SlideShare a Scribd company logo
Enviar pesquisa
Carregar
Entrar
Cadastre-se
หลวงพ่อทูล วัฏฏะสงสาร
Denunciar
guestf16531
Seguir
20 de Jun de 2009
•
0 gostou
•
761 visualizações
หลวงพ่อทูล วัฏฏะสงสาร
20 de Jun de 2009
•
0 gostou
•
761 visualizações
guestf16531
Seguir
Denunciar
Negócios
หลวงพ่อทูล วัฏฏะสงสาร
1 de 58
Baixar agora
1
de
58
Recomendados
คำนำทำ1
Songsarid Ruecha
1.3K visualizações
•
54 slides
ศาสนาซิกข์
Padvee Academy
35.2K visualizações
•
34 slides
บทที่ 1 ศาสนาคืออะไร
Padvee Academy
3.7K visualizações
•
56 slides
สไลด์ หลักคำสอนอขงศาสนาต่างๆ ป.4+464+dltvsocp4+55t2soc p04 f25-4page
Prachoom Rangkasikorn
2.4K visualizações
•
7 slides
พระพุทธศาสนากับสังคมสงเคราะห์ ตอน พระพยอม พ่อพระของผู้ยากจน
Padvee Academy
4.6K visualizações
•
30 slides
พระสงฆ์กับการศึกษาและอนุรักษ์วัฒนธรรม
Padvee Academy
4K visualizações
•
33 slides
Mais conteúdo relacionado
Mais procurados
ศาสนาเปรียบเทียบ
thnaporn999
16.2K visualizações
•
5 slides
590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว
เตชะชิน เก้าเดือนยี่
1.9K visualizações
•
13 slides
ศาสนาพุทธ
reemary
697 visualizações
•
13 slides
แนวคิดและอุดมคติพระโพธิสัตว์ในพุทธศาสนามหายาน
Padvee Academy
14.6K visualizações
•
90 slides
ศาสนาสากล โดย ครูอัมพร
ampy48
12.1K visualizações
•
7 slides
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
Padvee Academy
20.7K visualizações
•
42 slides
Mais procurados
(20)
ศาสนาเปรียบเทียบ
thnaporn999
•
16.2K visualizações
590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว
เตชะชิน เก้าเดือนยี่
•
1.9K visualizações
ศาสนาพุทธ
reemary
•
697 visualizações
แนวคิดและอุดมคติพระโพธิสัตว์ในพุทธศาสนามหายาน
Padvee Academy
•
14.6K visualizações
ศาสนาสากล โดย ครูอัมพร
ampy48
•
12.1K visualizações
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
Padvee Academy
•
20.7K visualizações
อัคคิวัจฉโคตตสูตร บ่อเกิดแนวคิดมหายาน
Padvee Academy
•
11.6K visualizações
พระพุทธศาสนานิกายเซน
Padvee Academy
•
14.7K visualizações
พระพุทธศาสนากับสัตว์ป่า
Kasetsart University
•
7.3K visualizações
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
Padvee Academy
•
11.5K visualizações
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
primpatcha
•
14.1K visualizações
ความหมายและประเภทของศาสนา
นายวินิตย์ ศรีทวี
•
24.1K visualizações
ศาสนาซิกข์
thnaporn999
•
3.5K visualizações
ศาสนาสากล
ThanaponSuwan
•
1.1K visualizações
กลางภาค ส43101 ม.6
thnaporn999
•
11.4K visualizações
จักรวาลในพุทธปรัชญาเถรวาท
Padvee Academy
•
7.9K visualizações
ชีวประวัติและอุดมคติแห่งชีวิตของท่านพุทธทาสภิกขุ
Padvee Academy
•
2.2K visualizações
ศาสนาเปรียบเทียบ
thnaporn999
•
54.1K visualizações
ฮินดู
thnaporn999
•
967 visualizações
ศาสนาเปรียบเทียบ 1
thnaporn999
•
39.3K visualizações
Destaque
The Socio Cultural Evolution Of Our Species Copia
Tony Valderrama
1.5K visualizações
•
4 slides
Chart Tales Of US Dollar
Anindya Banerjee
263 visualizações
•
3 slides
FX Outlook Sept2010
Anindya Banerjee
205 visualizações
•
3 slides
WordPress MU
Gustavo Silva Bordoni
255 visualizações
•
11 slides
Bibiana menegaz arquitetura de atmosfera hotéis e pousadas
Bibiana Menegaz - Arquitetura de Atmosfera
163 visualizações
•
15 slides
Swiss And The World Currencies
Anindya Banerjee
182 visualizações
•
6 slides
Destaque
(13)
The Socio Cultural Evolution Of Our Species Copia
Tony Valderrama
•
1.5K visualizações
Chart Tales Of US Dollar
Anindya Banerjee
•
263 visualizações
FX Outlook Sept2010
Anindya Banerjee
•
205 visualizações
WordPress MU
Gustavo Silva Bordoni
•
255 visualizações
Bibiana menegaz arquitetura de atmosfera hotéis e pousadas
Bibiana Menegaz - Arquitetura de Atmosfera
•
163 visualizações
Swiss And The World Currencies
Anindya Banerjee
•
182 visualizações
It Is Good To Be A Referee
michaettg
•
501 visualizações
Apresentação arquitetura hoteleira
Bibiana Menegaz - Arquitetura de Atmosfera
•
498 visualizações
Health Savings Accounts (HSAs)- What they are and how to use them-2009
toshima
•
640 visualizações
When The Market Speaks, Listen
Anindya Banerjee
•
185 visualizações
GLOBAL CHART BOOK-JUNE 2010
Anindya Banerjee
•
165 visualizações
MECHANICS OF FX OPTIONS ON NSE
Anindya Banerjee
•
2.9K visualizações
Management Luka
guestee2bad5
•
6.8K visualizações
Similar a หลวงพ่อทูล วัฏฏะสงสาร
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
Tongsamut vorasan
329 visualizações
•
22 slides
สำนักปฏิบัติธรรมสุธัมมสถาน มงคลสามสิบแปด
Tongsamut vorasan
632 visualizações
•
58 slides
พระพุทธศาสนากับการสื่อสาร
Jack Like
5K visualizações
•
53 slides
ทุกศาสนา
Muttakeen Che-leah
484 visualizações
•
91 slides
ครูพัชราภรณ์ เหมือนรุ่ง
พัน พัน
775 visualizações
•
15 slides
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
Tongsamut vorasan
682 visualizações
•
18 slides
Similar a หลวงพ่อทูล วัฏฏะสงสาร
(20)
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
Tongsamut vorasan
•
329 visualizações
สำนักปฏิบัติธรรมสุธัมมสถาน มงคลสามสิบแปด
Tongsamut vorasan
•
632 visualizações
พระพุทธศาสนากับการสื่อสาร
Jack Like
•
5K visualizações
ทุกศาสนา
Muttakeen Che-leah
•
484 visualizações
ครูพัชราภรณ์ เหมือนรุ่ง
พัน พัน
•
775 visualizações
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
Tongsamut vorasan
•
682 visualizações
สุภีร์ ทุมทอง สติปัญญา
Tongsamut vorasan
•
364 visualizações
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
Tongsamut vorasan
•
123 visualizações
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
Tongsamut vorasan
•
264 visualizações
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรม
niralai
•
11.2K visualizações
Dhamma core
YajokZ
•
168 visualizações
โอวาทพระอาจารย์
YajokZ
•
497 visualizações
โอวาทพระอาจารย์
guest3650b2
•
110 visualizações
คำปฎิญาณพิธีจุดเทียนอุดมการณ์
niralai
•
7.8K visualizações
บทที่ 1 ศึกษาความหมายและความเป็นมาของวิชาเทววิทยาเบื้องต้น
Gawewat Dechaapinun
•
1.6K visualizações
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๓
วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
•
651 visualizações
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
•
1.2K visualizações
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
•
355 visualizações
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
•
202 visualizações
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
dentyomaraj
•
2K visualizações
หลวงพ่อทูล วัฏฏะสงสาร
2.
1
3.
2
4.
3
วัฏสงสาร หลวงพ่ อทูล เทศน์ ท่ ี รร.ปานะพันธ์ กัณฑ์ ท่ ี 1 ขอเจริ ญธรรม แก่ท่านพุทธมามกะบริ ษัททังหลาย เนื่อง ้ ด้ วยพวกเราทังหลายได้ มารวมกัน เรี ยกว่า ธรรมสภา เป็ นสถานที่ ้ ร่ วมกันปฏิบตธรรม ครังนี ้ เป็ นครังที่ 4 หลายคนได้ ติดตามมาตังแต่ ัิ ้ ้ ้ ครังแรกจนถึงปั จจุบน บางท่านได้ ติดตามมาครังสองครัง หรื อครัง ้ ั ้ ้ ้ แรกก็เป็ นได้ ฉะนันสถานที่แห่งนี ้ ถือว่าเป็ นธรรมสภา อบรมธรรมะ ้ ค้ น คว้ า ในธรรม พวกเราทั ง หลายเข้ าใจว่ า ต้ องไปวัด จึ ง จะ ้ แสวงหาธรรมะได้ ไม่เข้ าใจว่า ธรรมะอยู่ที่ไหน ทําอย่างไรจึงจะ เข้ าถึงธรรม สถานที่ท่ีได้ จดไว้ ว่าเป็ นวัด นันเป็ นส่วนหนึ่งสําหรั บ ั ้ พระสงฆ์สามเณรอยูอาศัยนันเป็ นส่วนหนึง ่ ่ ่ ส่วนการแสวงหาธรรม หรื อสภาธรรม ไม่จํากัดในที่เช่นนัน ้ ตลอดไป เช่น เราอยู่ในที่แห่งนี ้ ก็ถือว่าเป็ นสภาธรรมได้ คือเป็ น สถานที่ศกษาธรรม หรื อปฏิบติธรรม ทีนี ้เราชาวพุทธทังหลาย ต้ อง ึ ั ้ ศึกษาธรรมะให้ มากขึน ตามหลักความเป็ นจริ ง ตามคําสอนของ ้
5.
