SlideShare a Scribd company logo
1 of 16
Download to read offline
Digital Trend 2014
Time to look forward >>
Introduction >>
ปี 2013 น่าจะเป็นปีที่การตลาดดิจ3ทัลดูคึกคัก
มากเป็นพิเศษด้วยสภาพแวดล้อมที่ตื่นตัวและ
พัฒนามากขF้น ไม่ว่าจะเป็นตลาด Smartphone
Tablet ตลอดไปจนถึงผู้ ใช้งาน Social Media
ที่เพิ่มขF้นอย่างต่อเนื่อง นั่นเป็นเหตุให้ “โลก
ดิจ3ทัล” กลายเป็นอีกหนึ่งพื้นที่การตลาดที่
สำคัญในปัจจTบัน สอดคล้องไปกับทิศทางการ
ตลาดโลกที่หันมาสนใจการตลาดดิจ3ทัลกันอย่าง
จร3งจัง องค์กรมากมายเปิดแผนกใหม่หรXอรับ
พนักงานที่มีความสามารถเฉพาะทางด้านดิจ3ทัล
เข้ า มารั บ หน้ า ที ่ ม ากขF ้ น จนกลายเป็ น หนึ ่ ง ใน
ทรั พ ยากรมนุ ษ ย์ ท ี ่ ม ี ค วามต้ อ งการสู ง ไม่ แ พ้
ตำแหน่งงานอื่นๆ
เรX่องราวเหล่านี้น่าจะเป็นสัญญาณที่ดีว่าเรา
กำลังอยู่บนเส้นทางที่ก้าวไปสู่อนาคตอันน่าตื่น
เต้นของการตลาดดิจ3ทัล แถมยังเป็นเส้นทางที่
ว3 ่ ง ไปข้ า งหน้ า อย่ า งรวดเร็ ว ชนิ ด น่ า ใจหาย
สำหรับหลายๆ คนเพราะในช่วงเวลาไม่กี่ปีที่ผ่าน
มานี้ เราเห็นการเปลี่ยนแปลงมากมาย ทั้งในแง่
เทคโนโลยี การสื ่ อ สาร ตลอดไปจนถึ ง
พฤติกรรมผู้บร3โภคซF่งได้กลายเป็นความท้าทาย
และโอกาสสำหรับผู้ประกอบการจำนวนมาก
การพั ฒ นาด้ า นสภาพแวดล้ อ มของ “โลก
ดิจ3ทัล” นี่เองที่กลายเป็นรากฐานสำคัญของ
ตลาดในอนาคต ปี 2013 น่าจะเป็นอีกปีหนึ่งที่
เราเห็นการสร้างรากฐานของผู้บร3โภคยุคใหม่ที่
จะกลายเป็นกลุ่มสำคัญในอนาคต และปี 2014
ก็คงจะเป็นอีกปีที่เราจะได้พบกับการเปลี่ยนแปลง
อะไรใหม่ๆ ที่เข้ามาสร้างความตื่นเต้นให้เราไม่แพ้
กัน
PART I
Consumer Behavior

>>
1. Mobile World:

โลกหน้าจอที่ 3 ที่อยู่ในมือ ทุกที่ ทุกเวลา
ณ เวลานี้ คงไม่มีใครปฏิเสธได้ว่าอุปกรณ์
พกพาหรX อ ที ่ เรามัก เรbย กกันว่า Mobile
Device นั้นกลายเป็นอุปกรณ์คู่กายของคน
ยุคใหม่ไปเรbยบร้อย และ Mobile Device นี้
ไม่ ใ ช่ แ ค่ โ ทรศั พ ท์ ม ื อ ถื อ เพี ย งอย่ า งเดี ย ว
หากแต่รวมไปถึงอุปกรณ์อย่าง Tablet และ
Laptop อีกด้วย ตัวเลขการเติบโตของ
อุปกรณ์ทั้งสองอย่างนั้นสูงขF้นอย่างเห็นได้
ชัดในช่วงไม่กี่ปีที่ผ่านมา
สิ ่ ง ที ่ ม ี ผ ลตามมาคื อ พฤติ ก รรมของผู ้
บร3โภคจะเปลี่ยนไป การเสพคอนเทต์ผ่าน
ทางอุปกรณ์พกพาเหล่านี้จะเพิ่มขF้นตามไป
ด้วย แน่นอนว่านั่นทำให้ข้อจำกัดเดิมๆ ของ
การเสพคอนเทนต์ดิจ3ทัลอย่างเว็บไซต์หรXอ

