O slideshow foi denunciado.
Seu SlideShare está sendo baixado. ×

อารยธรรมตะวันตกกรีกโรมัน(อัพเดท2557)

Anúncio
Anúncio
Anúncio
Anúncio
Anúncio
Anúncio
Anúncio
Anúncio
Anúncio
Anúncio
Anúncio
Anúncio

Confira estes a seguir

1 de 171 Anúncio

อารยธรรมตะวันตกกรีกโรมัน(อัพเดท2557)

Baixar para ler offline

รศ.สุภัทรา นีลวัชระ วรรณพิณ

รศ.สุภัทรา นีลวัชระ วรรณพิณ

Anúncio
Anúncio

Mais Conteúdo rRelacionado

Diapositivos para si (19)

Anúncio

Semelhante a อารยธรรมตะวันตกกรีกโรมัน(อัพเดท2557) (20)

Mais de Heritagecivil Kasetsart (20)

Anúncio

Mais recentes (20)

อารยธรรมตะวันตกกรีกโรมัน(อัพเดท2557)

  1. 1. ประวัติศาสตร์มนุษยชาติ 1.สมัยก่อนประวัติศาสตร์ (Prehistoric Age ) 1.1 ยุคหินเก่า (Old Stone) 2,000,000 - 8,000 B.C. - ภาษาพูด - เครื่องมือ 1.2 ยุคหินใหม่ (New Stone Age) 8,000-4,000 B.C. - การเพาะปลูก - การทำาเครื่องปั้นดินเผา - การค้าขาย
  2. 2. ประวัติศาสตร์มนุษยชาติ 1.3 ยุคโลหะ (Copper Age) 4,000-2,500 B.C. - การใช้ทองแดงและสำาริด - การสร้างระบบชลประทาน - เมืองเป็นศูนย์กลางขอฃการกสิกรรม - การเกิดชนชั้น 1.4 สมัยก่อนประวัติศาสตร์ในประเทศไทย - วัฒนธรรมบ้านเก่า อ.เมือง จ.กาญจนบุรี - วัฒนธรรมบ้านเชียง อ.หนองหาน
  3. 3. ประวัติศาสตร์มนุษยชาติ 2.สมัยประวัติศาสตร์และอารยธรรมโลก 2.1 อารยธรรมตะวันตกยุคโบราณ 2.1.1 อารยธรรมอียิปต์ : ของขวัญจากแมน่ำ้าไนล์ 2.1.2 อารยธรรมเมโสโปเตเมยี : ดินแดน พระจันทร์เสี้ยวอันอุดมสมบูรณ์ 2.1.3 อารยธรรมของกลุ่มชนในตะวันออกกลาง : ฟีนีเชีย ฮีบรู และเปอร์เซีย 2.1.4 อารยธรรมกรีก : นักธรรมชาตินิยมและ มนุษยนิยม 2.1.5 อารยธรรมโรมนั : นักรบและนักปกครองผู้ ยิ่งใหญ่
  4. 4. สมัยประวัติศาสตร์และอารยธรรม โลก (ต่อ) 2.2 อารยธรรมตะวันออกยุคโบราณ 2.2.1 อารยธรรมอินเดีย : อนุทวีป ที่น่าทึ่ง 2.2.2 อารยธรรมจีน : ดินแดนแห่ง ลัทธิประเพณี 2.3 อารยธรรมยุคกลาง 2.3.1 อารยธรรมยุโรปยุคกลาง : ยุคแห่งศรัทธา 2.3.2 อารยธรรมอิสลาม : แหล่ง ความรู้และความเจริญในยุคกลาง
  5. 5. สมัยประวัติศาสตร์และอารยธรรม โลก (ต่อ) 2.4 อารยธรรมยุคใหม่ 2.4.1 การฟื้นฟูศิลปวิทยา 2.4.2 การปฏิรูปศาสนา 2.4.3 การปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์ 2.4.4 การปฏิวัติอุตสาหกรรม 2.4.5 การปฏิวัติประชาธิปไตย 2.4.6 สงครามโลกครั้งที่ 1 2.5 อารยธรรมยุคปัจจุบัน (โลกร่วม สมัย) 2.5.1 สงครามโลกครั้งที่ 2 2.5.2 โลกหลังสงครามโลกครั้งที่ 2
  6. 6. สมัยประวัติศาสตร์ 1.ยุคโบราณ (Early Civilizations) 3,500 ปีก่อนค.ศ. - ค.ศ.476 2.ยุคกลาง (Middle Ages) ค.ศ.800 - ศตวรรษที่ 15 3.ยุคใหม่ (Modern Times) ศตวรรษที่ 15 - ตน้ศตวรรษที่ 20 (World War I) 4.ยุคปจัจุบัน (Contemporary World) กลางศตวรรษที่ 20 (หลังWorld War II) - ปัจจุบัน