4 พระพุทธเจ้ า พระพุทธเจ้
า ได้ สอนธรรมะแก่เรานัน เป็ นธรรมะที่้ พระองค์ค้นพบด้ วยพระองค์เอง ค้ นพบที่ไหน ค้ นพบธรรมะที่มีอยู่ กับโลก โลกทังหมดมีธรรมะเป็ นหลักความจริ งอยู่แล้ ว แต่ก่อนมา ้ ไม่เ คยมี ใ ครพบว่าเป็ นหลักความจริ ง ทัง ที่ ค วามจริ ง มี อ ยู่ใ นตัว ้ ทังหมด คําสอนของพระพุทธเจ้ าที่นํามาสอนทังหลาย เรี ยกว่า ้ ้ ศาสนธรรมคําสอน เป็ นการนําความจริ งมาสอนคน คือคนเรามี ความจริ ง อยู่ ใ นตัว แต่ ป ฏิ บัติ ต ามความจริ ง ในตัว ทัง หมดไม่ ้ สมบูร ณ์ ขาดตกบกพร่ อ งอยู่เ สมอ เพราะไม่ร้ ู จัก วิธี แ นวทางที่ ถูกต้ อง ผิดบ้ าง ถูกบ้ าง ล้ มลุกคลุกคลานอยูเ่ สมอ คํ า สอนของพระพุท ธเจ้ า นี จึ ง เป็ นคํ า สอนที่ ม าประยุก ต์ ้ ความจริ ง ทัง หมดที่ เ ราปฏิ บัติ ม าแล้ ว ในอดี ต ให้ เ ป็ นกลุ่ม ก้ อ น ้ ปฏิบติได้ อย่างถูกต้ องอย่างชัดเจนขึ ้น คําสอนของพระพุทธเจ้ าจึง ั เป็ นของเก่าที่สตว์โลกทังหลายเป็ นมาในอดีต จนถึงปั จจุบน เอา ั ้ ั เรื่ องเก่าๆ นี่แหละ มาปรับปรุ งให้ คนได้ เข้ าใจในความเป็ นจริ ง คํา ว่า รู้จริ งตามความเป็ นจริ ง จริ งอะไร ถึงเราจะภาวนาปฏิบติตาม ั วิธีอ่ืนๆ ถ้ าเราไม่ปฏิบติตามแนวทางที่ถกต้ อง ความรู้ จริ งเห็นจริ ง ั ู จะไม่เกิดขึนกับเราได้ สัจธรรมเป็ นคําสอนของพระพุทธเจ้ า คือ ้ พูดแล้ วไม่ผิด เป็ นความจริ งตลอดเวลา ไม่มีสงใดจะแก้ ไขได้ ิ่ ถึงแม้ ว่าจะมี คนใดคนหนึ่งที่ เกิ ดมาในโลกนี ้ จะมาแก้ ไ ข ความจริ ง ให้ เ ปลี่ ย นไปเป็ นอย่า งอื่ น จะเปลี่ย นแปลงไม่ไ ด้ เ ลย เพราะหลักความจริ งเป็ นหลักธรรมชาติที่มีอยู่กบโลกไม่ว่าจะกาล ั ไหนๆ ธรรมะ ในสมัยที่พระองค์ออกปฏิบติช่วงแรก ไม่มีใครให้ ั
6.
5 คําแนะนําพระองค์เลย แต่พระองค์ก็นําหลักธรรมชาติมาพิจารณา ว่าอะไรเป็ นอะไร
ธรรมชาติทงหมดเป็ นคําสอน เพราะคนเราอยูกบ ั้ ่ ั ธรรมชาติ เกิ ด มาตามธรรมชาติ อยู่ ต ามธรรมชาติ ชี วิ ต เรา หมุนเวียนเปลี่ยนไปตามธรรมชาติทงนัน อยู่กบที่ไม่ได้ ส่วนเรื่ อง ั้ ้ ั สังขารร่างกายหรื อรูปขันธ์เป็ นอีกเรื่ องหนึง ่ ธรรมชาติ ที่ ห มุน อยู่กับ โลกนี ้ ไม่ มี ใ ครกํ า หนดได้ ไม่ มี พระพุทธเจ้ า หรื อ พระเจ้ าองค์ใดจะกําหนดให้ เป็ นไปตามใจชอบ ได้ เรี ยกว่า วัฏจักร พูดง่ายๆ ว่า ชีวิตเราที่เป็ นอยู่นี ้ก็หมุนเวียนไป ตามธรรมชาติ ธรรมชาตินี ้ มีขึ ้นๆ ลงๆ เช่น อายุขยของคนเรา หรื อ ั ชีวตความเป็ นอยูก็มีการขึ ้นๆ ลงๆ ตามธรรมดา ส่วนมากเราศึกษา ิ ่ ในทางวิ ท ยาศาสตร์ วิท ยาศาสตร์ จ ะศึก ษาเรื่ อ งอดี ต แต่เ รื่ อ ง อนาคตไม่มีใครสามารถเขียนล่วงหน้ าให้ เป็ นไปตามจริ งได้ เพราะ หลักธรรมชาติเป็ นเรื่ องลึกลับละเอียดอ่อน ผู้จะรู้ เรื่ องธรรมชาติมี เพียงคําสอนของพระพุทธเจ้ า เรี ยกว่า โลกวิทู โลกวิทู คือ รู้ แจ้ ง โลก รู้ แจ้ ง ทัง อดี ต ที่ เ ป็ นมาของธรรมชาติ ว่ า เป็ นอย่ า งไร รู้ ใน ้ ปั จจุบนว่าธรรมชาติของโลกปั จจุบนเป็ นอย่างไร และสามารถจะรู้ ั ั ธรรมชาติของอนาคตต่อไปว่า อนาคตธรรมชาติจะเปลี่ยนแปลงไป เป็ นอย่างไร พระพุทธเจ้ าสามารถรู้ได้ ทงหมด จึงนํามาเขียนเพื่อให้ ั้ คนได้ ศึก ษาตามหลัก ความเป็ นจริ ง ว่า วัฏ จักรที่ ห มุน ไปตาม ธรรมชาติหมุนอย่างไรบ้ าง ตัวเราที่เกิดตายในวัฏสงสารนี ้ เกิดกี่ ครั ง มาแล้ ว แต่ ล ะครั ง แต่ ล ะภพชาติ ที่ เ กิ ด มา การเกิ ด นั น มี ้ ้ ้ ความสุข มีความเจริ ญทุกภพชาติหรื อไม่ นี่คือศึกษาความจริ งของ
7.
6 ตนเอง
ทีนี ้การศึกษาความจริ งของตนเอง จําเป็ นต้ องศึกษาความ จริ ง ของคนอื่ น ด้ ว ย จากธรรมชาติ ร อบตัว ด้ ว ย เพราะทุ ก สิ่ ง เปลี่ยนไปตามธรรมชาติทงหมด ที่พดเรื่ องธรรมชาติให้ ฟังนี ้ เพื่อให้ ั้ ู รู้ จกโทษ รู้ จกภัย รู้ จกทุกข์ เรามาเกิดกับธรรมชาตินี ้ ต้ องรู้ ว่า เรา ั ั ั จะได้ อะไร มีดีส่วนใด มีชวส่วนใด ส่วนไหนบ้ างที่เป็ นข้ อคิด เป็ น ั่ ข้ อ ปฏิ บัติ เราจะหาวิ ธี ห ลี ก เลี่ ย งได้ อ ย่ า งไร จะไม่ ใ ห้ เ กิ ด ตาม ธรรมชาตินานเกินไป สําหรับพระอริ ยเจ้ าทังหลายที่ได้ ศกษาธรรมชาติ ท่านจึงรู้ ้ ึ ว่า ธรรมชาติที่หมุนเวียนอย่างนี ้ ชีวิตของมวลสัตว์ทงหลาย ไม่ว่าั้ สัตว์น้อยใหญ่ สัตว์บกสัตว์นํ ้า ตลอดจนคนทุกชาติภาษาไม่ว่าจะ ดี ห รื อ ชั่ ว เมื่ อ มาเกิ ด กั บ โลกนี แ ล้ วก็ ต้ องหมุ น เวี ย นไปตาม ้ ธรรมชาติตลอดเวลา หาทางสิ ้นสุดไม่ได้ ขณะที่หมุนไปอยู่นน ก็ ั้ ได้ อาศัยความอยากของตนเอง ทําตามความอยากอยู่เรื่ อยๆ โดย ไม่เข้ าใจว่า การทําตามความอยาก ให้ โทษ ให้ ภย ให้ คณอย่างไร ั ุ ทําตามความอยากอยู่เสมอ สุดท้ ายแล้ วก็มีความผิดเป็ นส่วนใหญ่ เพราะจิตใจของคนพยายามรั่ วไหลไปในทางที่ตํ่าเสมอไป การ พยายามพยุงจิตใจให้ เข้ มแข็ง ให้ ก้าวหน้ า มีจิตใจที่สงขึ ้นนัน ยาก ู ้ มากที่ จ ะทํ า ได้ จึ ง ต้ อ งนํ า คํ า สอนของพระพุ ท ธเจ้ ามาศึ ก ษา เพื่อให้ เห็นทุกข์โทษภัยในวัฏสงสาร เห็นทุกข์โทษภัยในธรรมชาติ ที่มีอยู่ เราได้ เลื่อนลอยเกิดแก่เจ็บตายในวัฏสงสารมาหลายชาติภพ ก็เหมือนปั จจุบันชาตินีทังหมด ชาติก่อนเราก็ เป็ นอย่างนี ้ เกิ ด ้ ้
8.
