SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 14
Baixar para ler offline
วารสารศึกษาศาสตร์ ปีท่ี 16 ฉบับที่ 1 เดือน มิถนายน -ตุลาคม 2547
                                              ุ                                           หน้า 1




                  การจัดทัศนศึกษาเพือเรียนรูแบบบูรณาการ
                                    ่      ้
                 (Organizing Field Trips for Integrated Learning)


                                                                              อิทธิเดช น้อยไม้ *


บทนำ
         การศึกษานับเป็นกระบวนการที่สำคัญ           โดยมุ ่ ง เน้ น ในเรื ่ อ งของ ความรู ้ คุ ณ ธรรม
ในการพัฒนามนุษย์ ซึงเป็นทรัพยากรทีทรงคุณค่า
                          ่               ่         กระบวนการเรียนรู้ และ บูรณาการความรูตาง ๆ    ้่
และเป็นรากฐานสำคัญ ของการพัฒนาประเทศ                ตามความเหมาะสม รวมทั ้ ง จั ด กิ จ กรรมให้
ในปัจจุบันการจัดการศึกษาของประเทศไทย                ผู้เรียนได้เรียนรู้จากประสบการณ์จริง โดย
ได้มุ่งเน้นให้ผู้เรียน ได้เรียนรู้เรื่องราวต่าง ๆ   ผสมผสานสาระความรู ้ ใ นด้ า นต่ า ง ๆ อย่ า ง
ตามสภาพแวดล้อมที่เป็นจริงจากประสบการณ์              ได้ ส ั ด ส่ ว นและสมดุ ล กั น (พระราชบั ญ ญั ต ิ
ของตนเอง โดยผสมผสานความรู้ตาง ๆ อย่าง   ่           การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542, หน้า 12-13)
สมดุล ดังจะเห็นได้จากพระราชบัญญัตการศึกษา   ิ       นอกจากนี้แนวการจัดการเรียนรู้ ตามหลักสูตร
แห่งชาติ พ.ศ. 2542 ซึงเป็นกฎหมายทางการศึกษา
                        ่                           การศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2544 ก็ได้
ได้กำหนดแนวทางการจัดการศึกษาไว้ ในหมวด 4            กำหนดให้ผู้สอนจัดการเรียนรู้ สำหรับผู้เรียน
แนวการจัดการศึกษา มาตรา 23 และ 24 ซึงมีสาระ   ่     โดยเน้นการเรียนรู้ตรงจากประสบการณ์จริง
สำคัญ พอสรุปได้วา การศึกษาในระดับต่าง ๆ
                      ่                             ทีสมพันธ์เชือมโยงกับธรรมชาติ และ สิงแวดล้อม
                                                     ่ ั            ่                       ่


* อาจารย์ สังกัดโรงเรียนสาธิต “พิบลบำเพ็ญ” คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา จ.ชลบุรี
                                  ู
หน้า 2                            วารสารศึกษาศาสตร์ ปีท่ี 16 ฉบับที่ 1 เดือน มิถนายน -ตุลาคม 2547
                                                                                ุ

ทั้งยังมุ่งเน้นการเรียนรู้ในลักษณะ ของการ            เรียนรู้ตามสภาพจริง (Authentic learning)
บูรณาการสาระความรู้ต่าง ๆ เพื่อให้ผู้เรียน           ซึงเน้นให้ผเู้ รียนได้เรียนรูเ้ รืองราวต่าง ๆ ทีเ่ กิดขึน
                                                       ่                               ่                       ้
เกิดการเรียนแบบองค์รวม และสามารถนำ                   จริงบนโลก โดยผูเ้ รียนมีโอกาสทีจะพบเห็นได้      ่
ความรูความเข้าใจทีเ่ กิดขึน ไปประยุกต์ใช้ในชีวต
       ้                  ้                   ิ      ในชี ว ิ ต ประจำวั น อั น เป็ น การเสริ ม สร้ า ง
ประจำวันได้ (กรมวิชาการ, 2544 หน้า 21 – 22)          ประสบการณ์ตรงให้แก่ผเู้ รียน ซึงเฟาทส์ (Pfouts,
                                                                                              ่
และเมื ่ อ พิ จ ารณาจากแนวการจั ด การศึ ก ษา         2003) ก็ได้เสนอความคิดเห็นทีสอดคล้องกันว่า ่
ตามพระราชบัญญัตการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542
                     ิ                               วิธีการที่ดีที่สุดในการที่จะเสริมสร้างความรู้
และ แนวทางการจัดการเรียนรู้ตามหลักสูตร               ความเข้าใจเกียวกับโลกและสังคมให้เกิดขึนในตัว
                                                                       ่                                   ้
การศึกษาพืนฐานพุทธศักราช 2544 ดังกล่าวแล้ว
            ้                                        เด็กก็คือ การเรียนรู้โดยใช้ประสบการณ์ตรง
จะพบว่า วิธีการจัดการเรียนรู้ที่สอดคล้องและ          (Direct Learning Experience) ทังนีการทีผเู้ รียน
                                                                                                  ้ ้ ่
เหมาะสมสำหรับผูเ้ รียนมากทีสดอีกวิธหนึง ก็คอ
                              ่ ุ    ี ่ ื           ได้มโอกาสเรียนรูตามสภาพจริง ก็มสวนสำคัญ
                                                           ี                 ้                         ี ่
การจัดทัศนศึกษาในรูปแบบของการบูรณาการ                ที่จะช่วยให้ผู้เรียนได้พัฒนาทักษะการคิดจน
                                                     เกิ ด ความเข้ า ใจในเรื ่ อ งที ่ เ รี ย น และ การจั ด
แนวคิดเกียวกับการจัดทัศนศึกษา
         ่                                           ทัศนศึกษาก็มสวนสำคัญในการปลูกฝังค่านิยมและ
                                                                         ี่
          การจัดทัศนศึกษา (Field Trip) เป็น          ทัศนคติทดตอสิงทีพบเห็นให้แก่ผเู้ รียนได้อกด้วย
                                                                 ่ี ี ่ ่ ่                                  ี
กิจกรรมการเรียนรูเ้ พือแสวงหาประสบการณ์ตรง
                        ่                                        ดังนันการจัดทัศนศึกษาจึงเป็นกิจกรรม
                                                                         ้
จากแหล่งความรู้ที่มีอยู่จริงตามสถานที่ต่าง ๆ         การเรียนการสอนที่มีความสำคัญมากอย่างหนึ่ง
นอกห้องเรียน ทังยังเป็นกิจกรรมการเรียนรูทชวย
                      ้                    ้ ่ี ่    ซึงจะช่วยให้ผเู้ รียนได้มโอกาสเรียนรูดวยตนเอง
                                                         ่                       ี                      ้้
พั ฒ นาสติ ป ั ญ ญาตลอดจนทั ก ษะทางสั ง คม           ทำให้ได้รับความรู้ ความเข้าใจในเรื่องที่ศึกษา
อันจะทำให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้และเข้าใจเรื่อง     อย่างแท้จริง ทังยังเป็นการเสริมสร้างประสบการณ์
                                                                           ้
ทีเ่ รียนอย่างลึกซึง ซึง บลาวท์ และคลาวสเมียร์
                   ้ ่                               การเรียนรู้ให้แก่ผู้เรียนอย่างสมบูรณ์มากยิ่งขึ้น
(Blount and Klausmeir, 1968) ได้เสนอแนวคิด           เพราะการพาผูเ้ รียนไปทัศนศึกษานัน ถือว่าเป็นวิธี
                                                                                                   ้
เกียวกับการจัดทัศนศึกษาว่า การจัดทัศนศึกษา เป็น
    ่                                                การทีทำให้ผเู้ รียนได้รบประสบการณ์ตรงในการ
                                                               ่               ั
กิจกรรมการศึกษาหาความรูทเ่ี ป็นประสบการณ์
                             ้                       เรียนรู้และสามารถพัฒนาผู้เรียนในด้านร่างกาย
ตรง (Direct Experience) ที่ช่วยเสริมสร้าง            สติปญญา จิตใจ อารมณ์ และสังคม ได้เป็นอย่างดี
                                                             ั
ประสบการณ์อนทรงคุณค่าให้เกิดให้เกิดขึนในตัว
                 ั                       ้           อีกด้วย
ผู้เรียน ทั้งยังเป็นการสร้างความสัมพันธ์อันดี
ระหว่างโรงเรียนกับชุมชน เป็นการย้ำให้ชมชน   ุ        ความสำคัญของการจัดการเรียนรูแบบบูรณาการ
                                                                                 ้
ตระหนักถึงความจริงทีวา ชุมชนก็มสวนในการ
                          ่่         ี ่                       การจัดการเรียนรูแบบบูรณาการ เป็นการ
                                                                               ้
เสริมสร้างความรูให้แก่เด็กนักเรียนด้วย นอกจากนี้
                    ้                                จัดการเรียนรูทมลกษณะของการผสมผสานประสบการณ์
                                                                 ้ ่ี ี ั
การจัดทัศนศึกษาก็เป็นลักษณะของการจัดการ              การเรียนรู้ และเนือหาความรูตาง ๆ ในกลุมวิชา
                                                                          ้       ้่         ่
วารสารศึกษาศาสตร์ ปีท่ี 16 ฉบับที่ 1 เดือน มิถนายน -ตุลาคม 2547
                                              ุ                                                    หน้า 3

เดี ย วกั น หรื อ ต่ า งกลุ ่ ม วิ ช ากั น ให้ เ กิ ด ความ    ซึงรวมเรียกว่า “พหุปญญา” (Multiple Intelligence)
                                                                ่                  ั
สอดคล้อง สัมพันธ์ และเชือมโยงกัน ทังนีเ้ พือ
                                      ่                ้ ่    รวมทังยังตอบสนองต่อความสามารถทีจะแสดงออก
                                                                     ้                            ่
ให้ ผ ู ้ เ รี ย นเกิ ด การเรี ย นรู ้ อ ย่ า งมี ค วามหมาย   และตอบสนองทางอารมณ์ (Emotional
และสามารถนำไปใช้ในชีวตจริงได้ ดังที่ ธำรง
                                        ิ                     Intelligence)
บัวศรี (2542, หน้า 203) ได้แสดงความคิดเห็น                              ดังนั้นการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ
เกี่ยวกับความสำคัญของการจัดการเรียนรู้แบบ                     จึงมีส่วนสำคัญ ที่ช่วยให้ผู้เรียนได้มีโอกาสใช้
บูรณาการว่า การจัดการเรียนการสอนแบบ                           ความรู้ ความคิด ประสบการณ์ และสามารถที่
บูรณาการนั้นจะมีส่วนช่วยทำให้ผู้เรียนเกิดการ                  มีอยูในการเชือมโยงสิงทีเ่ รียนจากตำรา ให้เข้ากับ
                                                                   ่        ่        ่
เรียนรู้แบบเข้าใจ จำได้ สามารถมองเห็นความ                     ชีวิตจริงได้ นอกจากนี้ก็ยังสามารถเชื่อมโยง
สัมพันธ์ของสิงทีเ่ รียนรู้ สิงทีมอยูในชีวตประจำวัน
                    ่            ่ ่ี ่ ิ                     ประสบการณ์ตรงที่ได้รับจากการเห็นของจริง
และสามารถนำเอาความรู้มาประยุกต์ใช้ให้มี                       ให้เข้ากับสิ่งที่เรียนจากตำราในห้องเรียนได้
ความหมายต่อชีวตจริง ซึงสอดคล้องกับแนวคิด
                         ิ          ่                         ทำให้ผู้เรียนมองเห็นคุณค่าของสิ่งที่เรียนและ
ของกรมวิชาการ ( 2544, หน้า 2 ) ทีได้ให้เหตุผล     ่           สามารถนำไปใช้ประโยชน์ในชีวตประจำวันได้
                                                                                               ิ
แสดงความสำคัญของการจัดการเรียนรูแบบบูรณาการ     ้
ไว้ดงนี้ คือ
      ั                                                       หลักการจัดทัศนศึกษาในรูปแบบของการ
                1.การจัดการเรียนรูแบบบูรณาการ ทำให้
                                          ้                   บูรณาการ
ผู้เรียนได้ประยุกต์ใช้ความคิด ประสบการณ์                                การจัดทัศนศึกษาในรูปแบบของการ
ความสามารถ และทักษะต่าง ๆ ในเวลาเดียวกัน                      บูรณาการเป็นการนำแนวความคิดในการจัดการ
ทำให้ได้รับความเข้าใจ ในลักษณะองค์รวม                         เรียนการสอนแบบบูรณาการ มาประยุกต์ใช้กบการั
ซึ่งจะส่งผลให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ที่ลึกซึ้ง               จัดกิจกรรมการเรียนการสอน ด้วยวิธีการศึกษา
เนืองจากเป็นการเรียนรูทใกล้เคียงและสอดคล้อง
    ่                          ้ ่ี                           นอกสถานที่ หรือ การทัศนศึกษา ซึ่งการจัด
กับชีวตจริงิ                                                  ทัศนศึกษาในลักษณะดังกล่าว ผู้สอนสามารถ
                2.การเรียนรูแบบบูรณาการมีประโยชน์
                            ้                                 ดำเนินการได้ 2 ลักษณะ โดยอาศัยหลักการตาม
ในการลดความซ้ำซ้อนของเนือหาต่าง ๆ ปัจจุบน   ้             ั   รูปแบบการบูรณาการของ กรมวิชาการ (2541, หน้า
ความรู้ และข้อมูลต่าง ๆ เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว                 35) ซึงสรุปได้ดงนี้
                                                                    ่          ั
ทำให้การเรียนรู้แบบสัมพันธ์วิชามีความสำคัญ                              1. การบู ร ณาการภายในวิ ช า (Intra-
มากกว่า                                                       disciplinary) มีลกษณะเป็นการบูรณาการทีเ่ กิดขึน
                                                                                 ั                          ้
                3.การเรียนรู้แบบบูรณาการ สามารถ               ภายในขอบเขตของเนื้อหาวิชาเดียวกันโดยวิชา
ตอบสนองความสามารถของผูเ้ รียนซึงมีหลายด้าน          ่         ต่าง ๆ เช่น วิชาทางภาษา สังคมศึกษา คณิตศาสตร์
เช่น คณิตศาสตร์ ดนตรี ภาษา สังคมหรือ                          วิทยาศาสตร์ ฯลฯ ล้วนสามารถใช้หลักการ
มนุษยสัมพันธ์และความรู้ความเข้าใจตนเอง                        เชือมโยงภายในวิชาได้ทงสิน
                                                                 ่                    ้ั ้
หน้า 4                              วารสารศึกษาศาสตร์ ปีท่ี 16 ฉบับที่ 1 เดือน มิถนายน -ตุลาคม 2547
                                                                                  ุ