  7. 7. ยุค โบราณ จีน กลุ่มชนใน ตะวันออก กลาง โรมัน อารยธ รรม ตะวัน ออก อารยธ รรม ตะวัน ตก กรีก อียิปต์ อินเดีย เมโสโป เตเมีย
  8. 8. อารยธรร ม ยุคกลาง ยุโรปยุค กลาง อิสลาม
  9. 9. อารยธรร ม ยุคใหม่ การปฏิวัติ ทาง วิทยาศาส ตร์ การ ปฏิวัติ อุตสาหก รรม การ ปฏิรูป ศาสนา การฟื้นฟู ศิลปวิทย า สงครามโ ลกครั้งที่ 1 การปฏิวัติ ประชาธิป ไตย
  10. 10. โลกร่วม สมัย (ยุค ปัจจุบัน) โลกหลัง สงครามโลก ครั้งที่ 2 สงครามโล กครั้งที่ 2 เกิดภาวะ สงคราม เย็น ทุกประเทศ ในยุโรป ร่วมมือกัน สร้าง สันติภาพ
  11. 11. อารยธรรมกรีก : นักธรรมชาตินิยม และมนุษยนิยม
  12. 12. อารยธรรมกรีกประกอบด้วย อารยธรรมอีเจียน : ที่มาของ อารยธรรมกรีก อารยธรรมเฮลเลนิก : ยุคทองของอารยธรรมกรีก 500 B.C. อารยธรรมเฮลเลนิสติก : สมัยพระเจ้าอะเล็กซานเดอร์ มหาราช 300 B.C.
  13. 13. อารยธรรมอีเจียน : ที่มาของ อารยธรรมกรีก - มีศูนย์กลางอยู่ที่เกาะครีต ในทะเลอีเจียน - หลักฐานสว่นใหญ่พบที่เมืองคนอสซัสและ เฟเอ สตัส บนเกาะครีต - มีการเดินเรือค้าขายกับอียิปต์และเมโสโปเตเมีย - เป็นอารยธรรมที่คำานึงถึงมนุษย์และสังคม - รักความสะดวกสบาย ชอบงานศิลปะ สนใจชีวิต รักธรรมชาติ และเสรีภาพ - เกิดวรรณกรรมมุขปาฐะ เรื่องมหากาพย์อีเลียด และโอดิสซี
  14. 14. แผนที่คาบสมุทรกรีกและเกาะครีต ในทะเลอีเจียน
  15. 15. พระราชวังที่เมืองคนอสซัส
  16. 16. The Minoan Palace of Knossos
  17. 17. Ruins of ancient Gortyna at Crete island in Greece.
  18. 18. Minoan Palace of Knossos, Crete
  19. 19. Fresco of women, Knossos, Crete
  20. 20. ภพปูนเปียก (fresco) ประดับ พระราชวัง
  21. 21. ภาพปูนเปียก ประดับพระราชวัง กายแสดงกายกรรมบนหลังวัว
  22. 22. มหากาพย์อีเลียดและโอดิสซี
  23. 23. อารยธรรมเฮลเลนิก : ยุคทองของ อารยธรรมกรีก 500 B.C.
  24. 24. - ยุคเฮลเลนิก มีอีกชื่อคือ ยุคคลาสสิค 500 B.C. – คศ.500 - ปกครองแบบนครรัฐ (city state) หรือโพลิส (polis) มีจุดสงูสดุของเมือง เรียกว่า อโครโพ ลิส (acropolis) เป็นที่ตั้งของป้องปราการและ วิหารของเทพหรือเทวี ใจกลางเมืองเรียกว่า อะ กอรา (agora) - เมืองสำาคัญคือ เอเธนส์ (Athens) กับสปาตาร์ (Spatar) โดยมีเอเธนส์เป็นศูนย์กลาง - มีอาณานิคมโพ้นทะเล ทำาให้เกิดความมั่งคั่งทาง เศรษฐกิจ
  25. 25. - มีการใช้เงินตราแทนการแลกเปลี่ยนสิ่งของ - ประชาธิปไตยโดยตรง (direct democracy) - ราษฎรชายมีหน้าที่ปกครองและบริการบ้านเมือง - สภาประชาชนทำาหน้าที่ออกกฏหมายและเป็น ศาลสูงสุด - สภาบริหาร เรียกว่า สภาห้าร้อย ใช้วิธีจับสลาก เป็นประจำาทุกปี - มีความเจริญรุ่งเรืองด้านศาสนา ปรัชญา วิทยาศาสตร์ และ ศิลปะแขนงต่างๆ