7 ขึ ้นมา ผู้หญิงก็เป็
นเพศหญิง ผู้ชายก็เป็ นเพศชาย เกิดมาแล้ วก็ต้อง แก่เจ็บตาย เป็ นธรรมชาติของสัตว์โลกทุกตัวต้ องเป็ นอย่างนี ้ ไม่มี คนหนึ่งคนใดหรื อสัตว์ใด จะอยู่ตลอดกัปตลอดกัลปได้ การเกิด์ มาทัง หมดจะมี อ ะไรเป็ นเครื่ อ งต่ อ รองได้ ว่ า เราจะมี ค วามสุข ้ ตลอดไป อะไรจะเป็ นเครื่ องต่อรองได้ ไม่มีเลย ในโลกนีหาสิ่งที่มีความเที่ยงแท้ แน่นอนอย่างจริ งจังไม่ได้ ้ ธรรมชาติเป็ นสิ่งที่หมุนเวียนกันอยู่เท่านัน เรื่ องความสุขความทุกข์ ้ ก็ เ ป็ นธรรมชาติ ข องคนที่ ต้ องเจอ นี่ คื อ ความจริ งของโลก พระพุทธเจ้ ามองเห็นชัด จึงได้ ประกาศศาสนาให้ คนในภายหลังได้ ศึกษาความจริ ง เอาความจริ งมาสอนคน ให้ คนได้ เห็นทุกข์โทษ ภัยในธรรมชาติ เห็นทุกข์โทษภัยในวัฏสงสารที่หมุนเวียนกันอยู่ว่า เป็ นทุกข์อย่างไร เมื่อเห็นทุกข์แล้ ว เขาเหล่านันก็จะเกิดความเบื่อ ้ หน่าย กลัวในการเกิด กลัวในความทุกข์ กลัวในภัยต่างๆ การ ภาวนาปฏิบตก็คือเพื่อให้ ร้ ูธรรมชาติท่ีมีอยูนี ้เอง ัิ ่ ฉะนันหลักการภาวนาปฏิบติที่เราทําก็เพื่อมุ่งหวังให้ ร้ ูความ ้ ั จริ งในธรรมชาติที่มีอยู่ คําว่า โลกวิทู เป็ นคําสอนของพระพุทธเจ้ า พระสาวกก็จะรู้ ได้ บางท่าน ถึงจะไม่ร้ ู ทังหมด รู้ ได้ บางส่วนก็ยงดี ้ ั โลกวิทู มีอะไรเป็ นเครื่ องวัด มีหลัก 3 ประการใหญ่ๆ คือ 1.ความจริ ง คือ ไม่เที่ยง 2.ความจริ ง คือ ความทุกข์ 3.ความจริ ง คือ ไม่มีอะไรเป็ นของของเรา หลัก ใหญ่ ทัง 3 ประการนี ้ คื อ หลัก ประกัน ของโลกวิ ทู ้
9.
8 ทัง หมด โลกวิ
ทูเ ป็ นผู้ร้ ู แจ้ ง โลกทัง หมดมารวมอยู่ใ นหลัก ไตร ้ ้ ลักษณ์ คือ ความไม่เที่ยง ความทุกข์ และ ไม่มีอะไรเป็ นของของเรา สําหรับผู้ปฏิบติทงพระและฆราวาสก็สามารถรู้ ได้ เป็ นโลกวิทูได้ ั ั้ ถึงจะไม่กว้ างขวางพิสดารเท่าพระพุทธเจ้ า แต่เราก็ร้ ู ได้ นี่คือหลัก ปฏิบติ ั ทําไมจึงต้ องปฏิบติ เพราะเราหลงโลกหลงสงสาร โมหะ ั อวิ ช ชา โมหะ หมายถึ ง ความหลงตามธรรมชาติ ที่ ล่ อ งลอยใน วัฏสงสาร หลงในภพ หลงในชาติ หลงในวัฏจักร ที่เราเกิดตายมา ยาวนาน การพิจารณาอย่างนี ้เพื่อแก้ ปัญหาความหลงของตนเอง ที่มีอยูในขณะนี ้ ให้ เบาบางลง คําว่า ไม่ร้ ู คือ อวิชชา ไม่ร้ ูจริ งตาม ่ หลักความเป็ นจริ ง การแก้ อวิชชาจะเอาอะไรมาแก้ คือ เอาความ จริ งมาเป็ นเครื่ องตัดสิน เอาความจริ งของธรรมชาติที่มีอยู่ ทังเรา ้ ทังเขา ทังใกล้ ทงไกล ทังหยาบทังละเอียด ทังหมดนํามาพิจารณา ้ ้ ั้ ้ ้ ้ เพื่อแก้ ให้ เกิดความรู้จริ งเห็นจริ งเฉพาะตัว เอาความจริ งมาสอนใจ เพื่อให้ หมดความหลง นี่คือธรรมชาติที่เราต้ องศึกษา ศึกษาให้ เห็นจริ งเมื่อไร เรา จะกลัวเมื่อนัน เช่นว่า ชีวิตของเรานีเ้ ลื่อนลอยตังแต่กัปนันจนถึง ้ ้ ้ กัป นี ้ มัน ยาวนาน ไม่ท ราบว่า ชี วิต ของเราหรื อ จิ ต ของเราเกิ ด ๆ ตายๆ มานับไม่ถ้วน จึงเชื่อพระพุทธเจ้ าไว้ ก่อนว่า ความจริ งเป็ น อย่างนี ้ เรื่ องปั จจุบน เรื่ องอดีต เรื่ องอนาคต สามอย่างนี ้เป็ นอุบาย ั ต่อเนื่องกัน เกี่ยวข้ องกันทังหมด ตัวอย่าง วันนี ้เป็ นวันที่ 25 เป็ น ้ วันที่ปัจจุบน นี่คือตัวอย่างของวัฏจักร ถ้ าเราพูดเมื่อวันวาน วันที่ ั
10.
9 25 ก็จะเป็ นอนาคต
ถ้ าจะพูดเรื่ องอนาคต วันพรุ่งนี ้ วันที่ 26 จะมี ไหม มี ถ้ าอย่างนันวันที่ 25 ก็ จะเป็ นอดีตไปได้ นี่ ก็เหมื อนกัน ้ เรื่ องของชีวตในอดีตในอนาคตก็มีเหมือนกัน ถึงคนใดจะไม่ยอมรับ ิ ในเรื่ องเหล่านี ้ แต่ความจริ งก็จะปรากฎว่า เมื่อเกิดตายไปแล้ ว ผลบุญบาป จิตไปเกาะอยู่ที่ไหน ก็จะไปเกิดที่นนทันที เหมือนกับ ั้ บุค คลเห็ น เม็ ด มะม่ ว งหรื อ ถื อ อยู่ก็ ต าม มี ค วามเข้ า ใจว่ า เม็ ด มะม่วงนี ้จะไม่เกิดขึ ้น แล้ วโยนทิ ้งไปเสีย แต่เมื่อโยนทิ ้งไปแล้ ว ไป ถูกนํ ้า ถูกปุยขึ ้นมา มะม่วงที่ไม่เกิดนันก็จะเกิดอีก ๋ ้ คนจะว่าเกิ ดหรื อไม่เกิ ดก็ตาม ลักษณะของการเกิ ดเป็ น ของแน่นอนอยู่แล้ ว ตราบใดที่ยงมีกิเลสตัณหาอวิชชาอยู่ การ ั เกิดอีกเป็ นของแน่นอน ให้ เราพิจารณาความจริ งว่า ทุกคนที่ เกิ ด มากับ โลกนี ้ ไม่มี ใ ครต้ อ งการความทุก ข์ ความสุข เป็ นสิ่ง ที่ ต้ องการ ทําอย่างไรจะได้ ความสุขมาเสวยให้ สมใจ ไม่ให้ มีทกข์มา ุ เจื อ ปนเลยได้ ไหม ไม่ ไ ด้ เพราะโลกนี มี ค วามสุ ข ความทุ ก ข์ ้ คลุก เคล้ า กัน ไป แต่ส่ว นใหญ่ จ ะมี ค วามทุก ข์ ม ากกว่า ความสุข ความสุข ทางโลกเจื อ ด้ ว ยความทุก ข์ สุข อยู่ที่ ไ หนทุก ข์ อ ยู่ที่ นั่น ความสุขของโลก รูป เสียง กลิน รส โผฏฐัพพะ ที่เรามีความถูกใจ มี ่ ความยินดี เราก็เคยเจอมาแล้ ว สัมผัสมาแล้ ว ไม่สขเกินนี ้เลย จะ ุ มีเงินทองกองสมบัติหลายพันล้ าน ความสุขในกามคุณทังหลาย ก็ ้ เท่านี ้ เท่าที่ มีอยู่แค่นีแหละ ถึงจะไปเกิ ดอี กชาติหน้ า ก็ ไม่เกิ นนี ้ ้ หรอก ความสุข ที่ เ ราแสวงหาจะให้ ส มหวัง ดัง ใจเรานัน ไม่ ไ ด้ ้ เพราะความสุขถาวรของโลกนัน ไม่มี มีแต่ความสุขที่เจือปนด้ วย ้
11.
