์กับภาษา รศ.ดร.กิติมา อินทรัมพรรย์45 อักษรไทย  อักษรไทยทีประดิษฐ์โดยพ่อขุนรามคำแหง มหาราช  น่าจะดัดแปลงมาจากอักษรขอมหวัด (ดัดแปลง มาจากอักษรคฤนท์ ของอินเดียใต้) มนุษย์กับภาษา รศ.ดร.กิติมา อินทรัมพรรย์46 ภาษาต่างๆในโลก  ภาษาในโลกมีกีภาษา  กลุ่มตระกูลภาษา  มีความคล้ายคลึงกัน  สืบทอดมาจากบรรพบุรุษเดียวกัน มนุษย์กับภาษา รศ.ดร.กิติมา อินทรัมพรรย์47 การแตกตัวของภาษา  ภาษา 1 ภาษา สามารถแตกตัวออกเป็น หลายภาษาได้ เมือกาลเวลาผ่านไปยาวนาน มีการอพยพย้ายถิน กระจายตัว มนุษย์กับภาษา รศ.ดร.กิติมา อินทรัมพรรย์48
  13. 13. 1/18/2014 13 ตระกูลภาษา (Language Families)  อินโดยูโรเปียน: ละติน, อังกฤษ, ฝรัง#เศส, เยอรมัน, สันสกฤต  ไท : ไทย ลาว ผูไ้ท ไทยดำ ไทลื อ  มอญ-เขมร: เขมร มอญ ขมุ ละวา้  ไซโนทิเบตัน: จีนกลาง กวางตุง้ พม่า ทิเบต  ออสโตรนิเชียน: มาเลย์ อินโดนีเซีย ตะกะลอค  ฮามิโตซิเมติก: อาราบิค ฮีบรู มนุษย์กับภาษา รศ.ดร.กิติมา อินทรัมพรรย์49 ภาษาตระกูลอินโด-ยูโรเปียน (Indo-European)  ใช้พูดกันในยุโรป และบางส่วนในแถบเอเชีย  เชือว่าใช้พูดกันเมือ 3,000 ปี ก่อน ค.ศ.  ต่อมาแตกออกเป็นภาษาลูกหลายภาษา เช่น ภาษาอังกฤษ ฝรังเศส เยอรมัน ฯลฯ มนุษย์กับภาษา รศ.ดร.กิติมา อินทรัมพรรย์50 ตระกูลภาษาอินโดยูโรเปียน Celtic Scottish Welsh Irish Latin Italian Spanish French Portuguese Italic West German English Dutch North Swedish Danish Norwegian Germanic Hellenic Ancient Greek Greek Slavic Russian Polish Old Persian Persian Sanskrit Hindi Indo-Iranian Indo-European มนุษย์กับภาษา รศ.ดร.กิติมา อินทรัมพรรย์51 ภาษาตระกูลใซโน-ทิเบตัน (Sino-Tibetan)  ใช้พูดกันทางเอเชียตะวันออก  แยกเป็น 2 สาขาใหญ่  ซินิติก (Sinitic)  ภาษาจีน  จีนกลาง กวางตุ้ง แคะ ไหหลำ แต้จQิว มนุษย์กับภาษา รศ.ดร.กิติมา อินทรัมพรรย์52
  14. 14. 1/18/2014 14 ภาษาตระกูลใซโน - ทิเบตัน (Sino-Tibetan)  ทิเบตัน (Tibetan)  ภาษาทิเบต  ภาษาพม่า ภาษาชนกลุ่มน้อยต่างๆ หลายกลุ่มใน เอเชีย เช่น กะฉิน มนุษย์กับภาษา รศ.ดร.กิติมา อินทรัมพรรย์53 ภาษาตระกูลไท (Tai)  ใช้พูดกันแพร่หลายในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เช่น ในไทย ลาว และชนกลุ่มน้อยเชืSอสายไท ใน เวียดนาม พม่า อินเดีย มาเลียเซีย และจีน  แบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม เหนือ กลาง และ ตะวันตกเฉียงใต้  ภาษาไทย ลาว อยู่ในกลุ่มตะวันตกเฉียงใต้ มนุษย์กับภาษา รศ.ดร.กิติมา อินทรัมพรรย์54 ภาษาตระกูลแอสโตร-เอเชียติก  ใช้พูดกันในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และทาง ตะวันออกของอินเดีย มีตระกูลย่อยแตกออกไปถึง 150 ตระกูล แบ่งเป็น 3 สาขาใหญ่  มันดา (Munda) ใช้พูดกันทางตะวันตก  นิโคบารีส (Nicobarese) ใช้พูดกันทางหมู่เกาะนิโคบาร์ แถบอ่าวเบงกอล ทางตะวันตกของแหลมมลายู  มอญ-เขมร (Mon-Khmer) ใช้พูดกันทางเอเชียตะวันออก เฉียงใต้ แบ่งเป็นหลายสาขา เช่น มอญ ขมุ เวียดนาม เขมร มนุษย์กับภาษา รศ.ดร.กิติมา อินทรัมพรรย์55 ภาษาตระกูลดราวิเดียน  ใช้พูดกันในบางส่วนของอินเดียและภาคเหนือ ของศรีลังกา  ภาษาทมิฬ มนุษย์กับภาษา รศ.ดร.กิติมา อินทรัมพรรย์56

×