  26. 26. อุปนิสัยของชาวกรีก 1. คำานึงถึงมนุษย์และสงัคม สนใจในชีวิตปัจจุบัน รักษาสขุอนามัย และชอบความสะดวกสบาย 2. รักธรรมชาติ ศิลปะ และความงาม 3. นิยมความเรียบง่าย ได้สัดสว่น ผสมกลมกลืน 4. สนใจใฝ่รู้ ชอบค้นคว้าหาความจริง ศึกษาโดย การใช้เหตุและผล ชอบการ อภิปรายโต้เถียง 5. รักในเสรีภาพ และเชอื่มั่นในปัจเจกบุคคล
  27. 27. อุปนิสัยของชาวกรีก (ต่อ) 6. นิยมเล่นกีฬาเพื่ออุทิศแด่เทพเจ้า และเพื่อความ สมบูรณ์ของร่างกายและจิตใจ 7. สนใจโลกนี้มากกว่าชีวิตหลังความตาย 8. ชาวกรีกตระหนักว่าทุกคนเป็นเชื้อชาติเดียวกัน ผูกพันกันด้วยภาษาและศาสนา 9. เอเธนสม์ีวัฒนธรรมที่ผู้ชายเป็นใหญ่ 10. สปาตาร์มีความเข้มแข็งทางทหารแต่ล้าหลัง ในด้านศิลปวิทยาการ
  28. 28. มรดกของเอเธนส์ นักธรรมชาติและนักมนุษยนิยม 1. เทพเจ้า 2. การศึกษา 3. นักปรัชญา นักวิทยาศาสตร์ และนัก ประวัติศาสตร์ 4. ศิลปะแขนงต่างๆ 5. การปกครองประชาธิปไตยโดยตรง
  29. 29. เทพเจ้า Zeus was the father of heroes
  30. 30. Athena, goddess of wisdom
  31. 31. Apollo
  32. 32. Poseidon
  33. 33. Dionysus, wrapped in panther skin
  34. 34. การแข่งขันกีฬาโอลิมปิก
  35. 35. Athens dominated the Olympic games (held in honor of Olympian Zeus), pan-Hellenic chariot races and the performing arts. Playwrights and poets, alongside sociopolitical plays.
  36. 36. วิธีการศึกษาของชาวเอเธนส์ ที่ทำาให้ชาวเอเธนส์เป็นทั้งนักปรัชญา นัก วิทยาศาสตร์ ศิลปิน และนักประวัติศาสตร์ 1.ชาวกรีกนิยมการโต้เถียงอภิปรายและสนทนา ในสิ่งที่เป็นสาระต่างๆ 2.มีความกระหายใคร่รู้เกี่ยวกับชีวิตและโลก 3.มีเหตุผลและมีระบบในการค้นคว้าหาความจริง ในสิ่งต่างๆ 4.มีความอยากรู้อยากเห็นในทุกสิ่งทุกอย่าง 5.มีความเชื่อมั่นในตนเองและนิยมใช้สติปัญญา คิดค้นหาข้อมูล
  37. 37. 1.ปรัชญา Socrates was Plato’s teacher and the Grandfather of Western Philosophy
  38. 38. โสคราตีสถูกบังคับให้ดื่มยาพิษตาย โดยไม่ยอมเลิกพูดความจริง
  39. 39. เพลโต
  40. 40. Ancient Greek Philosophers (Plato & Aristotle)
  41. 41. เชื่อว่าโลกเป็นศูนย์กลางของจักรวาล
  42. 42. ธาเลส เชื่อว่านำ้าเป็นปฐมธาตุของ โลก
  43. 43. Hipocrates บิดาแห่งการแพทย์
  44. 44. Euclid
  45. 45. ทฤษฎีของ Euclid
  46. 46. Anaximander on Cosmology
  47. 47. Pythagoras
  48. 48. Herodotus บิดาแห่งวิชา ประวัติศาสตร์
  49. 49. 2.ศิลปะ สถาปัตยกรรม ประติมากรรม จิตรกรรม
  50. 50. สถาปัตยกรรม วิหาร Erectheum (440 B.C.) ที่ Athens
  51. 51. Acropolis ที่ Athens เห็นวิหาร Parthenon อยู่ตรงกลาง