10 ยาพิษ คือความทุกข์ด้วยกันทังนัน ความหลงตัวนี
้ทําให้ เราเกิด ้ ้ ทุกข์ ยาวนานมาจนถึงปั จจุบน ั การศึกษาเรื่ องวัฏจักร เป็ นหลักภาวนาสําหรับบุคคลที่เกิด ในแห่ ง ใดแห่ ง หนึ่ ง เมื่ อ เขาเหล่ า นั น จะออกจากที่ แ ห่ ง นัน ไป ้ ้ จํ า เป็ นต้ อ งศึ ก ษาสถานที่ แ ห่ ง นั น ว่ า จะออกอย่ า งไร เป็ นทุ ก ข์ ้ อย่างไร มีโทษภัยอย่างไรบ้ าง เหมือนกับคนอาบนํ ้าอยู่ในหนองใน ห้ วย ขณะอาบนําก็มีความสุขสบายเพลิดเพลินอยู่ โดยไม่คํานึง ้ ว่าจะมีภยรอบตัวจะมาทําอันตรายได้ เมื่อเขาคํานึงว่าที่แห่งนันมี ั ้ ภัยรอบตัว อาจมีจระเข้ ลอยมากัดมาทําอันตรายได้ เขาก็จะมี ความกลัวเกิ ดขึนว่า จะอยู่ด้วยความไม่ประมาท ไม่หลง เมื่ อ ้ จระเข้ ล อยมาก็ จ ะหาวิ ธี ห ลบ หาวิ ธี ขึ น ฝั่ ง ได้ ทัน กาล นี่ คื อ ไม่ ้ ประมาทศึกษารอบคอบ เหมื อ นกับ คนอยู่ใ นป่ า อาจมี ภัย นานาชนิ ด มี งู เสื อ ภัย นานาประการเกิ ด ขึ น กับ ตัว เรา ก็ จ ะตื่ น ตัว อยู่ เมื่ อ ภัย เหล่ า นี ้ ้ เกิดขึ ้น เราจะรู้ ทนเห็นทัน หาวิธีหลีกจากสิ่งนันได้ คือไม่หลง นี ้ก็ ั ้ เช่นกัน โลกที่เราอยู่ทกวันนี ้คือวัฏจักร ทําอย่างไรเราจะออกจาก ุ โลกนี ้ได้ คืออย่าประมาท อย่าติดกับโลกนี ้ ถือว่าเป็ นสถานที่พก ั จิตแห่งหนึงเท่านันเอง ไม่ถือว่าโลกนี ้เป็ นที่ของเรา เพียงเป็ นที่พก ่ ้ ั แรมของจิตซึงได้ หมุนเวียนมาขณะนี ้เท่านัน เมื่อเราตังใจไว้ อย่าง ่ ้ ้ นี ้ เราจะไม่ไปติดข้ องกับของสิงใด ่ เหมือนกับเราไปเที่ยวสถานที่แห่งหนึ่ง เช่าโรงแรมอยู่ สัง ่ อาหารกิน ที่นอนดีๆ อยู่ไปตามวันเวลานัดหมาย อีกวันใดวันหนึ่ง
12.
11 ข้ างหน้ า
เราก็จะออกจากโรงแรมนันไป นีฉันใด ใจของเรามา ้ ้ อาศัยโลกเพียงชัวคราว อีกสักวันก็จะออกจากโลกนีไ้ ป เช่น ใน ่ ชาตินี ้เราเป็ นมนุษย์ ชาติหน้ าเราจะเป็ นมนุษย์อีกหรื อไม่ ชาตินี ้ เราเกิดเป็ นคนพออยู่พอกิน แล้ วชาติหน้ ามาเกิดใหม่ ฐานะความ เป็ นอยู่จะเป็ นอย่างไร ไม่แน่น อน ขึน อยู่กับผลกรรมของชาตินี ้ ้ เมื่อทําอย่างนี ้จะส่งผลให้ ชาติหน้ าเป็ นอย่างไร ปั จจุบนจะเป็ นสิ่ง ั กําหนดอนาคต การศึกษาความจริ งของตัวเรา ถ้ าเราเห็นความจริ งว่า ไม่มี สิ่งใดเที่ยงแท้ แน่นอน นอกจากความตายเท่านัน การศึกษาโลกก็ ้ เพื่อให้ กลัวในการเกิด กลัวในความทุกข์ กลัวในสิ่งที่ไม่เที่ยง กลัว ว่า ไม่มี อ ะไรเป็ นของของเราที่ แ น่นอน เราเพี ยงมาพัก อาศัย อยู่ ชั่วขณะเท่านันเอง อีกสักวันหนึ่งภายหน้ าก็จะจากโลกนีไ้ ป หา ้ เกิดใหม่ไปเรื่ อยๆ เอาแน่อะไรไม่ได้ ชีวตของเราเลื่อนลอยไปเรื่ อยๆ ิ ตามวัฏจักร หมุนไปตามธรรมชาติทงหมด ั้ การพูดเรื่ องธรรมชาติเป็ นเรื่ องใหญ่ หากใครไม่ศกษาก็จะ ึ เข้ า ใจไปว่า เป็ นเรื่ อ งธรรมดา เป็ นเรื่ อ งธรรมชาติ เกิ ด ขึ น เป็ น ้ ธรรมดา ตายเป็ นธรรมดา แต่เราหยั่งไม่ถึงจุดนัน การเกิดมา ้ อาจจะไม่เท่าเทียมกันทุกชาติทุกภพ ธรรมชาติของโลกนี ้มันหมุน ตัว สัตว์ทุกตัว มนุษย์ทุกชาติภาษา ก็ต้องหมุนตัวตามธรรมชาติ ทังหมด เช่น อายุขยของเรา ส่วนใหญ่เราจะเข้ าใจว่า อายุขยของ ้ ั ั เราจะยาวขึ ้นไปเท่านี ้ หรื อน้ อยลงไปเท่านี ้ คือไม่คิดว่าอายุขยเรา ั เท่าไร ก็จะอยู่กันไป มีความเจ็บไข้ ได้ ป่วย ก็หายามากิน ถ้ าไม่
13.
12 หายก็ ต ายไปเท่
า นั น เอง ที นี อ ายุ ขั ย ของเราไม่ ค งที่ เพราะ ้ ้ ธรรมชาติหมุนตัว สัตว์โลกทุกตัวต้ องหมุนไปตามธรรมชาติ หลักนี ้ ไม่ มี ใ นหลัก วิ ท ยาศาสตร์ เป็ นหลัก ความจริ ง ที่ เ ปลี่ ย นไปตาม ธรรมชาติ อายุขัยของเรากํ าลังตํ่าลงทุกที การอธิ บายนีต้องยก ้ เรื่ องศาสนามาด้ วย ก่อนที่พระพุทธเจ้ าของเราจะมาตรั สรู้ ทรง พิจารณาก่อนว่า เมื่อใดอายุขยตํ่ากว่า 100 ปี ในยุคนันจะไม่มา ั ้ ตรัสรู้ เป็ นพระพุทธเจ้ า เพราะคนเราประมาทมากเกินไป เมื่อใด อายุขัยของคน 100 ปี ขึนไป พระพุทธเจ้ าจะมาตรั สรู้ ได้ ดังเช่น ้ พระพุทธเจ้ าของเรามาเกิดในช่วงที่คนมีอายุขย 100 ปี เป็ นอายุขย ั ั พระพุทธเจ้ าจะมาตรั สรู้ ในช่วงที่อายุขัยของคน ตํ่าสุดไม่ เกิน 100 ปี อายุขย สูงสุดไม่เกิน 100,000 ปี อายุขย การพูดอย่าง ั ั นีหลักวิทยาศาสตร์ ไม่มี แต่ทางศาสนามีหลักการอย่างนี ้ ซึ่งคน ้ อาจไม่ยอมเชื่อว่า คนเราจะอายุร้อยปี พันปี แสนปี ได้ ยงไง นี่คือั หลัก ความจริ ง ของธรรมชาติ พระพุท ธเจ้ า ตรั ส ไว้ ซึ่ง เป็ นเรื่ อ งที่ ยาวนานเหลือเกิน ในช่วงที่ พระพุทธเจ้ าตรั สรู้ ในครั งพุทธกาลมี 100 ปี เป็ น ้ อายุขย อายุขยมีการขึ ้นได้ และลงได้ ขณะนี ้อยู่ในช่วงขาลง 100 ั ั ปี อายุขยลดลง 1 ปี อายุขยลดลงเรื่ อยๆ ตอนนี ้เหลืออยู่ 75 ปี เป็ น ั ั อายุ ขัย แต่ ก่ อ นเมื่ อ 2500 ปี ที่ แ ล้ ว อายุ ขัย 100 ปี แต่ บัด นี ้ ล่วงเลยมา 2535 ปี อายุขยของคนเราเหลือ 74 ปี เป็ นอายุขย ั ั หากนับต่อไปข้ างหน้ าอีก 100 ปี อายุขยของคนเราก็ลดลง ั เหลือเพียง 73 ปี เป็ นอายุขย อีก 100 ปี ถัดไป อายุขยของคนเราก็ ั ั
14.
13 ลดลงเหลือเพียง 72 ปี
เป็ นอายุขัย 100 ปี ลดลง 1 ปี ลดลงไป เรื่ อ ยๆ จนเหลื อเพี ยง 10 ปี เป็ นอายุขัย นี่ พูดทางศาสนา เรื่ อ ง ระยะยาวที่คนไม่เชื่อ จะเชื่อหรื อไม่ ไม่สําคัญ แต่ความจริ งมันเป็ น อย่างนี ้ หากมีการคํานวณ จะพบว่าอีกประมาณ 7000 ปี นับจากนี ้ ไป อายุขัยของคนเราจะเหลือ 10 ปี เป็ นอายุขัย การตังครรภ์ ใช้ ้ เวลาเพี ยง 3 เดือน เมื่ ออายุ 4 ปี ก็ กลายเป็ นพ่อ บ้ านแม่บ้านได้ สมบูรณ์แล้ ว เพราะมีอายุขยเพียง 10 ปี ลองคิดดูสวาตัวคนเราจะ ั ิ่ เด็กขนาดไหน เมื่อคนมีอายุขยระดับนัน นิสยของคนในยุคนันจะแตกต่าง ั ้ ั ้ จากยุคนี มาก หาความละอายไม่ได้ เลย เหมือนสัตว์ เดรั จฉาน ้ ทัวไป ทัวโลก ในยุคนันจะเป็ น มนุสสเดรัจฉาโน เต็มตัว รู ปร่ าง ่ ่ ้ เป็ นมนุษย์ แต่จิตใจเป็ นสัตว์ เดรั จฉาน ความละอายไม่มี มีแต่ ความโลภ ความโกรธ ความหลง นี่คือธรรมชาติท่ีกําลังหมุนตัวไป ในช่วงจากนี ้ไปอีก 7000 ปี ข้ างหน้ า ถ้ าคนใดมาเกิดตาย ในช่วงนี ้ จะได้ ร้ ู เห็นความจริ งว่าเกิดอะไรขึ ้น นี่คือการหมุนเวียน ของชีวิตสัตว์ ธรรมชาติเป็ นอย่างนี ้ ธรรมชาติมันหมุนตัว สัตว์ โลกทัง หลายก็ ต้ อ งหมุน ไปตามธรรมชาติ เมื่ อ ถึง ยุค นัน จิ ต ใจ ้ ้ มนุษย์จะเหี ้ยมเกินไป มีการฆ่ากันตีกนเหมือนสัตว์เดรัจฉาน ไม่มี ั ความเมตตาต่อกันหรื อมีน้อยมาก เกิดกลียคขึ ้นมาในยุคนัน ุ ้ ในยุคนันจะมีเทพอีกกลุมหนึ่ง สําหรับกอบกู้วฏจักร จะมา ้ ่ ั เกิดในยุคนี ้ มาเกิดกับคนกลุมนี ้แหละ กลุมอายุ 10 ปี ตาย เพียง ่ ่
15.