            2.การบูรณาการระหว่างวิชา (Inter-                      2. กำหนดหัวเรื่อง (Theme) การจัด
disciplinary) หรือแบบสหวิทยาการ ซึงเป็นลักษณะ
                                     ่                 ทัศนศึกษาในรูปแบบของการบูรณาการนั้น
ของการสร้างหัวเรื่อง (Theme) ขึ้นมา แล้ว               ผูสอนควรเปิดโอกาสให้ผเู้ รียนได้มสวนร่วมในการ
                                                        ้                                 ี่
เชือมโยงเนือหาสาระจากสาขาวิชาต่าง ๆ ตังแต่ 2
    ่         ้                              ้         กำหนดหัวเรื่อง เพื่อให้เรื่องที่ได้เรียนนั้น
สาขาวิชาขึ้นไป ให้มาสัมพันธ์กับหัวเรื่องที่            สอดคล้องกับความสนใจและความต้องการของ
กำหนดไว้ การเรียนรูในลักษณะนีจะมีประโยชน์
                       ้           ้                   ผู้เรียน อีกทั้งยังทำให้ผู้เรียนเกิดความรู้สึกมี
ในการช่ ว ยแก้ ป ั ญ หาหรื อ แสวงหาความรู ้            ส่วนร่วมและเป็นเจ้าของกิจกรรมในครั้งนี้ด้วย
ความเข้าใจในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง การเชื่อมโยง           โดยผูสอนจะต้องมีบทบาทในการให้คำแนะนำและ
                                                              ้
ความรู้และทักษะระหว่างวิชาต่าง ๆ จะช่วยให้             พิจารณาถึงหัวเรืองทีมความเหมาะสมและสอดคล้อง
                                                                          ่ ่ี
ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ที่ลึกซึ้งและใกล้เคียงกับ       กับสถานทีทจะไปทัศนศึกษา เช่น จะไปทัศนศึกษา
                                                                    ่ ่ี
ชีวตจริง
      ิ                                                ที่อุทยานประวัติศาสตร์สุโขทัย หรือสถานที่
            สำหรับในบทความนี้ผู้เขียนต้องการ           สำคัญต่าง ๆ ในจังหวัดสุโขทัย หัวเรืองทีกำหนด
                                                                                             ่ ่
นำเสนอรูปแบบของการจัดทัศนศึกษาในลักษณะ                 อาจเป็น “สุโขทัย” ก็ได้ ทังนีในการพิจารณา
                                                                                      ้ ้
ของการบูรณาการระหว่างวิชา(Interdisciplinary)           กำหนดหัวเรืองนัน ผูสอนจะต้องคำนึงถึงความ
                                                                         ่ ้ ้
โดยสิ่งที่ครูผู้สอนควรปฏิบัติ เพื่อให้การจัด           ต้องการ ความสนใจ ประสบการณ์เดิม และระดับ
ทัศนศึกษาในรูปแบบของการบูรณาการประสบ                   พัฒนาการของผูเ้ รียนด้วยเสมอ
ผลสำเร็จ ก็คอ   ื                                                 3. บูรณาการความรู้ในสาขาวิชาต่าง ๆ
            1. ศึ ก ษาจุ ด ประสงค์ ข องหลั ก สู ต ร    เพื่อให้การจัดทัศนศึกษาในรูปแบบของการ
ผู้สอนควรศึกษาจุดประสงค์ของหลักสูตรอย่าง               บูรณาการบรรลุจุดประสงค์ของทุกกลุ่มสาระ
ละเอียดก่อนตัดสินใจว่าจะจัดทัศนศึกษาในสถานที่          การเรียนรูนน ผูสอนในแต่ละกลุมสาระการเรียนรู้
                                                                   ้ ้ั ้               ่
ใด จึงจะมีความเหมาะสมสอดคล้องกับจุดมุงหมาย ่           จะต้องนำเอาความรู้ในสาขาวิชาของตน มา
ของการเรียนการสอนและก่อให้เกิดการเรียนรู้              เชื่อมโยงให้สัมพันธ์ร่วมกันภายใต้ หัวเรื่อง
แก่ผเู้ รียนมากทีสด
                  ่ ุ                                  (Theme) เดียวกัน ทังนี้ ผูสอนสามารถนำหัวเรือง
                                                                            ้    ้                  ่
                                                       และเนือหาสาระของสาขาวิชาต่าง ๆ มากำหนด
                                                                ้
                                                       ลงในแผนผังความคิด (Mind Mapping) ได้
                                                       ดังตัวอย่างในภาพที่ 1
วารสารศึกษาศาสตร์ ปีท่ี 16 ฉบับที่ 1 เดือน มิถนายน -ตุลาคม 2547
                                              ุ                                                                     หน้า 5

                                                                                           เนื้อหา
                                                                เนือหา
                                                                   ้                                      เนื้อหา

               เนื้อหา            เนื้อหา
                                                                               กลุมสาระการเรียนรู
  เนือหา
     ้                                                                 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
                         กลุมสาระการเรียนรู
                               ภาษาไทย
                                                                                       กลุมสาระการเรียนรู            เนื้อหา
                                                     หัวเรื่อง (Theme)                      วิทยาศาสตร
                                                                                                                    เนื้อหา
                              กลุมสาระการเรียนรู
                                                                                                          เนือหา
                                                                                                             ้
                                ภาษาตางประเทศ                         กลุมสาระการเรียนรู
      เนือหา
         ้                                                                    ศิลปะ

                    เนื้อหา                                                                          เนื้อหา
                                        เนื้อหา
                                                              เนือหา
                                                                 ้                เนือหา
                                                                                     ้


                         ภาพที่ 1 แผนผังความคิดการบูรณาการความรูในสาขาวิชาต่าง ๆ
                                                                ้


           การจัดทัศนศึกษาในรูปแบบของการ                               การประกอบอาชีพของประชาชน ประวัตความ        ิ
บูรณาการนัน ผูสอนสามารถกำหนดรูปแบบการ
              ้ ้                                                      เป็นมา และเหตุการณ์สำคัญทางประวัติศาสตร์
เรียนการสอน และพิจารณาคัดเลือกเนื้อหา                                  ของท้องถิน สถานทีสำคัญต่าง ๆ บุคคลสำคัญ
                                                                                   ่       ่
สาระของแต่ละสาขาวิชาได้ตามความเหมาะสม                                  ทังในอดีต และปัจจุบน ภูมปญญาพืนบ้าน รวมถึง
                                                                          ้               ั ิ ั         ้
ดังตัวอย่างเช่น                                                        ขนบธรรมเนี ย มประเพณี และวั ฒ นธรรม
           3.1 กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา                          ของท้องถิน่
ศาสนาและ วัฒนธรรม ผูสอนอาจพิจารณาให้
                            ้                                                   นอกจากนี้ควรเน้นให้ผู้เรียนตระหนัก
ผู้เรียนได้เรียนรู้เกี่ยวกับทักษะการใช้แผนที่                          ถึ ง ความสำคั ญ และคุ ณ ค่ า ของโบราณสถาน
ประกอบการเดินทาง การใช้หลักกิโลเมตร                                    โบราณวัตถุ ตลอดจนขนบธรรมเนียมประเพณี
แผ่นป้าย สัญญาณต่าง ๆ ตลอดเส้นทาง ลักษณะ                               และวัฒนธรรมทีดงามของประเทศไทย
                                                                                      ่ี
ภูมประเทศ ภูมอากาศ รวมทังปัจจัยทางภูมศาสตร์
    ิ           ิ             ้         ิ                                       3.2 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ต่าง ๆ ทีสงผลต่อการตังถินฐานการดำรงชีวต และ
         ่ ่            ้ ่               ิ                            ผู้สอน อาจพิจารณาให้ผู้เรียนได้เรียนรู้เกี่ยวกับ
หน้า 6                                   วารสารศึกษาศาสตร์ ปีท่ี 16 ฉบับที่ 1 เดือน มิถนายน -ตุลาคม 2547
                                                                                       ุ

สภาพแวดล้อม ทรัพยากรธรรมชาติ พืชพรรณ                         ภาษาไทยคู่กัน เช่น พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ
ธรรมชาติตาง ๆ สิงมีชวต และความหลากหลาย
                 ่       ่ ีิ                                (National Museum) สุ โ ขทั ย (Sukhothai)
ของระบบนิ เ วศ ในท้ อ งถิ ่ น ที ่ ไ ปทั ศ นศึ ก ษา          ศิลปะไทยสมัยอยุธยา (Thai art in Ayutthaya)
หรือจากการสังเกต ตามเส้นทางที่เดินทางไป                      ชายหาด (Beach) ถ้ำ (Cave) น้ำตก (Waterfall)
รวมถึ ง ความสั ม พั น ธ์ ข องระบบนิ เ วศและ                  เป็นต้น โดยสังเกตจากแผ่นป้าย โฆษณา แผ่นป้าย
สิงแวดล้อมกับการดำรงชีวตของมนุษย์ สภาพ
    ่                              ิ                         บอกสถานที่ ตารางบอกเวลา และสื่ออื่น ๆ
แวดล้อมที่ถูกทำลาย แนวทางในการอนุรักษ์                       อีกจำนวนมาก นอกจากนี้ผู้สอนอาจ ให้ผู้เรียน
ทรัพยากรธรรมชาติ และสิงแวดล้อม ตลอดจน
                                 ่                           ได้ ฝ ึ ก ทั ก ษะการฟั ง และพู ด โดยใช้ ภ าษา
การฝึ ก ฝนให้ ผ ู ้ เ รี ย น ได้ เ รี ย นรู ้ ต ามทั ก ษะ    ต่างประเทศที่ได้เรียนรู้มาในการสนทนา หรือ
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์                                      แนะนำข้อมูลการท่องเที่ยวที่น่าสนใจให้ กับ
               3.3 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย               นักท่องเที่ยวหรือชาวต่างชาติที่มาทัศนศึกษา
ผูสอนอาจ พิจารณาให้ผเู้ รียนได้เรียนรูเ้ รืองราวต่าง
  ้                                             ่            ในสถานทีนน ๆ    ่ ้ั
ๆ ทีเ่ กียวข้องกับบทเรียนในวิชาภาษาไทย เช่น
         ่                                                               3.5 กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและ
นิทานพืนบ้าน วรรณคดี โคลง กลอน และนิราศ
             ้                                               พลศึกษา ผูสอนอาจพิจารณาให้ผเู้ รียนได้เรียนรู้
                                                                                ้
ที่ผู้แต่งหรือ กวี ได้นำเสนอในรูปแบบต่าง ๆ                   เกียวกับการปฏิบตตนเพือความปลอดภัยในการ
                                                                   ่                     ัิ ่
เพือบรรยายสภาพหรือเหตุการณ์ ทีสอดคล้องกับ
      ่                                  ่                   เดินทาง และพฤติกรรมเสียงต่อการเกิดอุบตเิ หตุ
                                                                                                  ่               ั
สถานทีจริงทีไปทัศนศึกษา นอกจากนีผสอนยัง
            ่ ่                                   ้ ู้       จากการเดินทาง การแก้ปญหาเมือเผชิญอันตราย
                                                                                              ั      ่
สามารถฝึกฝนให้ผเ้ ู รียนได้เขียนบันทึกประสบการณ์             การขอความช่วยเหลือและการปฐมพยาบาลเบืองต้น          ้
จากการเดินทางทัศนศึกษา การเขียนเรียงความ                     อีกทังยังสามารถแนะนำผูเ้ รียนเกียวกับการเลือก
                                                                     ้                                 ่
เขียนคำขวัญ และการแต่งคำประพันธ์ประเภท ต่าง                  ซืออาหาร และผลิตภัณฑ์ตาง ๆ ของชุมชนในการ
                                                               ้                                ่
ๆ อย่างสร้างสรรค์ เพื่อถ่ายทอดเรื่องราวหรือ                  นำมาบริโภคหรือเป็นของฝากจากการเดินทาง
ความรูตาง ๆ ทีได้รบจากการทัศนศึกษา รวมทัง
           ้่        ่ ั                                 ้               3.6 กลุมสาระการเรียนรูศลปะ ผูสอนอาจ
                                                                                       ่            ้ิ        ้
ควรฝึกให้ผเู้ รียนได้เรียนรูมารยาทในการพูดแบบ
                               ้                             พิจารณาให้ผู้เรียนได้เรียนรู้เกี่ยวกับงานศิลปะ
ต่าง ๆ และฝึกการเป็นผู้ฟังที่ดี เพื่อให้สามารถ               ในท้องถิ่น อิทธิพลของวัฒนธรรมที่ส่งผลต่อ
สรุปความและจับประเด็นสำคัญต่าง ๆ จากการฟัง                   การสร้างสรรค์งานศิลปะในสถานทีทไปทัศนศึกษา   ่ ่ี
ครูหรือวิทยากรบรรยายได้                                      ฝึกผูเ้ รียนให้รจกสังเกตลักษณะรูปร่าง รูปทรงของ
                                                                                  ู้ ั
               3.4 กลุ ่ ม สาระการเรี ย นรู ้ ภ าษาต่ า ง    สิงต่าง ๆ ทีอยูรอบตัวเรา ชนิด ประเภทของวัสดุ
                                                                 ่             ่ ่
ประเทศ ผูสอนอาจพิจารณาให้ผเู้ รียนได้ฝกการ
                   ้                                   ึ     อุปกรณ์ทใช้ในการทำกิจกรรมทางศิลปะ ฝึกการ
                                                                          ่ี
ใช้ภาษาต่างประเทศ จากการอ่านหนังสือหรือ                      วิเคราะห์ วิจารณ์งานทัศนศิลป์ และควรเปิด
จดบันทึกข้อความที่เป็นภาษาต่างประเทศหรือ                     โอกาสให้ผเู้ รียนได้ถายทอด ความคิด จินตนาการ
                                                                                           ่
ข้อความภาษา ต่างประเทศที่มีคำอธิบายเป็น                      และความรูสกต่าง ๆ ออกมา เป็นผลงานทางศิลปะ
                                                                              ้ ึ
วารสารศึกษาศาสตร์ ปีท่ี 16 ฉบับที่ 1 เดือน มิถนายน -ตุลาคม 2547
                                              ุ                                                หน้า 7

เช่น การวาดภาพ การถ่ายภาพทีนาประทับใจ  ่ ่                 3) เป็นวิธีการที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
เป็นต้น                                            เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ตามความสนใจ
           นอกเหนือจากตัวอย่างของสาระการ           ของตนและรับผิดชอบการเรียนรูของตนเอง      ้
เรียนรู้ดังกล่าวข้างต้นแล้ว ผู้สอนก็สามารถ                 4) เป็ น วิ ธ ี ท ี ่ ช ่ ว ยให้ ผ ู ้ ส อนสามารถ
พิจารณา คัดเลือก เนือหาและกิจกรรมต่าง ๆ ที่
                          ้                        สัมพันธ์หลักสูตร การเรียนการสอน และการ
สอดคล้องกับการจัดทัศนศึกษาในรูปแบบของ              ประเมินเข้าเป็นกระบวนการต่อเนือง              ่
การบูรณาการได้ตามความเหมาะสม                               อีกทั้งการประเมินผลจากแฟ้มสะสม
           4. ประเมินผลการเรียนรู้ ผู้สอนควร       งานก็สอดคล้องกับการประเมินตามสภาพจริง
เลือกใช้วธการประเมินผลการเรียนรูทสอดคล้อง
           ิี                            ้ ่ี      ตามที่กรมวิชาการ (2544, หน้า 23- 24) ได้ให้
และเหมาะสมกับผูเ้ รียน ทังนีผสอนควรประเมิน
                            ้ ้ ู้                 ความเห็นเกี่ยวกับการประเมินผลโดยใช้แฟ้ม
ผูเ้ รียนจากการประเมินตามสภาพจริง (Authentic       สะสมงานว่า การประเมินผลโดยใช้แฟ้มสะสม
Assessment) โดยใช้เทคนิคและวิธการต่าง ๆ เช่น
                                     ี             งาน จะช่วยกระตุนให้ผเู้ รียนเกิดการเรียนรูตาม
                                                                      ้                                  ้
การสังเกตพฤติกรรม การสัมภาษณ์ การประเมิน           หลักสูตรได้อย่างหลากหลาย และช่วยเสริมสร้าง
ตนเอง และสะท้ อ นความรู ้ ส ึ ก ต่ อ ผลงาน         ความสนใจในการเรียนรู้ รวมทั้งการเกิดความ
การทดสอบ และการบันทึกจากผู้ที่เกี่ยวข้อง           ร่วมมือในการเรียนรูดวย ดังนันการประเมินผล
                                                                         ้้               ้
(เพือนของ ผูเ้ รียน เพือนครู ผูปกครอง)
      ่                 ่          ้               โดยใช้แ ฟ้ ม สะสมงาน จึ ง เป็ น การประเมิ น
           นอกจากนี ้ ก ารประเมิ น ผลจากแฟ้ ม      ความสำเร็จของผูเ้ รียนจากผลงานได้ดอกวิธหนึง       ีี ี ่
สะสมงาน (Portfolio Assessment) ก็เป็นวิธการ   ี
ประเมินผลทีชวยสะท้อนให้เห็นถึงผลทีเ่ กิดจาก
               ่่                                  ขันตอนการจัดทัศนศึกษา
                                                     ้
การเรียนรูของผูเ้ รียนได้อย่างชัดเจนดังที่ ทิศนา
            ้                                               ในการจั ด ทั ศ นศึ ก ษา เพื ่ อ ให้ เ กิ ด
แขมณี และคณะ (2545, หน้า 47) ได้กล่าวถึงการ        ประโยชน์คุ้มค่า ผู้สอนควรพิจารณาก่อนการ
ประเมินผลจากแฟ้มสะสมงานว่าเป็นการประเมินที่        ตัดสินใจว่าควรจัดทัศนศึกษาให้แก่ผู้เรียนหรือ
           1) เปิดโอกาสให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมใน     ไม่โดยใช้เกณฑ์ดงต่อไปนี้
                                                                   ั
กระบวนการประเมินผลอย่างเต็มที่ เพราะผูเ้ รียนจะ             1. การพานักเรียนไปทัศนศึกษา มีความ
ต้องเก็บรวบรวมผลงาน คัดเลือกผลงาน ประเมิน          เกียวข้องหรือสอดคล้องกับหัวเรืองทีกำลังศึกษา
                                                       ่                                       ่ ่
ผลงาน และจัดทำเป็นแฟ้มผลงาน (Portfolio)            หรือไม่
ด้วยตนเอง                                                   2. มีความจำเป็นจริงหรือไม่ ทีจะต้อง    ่
           2) เป็ น ความร่ ว มมื อ ในการทำงาน      พานักเรียนไปทัศนศึกษานอกสถานที่
ร่วมกันระหว่างครูและผู้เรียน ซึ่งต้องช่วยกัน                3. ไม่ ม ี ส ื ่ อ อื ่ น ที ่ จ ะทดแทนการไป
กำหนดเกณฑ์และวิธการในการประเมินผล
                      ี                            ทัศนศึกษา ได้แน่นอนหรือไม่ และควรพิจารณาว่า
หน้า 8                              วารสารศึกษาศาสตร์ ปีท่ี 16 ฉบับที่ 1 เดือน มิถนายน -ตุลาคม 2547
                                                                                  ุ