  52. 52. วิหารพาร์เธนอน
  53. 53. วิหารพาร์เธนอน
  54. 54. หัวเสาแบบต่างๆ จากซา้ย คือหัวเสาแบบ Doric , Ionic และ Corinthian
  55. 55. new modern architecture
  56. 56. ประติมากรรม มคีวามงดงามตามธรรมชาติ ได้สดัส่วน เรียบง่าย ผสมกลมกลืน
  57. 57. Hellenistic Art ประติมากรรมชื่อ Laocoon
  58. 58. Sculptures from the Hellenistic period
  59. 59. จิตรกรรม
  60. 60. Ancient Greek vase depicting Olympic runners, c. 525 BC.
  61. 61. Ancient Greek Art: Heracles & Cerberus
  62. 62. Ancient Greek Art: Hermes & Argos Panoptes
  63. 63. Ancient Greek Art: Zeus & Ganymede
  64. 64. The Theater of Dionysus กรีกเป็นผู้ให้กำำเนิดกำรละครของโลกตะวันตก
  65. 65. Greek Theater of Halicarnassus โรงละครกรีก อัฒจันทร์ผู้ดูสร้ำงเปน็ ชั้นๆตำมไหล่เขำ
  66. 66. เส้นทำงกำรค้ำขำยทำงทะเล
  67. 67. Peloponnesian War Map
  68. 68. อำรยธรรมเฮลเลนิสติก : สมัยพระเจ้ำอะเล็กซำนเดอร์ มหำรำช 300 B.C. 1. อำรยธรรมเฮลเลนิกสนิ้สุดลง เพรำะ สงครำม เพโลโพนีเซียน 2. กำรขึ้นสู่อำำนำจของอเล็กซำนเดอร์และขยำย อำณำเขต 3.กำรเผยแพร่อำรยธรรมกรีก 3.1 มีลักษณะเป็นสำกล ทำงเศรษฐกิจและ ศิลปวิทยำกำร 3.2 ศูนย์กลำงอยู่ที่เมือง Alexandria ใน อียิปต์
  69. 69. 3.3 ด้ำนศิลปกรรม มักมีขนำดใหญ่ วิจิตร พิสดำรเกินพอดี และ ประติมำกรรมนิยมรูปคนครึ่งตัว 3.4 มีกำรติดต่อค้ำขำย ระหว่ำงโลกตะวันออก กับโลกตะวันตก 3.5 กำรผสมผสำนควำมรู้ตะวันตกกับ ตะวันออกกลำงและโลกตะวันออก
  70. 70. Map of the Hellenistic Kingdoms
  71. 71. Alexander the Great
  72. 72. Alexandria, Egypt
  73. 73. อำรยธรรมโรมัน : นักรบและนัก ปกครองผู้ยิ่งใหญ่
  74. 74. อำรยธรรมโรมัน : นักรบและนัก ปกครองผู้ยิ่งใหญ่ 1.ประวัติและกำรปกครองของชำวโรมัน 2.กำรขยำยอำำนำจของจักรวรรดิโรมัน 3.มรดกอำรยธรรมของชำวโรมัน - กำรปกครองและกฎหมำย - สถำปัตยกรรม - ศิลปะ ภำษำ และวรรณคดี - กำรยอมรับนับถือคริสต์ศำสนำ
  75. 75. 1.ประวัติและกำรปกครองของชำว โรมัน - ชำวโรมันเป็นผู้สืบทอดอำรยธรรมกรีกในด้ำน สังคม วัฒนธรรม และศิลปวิทยำกำร - ถิ่นฐำนของชำวโรมันอยู่ในแถบที่รำบละติอุม ริมฝงั่แม่นำ้ำไทเบอร์ ตกอยู่ใต้อิทธพิลของชำวอิ ทรัสกัน - ต่อมำสถำปนำเป็นสำธำรณรัฐอิสระ (republic) มีผู้นำำที่ประชำชนเป็นผู้เลือก - โรมประกอบด้วยคน 2 ชนชนั้คือ Patrician และ Plebeian - มีกำรเกษตรกรรมเป็นอำชีพหลัก
  76. 76. Latium
  77. 77. Capitoline Wolf is a 5th century BC Etruscan bronze statue. Approximately lifesize, it depicts a she-wolf suckling a pair of human twin infant boys, representing the legendary founders of the city of Rome, Romulus and Remus.