14 มาอาศัย สถานที่ เ
กิ ด เท่ า นัน ซึ่ ง จะมี เ ทพอี ก กลุ่ม รั ก ษาเขาอยู่ ้ บันดาลให้ เป็ นไป ให้ ละอายในการทําชัว เมื่อเขาเหล่านันเริ่ มเป็ น ่ ้ หนุ่มเป็ นสาว กําลังจะเกิดกลียค เขาจะไปอยู่ตามดงตามป่ าตาม ุ ถํา ไม่อยู่กับพ่อแม่ ถึงพ่อแม่จะเป็ นอย่างนัน แต่เขาไม่เล่นด้ วย ้ ้ เมื่ อ พ่ อ แม่ ร บราฆ่ า ฟั น ตายกั น ไปหมดแล้ ว ในยุ ค ต่ อ ไปคน เหล่านันก็จะจับกลุ่มเป็ นผัวเมียกัน หาอยู่กินกันอย่างมีศีลธรรม ้ กรรมบถ 10 เมื่ อ คนกลุ่ ม นี เ้ กิ ด ขึ น ในโลกแล้ ว อี ก 100 ปี ข้ างหน้ า ้ อายุขัย เพิ่ ม ขึ น เป็ น 11 ปี จึ ง ตาย อี ก 100 ปี ข้ า งหน้ า อายุขัย ้ เพิ่มขึ ้นเป็ น 12 ปี จึงตาย 100 ปี อายุขยเพิ่ม 1 ปี เพิ่มขึ ้นเรื่ อยๆ ั จนถึง 100 ปี ตาย 1,000 ปี ตาย เพิ่มไปถึง ล้ านปี อายุขัย โกฏิปี อายุขย ในที่สดจะยืนยาวมาก เรี ยกว่า อสงไขยปี คนจะตัวใหญ่ ั ุ มาก สิบกว่าศอกก็แล้ วกัน เมื่อคนในยุคนันมีอายุมากขึ ้น จะมีธรรมชาติอย่างหนึง คือ ้ ่ ความเบื่อหน่าย มันทุกข์ มันยาวนาน มันจะเบื่อของเขาเอง เกิด การหมุนกลับอีกทีหนึ่ง 100 ปี อายุขยลดลง 1 ปี กลับมาที่ขาลง ั ลดลงเหลื อ โกฏิ ปี ล้ า นปี แสนปี จนถึ ง ในยุค 80,000 ปี เป็ น อายุ ขั ย ในช่ ว งนี ้ พระศรี อาริ ยเมตไตรย์ จะมาตรั ส รู้ เป็ น พระพุ ท ธเจ้ า เมื่ อ ตรั ส รู้ แล้ ว ประกาศศาสนาถึ ง ที่ สุ ด จน ปริ นิ พ พานพร้ อมกั บ พระสาวก ไม่ ไ ด้ วางศาสนาเหมื อ นกั บ พระพุทธเจ้ าของเรา เลิกราไปทังหมด คนจะรู้ ได้ ปฏิบติได้ ช่วงที่ ้ ั พระศรี อาริ ยเมตไตรย์มีชีวตอยูเ่ ท่านัน ิ ้
16.
15
ต่อมาอายุขัยลดลงเรื่ อยๆ ธรรมชาติของโลกเป็ นอย่างนี ้ เดี๋ยวนี ้อายุขยของคนลดลง หรื อจะพูดว่า พระพุทธเจ้ าในภัทรกัปนี ้ ั มี 5 พระองค์ คือ 1.กกุธสันโธ ในช่วงนันมีอายุขย 40,000 ปี ้ ั 2.โกนาคมโน ในช่วงนันมีอายุขย 20,000 ปี ้ ั 3.กัสสโป ในช่วงนันมีอายุขย 10,000 ปี ้ ั 4.โคตโม พระพุ ท ธเจ้ า องค์ ปั จ จุบัน ในช่ ว งนัน มนุษ ย์ มี ้ อายุขย 100 ปี แต่พระองค์ทานมีอายุเพียง 80 ปี ั ่ 5.พระศรี อาริ ยเมตไตรย์ จะมาตรัสรู้ ในอนาคต ดังที่กล่าว มาแล้ ว ณ ปั จจุบน จากนี ้ไปข้ างหน้ าจนมนุษย์มีอายุ 10 ปี จะไม่มี ั พระพุทธเจ้ ามาเกิดเลย และอีกเพียง 2500 ปี ข้ างหน้ านี ้ ศาสนา พุทธก็จะหมดไป เพราะคนไม่เคารพเชื่อถือ ไม่ปฏิบติตามคําสอน ั ของพระพุทธเจ้ า ในยุคต่อไป ไม่ว่าศาสนาใดที่มีอยู่ก็จะหมดไป เช่นกัน เพราะคนไม่นบถือ เพราะคนมีนิสยมนุสเดรัจฉาโน กาย ั ั เป็ นมนุษย์ แต่ใจเป็ นสัตว์เดรัจฉาน เขาจะไม่นบถือศาสนาอะไร ั เลย เป็ นสูญกัป กัปที่วางจากพุทธศาสนา หรื อศาสนาอื่นใดก็ไม่มี ่ ด้ วย นี ้คือวัฏจักรที่เป็ นธรรมชาติหมุนตัวอยู่ มีหลักฐานก็คือคํา สอนของพระพุทธเจ้ า หลักความจริ งที่เราดูอยู่ในปั จจุบัน หาก พิจารณาแล้ วจะมีความเป็ นไปได้ เพราะธรรมชาติเปลี่ยนแปลง นิสยคนได้ ให้ พวกเราดูภาพพจน์ในอดีตที่ผ่านมา ในช่วงที่เราเป็ น ั
17.
16 หนุ่มสาวดูกิริยาท่าทางความเป็ นอยู่ในอดีต เทียบกับหนุ่มสาว ในยุคปั
จจุบนนัน ด้ านจิตใจแตกต่างกันอย่างไรบ้ าง ในช่วงเวลา ั ้ เพียงไม่ก่ีปี ความแตกต่างด้ านจิตใจแตกต่างกันอย่างเห็นได้ ชัด ทีเดียว กิริยาทางกายวาจาใจ มีความเปลี่ยนแปลงอย่างไรบ้ าง ธรรมชาติบอกเอง กิริยาทางกาย สมัยก่อนพ่อแม่สอนลูกหลานให้ เคารพอ่ อ นน้ อ มคนเฒ่ า แก่ กราบไหว้ พ่ อ แม่ นุ่ง ห่ ม ให้ มิ ด ชิ ด แต่งงานตามพ่อแม่กําหนดให้ แต่เดี๋ยวนี ้เขากําหนดแต่งงานกันเอง นุ่งห่มยัวยุ นุ่งน้ อยห่มน้ อย ขาดความละอาย ต่อไปก็จะไม่น่งห่ม ่ ุ เลย เพราะสัตว์เดรัจฉานเข้ ามาแทรกแซงเต็มที่แล้ ว อนาคตภาย หน้ าจึงเป็ นไปได้ สมัยก่อน 50 ปี ที่แล้ วยังไม่เคยมี แต่สมัยนีก็ยง ้ ั เป็ นไปแล้ ว เรื่ องความโกรธก็ดี ราคะตัณหาก็ดี สมัยนี ้เลวกว่า ยุคก่อน คนสมัยก่อนพอนึกภาพได้ ไหม ผู้หญิงผู้ชาย 17-18 ปี ยัง กระโดดนํ ้าแก้ ผ้า เล่นนํ ้ากันอยู่เลย แต่ทุกวันนีเ้ กิดอะไรขึ ้น เรื่ อง ราคะตัณ หารุ น แรงขึน เร็ ว ขึน เพราะอายุสัน มากเท่า ใด ราคะ ้ ้ ้ ตัณหาก็เร็ วขึ ้น โทสะก็เร็ วขึ ้น เดี๋ยวนี ้มองหน้ ากันไม่ได้ สมัยก่อน เรื่ องปล้ นฆ่าลักของไม่มี หรื อมีน้อยมาก แต่เดี๋ยวนี ้ระวังยาก เรื่ อง ราคะก็เร็ วขึ ้น โทสะก็เร็ วขึ ้น การตัดสินใจของมนุษย์จะเร็ วขึ ้น ปั จจุบนนีมีองค์การสหประชาชาติรวบรวมสมาชิกทัวโลก ั ้ ่ ให้ อ ยู่ใ นขอบเขตการสู้ร บ การรวมกัน นัน รวมได้ ก็ ดี แต่คิด ว่า ้ รวมกันได้ ไม่นานนัก คิดว่า 100 ปี ก็จะพังลง เพราะคนไม่ลงรอย กัน ต่างคนต่างถือดีถือเก่ง แต่ละคนมีเครื่ องมืออุปกรณ์ ประหาร ชีวิตพร้ อม ต่างก็ไม่กลัวกัน เพราะมีอาวุธเครื่ องมือทัดเทียมกัน
18.