เนื้อหาที่เรียนนั้นจะต้องเป็นเรื่องที่ไม่สามารถ        หลังจากนันผูสอนควรทำความเข้าใจกับผูเ้ รียนให้
                                                                     ้ ้
ที่จะเรียนรู้ได้ภายในห้องเรียนเพราะถ้าหาก              ชัดเจนเกียวกับวัตถุประสงค์ของการไปทัศนศึกษา
                                                                  ่
เนือหาต่าง ๆ สามารถเรียนรูได้ภายในห้องเรียน
     ้                        ้                                     2. ขั้นวางแผนร่วมกัน ผู้สอนควร
อย่างสมบูรณ์แบบแล้ว การจัดทัศนศึกษา ก็จะหมด            วางแผนร่วมกันกับผูเ้ รียนในการพิจารณาสถานทีท่ี   ่
ความสำคัญไปทันที                                       จะไปศึ ก ษาให้ ม ี ค วามเหมาะสมกั บ เนื ้ อ หา
          4.วัตถุประสงค์ในการจัดทัศนศึกษา นัน     ้    จุดมุ่งหมายของการเรียนการสอน รวมถึงความ
มีความสอดคล้องกับความสนใจและประสบการณ์                 เหมาะสมด้านอายุ ความสนใจ และประสบ-
เดิมของผูเ้ รียนหรือไม่                                การณ์เดิมของผูเ้ รียนโดยเมือมีการกำหนดสถานที่
                                                                                   ่
          5.การจัดทัศนศึกษามีความเหมาะสม               แน่ชัดแล้ว ผู้สอนและผู้เรียนบางคน ควรมี
กับอายุและระดับชันของผูเ้ รียนหรือไม่
                          ้                            โอกาสไปสำรวจสถานที ่ ท ี ่ จ ะไปทั ศ นศึ ก ษา
          6. การเดิ น ทางไปทั ศ นศึ ก ษาไม่ ส ิ ้ น    เสียก่อนล่วงหน้า โดยสำรวจเส้นทาง ระยะเวลา
เปลืองมาก มีความปลอดภัยสูง มีสภาพแวดล้อม               ในการเดิ น ทาง เพื ่ อ จะได้ ท ราบถึ ง ปั ญ หา
หรือสถานทีทเ่ี หมาะสมแก่ผเู้ รียนหรือไม่
               ่                                       และอุปสรรคต่าง ๆ เกี่ยวกับการเดินทาง เช่น
          7. การจัดทัศนศึกษาจะช่วยสร้างความ            ความปลอดภัยของเส้นทางที่จะไปทัศนศึกษา
สัมพันธ์ระหว่างโรงเรียนกับชุมชนด้วยหรือไม่             ยานพาหนะที่เหมาะสม สถานที่พัก และสิ่ง
          8. การจัดทัศนศึกษาจะช่วยสร้างค่านิยม         อำนวยความสะดวกอื่น ๆ หลังจากนั้นผู้สอน
และทัศนคติทดแก่ผเู้ รียนได้มากน้อยเพียงใด
                   ่ี ี                                และผู้เรียนจึงนำข้อมูลที่ได้รับกลับมาวางแผน
          ถ้าคำตอบออกมาในเชิงบวก หมายความ              ร่วมกันในรายละเอียดต่าง ๆ ได้แก่
ว่า ควรจัดทัศนศึกษาให้แก่ผู้เรียน ผู้สอนจึง                         2.1 การเดินทางควรใช้พาหนะอะไร
ดำเนินการตามขันตอน ดังที่ สมสิทธิ์ จิตรสถาพร
                        ้                              จะเดินทางไปอย่างไร สวัสดิภาพและความ
(2535, หน้า 27-35 ) และ ทิศนา แขมณี (2545,             ปลอดภัยในการเดินทาง
หน้า 44-45) กล่าวไว้ซึ่งพอจะ สรุปได้ดังนี้                          2.2 สาระความรูทผเู้ รียน ควรจะได้รบ
                                                                                     ้ ่ี             ั
          1. ขั้นกำหนดจุดประสงค์ ผู้สอนควร             จากการไปทัศนศึกษา มีอะไรบ้าง
พิจารณาว่าการจัดทัศนศึกษานันจะเกิดผลคุมค่า
                                ้           ้                       2.3 วิธีการในการศึกษา จะใช้วิธีอะไร
ต่อการเรียนรูของผูเ้ รียนหรือไม่ และเมือพิจารณา
                 ้                     ่               บ้ า ง เช่ น การสั ง เกต จดบั น ทึ ก สั ม ภาษณ์
แล้วเห็นว่าการจัดทัศนศึกษาจะเกิดประโยชน์               อภิปรายแสดงความคิดเห็น บันทึกภาพ ทดลอง
คุ้มค่าแก่ผู้เรียนอย่างแน่นอน ขั้นตอนต่อไป             ลงมือปฏิบัติ ฯลฯ ซึ่งถ้าวิธีการดังกล่าวจำเป็น
ผู ้ ส อนจะต้ อ งกำหนดจุ ด ประสงค์ ใ นการจั ด          ต้องใช้เครืองมือ หรือ อุปกรณ์อะไร ก็ควรมีการ
                                                                      ่
ทัศนศึกษาให้สอดคล้องกับหลักสูตรและตรง                  เตรียมให้พร้อมก่อนการเดินทาง
กับวัตถุประสงค์ หรือ จุดมุ่งหมายของการเรียน
วารสารศึกษาศาสตร์ ปีท่ี 16 ฉบับที่ 1 เดือน มิถนายน -ตุลาคม 2547
                                              ุ                                                         หน้า 9

               2.4 กำหนดการในการเดินทาง ควรมี               นักเรียน โดยปฏิบัติตามระเบียบว่าด้วยการ
การกำหนดระยะเวลาทีแน่นอน         ่                          พานักเรียนไปศึกษานอกสถานที่ และ ก่อนการ
               2.5 ค่าใช้จ่ายต่าง ๆ ที่จำเป็นต้องใช้ใน      เดิ น ทางผู ้ ส อนควรปฐมนิ เ ทศ ผู ้ เ รี ย นที ่ ร ่ ว ม
การเดินทางมีอะไรบ้าง เช่น ค่าเช่ารถ ค่าอาหาร                โครงการเพือตรวจสอบความเรียบร้อยและชีแจง
                                                                           ่                                   ้
ค่ า ที ่ พ ั ก ค่ า เข้ า ชมสถานที ่ เป็ น ต้ น และ        สิ่งที่ผู้เรียนควรทราบ เพื่อจะได้เตรียมตัวได้
นักเรียนจำเป็นต้องช่วยกันออกค่าใช้จายด้วยหรือไม่
                                            ่               ถูกต้อง เช่น
อย่างไร
                 2.6 ติดต่อและขออนุญาตเจ้าของ                           - วัตถุประสงค์ หรือ จุดมุงหมายของการ
                                                                                                   ่
สถานที่ นัดหมายกำหนดการในการเดินทาง                         ไปทัศนศึกษาในครังนี้  ้
และรายละเอียดต่าง ๆ เช่น วัตถุประสงค์หรือ                               - กำหนดการเดินทาง จุดนัดพบหรือ
จุดมุ่งหมายของการทัศนศึกษา จำนวนผู้ร่วม                     จุดเริ่มต้น การเดินทางและจุดหมายปลายทาง
เดิ น ทาง เพศ อายุ เพื ่ อ ความสะดวก และ                    ของการเดิ น ทางที ่ แ น่ น อน เพื ่ อ ป้ อ งกั น การ
ความเหมาะสมในการจัดการต้อนรับ การจัด                        สับสน
สถานที่ การจัดวิทยากร รวมทังการบริการอาหาร
                                     ้                                  - สิงของเครืองใช้ประจำตัว เช่น เครือง
                                                                            ่        ่                          ่
และทีพก หากไปค้างคืน
          ่ ั                                               แต่งกายที่กำหนด หรือที่เหมาะสมกับสถานที่
                 2.7 ควรคำนึงถึงสภาพภูมิอากาศที่            ที ่ ไ ปทั ศ นศึ ก ษา ค่ า ใช้ จ ่ า ยและเงิ น ติ ด ตั ว
อาจมีผลต่อการเดินทาง เช่น ฤดูฝนและฤดูหนาว                   เครืองนอน อาหาร และยารักษาโรคเป็นต้น
                                                                  ่
ซึ่งบางสถานที่ที่มีอากาศหนาวเย็น ต้องมีการ                              - ข้อปฏิบั ติในการเดินทางเพื่อความ
เตรี ย มเครื ่ อ งกั น หนาวให้ เ พี ย งพอ หรื อ บาง         เป็นระเบียบเรียบร้อย เช่น การแต่งกายทีเ่ หมาะสม
สถานที่ อาจไม่เหมาะสมในการไปทัศนศึกษา                       การรับประทานอาหาร กิรยา มารยาท การตรงต่อ
                                                                                         ิ
ช่วงฤดูฝน                                                   เวลา การรักษาความสะอาด ฯลฯ
                 2.8 จัดเตรียมคู่มือ เอกสารประกอบ                       - ข้อปฏิบัติเพื่อความปลอดภัยในการ
การเดินทางไปทัศนศึกษา                                       เดินทาง ผูสอนอาจแบ่งกลุมผูเ้ รียนเป็นกลุมย่อย ๆ
                                                                         ้                 ่              ่
                 2.9 หน้าที่ความรับผิดชอบต่าง ๆ             กลุ่มละประมาณ 5- 10 คนให้เพื่อนนักเรียน
ควรมีการกำหนดและแบ่งหน้าที่ให้ผู้เรียน ได้มี                ช่วยกันตรวจสอบและดูแลกันเอง หรืออาจใช้
ส่วนร่วมในการรับผิดชอบด้านต่าง ๆ ตามความ                    ระบบคู่หู (Buddy System) นอกจากนี้อาจใช้
เหมาะสม เพือให้ผเู้ รียนเกิดความรูสกรับผิดชอบ
                   ่                       ้ ึ              อุปกรณ์สื่อสารต่าง ๆ ในการช่วยควบคุมดูแล
ต่อกิจกรรมในครังนีรวมกัน
                       ้ ้่                                 ความปลอดภัย เช่น วิทยุสอสาร โทรศัพท์มอถือ
                                                                                             ่ื               ื
               นอกจากนี ้ ผ ู ้ ส อนต้ อ งทำหนั ง สื อ ขอ   เป็นต้น
อนุ ญ าตผู ้ บ ั ง คั บ บั ญ ชาและผู ้ ป กครองของ
หน้า 10                               วารสารศึกษาศาสตร์ ปีท่ี 16 ฉบับที่ 1 เดือน มิถนายน -ตุลาคม 2547
                                                                                    ุ
         สำหรับการจัดทัศนศึกษาในรูปแบบของ                 เพือกำหนดกิจกรรมการเรียนรูตามขันตอนของการ
                                                             ่                       ้ ้
การบูรณาการนันผูสอนทุกกลุมสาระการเรียนรู้
               ้ ้          ่                             จัดการเรียนรูแบบบูรณาการ ทีกรมวิชาการ (2544,
                                                                       ้              ่
ที่ร่วมโครงการควรมีโอกาสได้วางแผนร่วมกัน                  หน้า 17) ได้เสนอไว้ 6 ขันตอน คือ
                                                                                  ้

                                            กําหนดเรื่องที่จะสอน

                                        กําหนดจุดประสงคการเรียนรู


                                              กําหนดเนือหายอย
                                                       ้


                                               วางแผนการสอน


                                                ปฏิบัตการสอน
                                                      ิ


                                              ประเมินผลการเรียนรู

                             ภาพที่ 2 แสดงขันตอนการจัดการเรียนรูแบบบูรณาการ
                                            ้                   ้

            1.กำหนดเรืองทีจะสอน โดยการศึกษา
                      ่ ่                                         4.วางแผนการสอน เป็นการกำหนด
หลักสูตรและวิเคราะห์หาความสัมพันธ์ของ                     รายละเอียดของกิจกรรมการเรียนการสอนตังแต่
                                                                                                ้
เนือหาทีมความเกียวข้องกันเพือนำมากำหนดเป็น
   ้        ่ี     ่          ่                           ต้นจนจบ
หัวข้อเรือง (Theme)
          ่                                                       5.ปฏิบตการสอน เป็นการจัดกิจกรรม
                                                                        ัิ
            2.กำหนดจุดประสงค์การเรียนรู้ โดย              การเรียนรูตามแผนการสอนทีกำหนดไว้ รวมทัง
                                                                    ้               ่             ้
ศึกษาจุดประสงค์ของวิชาหลักและวิชารองทีจะนำ          ่     มีการสังเกตพฤติกรรมการเรียนรู้ของผู้เรียน
มาบูรณาการ                                                ความเหมาะสมของการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
            3.กำหนดเนื้อหาย่อย เป็นการกำหนด               รวมทั้งผลสำเร็จของการเรียนรู้ตามจุดประสงค์
เนื ้ อ หาย่ อ ย ๆ สำหรั บ การเรี ย นรู ้ เ พื ่ อ สนอง   ทีได้กำหนดไว้
                                                            ่
จุดประสงค์การเรียนรูทกำหนดไว้
                       ้ ่ี
วารสารศึกษาศาสตร์ ปีท่ี 16 ฉบับที่ 1 เดือน มิถนายน -ตุลาคม 2547
                                              ุ                                               หน้า 11
        6.การประเมิน เป็นการนำผลทีได้จาก
                                  ่                             ซึ่งผู้เขียนได้นำลำดับขั้นตอน ดังกล่าว
การเก็บข้อมูลในขณะปฏิบตการสอนมาวิเคราะห์
                       ัิ                              ทัง 6 ข้อข้างต้นทีกรมวิชาการได้เสนอไว้มาปรับ
                                                        ้                  ่
เพือปรับปรุง และพัฒนาแผนการสอน ให้มความ
   ่                                ี                  ใช้กบกิจกรรมการทัศนศึกษาตามตัวอย่างดังนี้
                                                           ั
เหมาะสมและสมบูรณ์แบบมากยิงขึน
                           ่ ้
                         ตัวอย่างแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรูแบบบูรณาการ
                                                          ้
               ลําดับขั้นตอน                                  การดําเนินกิจกรรม
    1. กําหนดเรื่องที่จะสอน              ตองการสอนเรื่อง “กรุงสุโขทัย”
    2. กําหนดจุดประสงคการเรียนรู       - บอกประวัตความเปนมาของอาณาจักรสุโขทัยได (สังคมศึกษา
                                                        ิ
                                            ศาสนา และวัฒนธรรม)
                                         - วาดภาพ สถานทีสําคัญ โบราณสถานในจังหวัดสุโขทัย
                                                              ่
                                            แลวระบายสีไดสวยงาม (ศิลปะ)
                                         - อธิบายแหลงทรัพยากรธรรมชาติและสิงแวดลอมในจังหวัด
                                                                                ่
                                            สุโขทัยได (วิทยาศาสตร)
                                         - คํานวณระยะเวลาและระยะทางได (คณิตศาสตร)
                                         - จดบันทึกขอความหรือคําศัพทที่เปนภาษาตางประเทศได
                                            (ภาษาตางประเทศ)
    2. กําหนดจุดประสงคการเรียนรู (ตอ) - จดบันทึกประสบการณจากการทัศนศึกษาได (ภาษาไทย)
    3. เนื้อหายอย                       - ประวัตศาสตรกรุงสุโขทัย (สังคมศึกษา ศาสนา และ
                                                    ิ
                                            วัฒนธรรม)
                                         - การวาดภาพ และ ระบายสี (ศิลปะ)
                                         - ทรัพยากรธรรมชาติ และสิงแวดลอม (วิทยาศาสตร)
                                                                      ่
                                         - การคิดคํานวณ (คณิตศาสตร)
                                         - คําศัพทตาง ๆ (ภาษาตางประเทศ)
                                         - หลักและวิธีการเขียนบันทึกประสบการณ (ภาษาไทย)
    4. วางแผนการสอน                      จัดกิจกรรมการเรียนรูดวยวิธีการทัศนศึกษาในรูปแบบของการ
                                                                  