  78. 78. Patricians
  79. 79. Plebeians
  80. 80. Roman Republic
  81. 81. Roman Republic
  82. 82. 2.กำรขยำยอำำนำจของจักรวรรดิ โรมัน ครอบคลุม 3 ทวีป คือ ยุโรปตะวันตก แอฟริกำ เหนือ เอเชียตะวันตก และตะวันออกกลำง - ได้คำบสมุทรอิตำลีทั้งหมด ปรำบปรำมกลุ่มต่ำงๆ ในแหลมอิตำลี เช่น อิทรัสกัน และกรีก - ขยำยอำำนำจสู่ทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ปรำบปรำม คำร์เทจได้สำำเร็จ ทำำให้ได้ชื่อว่ำ โรม เป็น “เจ้ำแห่งทะเล เมดิเตอร์เรเนียน” - ขยำยพรมแดนทิศเหนือไปจรดแม่นำ้ำไรน์ และ แม่นำ้ำดำนูบ ไปจนถึงเกำะอังกฤษ
  83. 83. The Roman Navy operated between the First Punic war and the end of the Western Roman Empire.
  84. 84. Punic Wars : Storming of Byrsa, Carthage
  85. 85. Punic Wars
  86. 86. Punic Wars
  87. 87. Punic Wars
  88. 88. Carthage
  89. 89. Carthage: The Lost Mediterranean Civilization
  90. 90. Carthage Must Be Destroyed
  91. 91. Julius Caesar
  92. 92. Julius Caesar
  93. 93. จูเลียส ซีซำร์ - ผู้เผด็จกำรแห่งโรม และทำำให้อำณำจักรโรม มีชื่อเสียง มี ส่วนสำำคัญอย่ำงมำกในกำรขยำยอำำนำจจน เป็นจักรวรรดิโรมัน - มีชอื่เสยีงจำกกำรปรำบแคว้นโกล หรือ ฝรั่งเศสปัจจุบัน - ดินแดนที่พิชิตได้มี โกล และ อียิปต์ ไป จนถึงอังกฤษ - ถูกลอบสงัหำรในสภำซีเนต เมื่อ 44 B.C. ถือว่ำสนิ้สุดกำรปกครอง แบบสำธำรณรัฐ
  94. 94. Augustus and the Early Roman Empire Octavian became Augustus Caesar in 27 BC
  95. 95. ออกัสตัส(ออกุสตุส) ซีซำร์ (Augustus Caesar) - เป็นจุดเริ่มต้นควำมเจริญรุ่งเรืองใน 2 ศตวรรษ แรกของจักรวรรดิโรมัน เรียกว่ำ สมัยสันติภำพโรมัน (Pax Romana) 27 B.C. - ค.ศ.180 ยังเป็นยุคทองของจักรวรรดิโรมันด้วย ค.ศ. 96 - ค.ศ.180 เป็นช่วงมี จักรพรรดิที่ทรงคุณงำมควำมดีปกครองติดต่อ กัน 5 องค์ - มีผู้กล่ำวถึงควำมรุ่งเรืองของโรมในสมัยออกุส ตุส ซีซำร์ไว้ว่ำ “He had founded Rome a city of brick and left it a city of
  96. 96. 3.มรดกอำรยธรรมของชำวโรมัน - กำรปกครองและกฎหมำย - สถำปัตยกรรม - ศิลปะ ภำษำ และวรรณคดี - กำรยอมรับนับถือคริสต์ศำสนำ
  97. 97. กำรปกครองและกฎหมำย - กฎหมำยสิบสองโต๊ะ (Law of the Twelve Tables) เป็นกฎหมำยโบรำณอันเป็นรำกฐำน ของกฎหมำยโรมัน กฎหมำยสิบสองโต๊ะเป็น หัวใจของรัฐธรรมนูญสำธำรณรัฐโรมันและแกน กลำงของ "ธรรมเนียมบรรพชน" เป็นที่มำของ กฎหมำยในปัจจุบันฃ - ประมวลกฎหมำยโรมนั ยึดหลักควำมยุติธรรม ควำมเสมอภำค สอดคล้องกับเหตุผลและ มนุษยธรรม ใช้ได้เป็นสำกล และปรับปรุง เปลี่ยนแปลงให้เข้ำกับยุคสมัยได้