17 อีกไม่เกิน 100 ปี
จะเจอของสิงเหล่านี ้มากทีเดียว ่ การพิจารณาอย่างนี ้ พิจารณาเพื่อให้ เห็นทุกข์ เห็นภัยใน วัฏสงสารนันเอง หลักการใช้ ปัญญาอย่างนี ้ ให้ เรากลัวว่า การเกิด ่ การตายเป็ นทุกข์อย่างนี ้ เป็ นภัยอย่างนี ้ เป็ นโทษอย่างนี ้ นีเ้ ป็ น หลักการใช้ ปัญญา เมื่อวัฏฏะหมุนเวียนอยู่อย่างนี ้ ทําไมเราจึงมาเกิดบ่อยๆ มาเกิดเอาอะไรกัน เพื่ออะไรกัน มาเกิดเป็ นกีฬา มาหาสมบัติแข่ง กัน เรี ยกว่า ตัณหาความอยาก คนเรามีความอยากในทางที่ดี คือ ลาภ ยศ สรรเสริ ญ สุข มนุษย์ เรามีความอยากสี่จุดนี ้ เรื่ อง เสื่อมลาภ เสื่อมยศ นินทา ทุกข์ เป็ นอีกส่วน เป็ นของไม่แน่นอน แต่ ลาภ ยศ สรรเสริ ญ สุข ในกามคุณ เป็ นสิงที่เราต้ องการ ่ ลองพิจารณาดูวา คนเรามีใครบ้ างที่หา ลาภ ยศ สรรเสริ ญ ่ สุข เพียงพอกับความต้ องการ หาไม่ได้ เลย นักภาวนาปฏิบติพึง ั ศึกษาว่า การแสวงหา ลาภ ยศ สรรเสริ ญ สุข มีอยู่คู่กบโลกใบนี ้ ั แต่คนอีกส่วนหนึ่งจะพิจารณาอยู่ว่า จะหาไปทําไม ส่วนที่หาก็หา ไปเพื่อสร้ างความเจริ ญให้ กับโลกใบนี ้ แต่นกปฏิบติจะพิจารณา ั ั ว่า หาไปทํ า ไม ในโลกของเรามี ค นห้ า พัน กว่ า ล้ า นคน เขาจะ แสวงหาความสุ ข ให้ มาก แต่ นั ก ปฏิ บั ติ ไ ม่ กี่ ร้ อยคนนี ้ กํ า ลั ง พยายามหยุดในการหาสิ่งเหล่านี ้ พอแล้ ว หาไปก็เท่านี ้ เหนื่อย เปล่า หาแล้ วก็ไม่มีอะไรเป็ นของของเรา รู้จกความพอดี หามาได้ ั แล้ วก็ไม่มีอะไรเป็ นของเราแน่นอน เพียงอาศัยกันชัวกาลเวลาหนึ่ง ่ เท่านัน เมื่อถึงกาลเวลาก็ตายจากกันไป จึงหยุดแล้ ว พออยู่พอ ้
19.
18 กินแล้ ว เท่านี
้ก็สามารถอาศัยอยู่กินวันหนึ่งคืนหนึ่ง แต่เขาจะไม่ เดินตามกระแสโลกต่อไป เพราะหาทางสิ ้นสุดไม่ได้ เหมือนการ เดินรอบโลก เดินร้ อยครัง พันครั ง ก็หาทางสิ ้นสุดไม่เป็ น เรามา ้ ้ เกิดกับโลกนี ้หลายครังหลายหนแล้ ว แต่เราไม่ร้ ู ตวเองเลย เพราะ ้ ั ความหลง ความไม่ร้ ู ความลืมตัว การใช้ ปัญญาพิจารณาธรรมะ จึงต้ องพิจารณาว่า ความทุกข์ของโลกที่เรากําลังเวียนอยู่กบโลก มี ั อะไรบ้ าง ให้ ใจเราเบื่อเอาไว้ นี ้เป็ นหลักที่ใจเราต้ องพิจารณา ส่ ว น ห ลั ก ธ ร ร ม ห ม ว ด อื่ น ที่ เ ร า กํ า ลั ง ศึ ก ษ า กั น อ ยู่ พระพุทธเจ้ าได้ ตรั สธรรมะเอาไว้ ศึกษาประวัติของโลกทังหมด มี ้ หลักการปฏิบตสองประการ เป็ นกรรมฐานสองอย่างคือ ัิ 1.สมถกรรมฐาน 2.วิปัสสนากรรมฐาน กรรมฐานสองประการนี ้ เป็ นการรวมตัวกันเพื่อให้ ร้ ูจริ งเห็น จริ งในธรรมชาติ หลักหนึ่งเป็ นการทําสมาธิ เป็ นอุบายพักใจ อีก หลักคือปั ญญาเป็ นหลักใช้ ความคิด เป็ นวิปัสสนากรรมฐาน คิด ตามหลักความเป็ นจริ ง สิ่งรอบตัวเป็ นหลักความจริ งทังหมด วัฏ ้ จัก รที่ ว่ า มาก็ เ ป็ นความจริ ง ทัง หมด เอาความจริ ง ทัง หมดมา ้ ้ พิจารณาเพื่อให้ เห็นความจริ ง เพื่อให้ เกิดความกลัว เมื่อใจเกิด ความกลัวอย่างเดียวเท่านัน ทุกอย่างจะหาทางออกได้ ด้วยตัวมัน ้ เอง เรี ยกว่า เห็นจริ งตามความเป็ นจริ ง มันจะกลัวเอง ตราบใดที่ ยังไม่เห็นจริ ง มันยังไม่กลัว มันอยากจะลอง ยกตัวอย่าง เช่น การมัวสุมทางเพศทําให้ ติดโรคเอดส์นะ ่ เขาประกาศความจริ งให้ โลกฟั ง แต่คนกลุ่มหนึ่งก็ยงคงเสพกันอยู่ ั
20.
19 ความอยากมันเหลือกําลังที่จะต้ านทานได้ สําหรับคนที่เขาเชื่อก็ หยุด
ไม่ทํา หาวิธีปองกัน กลัวโรค แต่คนที่ไม่เชื่อก็ได้ แต่ทําตาม ้ ความอยากของตนเอง การภาวนามีหลักใหญ่สองประการ คือ สมถกรรมฐาน และ วิปัสสนากรรมฐาน ใช้ ปัญญาพิจารณาหลักธรรมะ ความเป็ นจริ ง คําสอนของพระพุทธเจ้ ารวมยอดอยูที่นี่ ่ นี่ คื อ ได้ อ ธิ บ ายเรื่ อ งธรรมชาติ และความจริ ง ตามหลัก ธรรมชาติของวัฏจักรที่หมุนเวียนกันอยู่ ให้ เราได้ นึกคิดใคร่ ครวญ ถ้ าเราไม่ปกปองตนเองในยุคนี ้ จะยากที่ปกปองได้ การเตรี ยมตัว ้ ้ ล่วงหน้ าดีที่สุด หาวิธีปองกันตัวเองในครั งหน้ าว่า ครั งหน้ าหรื อ ้ ้ ้ ชาติหน้ าจะไปอย่างไร ต้ องเตรี ยมตัวไว้ ก่อน ถ้ าเราไปอย่างนี ้ จะมี ภัย อะไรบ้ า งที่ เ กิ ด ขึ น กับ เรา เมื่ อ ภัย นัน เกิ ด ขึน เราจะได้ ห าวิ ธี ้ ้ ้ ป องกั น ตนเองได้ ดี ก ว่ า จะไปแบบหลงงมงาย ไม่ ร้ ู ต้ นสาย ้ ปลายทางที่จะไป การล่องลอยตามกระแสของโลก เราต้ องศึกษา ให้ เข้ าใจ เพราะภัยนานาชนิดย่อมเกิดขึ ้นกับเราได้ ทุกเวลา ชีวิต ของเราอยู่ในวงล้ อมของความจริ ง คือ ความไม่เที่ยง เป็ นทุกข์ และ เป็ นอนัตตา นี่หลวงพ่อได้ ให้ แนวคิดเป็ นครั งแรก วันเปิ ดประชุม ้ ของการอบรมธรรมะ ให้ จ ดในสิ่ ง ที่ ห ลวงพ่ อ พูด ไว้ แล้ ว นํ า มา พิจารณาว่า จริ งไหม สิ่งภายหน้ าจะเกิดขึ ้นจริ งดังว่าไหม หากเรา นึกถึงความจริ งเหล่านี ้ การจะหาวิธีหลบหลีกตัวก็พอจะได้ อยู่ ถึง จะหนีไม่พ้นก็พอหลีกตัวได้ ให้ ความทุกข์ทงหมดเบาบางลงได้ ั้ ยกตัวอย่าง เช่น ในอนาคตเดือนต่อไป มกรา กุมภา จะ
21.
20 หนาวมาก ถ้ าเรารู้
เราก็เตรี ยมผ้ าห่มไว้ เมื่อหนาวจริ ง ก็นําผ้ ามา ห่ม ก็ทุเลาได้ เรานําสิ่งที่เตรี ยมไว้ มาอํานวยความสะดวกแก่เรา เหมือนเราเดินทางจากจุดหนึงไปอีกจุด อาจเกิดไข้ มาลาเรี ย หรื อมี ่ เสือสัตว์ ร้ายต่างๆ เมื่อเราศึกษาเส้ นทางไว้ ดีแล้ ว เราจะเตรี ยม อุปกรณ์ ต่างๆ ไว้ เดินทาง มีด ปื น ยา เมื่อเกิดอุปสรรคขึ ้นกับเรา เราก็จะสามารถแก้ ไขได้ ทน ไม่ประมาทในตนเอง ั นี ้ฉันใด ชีวิตเราจากนี ้ไปในชาติหน้ า เราก็ต้องเจออุปสรรค ดังที่ได้ อธิบายมาทังหมด ถ้ าเราไม่ประมาทในตนเอง สิ่งเหล่านัน ้ ้ พอจะทุเลาเบาบางลงได้ สิ่งที่ได้ อธิ บายไป เป็ นหลักภาวนาอี ก อย่าง เรี ยกว่า เจริ ญวิปัสสนา นัตถิ โลเก ระโหนามะ ความลับไม่ มีในโลก เพราะปั ญญาเรารู้เห็นทุกอย่างว่าเป็ นอย่างไร โลก คือ ธรรมชาติที่เป็ นอยู่ในกามภพ รูปภพ อรูปภพ สาม โลกสามภพพิจารณาให้ ชดเจนขึ ้น พิจารณาภายนอกภายใน ธาตุ ั สี่ขนธ์ ห้าของเราทังหมด ที่เรายึดถื อว่าเป็ นเรา เป็ นของของเรา ั ้ ความหลงไม่ใช่หลงเราอย่างเดียว หลงภายนอกบ้ าง ภายในบ้ าง เรี ยกว่า ภายนอกภายใน ใกล้ ไกล หยาบละเอียด พิจารณาลงสูไตร ่ ลักษณ์ทงหมด ตัดทอนความหลงให้ เบาบางลงจากใจของเรา ั้ การอบรมครังนี ้ หลวงพ่อก็ได้ นําพระวิทยากรมาช่วยอบรม ้ การศึกษาธรรมะนัน เราจะเอาอายุพรรษามาพูดไม่ได้ เอาธรรมะ ้ มาพูดกัน เรื่ องพรรษาเป็ นเรื่ องตัวเลข เป็ นสิ่งสมมติกัน แต่เรื่ อง ธรรมะเป็ นความจริ ง การพูดธรรมะความจริ งจึงไม่เกี่ยวกับการเอา พรรษาเอาอายุมาพูดกัน หากคนใดที่มีความเป็ นธรรมกับตัวเอง
22.