                                         บูรณาการ โดยเดินทางไปจังหวัดสุโขทัย และเมื่อออกเดินทางก็
                                         เริ่มกิจกรรมการเรียนรูในสาขาวิชาตาง ๆ เชน
                                          - เริ่มจับเวลาเพื่อคํานวณระยะเวลา และระยะทางจากจุดเริ่มตน
                                            ถึงจุดหมายปลายทาง (คณิตศาสตร)
                                         - สังเกตแผนปายตาง ๆ ทีมีภาษาตางประเทศ เพื่อจดบันทึก
                                                                    ่
                                             (ภาษาตางประเทศ)
หน้า 12                            วารสารศึกษาศาสตร์ ปีท่ี 16 ฉบับที่ 1 เดือน มิถนายน -ตุลาคม 2547
                                                                                 ุ
            ลําดับขั้นตอน                                             กิจกรรม

 4. วางแผนการสอน (ตอ)                       - สังเกต สนทนาและอภิปรายเกี่ยวกับแหลงทรัพยากรธรรมชาติ
                                                และสิ่งแวดลอมตามเสนทางที่ทัศนศึกษา (วิทยาศาสตร)
                                             - เมื่อถึงสถานที่เปาหมาย เชน อุทยานประวัติศาสตร
                                               สุโขทัย หรือแหลงโบราณสถานตาง ๆ แลวใหวิทยากรเลา
                                               ประวัติความเปนมาและความสําคัญของสถานที่นน ๆ หลังจาก
                                                                                             ั้
                                                นั้นจึงรวมกันซักถามและแสดงความคิดเห็น
                                               (สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม)
                                             - ใหผูเรียนไดสรางสรรคผลงานศิลปะดวยการวาดภาพระบายสี
                                               (ศิลปะ)
                                             - เมื่อเดินทางกลับใหผูเรียนเขียนบันทึกประสบการณที่ไดรบ
                                                                                                      ั
                                                จากการเดินทางไปทัศนศึกษา (ภาษาไทย)

 5.ปฏิบัติการสอน                             ดําเนินกิจกรรมตาง ๆ ตามแผนการจัดกิจกรรม(แผนการสอน) ที่
                                             ไดกําหนดไว และสังเกตพฤติกรรมการเรียนรูของผูเรียนวา
                                                                                       
                                             สอดคลองกับกิจกรรมที่กําหนดหรือไม โดยจดบันทึกขอมูลไว
 6.ประเมินผลการเรียนรู                      ประเมินผลตามสภาพจริง ดวยวิธีการตาง ๆ เชน สังเกตพฤติ
                                             กรรม สัมภาษณ ทดสอบ อภิปรายหรือสัมนา ตอบแบบ
                                             ถาม แฟมสะสมงาน (Portfolio) เปนตน แลวนําผลที่ไดจาก
                                             ประเมินตามสภาพจริงมาพัฒนา และปรับปรุงใหดีขึ้น


                                                                                     สังคมศึกษา
            ภาษาตางประเทศ
                                                                             - ประวัตศาสตรกรุงสุโขทัย
                                                                                     ิ
             - คําศัพทตาง ๆ


                    ภาษาไทย                                                      ศิลปะ
                                                  กรุงสุโขทัย
     - หลักและวิธีการเขียนบันทึกประสบการณ                                  - การวาดภาพ
                                                                            - การระบายสี

             คณิตศาสตร                                                            วิทยาศาสตร
          - การคิดคํานวณ                                                - ทรัพยากรธรรมชาติและสิงแวดลอม
                                                                                               ่

     ภาพที่ 3 แผนผังความคิดการบูรณาการความรูในสาขาวิชาต่างๆ ตามกิจกรรมการทัศนศึกษา
                                           ้
                              แบบบูรณาการ เรือง กรุงสุโขทัย
                                             ่
วารสารศึกษาศาสตร์ ปีท่ี 16 ฉบับที่ 1 เดือน มิถนายน -ตุลาคม 2547
                                              ุ                                               หน้า 13
           3. ขันปฏิบตการทัศนศึกษา ในขันตอน
                 ้       ัิ                  ้          วิธ ีการที่เหมาะสมและสอดคล้องกับผู้เรียน
นี้ เป็นขั้นตอนของการดำเนินกิจกรรม การ                  โดยเน้นการประเมินผลตามสภาพจริง (Authentic
ทัศนศึกษา ตามแผนการที่ได้กำหนดไว้ โดย                   Assessment) ว่า การจัดทัศนศึกษาในครังนีบรรลุ
                                                                                                ้ ้
เริมตังแต่ การออกเดินทางทัศนศึกษา การศึกษา
   ่ ้                                                  ผลตามเป้าหมายหรือจุดประสงค์ที่ กำหนดไว้
เรียนรูดวยวิธการต่าง ๆ ตามทีกำหนดไว้ จนกระทัง
       ้้ ี                     ่                  ่    หรือไม่ ผูเ้ รียนเกิดการเรียนรูตามทีมงหวังหรือไม่
                                                                                      ้ ่ ุ่
เสร็จสินการทัศนศึกษา โดยเมือเริมการ เดินทาง
        ้                         ่ ่                   โดยพิจารณาให้ครอบคลุมประเด็นการเรียนรูทง 3  ้ ้ั
ผู้สอนควรดูแลเอาใจใส่ในเรื่อง ความปลอดภัย               ด้านคือ
ความประพฤติ กิรยามารยาทของผูเ้ รียน และเมือ
                     ิ                           ่                1) ด้านความรู้ ความเข้าใจในสิงทีศกษา
                                                                                                 ่ ่ึ
เดินทางถึงสถานที่ที่ได้กำหนดไว้ ผู้สอนควร                         2) ด้านเจตคติ หรือ ทัศนคติ (Attitude)
เน้นย้ำผู้ เรียนในเรื่องจุดมุ่งหมายของการมา                       3) ด้านกระบวนการในการเรียนรู้ เช่น
ทัศนศึกษา การปฏิบตตามระเบียบข้อบังคับของ
                          ัิ                            วิธการในการแสวงหาความรู้ กระบวนการทำงาน
                                                           ี
หน่วยงานที่ไปศึกษา วิธีการในการแสวงหา                   ร่วมกับผูอน กระบวนการวางแผน กระบวนการคิด
                                                                 ้ ่ื
ความรูตามทีได้เตรียมตัวมา การตรงต่อเวลา และ
          ้ ่                                           และการตัดสินใจ ฯลฯ
มารยาทต่าง ๆ เมือทำความ เข้าใจร่วมกันแล้ว
                       ่                                          นอกจากนีผสอนควรพิจารณาว่าในการ
                                                                               ้ ู้
จึงเปิดโอกาสให้ผเู้ รียนได้เริมศึกษาเรียนรู้
                              ่                         จัดทัศนศึกษาครังนีมสวนใดทีตองแก้ไขปรับปรุง
                                                                           ้ ้ี ่       ่้
           4. ขันประเมินและสรุปผล เมือเสร็จสิน
               ้                         ่     ้        หรือพัฒนาให้ดขนต่อไป
                                                                          ี ้ึ
การทัศนศึกษา ผูสอนควรทำการประเมินผลด้วย
                   ้


  กําหนดจุดประสงค              วางแผนรวมกัน          ปฏิบตการทัศนศึกษา
                                                           ัิ                      ประเมินและสรุปผล


                                 ภาพที่ 4 แสดงขันตอนการจัดทัศนศึกษา
                                                ้


สรุป
       การจัดทัศนศึกษาในรูปแบบของการ                    เหมาะสม โดยคำนึงถึงความพร้อมของผู้สอน
บูรณาการนี้ ถือเป็นอีกทางเลือกหนึ่งในการจัด             ตลอดจนความถนัด ความสนใจและความต้องการ
กิจกรรมการเรียนการสอน ทังนีผสอนสามารถ
                            ้ ้ ู้                      ของผู้เรียน ทั้งนี้เพื่อให้เกิดผลสูงสุดในการ
นำแนวคิดดังกล่าวไปประยุกต์ใช้ได้ตามความ                 เรียนรูแก่ผเู้ รียนเป็นสำคัญ
                                                               ้
หน้า 14                          วารสารศึกษาศาสตร์ ปีท่ี 16 ฉบับที่ 1 เดือน มิถนายน -ตุลาคม 2547
                                                                               ุ

                                            เอกสารอ้างอิง

กรมวิชาการ. (2541). หลักสูตรการเรียนการสอนแบบหน่วยบูรณาการ. กรุงเทพฯ :โรงพิมพ์ครสภาลาดพร้าว.
                                                                                         ุุ
_________. (2544). เอกสารชุดเทคนิคการจัดกระบวนการเรียนรูทผเู้ รียนสำคัญทีสด “การบูรณาการ”.
                                                                ้ ่ี            ุ่
            กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์การศาสนา.
กระทรวงศึกษาธิการ. (2542). พระราชบัญญัตการศึกษา พ.ศ. 2542. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ครสภาลาดพร้าว.
                                             ิ                                        ุุ
ทิศนา แขมณี. (2545). กระบวนการเรียนรู้ ความหมาย แนวทางการพัฒนา และปัญหาข้องใจ. กรุงเทพฯ :
            สถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ.
_________ . (2545). 14 วิธสอน สำหรับครูมออาชีพ. (พิมพ์ครังที่ 3). กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
                           ี               ื                ้
ธำรง บัวศรี.(2542). ทฤษฎีหลักสูตร : การออกแบบและการพัฒนา. (พิมพ์ครังที่ 2).กรุงเทพฯ :ธนธัชการพิมพ์.
                                                                        ้
สมสิทธิ์ จิตรสถาพร. (2535). เทคนิคการจัดการศึกษานอกสถานที.่ สงขลา :มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
            สงขลา.
Blount, N.S. & Klausmeir, H.J. (1968) Teaching in Secondary School. New York :Harper & Rowe.
Pfouts, D.K. (2003). “The Benefits of Outdoor Learning Centers for Young Gifted Learners” Gifted Child
            Today. 26(1) : P. 56-63.

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)sudoooooo
 
องค์ประกอบของหลักสูตร
องค์ประกอบของหลักสูตรองค์ประกอบของหลักสูตร
องค์ประกอบของหลักสูตรSunisa199444
 
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3สุภาพร สิทธิการ
 
กำหนดการ ค่าย
กำหนดการ ค่ายกำหนดการ ค่าย
กำหนดการ ค่ายphunbuppha jinawong
 
นิทานเวตาล พร้อมแบบฝึกหัด
นิทานเวตาล พร้อมแบบฝึกหัดนิทานเวตาล พร้อมแบบฝึกหัด
นิทานเวตาล พร้อมแบบฝึกหัดNam M'fonn
 
บทเรียนสำเร็จรูป ประวัติศาสตร์สมัยสุโขทัย
บทเรียนสำเร็จรูป ประวัติศาสตร์สมัยสุโขทัยบทเรียนสำเร็จรูป ประวัติศาสตร์สมัยสุโขทัย
บทเรียนสำเร็จรูป ประวัติศาสตร์สมัยสุโขทัยairja
 
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือSAKANAN ANANTASOOK
 
ใบความรู้ สังคมศึกษา ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+426+dltvsocp2+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้  สังคมศึกษา ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+426+dltvsocp2+T1 p1 3-sheetใบความรู้  สังคมศึกษา ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+426+dltvsocp2+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้ สังคมศึกษา ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+426+dltvsocp2+T1 p1 3-sheetPrachoom Rangkasikorn
 
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Designตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Designคุณครูพี่อั๋น
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่อง เทคนิคการจัดการแสดง
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  เรื่อง  เทคนิคการจัดการแสดงเอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  เรื่อง  เทคนิคการจัดการแสดง
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่อง เทคนิคการจัดการแสดงPanomporn Chinchana
 
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความหน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความขนิษฐา ทวีศรี
 
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4โครงสร้างสาระวิทย์ป.4
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4supphawan
 
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยสุโขทัย
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยสุโขทัยวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยสุโขทัย
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยสุโขทัยพระอภิชัช ธมฺมโชโต
 
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียงนำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียงwilai2510
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ การประดิษฐ์ท่ารำ รำคุ่ รำหมู่
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  การประดิษฐ์ท่ารำ  รำคุ่  รำหมู่เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  การประดิษฐ์ท่ารำ  รำคุ่  รำหมู่
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ การประดิษฐ์ท่ารำ รำคุ่ รำหมู่Panomporn Chinchana
 
การวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัย
การวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัยการวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัย
การวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัยTupPee Zhouyongfang
 
หัวข้อที่ ๕ ประวัติศาสตร์ไทยก่อนสมัยสุโขทัย
หัวข้อที่ ๕  ประวัติศาสตร์ไทยก่อนสมัยสุโขทัยหัวข้อที่ ๕  ประวัติศาสตร์ไทยก่อนสมัยสุโขทัย
หัวข้อที่ ๕ ประวัติศาสตร์ไทยก่อนสมัยสุโขทัยchakaew4524
 

Mais procurados (20)

การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
 
องค์ประกอบของหลักสูตร
องค์ประกอบของหลักสูตรองค์ประกอบของหลักสูตร
องค์ประกอบของหลักสูตร
 
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3
 
กำหนดการ ค่าย
กำหนดการ ค่ายกำหนดการ ค่าย
กำหนดการ ค่าย
 
นิทานเวตาล พร้อมแบบฝึกหัด
นิทานเวตาล พร้อมแบบฝึกหัดนิทานเวตาล พร้อมแบบฝึกหัด
นิทานเวตาล พร้อมแบบฝึกหัด
 
บทเรียนสำเร็จรูป ประวัติศาสตร์สมัยสุโขทัย
บทเรียนสำเร็จรูป ประวัติศาสตร์สมัยสุโขทัยบทเรียนสำเร็จรูป ประวัติศาสตร์สมัยสุโขทัย
บทเรียนสำเร็จรูป ประวัติศาสตร์สมัยสุโขทัย
 
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
 
ใบความรู้ สังคมศึกษา ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+426+dltvsocp2+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้  สังคมศึกษา ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+426+dltvsocp2+T1 p1 3-sheetใบความรู้  สังคมศึกษา ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+426+dltvsocp2+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้ สังคมศึกษา ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+426+dltvsocp2+T1 p1 3-sheet
 
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Designตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่อง เทคนิคการจัดการแสดง
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  เรื่อง  เทคนิคการจัดการแสดงเอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  เรื่อง  เทคนิคการจัดการแสดง
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่อง เทคนิคการจัดการแสดง
 
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความหน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
 
วิทยาการคำนวณ3
วิทยาการคำนวณ3วิทยาการคำนวณ3
วิทยาการคำนวณ3
 
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4โครงสร้างสาระวิทย์ป.4
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4
 
ระดับของภาษา
ระดับของภาษาระดับของภาษา
ระดับของภาษา
 
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยสุโขทัย
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยสุโขทัยวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยสุโขทัย
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยสุโขทัย
 
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียงนำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ การประดิษฐ์ท่ารำ รำคุ่ รำหมู่
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  การประดิษฐ์ท่ารำ  รำคุ่  รำหมู่เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  การประดิษฐ์ท่ารำ  รำคุ่  รำหมู่
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ การประดิษฐ์ท่ารำ รำคุ่ รำหมู่
 
พระไตรปิฎก
พระไตรปิฎกพระไตรปิฎก
พระไตรปิฎก
 
การวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัย
การวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัยการวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัย
การวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัย
 
หัวข้อที่ ๕ ประวัติศาสตร์ไทยก่อนสมัยสุโขทัย
หัวข้อที่ ๕  ประวัติศาสตร์ไทยก่อนสมัยสุโขทัยหัวข้อที่ ๕  ประวัติศาสตร์ไทยก่อนสมัยสุโขทัย
หัวข้อที่ ๕ ประวัติศาสตร์ไทยก่อนสมัยสุโขทัย
 

Semelhante a การจัดทัศนศึกษาในรูปแบบของการบูรณาการ

รูปแบบการสอนบูรณาการ
รูปแบบการสอนบูรณาการรูปแบบการสอนบูรณาการ
รูปแบบการสอนบูรณาการcomputer1437
 
วิถีสู่การพัฒนาการศึกษาที่ยั่งยืน
วิถีสู่การพัฒนาการศึกษาที่ยั่งยืนวิถีสู่การพัฒนาการศึกษาที่ยั่งยืน
วิถีสู่การพัฒนาการศึกษาที่ยั่งยืนJiraprapa Suwannajak
 
ภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วยภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วยPamkritsaya3147
 
การเรียนรู้แบบ4 mat
การเรียนรู้แบบ4 matการเรียนรู้แบบ4 mat
การเรียนรู้แบบ4 matSukanya Burana
 
ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงานความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงานสุชาติ องค์มิ้น
 
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์pentanino
 
Developing
DevelopingDeveloping
DevelopingKru Oon
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยSana T
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...Kobwit Piriyawat
 