  98. 98. กำรปกครองและกฎหมำย (ต่อ) - วำงโครงร่ำงกำรปกครองที่ใช้อยู่ในยุโรป อเมริกำ และประเทศต่ำงๆ ปัจจุบัน โดยแบ่ง กำรปกครองเป็นมณฑล จังหวัด และอำำเภอ - เป็นที่มำของทฤษฎีกำรเมืองแบบเสรีนิยม เช่น ทฤษฎีสญัญำประชำคม (social contract) อธิปไตยเป็นของปวงชน (popular sovereignty) และกำรแบ่งแยกอำำนำจเป็น 3 ฝ่ำย (seperation of powers) รวมทั้ง กฎหมำยต้องเป็นหลักสูงสดุในกำรปกครอง (rule of law) - ศัพท์ทำงด้ำนกำรปกครองของชำวโรมัน ได้แก่
  99. 99. Law of the Twelve Tables
  100. 100. A Meeting of the Roman Senate
  101. 101. สถำปัตยกรรม - สร้ำงถนนหลวงเชอื่มส่วนต่ำงๆของจักรวรรดิ จนได้ชื่อว่ำ “ถนนทุกสำยมุ่งสู่กรุงโรม” - สร้ำงสถำนที่สำธำรณะต่ำงๆในเมือง เช่น สนำม แข่งรถศึกเทียมม้ำ ประตูชัย โรงอำบนำ้ำ สำธำรณะ และวิหำร รวมทั้งสงิ่อำำนวยควำม สะดวก เช่น สะพำน ท่อส่งนำ้ำขนำดใหญ่ - ใช้โครงสร้ำงสถำปัตยกรรมแบบกรีก แต่เพิ่ม หลังคำโค้งทรงอุโมงค์ (barrel vault) เพื่อใช้ คลุมบริเวณกว้ำงๆ และโครงหลังคำสนัไขว้ (cross vault)
  102. 102. Temple of Fortuna Virillis วิหารที่กรุงโรม สร้างใน คริสต์ ศตวรรษที่ 2 B.C.
  103. 103. วิหาร Pantheon ที่กรุงโรม สถาปัตยกรรมชนิ้เอกของโรมัน ด้านหน้าเปน็วิหารแบบกรีก ด้านหลัง เปน็ โดมขนาดใหญ่
  104. 104. ประตูชัยจักรพรรดิติตุส (Arch of Titus) ที่กรุง โรม สร้างค.ศ.81 เพื่อฉลองชัยชนะที่โรมัน สามารถยึดกรุงเยรูซาเล็มได้ ในค.ศ.70 สูง 47 ฟุต 4 นิ้ว
  105. 105. Overview of the Roman Forum
  106. 106. Roman Public Bath, England
  107. 107. Roman public toilets, Ostia Antica
  108. 108. The greatest Roman amphitheater
  109. 109. Circus Maximus, Rome
  110. 110. ancient Roman Aqueduct at Pont du Gard ทางส่งนำ้าของโรมนั ทางตอนใต้ของฝรั่งเศส สร้างในคริสต์ศตวรรลำาเลียงนำ้าคือสว่นบนสุด
  111. 111. Roman aqueduct
  112. 112. On Tyre & Roman Roads
  113. 113. Roman Roads
  114. 114. Remains of Roman tombs lining the Appian Way (begun 312 BC), Rome.
  115. 115. Roman Volubilis Basilica in Morocco
  116. 116. Roman basilica
  117. 117. St. Peter’s Basilica, Rome, Italy
  118. 118. Colosseum was the largest arena in the world for public entertainment, seating 50,000 spectators with numbered tickets.
  119. 119. โคลอสเซียม (Colosseum) ประเทศอิตาลี หนึ่งในเจ็ดสิ่ง มหัศจรรย์ของโลกยุคใหม่
  120. 120. ศิลปะ ภาษา และวรรณคดี - มีชอื่เสยีงด้านจิตรกรรมปูนเปียก (fresco) และ ภาพแกะสลักนูนตำ่า (bas relief) - ด้านการประพันธ์ ได้ชอื่ว่า “ยุคทองของ วรรณคดีภาษาละติน” นักประพันธ์ที่สำาคัญ ได้แก่ เวอร์จิล (Virgil) ซิเซโร (Cicero) ฮอเรซ (Horace) และโอวิด (Ovid) - ภาษาละตินเป็นภาษาของยุโรปในสมัยจักรวรรดิ และเป็นที่มาของภาษาโรมานซ์ ได้แก่ ภาษา