21 แล้ ว ถึง
คนอื่ น คนใดฐานะใดไม่สํ า คัญ หากเขามาตัก เตื อ นว่า กล่า วเรา เกี่ ย วกับ ความบกพร่ อ งของเรา ถื อ ได้ ว่า เขามี ค วาม เมตตาต่อเรา ไม่ว่าเขาจะมีฐานะอะไรไม่สําคัญ สําคัญตรงที่ผ้ ู ที่มาตักเตือนเราว่า สิ่งนีควร สิ่งนีไ้ ม่ควร ชีแนะแนวทาง นันคือ ้ ้ ่ เขามี ค วามเมตตาสงสารเรา อายุ พ รรษาไม่ เ กี่ ย ว นี่ คื อ ธรรมาธิปไตย หากเรามีความคิดอย่างนี ้ จะมีความสุขมาก เพราะ ไม่ยึดติดในชาติชนวรรณะ ไม่นบว่า องค์นนบวชนานหรื อไม่นาน ั้ ั ั้ ให้ นบความจริ ง หากคนใดมาสอนเราให้ เราสํานึกตัวได้ ว่า เราทํา ั ผิ ด อย่า งนี ้ มี ค นอื่ น มาตัก เตื อ นเรา เราจะขอบคุณ เขา ที่ เ ขามี ความเมตตาสงสารเรา เราจะให้ ความเคารพผู้นนอยู่เสมอ นี่คือั้ ธรรมาธิปไตย ปี นี ้ นิ มนต์ พระมาหลายองค์ เพื่ อ ให้ ฟัง อุบายการปฏิ บัติ ของหลายองค์ จะได้ เลือกอุบายที่ตรงกับเรา เรี ยกว่า นําสินค้ ามา เยอะ มามาก เราต้ องการอะไรก็เลือกเองได้ อาหารมีมาก ยามี มาก เลือกเองได้ ว่า สิ่งไหนถูกธาตุขนธ์ กบเรา เอาละให้ พดคุยกัน ั ั ู ต่อไปนะ
23.
22
หลวงพ่ อทูล เทศน์ ท่ ี รร.ปานะพันธ์ กัณฑ์ ท่ ี 2 จากนีไ้ ปจะได้ อบรมธรรมะ เพื่อให้ เข้ าใจในข้ อวัตรปฏิบติ ั อุบ ายในข้ อ วัต รปฏิ บัติ มี ม ากมาย แต่ จุด ใหญ่ ท่ี สุด สํ า หรั บ การ ปฏิ บัติคือ สติปัญญา เป็ นฐานรองรั บการปฏิ บัติทังหมด ไม่ว่า ้ ปฏิบติที่ไหนอย่างไร ปฏิบติทางกายก็ดี วาจาก็ดี หรื อนึกคิดทางใจ ั ั ก็ ดี สติ ปั ญ ญาเป็ นหลัก สํ า คัญ คํ า สอนของพระพุ ท ธเจ้ ามี มากมาย 84,000 พระธรรมขันธ์ แต่ก็มารวมลงอยู่ที่ สติปัญญา นี่คือจุดสําคัญของการปฏิบติ ั ส่วนอุบายอื่นที่เป็ นหลักประกอบการปฏิบติ เช่น กิริยาทาง ั กาย วาจา หรื อ การนึกคิดทางใจ ทังหมดนี ้ เราจะมีอบายอย่างไร ้ ุ เพื่อใช้ อุบายทางกาย ให้ เป็ นธรรม อย่างถูกต้ อง เพราะกิริยาทาง กายมีมาก สิ่งที่เราต้ องคํานึงถึงคือ สติปัญญา สติ มีความหมาย อย่างไร ปั ญ ญามี ค วามหมายอย่างไร ที่ เ ราจะนํ ามาปฏิ บัติไ ด้ เพื่ อ จะเป็ นเครื่ อ งปกป องกายวาจาใจ ให้ อ ยู่ใ นกรอบของความ ้ ถูกต้ องเป็ นธรรม สติ หมายถึง ความระลึกได้ นี่เป็ นอุบายหนึ่ง ปั ญญา คือ ความรอบรู้ นี่เป็ นอีกอุบายหนึ่ง ทังสองอุบายมีความเกี่ยวเนื่อง ้ กันมากทีเดียว ถ้ าเรารอบรู้ แต่ขาดความระลึกได้ ความรอบรู้นนก็ ั้ มีผลน้ อยเต็มที ถึงเราจะระลึกได้ แต่ขาดความรอบรู้ แล้ ว ผลก็ น้ อยเต็มทีเช่นเดียวกัน ดังนัน การสร้ างความสัมพันธ์ อนดีระหว่าง ้ ั สติ กับ ปั ญ ญา เป็ นต้ น ทางสํ า คัญ ในการวางแผนการปฏิ บัติ
24.
23 ทังหมด จะเรี ยกว่า
สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปโป ก็อยู่ท่ีต้นทางนี ้ อยู่ ้ ที่สติปัญญาเป็ นหลักใหญ่ คนเราทุกวันนี ้มีสติอยู่ แต่การระลึกได้ มีทงทางโลก และ ั้ ทางธรรม ที่ระลึกได้ ตามธรรมชาติที่เป็ นเองก็มี โดยที่ไม่ต้องมีใคร มาบอกเรา บางทีก็ระลึกไปในทางที่ดี บางทีก็ระลึกไปในทางที่ชว ั่ สติเป็ นตัวระลึก ส่วนปั ญญาเป็ นอุบายกลันกรองรอบรู้ สิ่งที่ระลึก ่ ทังหมดว่า สิ่งใดมีประโยชน์ มีคุณค่า นํามาปฏิบติกับตนเองได้ ้ ั ไม่ใช่วา การระลึกได้ ทงหมดจะเป็ นสิงดี พยายามทิ ้งไปในส่วนที่ไม่ ่ ั้ ่ ควรเอา นักปฏิบตต้องวางพื ้นฐานนี ้ให้ ได้ ัิ หลายคนมีคําถามว่า การสร้ างสติให้ มีความเข้ มแข็ง ทํา อย่างไร คือ พยายามฝึ กตัวให้ มีความระลึกได้ อยู่เสมอ การระลึก ได้ ในที่นี ้ หิริ ความละอายแก่ใจ โอตตัปปะ ความเกรงกลัว ธรรม สองหมวดนีทุกคนรู้ อยู่แล้ ว เข้ าใจในหลักการ แต่ภาคปฏิบัติไม่ ้ เข้ าใจ หิริ ความละอายแก่ใจ โอตตัปปะ ความเกรงกลัว สอง อุบายนี ้ลึกซึ ้งมาก ยากที่บุคคลจะปฏิบติให้ เป็ นไปตามธรรมสอง ั หมวดนี ้ได้ หิริ ความละอาย เป็ นหลักใหญ่ในการปฏิบติ หากคนเรามี ั ความละอายแล้ ว การทําชัวทังหมดทังทางกายวาจาใจจะไม่เกิด ่ ้ ้ ขึ ้นกับคนนันเลย เพราะมีความละอายกับตนเอง นี่คือธรรมเพียง ้ หมวดเดียวในภาคปฏิบติจะทําได้ หรื อไม่ สมมติว่า เราจะไม่เอา ั ธรรมหมวดอื่นแล้ ว เราจะฝึ กความละอายอย่างเดียว ให้ มีความ เข้ มแข็ง จะทําได้ หรื อไม่ สติระลึกได้ แต่ละวันจะระลึกในความ
25.
24 ละอายแก่ ต นเอง
โดยไม่ ต้ อ งเอาธรรมหมวดอื่ น มาอวดอ้ า งว่า ธรรมหมวดนันก็ร้ ู หมวดนีก็ร้ ู เราจะฝึ กธรรมะเพียงหมวดย่อๆ นี ้ ้ ้ คื อ มี ส ติ ร ะลึก ได้ ว่า จะมี ค วามละอายแก่ ใ จอยู่ทุก เมื่ อ จะทํ า ได้ หรื อ ไม่ นี่ คื อ ส่ ว นที่ เ ราต้ อ งสํ า นึ ก ให้ ดี แต่ เ ราทํ า ไม่ ไ ด้ ต ามที่ ต้ องการหรอก เพราะจะเกิดความพลังเผลออยูบ้าง ้ ่ โอตตัปปะ ความเกรงกลัว จะทําอย่างไรให้ ใจเกิดความ เกรงกลัวต่อสิ่งนันๆ ผู้ที่จ ะทํ าให้ เ กิ ด ความเกรงกลัว ขึน ในใจได้ ้ ้ ต้ องมีเหตุผลหลายอย่าง ไม่ใช่ว่าจะกลัวอย่างเดียว อย่างนันใช้ ้ ไม่ได้ หิริ ความละอายแก่ใจ โอตตัปปะ ความเกรงกลัว ธรรมสอง หมวดนี ้เป็ นต้ นทางของการปฏิบติ ในการเลือกเฟนความดีความ ั ้ ชัว ต้ องรู้ จกธรรมสองข้ อนี ้ให้ ดี คําว่า กลัว มีหลายพื ้นฐาน หลาย ่ ั ขันตอน กลัวอย่างหยาบ อย่างกลาง อย่างละเอียด กลัวทางโลก ้ อย่างหนึง กลัวทางธรรมอีกอย่างหนึง ่ ่ สําหรับนักปฏิบติแล้ ว พยายามกลัวทางโลกให้ มาก อบรม ั สั่งสอนใจให้ กลัวความเป็ นอยู่ของโลกให้ ได้ ส่วนมากเราจะไม่ อบรมตัวเองให้ กลัวความเป็ นอยู่ของโลก มีแต่จะอบรมตนเองให้ ต่อ สู้ต ลอดไป ความเป็ นอยู่ข องโลกเป็ นไปอย่า งไรก็ ห ากลัว ไม่ พยายามต่อ สู้อ ยู่ต ลอดเวลา โลกเป็ นอย่า งไร เราเป็ นอย่า งนัน ้ เพื่อนฝูงเป็ นอย่างไร เราเป็ นอย่างนัน เพื่อนผิดถูกไม่สนใจ เขาทํา ้ ได้ เราก็ทําได้ ในที่สดเราก็ถือเอาคนกลุ่มใหญ่เป็ นหลักเป็ นเกณฑ์ ุ เมื่อคนกลุมนันผิด เราก็ผิดตามเขา ใช้ ไม่ได้ เลย ่ ้ คําว่า เกรงกลัว นัน กลัวอะไร ขันสูงสุดคือ กลัวการเกิด ้ ้
26.