การบริหารแหล่งการเรียนรู้และสภาพแวดล้อม
การบริหารแหล่งการเรียนรู้และสภาพแวดล้อม การบริหารแหล่งการเรียนรู้และสภาพแวดล้อม
การบริหารแหล่งการเรียนรู้และสภาพแวดล้อม Sireetorn Buanak
 

Semelhante a การจัดทัศนศึกษาในรูปแบบของการบูรณาการ (20)

รูปแบบการสอนบูรณาการ
รูปแบบการสอนบูรณาการรูปแบบการสอนบูรณาการ
รูปแบบการสอนบูรณาการ
 
วิถีสู่การพัฒนาการศึกษาที่ยั่งยืน
วิถีสู่การพัฒนาการศึกษาที่ยั่งยืนวิถีสู่การพัฒนาการศึกษาที่ยั่งยืน
วิถีสู่การพัฒนาการศึกษาที่ยั่งยืน
 
ภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วยภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วย
 
การเรียนรู้แบบ4 mat
การเรียนรู้แบบ4 matการเรียนรู้แบบ4 mat
การเรียนรู้แบบ4 mat
 
08chap6
08chap608chap6
08chap6
 
ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงานความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
 
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
 
Developing
DevelopingDeveloping
Developing
 
06chap4
06chap406chap4
06chap4
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วย
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
 
การบริหารแหล่งการเรียนรู้และสภาพแวดล้อม
การบริหารแหล่งการเรียนรู้และสภาพแวดล้อม การบริหารแหล่งการเรียนรู้และสภาพแวดล้อม
การบริหารแหล่งการเรียนรู้และสภาพแวดล้อม
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
Ch 2
Ch 2Ch 2
Ch 2
 
พหุปัญญา
พหุปัญญาพหุปัญญา
พหุปัญญา
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 

Mais de Weerachat Martluplao

โครงการสร้างสำนึกพลเมือง โรงเรียนโพนเมืองประชารัฐ
โครงการสร้างสำนึกพลเมือง โรงเรียนโพนเมืองประชารัฐโครงการสร้างสำนึกพลเมือง โรงเรียนโพนเมืองประชารัฐ
โครงการสร้างสำนึกพลเมือง โรงเรียนโพนเมืองประชารัฐWeerachat Martluplao
 
โครงงานสำรวจและปฏิบัติการ การประหยัดพลังงาน
โครงงานสำรวจและปฏิบัติการ การประหยัดพลังงานโครงงานสำรวจและปฏิบัติการ การประหยัดพลังงาน
โครงงานสำรวจและปฏิบัติการ การประหยัดพลังงานWeerachat Martluplao
 
งานนำเสนอ การวิจัย การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ สพม.40
งานนำเสนอ การวิจัย การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ สพม.40งานนำเสนอ การวิจัย การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ สพม.40
งานนำเสนอ การวิจัย การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ สพม.40Weerachat Martluplao
 
การพัฒนาการคิดวิจารณญาณด้วย Social Media
การพัฒนาการคิดวิจารณญาณด้วย Social Mediaการพัฒนาการคิดวิจารณญาณด้วย Social Media
การพัฒนาการคิดวิจารณญาณด้วย Social MediaWeerachat Martluplao
 
พัฒนาการคิดด้วย
พัฒนาการคิดด้วย พัฒนาการคิดด้วย
พัฒนาการคิดด้วย Weerachat Martluplao
 
ข้อสอบโครงงาน ม 2
ข้อสอบโครงงาน ม 2ข้อสอบโครงงาน ม 2
ข้อสอบโครงงาน ม 2Weerachat Martluplao
 
โครงการครูพลังงาน 2556
โครงการครูพลังงาน 2556โครงการครูพลังงาน 2556
โครงการครูพลังงาน 2556Weerachat Martluplao
 
การออกข้อสอบวัดผล O net วิทย์ ม.ต้น
การออกข้อสอบวัดผล O net วิทย์ ม.ต้นการออกข้อสอบวัดผล O net วิทย์ ม.ต้น
การออกข้อสอบวัดผล O net วิทย์ ม.ต้นWeerachat Martluplao
 
แบบบันทึกความดีและรายงานผลการปฏิบัติงาน ประกอบการย้าย 57
แบบบันทึกความดีและรายงานผลการปฏิบัติงาน  ประกอบการย้าย 57แบบบันทึกความดีและรายงานผลการปฏิบัติงาน  ประกอบการย้าย 57
แบบบันทึกความดีและรายงานผลการปฏิบัติงาน ประกอบการย้าย 57Weerachat Martluplao
 
การจัดการความรู้ กับการใช้ Social media ในโรงเรียนซับบอนวิทยาคม
การจัดการความรู้ กับการใช้ Social media ในโรงเรียนซับบอนวิทยาคมการจัดการความรู้ กับการใช้ Social media ในโรงเรียนซับบอนวิทยาคม
การจัดการความรู้ กับการใช้ Social media ในโรงเรียนซับบอนวิทยาคมWeerachat Martluplao
 
ชุดข้อสอบแยกตามตัวชี้วัด หลักสูตรแกนกลาง 2551
ชุดข้อสอบแยกตามตัวชี้วัด หลักสูตรแกนกลาง 2551ชุดข้อสอบแยกตามตัวชี้วัด หลักสูตรแกนกลาง 2551
ชุดข้อสอบแยกตามตัวชี้วัด หลักสูตรแกนกลาง 2551Weerachat Martluplao
 
Storyboard การออกแบบ application
Storyboard การออกแบบ applicationStoryboard การออกแบบ application
Storyboard การออกแบบ applicationWeerachat Martluplao
 
หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551
หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551
หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551Weerachat Martluplao
 
Stem education and 21st century skills development
Stem education and 21st century skills developmentStem education and 21st century skills development
Stem education and 21st century skills developmentWeerachat Martluplao
 
ประจุไฟฟ้า Electric charges
ประจุไฟฟ้า Electric chargesประจุไฟฟ้า Electric charges
ประจุไฟฟ้า Electric chargesWeerachat Martluplao
 
รางวัลเหรียญทองสิ่งประดิษฐ์วิทยาศาสตร์ ม ปลาย
รางวัลเหรียญทองสิ่งประดิษฐ์วิทยาศาสตร์ ม ปลายรางวัลเหรียญทองสิ่งประดิษฐ์วิทยาศาสตร์ ม ปลาย
รางวัลเหรียญทองสิ่งประดิษฐ์วิทยาศาสตร์ ม ปลายWeerachat Martluplao
 
รางวัลเหรียญทองสิ่งประดิษฐ์วิทยาศาสตร์ ม ต้น
รางวัลเหรียญทองสิ่งประดิษฐ์วิทยาศาสตร์ ม ต้นรางวัลเหรียญทองสิ่งประดิษฐ์วิทยาศาสตร์ ม ต้น
รางวัลเหรียญทองสิ่งประดิษฐ์วิทยาศาสตร์ ม ต้นWeerachat Martluplao
 

Mais de Weerachat Martluplao (20)

โครงการสร้างสำนึกพลเมือง โรงเรียนโพนเมืองประชารัฐ
โครงการสร้างสำนึกพลเมือง โรงเรียนโพนเมืองประชารัฐโครงการสร้างสำนึกพลเมือง โรงเรียนโพนเมืองประชารัฐ
โครงการสร้างสำนึกพลเมือง โรงเรียนโพนเมืองประชารัฐ
 
โครงงานสำรวจและปฏิบัติการ การประหยัดพลังงาน
โครงงานสำรวจและปฏิบัติการ การประหยัดพลังงานโครงงานสำรวจและปฏิบัติการ การประหยัดพลังงาน
โครงงานสำรวจและปฏิบัติการ การประหยัดพลังงาน
 
งานนำเสนอ การวิจัย การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ สพม.40
งานนำเสนอ การวิจัย การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ สพม.40งานนำเสนอ การวิจัย การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ สพม.40
งานนำเสนอ การวิจัย การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ สพม.40
 
การพัฒนาการคิดวิจารณญาณด้วย Social Media
การพัฒนาการคิดวิจารณญาณด้วย Social Mediaการพัฒนาการคิดวิจารณญาณด้วย Social Media
การพัฒนาการคิดวิจารณญาณด้วย Social Media
 
พัฒนาการคิดด้วย
พัฒนาการคิดด้วย พัฒนาการคิดด้วย
พัฒนาการคิดด้วย
 
ข้อสอบโครงงาน ม 2
ข้อสอบโครงงาน ม 2ข้อสอบโครงงาน ม 2
ข้อสอบโครงงาน ม 2
 
โครงการครูพลังงาน 2556
โครงการครูพลังงาน 2556โครงการครูพลังงาน 2556
โครงการครูพลังงาน 2556
 
การออกข้อสอบวัดผล O net วิทย์ ม.ต้น
การออกข้อสอบวัดผล O net วิทย์ ม.ต้นการออกข้อสอบวัดผล O net วิทย์ ม.ต้น
การออกข้อสอบวัดผล O net วิทย์ ม.ต้น
 
แบบบันทึกความดีและรายงานผลการปฏิบัติงาน ประกอบการย้าย 57
แบบบันทึกความดีและรายงานผลการปฏิบัติงาน  ประกอบการย้าย 57แบบบันทึกความดีและรายงานผลการปฏิบัติงาน  ประกอบการย้าย 57
แบบบันทึกความดีและรายงานผลการปฏิบัติงาน ประกอบการย้าย 57
 
Asean curriculum thai
Asean curriculum thaiAsean curriculum thai
Asean curriculum thai
 
การจัดการความรู้ กับการใช้ Social media ในโรงเรียนซับบอนวิทยาคม
การจัดการความรู้ กับการใช้ Social media ในโรงเรียนซับบอนวิทยาคมการจัดการความรู้ กับการใช้ Social media ในโรงเรียนซับบอนวิทยาคม
การจัดการความรู้ กับการใช้ Social media ในโรงเรียนซับบอนวิทยาคม
 
ชุดข้อสอบแยกตามตัวชี้วัด หลักสูตรแกนกลาง 2551
ชุดข้อสอบแยกตามตัวชี้วัด หลักสูตรแกนกลาง 2551ชุดข้อสอบแยกตามตัวชี้วัด หลักสูตรแกนกลาง 2551
ชุดข้อสอบแยกตามตัวชี้วัด หลักสูตรแกนกลาง 2551
 
Storyboard การออกแบบ application
Storyboard การออกแบบ applicationStoryboard การออกแบบ application
Storyboard การออกแบบ application
 
Stem workshop report
Stem workshop reportStem workshop report
Stem workshop report
 
หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551
หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551
หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551
 
Stem education and 21st century skills development
Stem education and 21st century skills developmentStem education and 21st century skills development
Stem education and 21st century skills development
 
trigonometry
trigonometrytrigonometry
trigonometry
 
ประจุไฟฟ้า Electric charges
ประจุไฟฟ้า Electric chargesประจุไฟฟ้า Electric charges
ประจุไฟฟ้า Electric charges
 
รางวัลเหรียญทองสิ่งประดิษฐ์วิทยาศาสตร์ ม ปลาย
รางวัลเหรียญทองสิ่งประดิษฐ์วิทยาศาสตร์ ม ปลายรางวัลเหรียญทองสิ่งประดิษฐ์วิทยาศาสตร์ ม ปลาย
รางวัลเหรียญทองสิ่งประดิษฐ์วิทยาศาสตร์ ม ปลาย
 
รางวัลเหรียญทองสิ่งประดิษฐ์วิทยาศาสตร์ ม ต้น
รางวัลเหรียญทองสิ่งประดิษฐ์วิทยาศาสตร์ ม ต้นรางวัลเหรียญทองสิ่งประดิษฐ์วิทยาศาสตร์ ม ต้น
รางวัลเหรียญทองสิ่งประดิษฐ์วิทยาศาสตร์ ม ต้น
 