  121. 121. Roman Fresco
  122. 122. Ancient Roman Fresco Pompeii: The Three Graces
  123. 123. Ancient Roman Fresco Pompeii: Venus & Mars
  124. 124. The Villa dei Misteri (Villa of the Mysteries), c. 60 BC.
  125. 125. Roman bas relief
  126. 126. ประติมากรรม Venus of Cnidus สงู 6 ฟตุ 9 นิ้ว ซึ่งโรมัน สร้างเลียนแบบ กรีก
  127. 127. Virgil
  128. 128. Cicero
  129. 129. Horace
  130. 130. Ovid
  131. 131. การยอมรับนับถือคริสต์ศาสนา - จักรพรรดิคอนสแตนติน (Constantine) แห่ง จักรวรรดิโรมันตะวันออก ได้ยอมรับคริสต์ ศาสนาเป็นศาสนาของจักรวรรดิโรมันในค.ศ. 313 - ในโรมันตะวันออก เรียกว่า Eastern Orthodox ในโรมันตะวันตก เรียกว่า Roman Catholic
  132. 132. Map of the Eastern & Western Roman Empire
  133. 133. จักรพรรดิคอนสแตนติน ผู้สถาปนา เมืองหลวงของจักรวรรดิโรมันตะวัน ออก ที่เมืองไบแซนติอุม
  134. 134. อุปนิสัยของชาวโรมัน 1. มรีะเบียบวินัย เป็นนักรบที่กล้าหาญ เชื่อฟังผู้ บังคับบัญชา 2. ชนื่ชมในอารยธรรมกรีก และถ่ายทอดไปยัง โลกตะวันตกในสมัย จักรวรรดิ 3. เป็นต้นแบบการปกครองแบบสาธารณรัฐและ แนวคิดแบบเสรีนิยม 4. ขณะเดียวกันก็สร้างภาษา วรรณคดี และ สถาปัตยกรรมของตนเอง 5. สนใจสร้างสิ่งก่อสร้างสาธารณะเพื่อความสขุ สขุภาพ และความยิ่งใหญ่
  135. 135. สาเหตุการล่มสลายของจักรวรรดิ โรมัน - การแก่งแย่งชิงอำานาจกันเองระหว่างแม่ทัพ นายกองที่รบชนะใน ดินแดนต่างๆ - ค.ศ.476 จักรวรรดิโรมันตะวันตล่มสลาย ถูก อนารยชนเผ่าเยอรมัน รุกราน เช่น เผ่าวิซิกอท แวนดัล เบอร์กันดี แฟรงค์ แองโกลแซกซอน และ ออสโตรกอท - ส่วนจักรวรรดิไบแซนไทน์ หรือโรมันตะวันออก ซึ่งมีศูนย์กลางที่เมือง
  136. 136. มหาวิหาร Hagia Sophia สร้างเสร็จ ในสมัยจักรพรรดิจัสติเนียน ซึ่งถือว่าเป็นวิหารที่ ใหญ่ที่สดุในยุโรปขณะนั้น ปัจจุบันเป็นพิพิธภัณฑ์ อยู่ที่เมืองอิสตันบูล ประเทศตุรกี
  137. 137. ภายในของมหาวิหารเซนต์โซเฟีย มี ช่องหน้าต่าง ภายใต้โดม เพอื่ให้แสงสว่าง ส่องเข้ามาในอาคาร
  138. 138. วิหาร St.Sophia ที่เมอืง Kiev ใน รัสเซีย มีรูปแบบสถาปตัยกรรมที่แสดงถึง อิทธิพลของอารยธรรมไบแซนไทน์
  139. 139. Mosaic ที่ Sant : Aplollinare Nuavo ถอืวา่เปน็ Mosaic ทสี่วยงาม ทสี่ดุแห่งหนึ่ง สร้างสมัยจักรพรรดจัส ติเนียน
  140. 140. Constantinople, on a peninsula between Europe and Asia, was the empire’s most important city. Its habor was a major port for trade.
  141. 141. The subject and style of this painting are typical of religious art throughtout the Byzantime Empire

×