วbดีโอหายไปด้วย ทุกวันนี้เราเห็นการดูคลิป
วbดีโอบนโทรศัพท์มือถือหรXอการเปิดเว็บหา
ข้อมูลแม้จะเดินอยู่ในห้างสรรพสินค้ากลาย
เป็นเรX่องปรกติไปแล้ว
ในขณะเดียวกัน การขยายตัวของตลาด
Smartphone และ Tablet ยังมีส่วนสำคัญที่
ทำลดช่องว่างของการเข้าถึงดิจ3ทัลได้อย่าง
รวดเร็ว กล่าวคือการเข้าถึงอินเทอร์เนต
นั ้ น สะดวกขF ้ น ไม่ จ ำเป็ น ต้ อ งใช้ ผ ่ า น
คอมพิวเตอร์อีกต่อไป ใช้งานได้ง่าย ผู้ ใหญ่
และผู้สูงอายุก็มีแนวโน้มจะใช้อุปกรณ์เหล่านี้
เพิ่มขF้นตามไปด้วยเช่นกัน
ในปี 2014 น่าจะเป็นปีที่เห็นผลกระทบของ
Mobile Device ได้อย่างชัดเจนทั้งในแง่
พฤติกรรมผู้บร3โภคและการตลาดออนไลน์
กิจกรรมที่เคยคิดว่าต้องอยู่ใน
คอมพิ ว เตอร์ อ าจจะต้ อ งถึ ง เวลาเปลี ่ ย น
ความคิดเสียใหม่เพราะโลกออนไลน์ ได้ย้าย
ออกจาก Second Screen ไปสู่ Third
Screen เรbยบร้อยแล้ว

• กิ จ กรรมการตลาดต้ อ งให้ ค วามสนใจ
กั บ พฤติ ก รรมของการใช้ Mobile
Device มากขF้น

สิ่งที่นักการตลาดควรเตร2ยมตัว
• ปรับเว็บไซต์ต่างๆ ให้สามารถรองรับ
การดูผ่าน Mobile Device ได้ เช่นการ
ทำ Responsive Website
• การออกแบบและผลิตคอนเทนต์ต้องให้
รองรับการดูผ่านทาง Mobile Device
ด้วยเช่นกัน เช่นการออกแบบโพสต์บน
Facebookให้แสดงผลได้ดีที่สุดเมื่อดูบน
หน้าจอมือถือ

เว็บไซต์ veedvil.com มีการรายงานจำนวนผู้ ใช้ Smartphone ของไทยโดยประมาณอยู่ที่ 24 ล้านเครX่อง คิดเป็น
ประมาณ 25% ของตลาดโทรศัพท์มือถือไทย
2. Muti-Screen:

ยุคหลายจอ แยกกัน พร้อมกัน ต่อเนื่องกัน
แน่นอนว่าการมี Mobile Device ทำให้ผู้
บร3โภคมีทางเลือกในการเข้าถึงข้อมูลมาก
ขF้น แต่นั่นไม่ใช่หมายความว่าพวกเขาจะเลิก
ดู โ ทรทั ศ น์ หรX อ เลิ ก ใช้ ค อมพิ ว เตอร์ แ ต่
อย่ า งใด โดยแม้ ว ่ า ยอดจำหน่ า ยของ
คอมพิ ว เตอร์ จ ะลดลงสวนทางกั บ ยอด
จำหน่าย Smartphone และ Tablet ก็จร3ง
แต่ในการสำรวจต่างๆ ล้วนพบว่าสิ่งที่เกิด
ขF้นคือพฤติกรรมการใช้งาน “หลายหน้า
จอ” (Multi-Screen) แทนที่จะเป็นการเลือก
ไปใช้หน้าจอใดหน้าจอหนึ่ง
ในงานศึกษาของ Microsoft เมื่อปีที่ผ่านมา
เกี่ยวกับพฤติกรรม Multi-Screen นี้ก็ได้
ข้อมูลน่าสนใจว่าผู้บร3โภคเร3่มคุ้นเคยกับการ
ใช้งานหลายหน้าจอพร้อมๆ กันและเปลี่ยน
เป็นพฤติกรรมปรกติไปแล้ว ไม่ว่าจะเป็นการ
สลั บ ใช้ ง านโทรศั พ ท์ ม ื อ ถื อ ระหว่ า งดู
โทรทัศน์ไปพร้อมๆ กัน หรXอการใช้งานข้าม
หน้าจอไปเพื่อให้เกิดความต่อเนื่อง ฯลฯ ซF่ง