การจัดทัศนศึกษาในรูปแบบของการบูรณาการ

  • 1. วารสารศึกษาศาสตร์ ปีท่ี 16 ฉบับที่ 1 เดือน มิถนายน -ตุลาคม 2547 ุ หน้า 1 การจัดทัศนศึกษาเพือเรียนรูแบบบูรณาการ ่ ้ (Organizing Field Trips for Integrated Learning) อิทธิเดช น้อยไม้ * บทนำ การศึกษานับเป็นกระบวนการที่สำคัญ โดยมุ ่ ง เน้ น ในเรื ่ อ งของ ความรู ้ คุ ณ ธรรม ในการพัฒนามนุษย์ ซึงเป็นทรัพยากรทีทรงคุณค่า ่ ่ กระบวนการเรียนรู้ และ บูรณาการความรูตาง ๆ ้่ และเป็นรากฐานสำคัญ ของการพัฒนาประเทศ ตามความเหมาะสม รวมทั ้ ง จั ด กิ จ กรรมให้ ในปัจจุบันการจัดการศึกษาของประเทศไทย ผู้เรียนได้เรียนรู้จากประสบการณ์จริง โดย ได้มุ่งเน้นให้ผู้เรียน ได้เรียนรู้เรื่องราวต่าง ๆ ผสมผสานสาระความรู ้ ใ นด้ า นต่ า ง ๆ อย่ า ง ตามสภาพแวดล้อมที่เป็นจริงจากประสบการณ์ ได้ ส ั ด ส่ ว นและสมดุ ล กั น (พระราชบั ญ ญั ต ิ ของตนเอง โดยผสมผสานความรู้ตาง ๆ อย่าง ่ การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542, หน้า 12-13) สมดุล ดังจะเห็นได้จากพระราชบัญญัตการศึกษา ิ นอกจากนี้แนวการจัดการเรียนรู้ ตามหลักสูตร แห่งชาติ พ.ศ. 2542 ซึงเป็นกฎหมายทางการศึกษา ่ การศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2544 ก็ได้ ได้กำหนดแนวทางการจัดการศึกษาไว้ ในหมวด 4 กำหนดให้ผู้สอนจัดการเรียนรู้ สำหรับผู้เรียน แนวการจัดการศึกษา มาตรา 23 และ 24 ซึงมีสาระ ่ โดยเน้นการเรียนรู้ตรงจากประสบการณ์จริง สำคัญ พอสรุปได้วา การศึกษาในระดับต่าง ๆ ่ ทีสมพันธ์เชือมโยงกับธรรมชาติ และ สิงแวดล้อม ่ ั ่ ่ * อาจารย์ สังกัดโรงเรียนสาธิต “พิบลบำเพ็ญ” คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา จ.ชลบุรี ู
  • 2. หน้า 2 วารสารศึกษาศาสตร์ ปีท่ี 16 ฉบับที่ 1 เดือน มิถนายน -ตุลาคม 2547 ุ ทั้งยังมุ่งเน้นการเรียนรู้ในลักษณะ ของการ เรียนรู้ตามสภาพจริง (Authentic learning) บูรณาการสาระความรู้ต่าง ๆ เพื่อให้ผู้เรียน ซึงเน้นให้ผเู้ รียนได้เรียนรูเ้ รืองราวต่าง ๆ ทีเ่ กิดขึน ่ ่ ้ เกิดการเรียนแบบองค์รวม และสามารถนำ จริงบนโลก โดยผูเ้ รียนมีโอกาสทีจะพบเห็นได้ ่ ความรูความเข้าใจทีเ่ กิดขึน ไปประยุกต์ใช้ในชีวต ้ ้ ิ ในชี ว ิ ต ประจำวั น อั น เป็ น การเสริ ม สร้ า ง ประจำวันได้ (กรมวิชาการ, 2544 หน้า 21 – 22) ประสบการณ์ตรงให้แก่ผเู้ รียน ซึงเฟาทส์ (Pfouts, ่ และเมื ่ อ พิ จ ารณาจากแนวการจั ด การศึ ก ษา 2003) ก็ได้เสนอความคิดเห็นทีสอดคล้องกันว่า ่ ตามพระราชบัญญัตการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ิ วิธีการที่ดีที่สุดในการที่จะเสริมสร้างความรู้ และ แนวทางการจัดการเรียนรู้ตามหลักสูตร ความเข้าใจเกียวกับโลกและสังคมให้เกิดขึนในตัว ่ ้ การศึกษาพืนฐานพุทธศักราช 2544 ดังกล่าวแล้ว ้ เด็กก็คือ การเรียนรู้โดยใช้ประสบการณ์ตรง จะพบว่า วิธีการจัดการเรียนรู้ที่สอดคล้องและ (Direct Learning Experience) ทังนีการทีผเู้ รียน ้ ้ ่ เหมาะสมสำหรับผูเ้ รียนมากทีสดอีกวิธหนึง ก็คอ ่ ุ ี ่ ื ได้มโอกาสเรียนรูตามสภาพจริง ก็มสวนสำคัญ ี ้ ี ่ การจัดทัศนศึกษาในรูปแบบของการบูรณาการ ที่จะช่วยให้ผู้เรียนได้พัฒนาทักษะการคิดจน เกิ ด ความเข้ า ใจในเรื ่ อ งที ่ เ รี ย น และ การจั ด แนวคิดเกียวกับการจัดทัศนศึกษา ่ ทัศนศึกษาก็มสวนสำคัญในการปลูกฝังค่านิยมและ ี่ การจัดทัศนศึกษา (Field Trip) เป็น ทัศนคติทดตอสิงทีพบเห็นให้แก่ผเู้ รียนได้อกด้วย ่ี ี ่ ่ ่ ี กิจกรรมการเรียนรูเ้ พือแสวงหาประสบการณ์ตรง ่ ดังนันการจัดทัศนศึกษาจึงเป็นกิจกรรม ้ จากแหล่งความรู้ที่มีอยู่จริงตามสถานที่ต่าง ๆ การเรียนการสอนที่มีความสำคัญมากอย่างหนึ่ง นอกห้องเรียน ทังยังเป็นกิจกรรมการเรียนรูทชวย ้ ้ ่ี ่ ซึงจะช่วยให้ผเู้ รียนได้มโอกาสเรียนรูดวยตนเอง ่ ี ้้ พั ฒ นาสติ ป ั ญ ญาตลอดจนทั ก ษะทางสั ง คม ทำให้ได้รับความรู้ ความเข้าใจในเรื่องที่ศึกษา อันจะทำให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้และเข้าใจเรื่อง อย่างแท้จริง ทังยังเป็นการเสริมสร้างประสบการณ์ ้ ทีเ่ รียนอย่างลึกซึง ซึง บลาวท์ และคลาวสเมียร์ ้ ่ การเรียนรู้ให้แก่ผู้เรียนอย่างสมบูรณ์มากยิ่งขึ้น (Blount and Klausmeir, 1968) ได้เสนอแนวคิด เพราะการพาผูเ้ รียนไปทัศนศึกษานัน ถือว่าเป็นวิธี ้ เกียวกับการจัดทัศนศึกษาว่า การจัดทัศนศึกษา เป็น ่ การทีทำให้ผเู้ รียนได้รบประสบการณ์ตรงในการ ่ ั กิจกรรมการศึกษาหาความรูทเ่ี ป็นประสบการณ์ ้ เรียนรู้และสามารถพัฒนาผู้เรียนในด้านร่างกาย ตรง (Direct Experience) ที่ช่วยเสริมสร้าง สติปญญา จิตใจ อารมณ์ และสังคม ได้เป็นอย่างดี ั ประสบการณ์อนทรงคุณค่าให้เกิดให้เกิดขึนในตัว ั ้ อีกด้วย ผู้เรียน ทั้งยังเป็นการสร้างความสัมพันธ์อันดี ระหว่างโรงเรียนกับชุมชน เป็นการย้ำให้ชมชน ุ ความสำคัญของการจัดการเรียนรูแบบบูรณาการ ้ ตระหนักถึงความจริงทีวา ชุมชนก็มสวนในการ ่่ ี ่ การจัดการเรียนรูแบบบูรณาการ เป็นการ ้ เสริมสร้างความรูให้แก่เด็กนักเรียนด้วย นอกจากนี้ ้ จัดการเรียนรูทมลกษณะของการผสมผสานประสบการณ์ ้ ่ี ี ั การจัดทัศนศึกษาก็เป็นลักษณะของการจัดการ การเรียนรู้ และเนือหาความรูตาง ๆ ในกลุมวิชา ้ ้่ ่
  • 3. วารสารศึกษาศาสตร์ ปีท่ี 16 ฉบับที่ 1 เดือน มิถนายน -ตุลาคม 2547 ุ หน้า 3 เดี ย วกั น หรื อ ต่ า งกลุ ่ ม วิ ช ากั น ให้ เ กิ ด ความ ซึงรวมเรียกว่า “พหุปญญา” (Multiple Intelligence) ่ ั สอดคล้อง สัมพันธ์ และเชือมโยงกัน ทังนีเ้ พือ ่ ้ ่ รวมทังยังตอบสนองต่อความสามารถทีจะแสดงออก ้ ่ ให้ ผ ู ้ เ รี ย นเกิ ด การเรี ย นรู ้ อ ย่ า งมี ค วามหมาย และตอบสนองทางอารมณ์ (Emotional และสามารถนำไปใช้ในชีวตจริงได้ ดังที่ ธำรง ิ Intelligence) บัวศรี (2542, หน้า 203) ได้แสดงความคิดเห็น ดังนั้นการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ เกี่ยวกับความสำคัญของการจัดการเรียนรู้แบบ จึงมีส่วนสำคัญ ที่ช่วยให้ผู้เรียนได้มีโอกาสใช้ บูรณาการว่า การจัดการเรียนการสอนแบบ ความรู้ ความคิด ประสบการณ์ และสามารถที่ บูรณาการนั้นจะมีส่วนช่วยทำให้ผู้เรียนเกิดการ มีอยูในการเชือมโยงสิงทีเ่ รียนจากตำรา ให้เข้ากับ ่ ่ ่ เรียนรู้แบบเข้าใจ จำได้ สามารถมองเห็นความ ชีวิตจริงได้ นอกจากนี้ก็ยังสามารถเชื่อมโยง สัมพันธ์ของสิงทีเ่ รียนรู้ สิงทีมอยูในชีวตประจำวัน ่ ่ ่ี ่ ิ ประสบการณ์ตรงที่ได้รับจากการเห็นของจริง และสามารถนำเอาความรู้มาประยุกต์ใช้ให้มี ให้เข้ากับสิ่งที่เรียนจากตำราในห้องเรียนได้ ความหมายต่อชีวตจริง ซึงสอดคล้องกับแนวคิด ิ ่ ทำให้ผู้เรียนมองเห็นคุณค่าของสิ่งที่เรียนและ ของกรมวิชาการ ( 2544, หน้า 2 ) ทีได้ให้เหตุผล ่ สามารถนำไปใช้ประโยชน์ในชีวตประจำวันได้ ิ แสดงความสำคัญของการจัดการเรียนรูแบบบูรณาการ ้ ไว้ดงนี้ คือ ั หลักการจัดทัศนศึกษาในรูปแบบของการ 1.การจัดการเรียนรูแบบบูรณาการ ทำให้ ้ บูรณาการ ผู้เรียนได้ประยุกต์ใช้ความคิด ประสบการณ์ การจัดทัศนศึกษาในรูปแบบของการ ความสามารถ และทักษะต่าง ๆ ในเวลาเดียวกัน บูรณาการเป็นการนำแนวความคิดในการจัดการ ทำให้ได้รับความเข้าใจ ในลักษณะองค์รวม เรียนการสอนแบบบูรณาการ มาประยุกต์ใช้กบการั ซึ่งจะส่งผลให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ที่ลึกซึ้ง จัดกิจกรรมการเรียนการสอน ด้วยวิธีการศึกษา เนืองจากเป็นการเรียนรูทใกล้เคียงและสอดคล้อง ่ ้ ่ี นอกสถานที่ หรือ การทัศนศึกษา ซึ่งการจัด กับชีวตจริงิ ทัศนศึกษาในลักษณะดังกล่าว ผู้สอนสามารถ 2.การเรียนรูแบบบูรณาการมีประโยชน์ ้ ดำเนินการได้ 2 ลักษณะ โดยอาศัยหลักการตาม ในการลดความซ้ำซ้อนของเนือหาต่าง ๆ ปัจจุบน ้ ั รูปแบบการบูรณาการของ กรมวิชาการ (2541, หน้า ความรู้ และข้อมูลต่าง ๆ เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว 35) ซึงสรุปได้ดงนี้ ่ ั ทำให้การเรียนรู้แบบสัมพันธ์วิชามีความสำคัญ 1. การบู ร ณาการภายในวิ ช า (Intra- มากกว่า disciplinary) มีลกษณะเป็นการบูรณาการทีเ่ กิดขึน ั ้ 3.การเรียนรู้แบบบูรณาการ สามารถ ภายในขอบเขตของเนื้อหาวิชาเดียวกันโดยวิชา ตอบสนองความสามารถของผูเ้ รียนซึงมีหลายด้าน ่ ต่าง ๆ เช่น วิชาทางภาษา สังคมศึกษา คณิตศาสตร์ เช่น คณิตศาสตร์ ดนตรี ภาษา สังคมหรือ วิทยาศาสตร์ ฯลฯ ล้วนสามารถใช้หลักการ มนุษยสัมพันธ์และความรู้ความเข้าใจตนเอง เชือมโยงภายในวิชาได้ทงสิน ่ ้ั ้
  • 4. หน้า 4 วารสารศึกษาศาสตร์ ปีท่ี 16 ฉบับที่ 1 เดือน มิถนายน -ตุลาคม 2547 ุ 2.การบูรณาการระหว่างวิชา (Inter- 2. กำหนดหัวเรื่อง (Theme) การจัด disciplinary) หรือแบบสหวิทยาการ ซึงเป็นลักษณะ ่ ทัศนศึกษาในรูปแบบของการบูรณาการนั้น ของการสร้างหัวเรื่อง (Theme) ขึ้นมา แล้ว ผูสอนควรเปิดโอกาสให้ผเู้ รียนได้มสวนร่วมในการ ้ ี่ เชือมโยงเนือหาสาระจากสาขาวิชาต่าง ๆ ตังแต่ 2 ่ ้ ้ กำหนดหัวเรื่อง เพื่อให้เรื่องที่ได้เรียนนั้น สาขาวิชาขึ้นไป ให้มาสัมพันธ์กับหัวเรื่องที่ สอดคล้องกับความสนใจและความต้องการของ กำหนดไว้ การเรียนรูในลักษณะนีจะมีประโยชน์ ้ ้ ผู้เรียน อีกทั้งยังทำให้ผู้เรียนเกิดความรู้สึกมี ในการช่ ว ยแก้ ป ั ญ หาหรื อ แสวงหาความรู ้ ส่วนร่วมและเป็นเจ้าของกิจกรรมในครั้งนี้ด้วย ความเข้าใจในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง การเชื่อมโยง โดยผูสอนจะต้องมีบทบาทในการให้คำแนะนำและ ้ ความรู้และทักษะระหว่างวิชาต่าง ๆ จะช่วยให้ พิจารณาถึงหัวเรืองทีมความเหมาะสมและสอดคล้อง ่ ่ี ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ที่ลึกซึ้งและใกล้เคียงกับ กับสถานทีทจะไปทัศนศึกษา เช่น จะไปทัศนศึกษา ่ ่ี ชีวตจริง ิ ที่อุทยานประวัติศาสตร์สุโขทัย หรือสถานที่ สำหรับในบทความนี้ผู้เขียนต้องการ สำคัญต่าง ๆ ในจังหวัดสุโขทัย หัวเรืองทีกำหนด ่ ่ นำเสนอรูปแบบของการจัดทัศนศึกษาในลักษณะ อาจเป็น “สุโขทัย” ก็ได้ ทังนีในการพิจารณา ้ ้ ของการบูรณาการระหว่างวิชา(Interdisciplinary) กำหนดหัวเรืองนัน ผูสอนจะต้องคำนึงถึงความ ่ ้ ้ โดยสิ่งที่ครูผู้สอนควรปฏิบัติ เพื่อให้การจัด ต้องการ ความสนใจ ประสบการณ์เดิม และระดับ ทัศนศึกษาในรูปแบบของการบูรณาการประสบ พัฒนาการของผูเ้ รียนด้วยเสมอ ผลสำเร็จ ก็คอ ื 3. บูรณาการความรู้ในสาขาวิชาต่าง ๆ 1. ศึ ก ษาจุ ด ประสงค์ ข องหลั ก สู ต ร เพื่อให้การจัดทัศนศึกษาในรูปแบบของการ ผู้สอนควรศึกษาจุดประสงค์ของหลักสูตรอย่าง บูรณาการบรรลุจุดประสงค์ของทุกกลุ่มสาระ ละเอียดก่อนตัดสินใจว่าจะจัดทัศนศึกษาในสถานที่ การเรียนรูนน ผูสอนในแต่ละกลุมสาระการเรียนรู้ ้ ้ั ้ ่ ใด จึงจะมีความเหมาะสมสอดคล้องกับจุดมุงหมาย ่ จะต้องนำเอาความรู้ในสาขาวิชาของตน มา ของการเรียนการสอนและก่อให้เกิดการเรียนรู้ เชื่อมโยงให้สัมพันธ์ร่วมกันภายใต้ หัวเรื่อง แก่ผเู้ รียนมากทีสด ่ ุ (Theme) เดียวกัน ทังนี้ ผูสอนสามารถนำหัวเรือง ้ ้ ่ และเนือหาสาระของสาขาวิชาต่าง ๆ มากำหนด ้ ลงในแผนผังความคิด (Mind Mapping) ได้ ดังตัวอย่างในภาพที่ 1