25 ถ้ าเราฝึ กใจตนเองให้
กลัวการเกิดได้ ฝึ กอย่างไร นี่คือขันสูงสุด ้ ของพระพุท ธศาสนา กลัว การเกิ ด อี ก ในชาติ ห น้ า ทํ า ไมจึง ฝึ ก ตนเองให้ กลัวอย่างนัน เพราะการเกิดอีกเป็ นทุกข์นานาประการ ้ ไม่เคยเลือกหน้ าใครทังสิ ้น ไม่วาที่ไหน ตระกูลใด ชนชาติใด ความ ้ ่ ทุกข์ไม่เลือกหน้ า เมื่อเกิดมาแล้ วย่อมมีความทุกข์ ด้วยกันทังนัน ้ ้ ทุกข์อย่างหนึง คือ ่ 1.สภาวะทุกข์ ทุกข์ประจําขันธ์ ขันธ์ ของเราเป็ นฐานแห่ง ความทุกข์ทงหมด ั้ 2. ปกิณกะทุกข์ ทุกข์ ที่จรมา ทุกคนต้ องประสบพบเห็น ทุกข์ที่จรมาเช่นเดียวกัน ความทุกข์ทงหมด เราจะกลัวได้ ไหม การอบรมสอนใจให้ ั้ กลัวในทุกข์เหล่านี ้ได้ นันคือ ผู้มีปัญญา ใช้ ปัญญาหาเหตุผลใน ่ แง่ต่างๆ อบรมสังสอนตนเองว่า การเป็ นอยู่ในโลกนีมีความทุกข์ ่ ้ อย่างไรบ้ าง ต้ องสอนทุกแง่ทุกมุม ทุกจุดทุกอุบาย ไม่ใช่ร้ ู ทุกข์ อย่างเดียว ต้ องเห็นทุกข์ด้วย หากรู้ อย่างเดียว แต่ไม่เห็นเหตุให้ เกิดทุกข์แล้ ว ผลประโยชน์น้อยเต็มที ฉะนันการภาวนาปฏิบติต้อง ้ ั ให้ ร้ ู เหตุใ ห้ เ กิ ด ทุก ข์ และเห็ น เหตุใ ห้ เ กิ ด ทุก ข์ ด้ ว ย ให้ เ กิ ด ความ ละอายแก่ใจ และให้ เกิดความเกรงกลัว คือกลัวการเกิดมากับโลก ทําอย่างไรจะได้ ไม่เกิดอีกต่อไป นี่เป็ นจุดที่ผ้ ูปฏิบัติจะแสวงหาธรรมะขันสูงต่อไป คิดจะ้ อบรมตนเอง ให้ เกิ ดความกลัว ขึนในใจ เราคนเดียวที่ สามารถ ้ อบรมตนเองได้ ถึงคนอื่นจะอบรมเราอย่างไร ก็เป็ นเพียงปลีกย่อย
27.
26 เตือนเราให้ เราอบรมตนเองเท่านันเอง เช่น
ขณะนี ้พวกเราได้ มา ้ อบรมธรรมะอยู่ก็ตาม นี่เป็ นส่วนปลีกย่อย เพียงมารั บนโยบาย จากผู้ให้ การอบรม ส่วนเราผู้รับการอบรมต้ องนําอุบายทังหมดไป ้ อบรมตนเองครังที่สอง อีกต่อหนึ่ง อุบายใดที่ได้ รับมาก็ต้องนําไป ้ อบรมตนเองอีกครังหนึง บุคคลที่อบรมตนเองได้ นนคือ ผู้มีปัญญา ้ ่ ั่ มีความฉลาดในการอบรมตนเองอยูเ่ สมอ การอบรมตนเองไม่จําเป็ นต้ องหากาลเวลา เวลานันก่อน้ เวลานี ้ก่อน หรื อต้ องเข้ าที่ภาวนาก่อนจึงจะอบรมตนเอง ไม่จําเป็ น การอบรมตนเองไม่มีกาลเวลา ทําที่ไหนก็ได้ กินข้ าวก็ได้ ทํางาน ก็ได้ สําคัญที่ให้ เรามีสติปัญญา รู้ อบายวิธีในการอบรมตนเองอยู่ ุ เสมอ ใจของเรามีความอยาก สันดานเดิมคือไม่ร้ ู เท่าตามความ เป็ นจริ ง เป็ นเวลานาน จนกลายเป็ นนิสัยจิตด้ านจนถึงปั จจุบัน หากไม่มีความขยันหมันเพียรแล้ ว การอบรมก็จะเป็ นไปยากมาก ่ เพราะจิตเราไม่ยอมรับความจริ งตามหลักความจริ ง ต้ องใช้ ปัญญา อบรมตนเองอยูเสมอ ไม่เช่นนันจิตเราจะด้ านเสีย ฉะนัน เราจึงไม่ ่ ้ ้ รอให้ คนอื่นอบรมเราฝ่ ายเดียว เราต้ องอบรมตนเองเป็ นสําคัญ เรี ยกว่า ตนแลเป็ นผู้อบรมตนเอง จิตตัง ทันตัง สุขาวะหัง จิตที่ถกอบรมอยู่เสมอๆ จิตจะมี ู ความฉลาด มี ค วามเข้ า ใจในเหตุใ นผล จิ ตจะมี ความสุข ความ เจริ ญ เราต้ องเป็ นผู้อบรมตนเองเสมอ ตนเตือนตนด้ วยตนเอง อบรมตนเอง สิ่งที่เราทําผิดไหม ถูกไหม เตือนตนอยู่เสมอ สิ่งนี ้ไม่
28.
27 ควรทํา สิงนี ้ควรทํา
่ จิตตัง รักเขถะ เมธาวี แปลว่า ผู้มีปัญญาดีเท่านัน จึงจะ ้ รักษาจิตได้ ถ้ าผู้มีปัญญาทราม จะรั กษาจิตไม่ได้ เลย ปล่อยไป ตามยถากรรม คิดเรื่ องดีเรื่ องชัวก็ไม่เข้ าใจว่า ผิดหรื อถูก เพราะ ่ ขาดปั ญญารอบรู้ การใช้ ปัญญาอบรมใจ ว่า สิ่งนันควรทํา ควร ้ พูด ควรคิด สิ่งนี ้ควรปฏิบติ สิ่งนี ้ควรละ ควรวาง ปั ญญาความรู้ ั รอบทังหมดว่า อะไรควร อะไรไม่ควร ธัมมะวิจยะ รู้ จกการเลือก ้ ั เฟนธรรมะมาปฏิบตกบตนเอง ้ ัิ ั อีกคําหนึง ตนแลเป็ นที่พงของตน จะพึงอย่างไร พึงคนอื่น ่ ึ่ ่ ่ พึ่ง ได้ ประเดี๋ย วประด๋า ว แต่พึ่งตนเองเป็ นสิ่งสํ าคัญ เราจะเอา สติปัญญาเป็ นที่พงตนเองได้ อย่างไร ต้ องสร้ างขึ ้นมา ึ่ ยกตัวอย่างเช่น พ่อแม่กับลูก ในเบื ้องต้ นต้ องอาศัยพ่อแม่ เป็ นผู้บํ า รุ ง รั ก ษาลูก ให้ เ จริ ญ เติบ โต แต่ที่ สํ า คัญ เมื่ อ ลูก ใหญ่ โ ต ขึ ้นมา เมื่อรู้ จักความเป็ นอยู่ของตนเองแล้ ว ไม่ใช่ลูกจะเกาะพ่อ แม่ ไ ปจนตลอดวัน ตาย จํ า เป็ นต้ อ งออกไปเป็ นตัว ของตัว เอง บุคคลจะเป็ นตัวของตัวเองได้ ต้ องรู้ จกว่า เป็ นที่พึ่งของตนเองได้ ั อย่างไร พึ่งความสามารถ สติปัญญาตนเองอย่างไร ให้ เราฝึ ก นิสยพึงตนเองอยูเ่ สมอ นี่คือสิงที่ต้องสํานึกให้ มาก ั ่ ่ อีกสิ่งหนึ่ง คือ เรากําลังอาศัยครู อาจารย์ ผู้เป็ นพ่อเป็ นแม่ ให้ ค วามรู้ ความฉลาดแก่ เ รา เพื่ อ เป็ นที่ พึ่ ง แก่ ต นเองให้ ไ ด้ นํ า ความรู้ ทังหมดบรรจุลงในตัวเองให้ มาก เพราะเราไม่สามารถจะ ้ อบรมธรรมะกันได้ ตลอดวันตลอดคืน ตลอดเดือนตลอดปี ถ้ าหาก