  • 5. วารสารศึกษาศาสตร์ ปีท่ี 16 ฉบับที่ 1 เดือน มิถนายน -ตุลาคม 2547 ุ หน้า 5 เนื้อหา เนือหา ้ เนื้อหา เนื้อหา เนื้อหา กลุมสาระการเรียนรู เนือหา ้ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม กลุมสาระการเรียนรู ภาษาไทย กลุมสาระการเรียนรู เนื้อหา หัวเรื่อง (Theme) วิทยาศาสตร เนื้อหา กลุมสาระการเรียนรู เนือหา ้ ภาษาตางประเทศ กลุมสาระการเรียนรู เนือหา ้ ศิลปะ เนื้อหา เนื้อหา เนื้อหา เนือหา ้ เนือหา ้ ภาพที่ 1 แผนผังความคิดการบูรณาการความรูในสาขาวิชาต่าง ๆ ้ การจัดทัศนศึกษาในรูปแบบของการ การประกอบอาชีพของประชาชน ประวัตความ ิ บูรณาการนัน ผูสอนสามารถกำหนดรูปแบบการ ้ ้ เป็นมา และเหตุการณ์สำคัญทางประวัติศาสตร์ เรียนการสอน และพิจารณาคัดเลือกเนื้อหา ของท้องถิน สถานทีสำคัญต่าง ๆ บุคคลสำคัญ ่ ่ สาระของแต่ละสาขาวิชาได้ตามความเหมาะสม ทังในอดีต และปัจจุบน ภูมปญญาพืนบ้าน รวมถึง ้ ั ิ ั ้ ดังตัวอย่างเช่น ขนบธรรมเนี ย มประเพณี และวั ฒ นธรรม 3.1 กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ของท้องถิน่ ศาสนาและ วัฒนธรรม ผูสอนอาจพิจารณาให้ ้ นอกจากนี้ควรเน้นให้ผู้เรียนตระหนัก ผู้เรียนได้เรียนรู้เกี่ยวกับทักษะการใช้แผนที่ ถึ ง ความสำคั ญ และคุ ณ ค่ า ของโบราณสถาน ประกอบการเดินทาง การใช้หลักกิโลเมตร โบราณวัตถุ ตลอดจนขนบธรรมเนียมประเพณี แผ่นป้าย สัญญาณต่าง ๆ ตลอดเส้นทาง ลักษณะ และวัฒนธรรมทีดงามของประเทศไทย ่ี ภูมประเทศ ภูมอากาศ รวมทังปัจจัยทางภูมศาสตร์ ิ ิ ้ ิ 3.2 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ต่าง ๆ ทีสงผลต่อการตังถินฐานการดำรงชีวต และ ่ ่ ้ ่ ิ ผู้สอน อาจพิจารณาให้ผู้เรียนได้เรียนรู้เกี่ยวกับ
  • 6. หน้า 6 วารสารศึกษาศาสตร์ ปีท่ี 16 ฉบับที่ 1 เดือน มิถนายน -ตุลาคม 2547 ุ สภาพแวดล้อม ทรัพยากรธรรมชาติ พืชพรรณ ภาษาไทยคู่กัน เช่น พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ธรรมชาติตาง ๆ สิงมีชวต และความหลากหลาย ่ ่ ีิ (National Museum) สุ โ ขทั ย (Sukhothai) ของระบบนิ เ วศ ในท้ อ งถิ ่ น ที ่ ไ ปทั ศ นศึ ก ษา ศิลปะไทยสมัยอยุธยา (Thai art in Ayutthaya) หรือจากการสังเกต ตามเส้นทางที่เดินทางไป ชายหาด (Beach) ถ้ำ (Cave) น้ำตก (Waterfall) รวมถึ ง ความสั ม พั น ธ์ ข องระบบนิ เ วศและ เป็นต้น โดยสังเกตจากแผ่นป้าย โฆษณา แผ่นป้าย สิงแวดล้อมกับการดำรงชีวตของมนุษย์ สภาพ ่ ิ บอกสถานที่ ตารางบอกเวลา และสื่ออื่น ๆ แวดล้อมที่ถูกทำลาย แนวทางในการอนุรักษ์ อีกจำนวนมาก นอกจากนี้ผู้สอนอาจ ให้ผู้เรียน ทรัพยากรธรรมชาติ และสิงแวดล้อม ตลอดจน ่ ได้ ฝ ึ ก ทั ก ษะการฟั ง และพู ด โดยใช้ ภ าษา การฝึ ก ฝนให้ ผ ู ้ เ รี ย น ได้ เ รี ย นรู ้ ต ามทั ก ษะ ต่างประเทศที่ได้เรียนรู้มาในการสนทนา หรือ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ แนะนำข้อมูลการท่องเที่ยวที่น่าสนใจให้ กับ 3.3 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย นักท่องเที่ยวหรือชาวต่างชาติที่มาทัศนศึกษา ผูสอนอาจ พิจารณาให้ผเู้ รียนได้เรียนรูเ้ รืองราวต่าง ้ ่ ในสถานทีนน ๆ ่ ้ั ๆ ทีเ่ กียวข้องกับบทเรียนในวิชาภาษาไทย เช่น ่ 3.5 กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและ นิทานพืนบ้าน วรรณคดี โคลง กลอน และนิราศ ้ พลศึกษา ผูสอนอาจพิจารณาให้ผเู้ รียนได้เรียนรู้ ้ ที่ผู้แต่งหรือ กวี ได้นำเสนอในรูปแบบต่าง ๆ เกียวกับการปฏิบตตนเพือความปลอดภัยในการ ่ ัิ ่ เพือบรรยายสภาพหรือเหตุการณ์ ทีสอดคล้องกับ ่ ่ เดินทาง และพฤติกรรมเสียงต่อการเกิดอุบตเิ หตุ ่ ั สถานทีจริงทีไปทัศนศึกษา นอกจากนีผสอนยัง ่ ่ ้ ู้ จากการเดินทาง การแก้ปญหาเมือเผชิญอันตราย ั ่ สามารถฝึกฝนให้ผเ้ ู รียนได้เขียนบันทึกประสบการณ์ การขอความช่วยเหลือและการปฐมพยาบาลเบืองต้น ้ จากการเดินทางทัศนศึกษา การเขียนเรียงความ อีกทังยังสามารถแนะนำผูเ้ รียนเกียวกับการเลือก ้ ่ เขียนคำขวัญ และการแต่งคำประพันธ์ประเภท ต่าง ซืออาหาร และผลิตภัณฑ์ตาง ๆ ของชุมชนในการ ้ ่ ๆ อย่างสร้างสรรค์ เพื่อถ่ายทอดเรื่องราวหรือ นำมาบริโภคหรือเป็นของฝากจากการเดินทาง ความรูตาง ๆ ทีได้รบจากการทัศนศึกษา รวมทัง ้่ ่ ั ้ 3.6 กลุมสาระการเรียนรูศลปะ ผูสอนอาจ ่ ้ิ ้ ควรฝึกให้ผเู้ รียนได้เรียนรูมารยาทในการพูดแบบ ้ พิจารณาให้ผู้เรียนได้เรียนรู้เกี่ยวกับงานศิลปะ ต่าง ๆ และฝึกการเป็นผู้ฟังที่ดี เพื่อให้สามารถ ในท้องถิ่น อิทธิพลของวัฒนธรรมที่ส่งผลต่อ สรุปความและจับประเด็นสำคัญต่าง ๆ จากการฟัง การสร้างสรรค์งานศิลปะในสถานทีทไปทัศนศึกษา ่ ่ี ครูหรือวิทยากรบรรยายได้ ฝึกผูเ้ รียนให้รจกสังเกตลักษณะรูปร่าง รูปทรงของ ู้ ั 3.4 กลุ ่ ม สาระการเรี ย นรู ้ ภ าษาต่ า ง สิงต่าง ๆ ทีอยูรอบตัวเรา ชนิด ประเภทของวัสดุ ่ ่ ่ ประเทศ ผูสอนอาจพิจารณาให้ผเู้ รียนได้ฝกการ ้ ึ อุปกรณ์ทใช้ในการทำกิจกรรมทางศิลปะ ฝึกการ ่ี ใช้ภาษาต่างประเทศ จากการอ่านหนังสือหรือ วิเคราะห์ วิจารณ์งานทัศนศิลป์ และควรเปิด จดบันทึกข้อความที่เป็นภาษาต่างประเทศหรือ โอกาสให้ผเู้ รียนได้ถายทอด ความคิด จินตนาการ ่ ข้อความภาษา ต่างประเทศที่มีคำอธิบายเป็น และความรูสกต่าง ๆ ออกมา เป็นผลงานทางศิลปะ ้ ึ
  • 7. วารสารศึกษาศาสตร์ ปีท่ี 16 ฉบับที่ 1 เดือน มิถนายน -ตุลาคม 2547 ุ หน้า 7 เช่น การวาดภาพ การถ่ายภาพทีนาประทับใจ ่ ่ 3) เป็นวิธีการที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ เป็นต้น เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ตามความสนใจ นอกเหนือจากตัวอย่างของสาระการ ของตนและรับผิดชอบการเรียนรูของตนเอง ้ เรียนรู้ดังกล่าวข้างต้นแล้ว ผู้สอนก็สามารถ 4) เป็ น วิ ธ ี ท ี ่ ช ่ ว ยให้ ผ ู ้ ส อนสามารถ พิจารณา คัดเลือก เนือหาและกิจกรรมต่าง ๆ ที่ ้ สัมพันธ์หลักสูตร การเรียนการสอน และการ สอดคล้องกับการจัดทัศนศึกษาในรูปแบบของ ประเมินเข้าเป็นกระบวนการต่อเนือง ่ การบูรณาการได้ตามความเหมาะสม อีกทั้งการประเมินผลจากแฟ้มสะสม 4. ประเมินผลการเรียนรู้ ผู้สอนควร งานก็สอดคล้องกับการประเมินตามสภาพจริง เลือกใช้วธการประเมินผลการเรียนรูทสอดคล้อง ิี ้ ่ี ตามที่กรมวิชาการ (2544, หน้า 23- 24) ได้ให้ และเหมาะสมกับผูเ้ รียน ทังนีผสอนควรประเมิน ้ ้ ู้ ความเห็นเกี่ยวกับการประเมินผลโดยใช้แฟ้ม ผูเ้ รียนจากการประเมินตามสภาพจริง (Authentic สะสมงานว่า การประเมินผลโดยใช้แฟ้มสะสม Assessment) โดยใช้เทคนิคและวิธการต่าง ๆ เช่น ี งาน จะช่วยกระตุนให้ผเู้ รียนเกิดการเรียนรูตาม ้ ้ การสังเกตพฤติกรรม การสัมภาษณ์ การประเมิน หลักสูตรได้อย่างหลากหลาย และช่วยเสริมสร้าง ตนเอง และสะท้ อ นความรู ้ ส ึ ก ต่ อ ผลงาน ความสนใจในการเรียนรู้ รวมทั้งการเกิดความ การทดสอบ และการบันทึกจากผู้ที่เกี่ยวข้อง ร่วมมือในการเรียนรูดวย ดังนันการประเมินผล ้้ ้ (เพือนของ ผูเ้ รียน เพือนครู ผูปกครอง) ่ ่ ้ โดยใช้แ ฟ้ ม สะสมงาน จึ ง เป็ น การประเมิ น นอกจากนี ้ ก ารประเมิ น ผลจากแฟ้ ม ความสำเร็จของผูเ้ รียนจากผลงานได้ดอกวิธหนึง ีี ี ่ สะสมงาน (Portfolio Assessment) ก็เป็นวิธการ ี ประเมินผลทีชวยสะท้อนให้เห็นถึงผลทีเ่ กิดจาก ่่ ขันตอนการจัดทัศนศึกษา ้ การเรียนรูของผูเ้ รียนได้อย่างชัดเจนดังที่ ทิศนา ้ ในการจั ด ทั ศ นศึ ก ษา เพื ่ อ ให้ เ กิ ด แขมณี และคณะ (2545, หน้า 47) ได้กล่าวถึงการ ประโยชน์คุ้มค่า ผู้สอนควรพิจารณาก่อนการ ประเมินผลจากแฟ้มสะสมงานว่าเป็นการประเมินที่ ตัดสินใจว่าควรจัดทัศนศึกษาให้แก่ผู้เรียนหรือ 1) เปิดโอกาสให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมใน ไม่โดยใช้เกณฑ์ดงต่อไปนี้ ั กระบวนการประเมินผลอย่างเต็มที่ เพราะผูเ้ รียนจะ 1. การพานักเรียนไปทัศนศึกษา มีความ ต้องเก็บรวบรวมผลงาน คัดเลือกผลงาน ประเมิน เกียวข้องหรือสอดคล้องกับหัวเรืองทีกำลังศึกษา ่ ่ ่ ผลงาน และจัดทำเป็นแฟ้มผลงาน (Portfolio) หรือไม่ ด้วยตนเอง 2. มีความจำเป็นจริงหรือไม่ ทีจะต้อง ่ 2) เป็ น ความร่ ว มมื อ ในการทำงาน พานักเรียนไปทัศนศึกษานอกสถานที่ ร่วมกันระหว่างครูและผู้เรียน ซึ่งต้องช่วยกัน 3. ไม่ ม ี ส ื ่ อ อื ่ น ที ่ จ ะทดแทนการไป กำหนดเกณฑ์และวิธการในการประเมินผล ี ทัศนศึกษา ได้แน่นอนหรือไม่ และควรพิจารณาว่า
  • 8. หน้า 8 วารสารศึกษาศาสตร์ ปีท่ี 16 ฉบับที่ 1 เดือน มิถนายน -ตุลาคม 2547 ุ เนื้อหาที่เรียนนั้นจะต้องเป็นเรื่องที่ไม่สามารถ หลังจากนันผูสอนควรทำความเข้าใจกับผูเ้ รียนให้ ้ ้ ที่จะเรียนรู้ได้ภายในห้องเรียนเพราะถ้าหาก ชัดเจนเกียวกับวัตถุประสงค์ของการไปทัศนศึกษา ่ เนือหาต่าง ๆ สามารถเรียนรูได้ภายในห้องเรียน ้ ้ 2. ขั้นวางแผนร่วมกัน ผู้สอนควร อย่างสมบูรณ์แบบแล้ว การจัดทัศนศึกษา ก็จะหมด วางแผนร่วมกันกับผูเ้ รียนในการพิจารณาสถานทีท่ี ่ ความสำคัญไปทันที จะไปศึ ก ษาให้ ม ี ค วามเหมาะสมกั บ เนื ้ อ หา 4.วัตถุประสงค์ในการจัดทัศนศึกษา นัน ้ จุดมุ่งหมายของการเรียนการสอน รวมถึงความ มีความสอดคล้องกับความสนใจและประสบการณ์ เหมาะสมด้านอายุ ความสนใจ และประสบ- เดิมของผูเ้ รียนหรือไม่ การณ์เดิมของผูเ้ รียนโดยเมือมีการกำหนดสถานที่ ่ 5.การจัดทัศนศึกษามีความเหมาะสม แน่ชัดแล้ว ผู้สอนและผู้เรียนบางคน ควรมี กับอายุและระดับชันของผูเ้ รียนหรือไม่ ้ โอกาสไปสำรวจสถานที ่ ท ี ่ จ ะไปทั ศ นศึ ก ษา 6. การเดิ น ทางไปทั ศ นศึ ก ษาไม่ ส ิ ้ น เสียก่อนล่วงหน้า โดยสำรวจเส้นทาง ระยะเวลา เปลืองมาก มีความปลอดภัยสูง มีสภาพแวดล้อม ในการเดิ น ทาง เพื ่ อ จะได้ ท ราบถึ ง ปั ญ หา หรือสถานทีทเ่ี หมาะสมแก่ผเู้ รียนหรือไม่ ่ และอุปสรรคต่าง ๆ เกี่ยวกับการเดินทาง เช่น 7. การจัดทัศนศึกษาจะช่วยสร้างความ ความปลอดภัยของเส้นทางที่จะไปทัศนศึกษา สัมพันธ์ระหว่างโรงเรียนกับชุมชนด้วยหรือไม่ ยานพาหนะที่เหมาะสม สถานที่พัก และสิ่ง 8. การจัดทัศนศึกษาจะช่วยสร้างค่านิยม อำนวยความสะดวกอื่น ๆ หลังจากนั้นผู้สอน และทัศนคติทดแก่ผเู้ รียนได้มากน้อยเพียงใด ่ี ี และผู้เรียนจึงนำข้อมูลที่ได้รับกลับมาวางแผน ถ้าคำตอบออกมาในเชิงบวก หมายความ ร่วมกันในรายละเอียดต่าง ๆ ได้แก่ ว่า ควรจัดทัศนศึกษาให้แก่ผู้เรียน ผู้สอนจึง 2.1 การเดินทางควรใช้พาหนะอะไร ดำเนินการตามขันตอน ดังที่ สมสิทธิ์ จิตรสถาพร ้ จะเดินทางไปอย่างไร สวัสดิภาพและความ (2535, หน้า 27-35 ) และ ทิศนา แขมณี (2545, ปลอดภัยในการเดินทาง หน้า 44-45) กล่าวไว้ซึ่งพอจะ สรุปได้ดังนี้ 2.2 สาระความรูทผเู้ รียน ควรจะได้รบ ้ ่ี ั 1. ขั้นกำหนดจุดประสงค์ ผู้สอนควร จากการไปทัศนศึกษา มีอะไรบ้าง พิจารณาว่าการจัดทัศนศึกษานันจะเกิดผลคุมค่า ้ ้ 2.3 วิธีการในการศึกษา จะใช้วิธีอะไร ต่อการเรียนรูของผูเ้ รียนหรือไม่ และเมือพิจารณา ้ ่ บ้ า ง เช่ น การสั ง เกต จดบั น ทึ ก สั ม ภาษณ์ แล้วเห็นว่าการจัดทัศนศึกษาจะเกิดประโยชน์ อภิปรายแสดงความคิดเห็น บันทึกภาพ ทดลอง คุ้มค่าแก่ผู้เรียนอย่างแน่นอน ขั้นตอนต่อไป ลงมือปฏิบัติ ฯลฯ ซึ่งถ้าวิธีการดังกล่าวจำเป็น ผู ้ ส อนจะต้ อ งกำหนดจุ ด ประสงค์ ใ นการจั ด ต้องใช้เครืองมือ หรือ อุปกรณ์อะไร ก็ควรมีการ ่ ทัศนศึกษาให้สอดคล้องกับหลักสูตรและตรง เตรียมให้พร้อมก่อนการเดินทาง กับวัตถุประสงค์ หรือ จุดมุ่งหมายของการเรียน
  • 9. วารสารศึกษาศาสตร์ ปีท่ี 16 ฉบับที่ 1 เดือน มิถนายน -ตุลาคม 2547 ุ หน้า 9 2.4 กำหนดการในการเดินทาง ควรมี นักเรียน โดยปฏิบัติตามระเบียบว่าด้วยการ การกำหนดระยะเวลาทีแน่นอน ่ พานักเรียนไปศึกษานอกสถานที่ และ ก่อนการ 2.5 ค่าใช้จ่ายต่าง ๆ ที่จำเป็นต้องใช้ใน เดิ น ทางผู ้ ส อนควรปฐมนิ เ ทศ ผู ้ เ รี ย นที ่ ร ่ ว ม การเดินทางมีอะไรบ้าง เช่น ค่าเช่ารถ ค่าอาหาร โครงการเพือตรวจสอบความเรียบร้อยและชีแจง ่ ้ ค่ า ที ่ พ ั ก ค่ า เข้ า ชมสถานที ่ เป็ น ต้ น และ สิ่งที่ผู้เรียนควรทราบ เพื่อจะได้เตรียมตัวได้ นักเรียนจำเป็นต้องช่วยกันออกค่าใช้จายด้วยหรือไม่ ่ ถูกต้อง เช่น อย่างไร 2.6 ติดต่อและขออนุญาตเจ้าของ - วัตถุประสงค์ หรือ จุดมุงหมายของการ ่ สถานที่ นัดหมายกำหนดการในการเดินทาง ไปทัศนศึกษาในครังนี้ ้ และรายละเอียดต่าง ๆ เช่น วัตถุประสงค์หรือ - กำหนดการเดินทาง จุดนัดพบหรือ จุดมุ่งหมายของการทัศนศึกษา จำนวนผู้ร่วม จุดเริ่มต้น การเดินทางและจุดหมายปลายทาง เดิ น ทาง เพศ อายุ เพื ่ อ ความสะดวก และ ของการเดิ น ทางที ่ แ น่ น อน เพื ่ อ ป้ อ งกั น การ ความเหมาะสมในการจัดการต้อนรับ การจัด สับสน สถานที่ การจัดวิทยากร รวมทังการบริการอาหาร ้ - สิงของเครืองใช้ประจำตัว เช่น เครือง ่ ่ ่ และทีพก หากไปค้างคืน ่ ั แต่งกายที่กำหนด หรือที่เหมาะสมกับสถานที่ 2.7 ควรคำนึงถึงสภาพภูมิอากาศที่ ที ่ ไ ปทั ศ นศึ ก ษา ค่ า ใช้ จ ่ า ยและเงิ น ติ ด ตั ว อาจมีผลต่อการเดินทาง เช่น ฤดูฝนและฤดูหนาว เครืองนอน อาหาร และยารักษาโรคเป็นต้น ่ ซึ่งบางสถานที่ที่มีอากาศหนาวเย็น ต้องมีการ - ข้อปฏิบั ติในการเดินทางเพื่อความ เตรี ย มเครื ่ อ งกั น หนาวให้ เ พี ย งพอ หรื อ บาง เป็นระเบียบเรียบร้อย เช่น การแต่งกายทีเ่ หมาะสม สถานที่ อาจไม่เหมาะสมในการไปทัศนศึกษา การรับประทานอาหาร กิรยา มารยาท การตรงต่อ ิ ช่วงฤดูฝน เวลา การรักษาความสะอาด ฯลฯ 2.8 จัดเตรียมคู่มือ เอกสารประกอบ - ข้อปฏิบัติเพื่อความปลอดภัยในการ การเดินทางไปทัศนศึกษา เดินทาง ผูสอนอาจแบ่งกลุมผูเ้ รียนเป็นกลุมย่อย ๆ ้ ่ ่ 2.9 หน้าที่ความรับผิดชอบต่าง ๆ กลุ่มละประมาณ 5- 10 คนให้เพื่อนนักเรียน ควรมีการกำหนดและแบ่งหน้าที่ให้ผู้เรียน ได้มี ช่วยกันตรวจสอบและดูแลกันเอง หรืออาจใช้ ส่วนร่วมในการรับผิดชอบด้านต่าง ๆ ตามความ ระบบคู่หู (Buddy System) นอกจากนี้อาจใช้ เหมาะสม เพือให้ผเู้ รียนเกิดความรูสกรับผิดชอบ ่ ้ ึ อุปกรณ์สื่อสารต่าง ๆ ในการช่วยควบคุมดูแล ต่อกิจกรรมในครังนีรวมกัน ้ ้่ ความปลอดภัย เช่น วิทยุสอสาร โทรศัพท์มอถือ ่ื ื นอกจากนี ้ ผ ู ้ ส อนต้ อ งทำหนั ง สื อ ขอ เป็นต้น อนุ ญ าตผู ้ บ ั ง คั บ บั ญ ชาและผู ้ ป กครองของ
  • 10. หน้า 10 วารสารศึกษาศาสตร์ ปีท่ี 16 ฉบับที่ 1 เดือน มิถนายน -ตุลาคม 2547 ุ สำหรับการจัดทัศนศึกษาในรูปแบบของ เพือกำหนดกิจกรรมการเรียนรูตามขันตอนของการ ่ ้ ้ การบูรณาการนันผูสอนทุกกลุมสาระการเรียนรู้ ้ ้ ่ จัดการเรียนรูแบบบูรณาการ ทีกรมวิชาการ (2544, ้ ่ ที่ร่วมโครงการควรมีโอกาสได้วางแผนร่วมกัน หน้า 17) ได้เสนอไว้ 6 ขันตอน คือ ้ กําหนดเรื่องที่จะสอน กําหนดจุดประสงคการเรียนรู กําหนดเนือหายอย ้ วางแผนการสอน ปฏิบัตการสอน ิ ประเมินผลการเรียนรู ภาพที่ 2 แสดงขันตอนการจัดการเรียนรูแบบบูรณาการ ้ ้ 1.กำหนดเรืองทีจะสอน โดยการศึกษา ่ ่ 4.วางแผนการสอน เป็นการกำหนด หลักสูตรและวิเคราะห์หาความสัมพันธ์ของ รายละเอียดของกิจกรรมการเรียนการสอนตังแต่ ้ เนือหาทีมความเกียวข้องกันเพือนำมากำหนดเป็น ้ ่ี ่ ่ ต้นจนจบ หัวข้อเรือง (Theme) ่ 5.ปฏิบตการสอน เป็นการจัดกิจกรรม ัิ 2.กำหนดจุดประสงค์การเรียนรู้ โดย การเรียนรูตามแผนการสอนทีกำหนดไว้ รวมทัง ้ ่ ้ ศึกษาจุดประสงค์ของวิชาหลักและวิชารองทีจะนำ ่ มีการสังเกตพฤติกรรมการเรียนรู้ของผู้เรียน มาบูรณาการ ความเหมาะสมของการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 3.กำหนดเนื้อหาย่อย เป็นการกำหนด รวมทั้งผลสำเร็จของการเรียนรู้ตามจุดประสงค์ เนื ้ อ หาย่ อ ย ๆ สำหรั บ การเรี ย นรู ้ เ พื ่ อ สนอง ทีได้กำหนดไว้ ่ จุดประสงค์การเรียนรูทกำหนดไว้ ้ ่ี
  • 11. วารสารศึกษาศาสตร์ ปีท่ี 16 ฉบับที่ 1 เดือน มิถนายน -ตุลาคม 2547 ุ หน้า 11 6.การประเมิน เป็นการนำผลทีได้จาก ่ ซึ่งผู้เขียนได้นำลำดับขั้นตอน ดังกล่าว การเก็บข้อมูลในขณะปฏิบตการสอนมาวิเคราะห์ ัิ ทัง 6 ข้อข้างต้นทีกรมวิชาการได้เสนอไว้มาปรับ ้ ่ เพือปรับปรุง และพัฒนาแผนการสอน ให้มความ ่ ี ใช้กบกิจกรรมการทัศนศึกษาตามตัวอย่างดังนี้ ั เหมาะสมและสมบูรณ์แบบมากยิงขึน ่ ้ ตัวอย่างแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรูแบบบูรณาการ ้ ลําดับขั้นตอน การดําเนินกิจกรรม 1. กําหนดเรื่องที่จะสอน ตองการสอนเรื่อง “กรุงสุโขทัย” 2. กําหนดจุดประสงคการเรียนรู - บอกประวัตความเปนมาของอาณาจักรสุโขทัยได (สังคมศึกษา ิ ศาสนา และวัฒนธรรม) - วาดภาพ สถานทีสําคัญ โบราณสถานในจังหวัดสุโขทัย ่ แลวระบายสีไดสวยงาม (ศิลปะ) - อธิบายแหลงทรัพยากรธรรมชาติและสิงแวดลอมในจังหวัด ่ สุโขทัยได (วิทยาศาสตร) - คํานวณระยะเวลาและระยะทางได (คณิตศาสตร) - จดบันทึกขอความหรือคําศัพทที่เปนภาษาตางประเทศได (ภาษาตางประเทศ) 2. กําหนดจุดประสงคการเรียนรู (ตอ) - จดบันทึกประสบการณจากการทัศนศึกษาได (ภาษาไทย) 3. เนื้อหายอย - ประวัตศาสตรกรุงสุโขทัย (สังคมศึกษา ศาสนา และ ิ วัฒนธรรม) - การวาดภาพ และ ระบายสี (ศิลปะ) - ทรัพยากรธรรมชาติ และสิงแวดลอม (วิทยาศาสตร) ่ - การคิดคํานวณ (คณิตศาสตร) - คําศัพทตาง ๆ (ภาษาตางประเทศ) - หลักและวิธีการเขียนบันทึกประสบการณ (ภาษาไทย) 4. วางแผนการสอน จัดกิจกรรมการเรียนรูดวยวิธีการทัศนศึกษาในรูปแบบของการ  บูรณาการ โดยเดินทางไปจังหวัดสุโขทัย และเมื่อออกเดินทางก็ เริ่มกิจกรรมการเรียนรูในสาขาวิชาตาง ๆ เชน - เริ่มจับเวลาเพื่อคํานวณระยะเวลา และระยะทางจากจุดเริ่มตน ถึงจุดหมายปลายทาง (คณิตศาสตร) - สังเกตแผนปายตาง ๆ ทีมีภาษาตางประเทศ เพื่อจดบันทึก ่ (ภาษาตางประเทศ)
  • 12. หน้า 12 วารสารศึกษาศาสตร์ ปีท่ี 16 ฉบับที่ 1 เดือน มิถนายน -ตุลาคม 2547 ุ ลําดับขั้นตอน กิจกรรม 4. วางแผนการสอน (ตอ) - สังเกต สนทนาและอภิปรายเกี่ยวกับแหลงทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอมตามเสนทางที่ทัศนศึกษา (วิทยาศาสตร) - เมื่อถึงสถานที่เปาหมาย เชน อุทยานประวัติศาสตร สุโขทัย หรือแหลงโบราณสถานตาง ๆ แลวใหวิทยากรเลา ประวัติความเปนมาและความสําคัญของสถานที่นน ๆ หลังจาก ั้ นั้นจึงรวมกันซักถามและแสดงความคิดเห็น (สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม) - ใหผูเรียนไดสรางสรรคผลงานศิลปะดวยการวาดภาพระบายสี (ศิลปะ) - เมื่อเดินทางกลับใหผูเรียนเขียนบันทึกประสบการณที่ไดรบ ั จากการเดินทางไปทัศนศึกษา (ภาษาไทย) 5.ปฏิบัติการสอน ดําเนินกิจกรรมตาง ๆ ตามแผนการจัดกิจกรรม(แผนการสอน) ที่ ไดกําหนดไว และสังเกตพฤติกรรมการเรียนรูของผูเรียนวา  สอดคลองกับกิจกรรมที่กําหนดหรือไม โดยจดบันทึกขอมูลไว 6.ประเมินผลการเรียนรู ประเมินผลตามสภาพจริง ดวยวิธีการตาง ๆ เชน สังเกตพฤติ กรรม สัมภาษณ ทดสอบ อภิปรายหรือสัมนา ตอบแบบ ถาม แฟมสะสมงาน (Portfolio) เปนตน แลวนําผลที่ไดจาก ประเมินตามสภาพจริงมาพัฒนา และปรับปรุงใหดีขึ้น สังคมศึกษา ภาษาตางประเทศ - ประวัตศาสตรกรุงสุโขทัย ิ - คําศัพทตาง ๆ ภาษาไทย ศิลปะ กรุงสุโขทัย - หลักและวิธีการเขียนบันทึกประสบการณ - การวาดภาพ - การระบายสี คณิตศาสตร วิทยาศาสตร - การคิดคํานวณ - ทรัพยากรธรรมชาติและสิงแวดลอม ่ ภาพที่ 3 แผนผังความคิดการบูรณาการความรูในสาขาวิชาต่างๆ ตามกิจกรรมการทัศนศึกษา ้ แบบบูรณาการ เรือง กรุงสุโขทัย ่
  • 13. วารสารศึกษาศาสตร์ ปีท่ี 16 ฉบับที่ 1 เดือน มิถนายน -ตุลาคม 2547 ุ หน้า 13 3. ขันปฏิบตการทัศนศึกษา ในขันตอน ้ ัิ ้ วิธ ีการที่เหมาะสมและสอดคล้องกับผู้เรียน นี้ เป็นขั้นตอนของการดำเนินกิจกรรม การ โดยเน้นการประเมินผลตามสภาพจริง (Authentic ทัศนศึกษา ตามแผนการที่ได้กำหนดไว้ โดย Assessment) ว่า การจัดทัศนศึกษาในครังนีบรรลุ ้ ้ เริมตังแต่ การออกเดินทางทัศนศึกษา การศึกษา ่ ้ ผลตามเป้าหมายหรือจุดประสงค์ที่ กำหนดไว้ เรียนรูดวยวิธการต่าง ๆ ตามทีกำหนดไว้ จนกระทัง ้้ ี ่ ่ หรือไม่ ผูเ้ รียนเกิดการเรียนรูตามทีมงหวังหรือไม่ ้ ่ ุ่ เสร็จสินการทัศนศึกษา โดยเมือเริมการ เดินทาง ้ ่ ่ โดยพิจารณาให้ครอบคลุมประเด็นการเรียนรูทง 3 ้ ้ั ผู้สอนควรดูแลเอาใจใส่ในเรื่อง ความปลอดภัย ด้านคือ ความประพฤติ กิรยามารยาทของผูเ้ รียน และเมือ ิ ่ 1) ด้านความรู้ ความเข้าใจในสิงทีศกษา ่ ่ึ เดินทางถึงสถานที่ที่ได้กำหนดไว้ ผู้สอนควร 2) ด้านเจตคติ หรือ ทัศนคติ (Attitude) เน้นย้ำผู้ เรียนในเรื่องจุดมุ่งหมายของการมา 3) ด้านกระบวนการในการเรียนรู้ เช่น ทัศนศึกษา การปฏิบตตามระเบียบข้อบังคับของ ัิ วิธการในการแสวงหาความรู้ กระบวนการทำงาน ี หน่วยงานที่ไปศึกษา วิธีการในการแสวงหา ร่วมกับผูอน กระบวนการวางแผน กระบวนการคิด ้ ่ื ความรูตามทีได้เตรียมตัวมา การตรงต่อเวลา และ ้ ่ และการตัดสินใจ ฯลฯ มารยาทต่าง ๆ เมือทำความ เข้าใจร่วมกันแล้ว ่ นอกจากนีผสอนควรพิจารณาว่าในการ ้ ู้ จึงเปิดโอกาสให้ผเู้ รียนได้เริมศึกษาเรียนรู้ ่ จัดทัศนศึกษาครังนีมสวนใดทีตองแก้ไขปรับปรุง ้ ้ี ่ ่้ 4. ขันประเมินและสรุปผล เมือเสร็จสิน ้ ่ ้ หรือพัฒนาให้ดขนต่อไป ี ้ึ การทัศนศึกษา ผูสอนควรทำการประเมินผลด้วย ้ กําหนดจุดประสงค วางแผนรวมกัน ปฏิบตการทัศนศึกษา ัิ ประเมินและสรุปผล ภาพที่ 4 แสดงขันตอนการจัดทัศนศึกษา ้ สรุป การจัดทัศนศึกษาในรูปแบบของการ เหมาะสม โดยคำนึงถึงความพร้อมของผู้สอน บูรณาการนี้ ถือเป็นอีกทางเลือกหนึ่งในการจัด ตลอดจนความถนัด ความสนใจและความต้องการ กิจกรรมการเรียนการสอน ทังนีผสอนสามารถ ้ ้ ู้ ของผู้เรียน ทั้งนี้เพื่อให้เกิดผลสูงสุดในการ นำแนวคิดดังกล่าวไปประยุกต์ใช้ได้ตามความ เรียนรูแก่ผเู้ รียนเป็นสำคัญ ้
  • 14. หน้า 14 วารสารศึกษาศาสตร์ ปีท่ี 16 ฉบับที่ 1 เดือน มิถนายน -ตุลาคม 2547 ุ เอกสารอ้างอิง กรมวิชาการ. (2541). หลักสูตรการเรียนการสอนแบบหน่วยบูรณาการ. กรุงเทพฯ :โรงพิมพ์ครสภาลาดพร้าว. ุุ _________. (2544). เอกสารชุดเทคนิคการจัดกระบวนการเรียนรูทผเู้ รียนสำคัญทีสด “การบูรณาการ”. ้ ่ี ุ่ กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์การศาสนา. กระทรวงศึกษาธิการ. (2542). พระราชบัญญัตการศึกษา พ.ศ. 2542. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ครสภาลาดพร้าว. ิ ุุ ทิศนา แขมณี. (2545). กระบวนการเรียนรู้ ความหมาย แนวทางการพัฒนา และปัญหาข้องใจ. กรุงเทพฯ : สถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ. _________ . (2545). 14 วิธสอน สำหรับครูมออาชีพ. (พิมพ์ครังที่ 3). กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ี ื ้ ธำรง บัวศรี.(2542). ทฤษฎีหลักสูตร : การออกแบบและการพัฒนา. (พิมพ์ครังที่ 2).กรุงเทพฯ :ธนธัชการพิมพ์. ้ สมสิทธิ์ จิตรสถาพร. (2535). เทคนิคการจัดการศึกษานอกสถานที.่ สงขลา :มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ สงขลา. Blount, N.S. & Klausmeir, H.J. (1968) Teaching in Secondary School. New York :Harper & Rowe. Pfouts, D.K. (2003). “The Benefits of Outdoor Learning Centers for Young Gifted Learners” Gifted Child Today. 26(1) : P. 56-63.