สิ่งเหล่านี้ทำให้เกิดเทรนด์ต่อเนื่องที่ส่งผล
ไปยังอุตสาหกรรมอื่นๆ เช่น Social TV ดัง
ที่เราเห็นในปรากฏการณ์อย่าง
#Hormonetheseries หรXอ #สุภาพบรุษ
จTฑาเทพ เป็นต้น
ณ วันนี้ Multi-Screen คงไม่ใช่แค่แฟชั่นอีก
ต่อไป แต่จะเป็นรูปแบบการใช้งานและเข้าถึง
ข้อมูลของคนยุคดิจ3ทัล และนั่นก็กลายเป็น
สิ ่ ง ที ่ ก ลายเป็ น โอกาสทั ้ ง ในด้ า นธุ ร กิ จ และ
การตลาดอย่างแน่นอน
สิ่งที่นักการตลาดควรเตร2ยมตัว
• การดีไซน์แคมเปญหรXอการสื่อสาร
ทางการตลาดต่างๆ ไม่ควรติดอยู่ใน
กรอบว่าต้องจบในครั้งเดียว สามารถ
พลิกแพลงสร้างประสบการณ์ที่ต่อเนื่อง
หรXอประสบการณ์แบบคู่ขนานผ่านการ
ใช้ Multi-Screen ได้
3. Social Media Addicted:

ภาวะติดสังคม-โรคขาดโซเชbยลไม่ได้
สิ่งที่น่าสนใจต่อเนื่องมาคือเรX่องพฤติกรรม
การใช้ Social Media ของคนไทยที่กลาย
เป็นหนึ่งในพฤติกรรมหลักของคนรุ่นใหม่ มี
การสำรวจแล้วพบว่าวัยรุ่นไทยในปัจจTบัน
ยอมรั บ ว่ า ติ ด การใช้ ง าน LINE และ
Facebook รวมทั้งไม่สามารถอยู่ได้ โดยขาด
โทรศัพท์มือถือ
ข้อมูลเหล่านี้น่าจะเป็นการตอกย้ำอย่างดีว่า
Social Media เป็นสิ่งที่เข้ามาเปลี่ยนสภาพ
แวดล้อมของผู้บร3โภคไปจากยุคก่อนดิจ3ทัล
Facebook LINE Twitter Instagram ไม่ใช่แค่
เครX่องมือหรXอช่องทางออนไลน์ที่เพิ่มเข้ามา
เฉยๆ แต่เป็นสิ่งที่เข้ามาสร้างพฤติกรรมผู้
บร3โภคใหม่ชนิดที่พลิกตำราการตลาดเดิม
ในปี 2013 ที่ผ่านมาน่าจะมีหลายสถิติที่ชb้ให้
เห็ น ว่ า คนไทยเป็ น คนดิ จ 3 ท ั ล ที ่ ม ี ก ารใช้ ง าน
Social Media อย่างมากทีเดียว ตั้งแต่การ
ที่กรุงเทพเป็นเมืองที่มีผู้ ใช้งาน Facebook
มากที่สุดในโลก และเป็นอันดับ 2 ของโลกใน
Instagram สถานที่อย่างสยามพารากอน
และสนามบิ น สุ ว รรณภู ม ิ เ ป็ น สถานที ่ ท ี ่ ถ ู ก
Check-In บ่อยที่สุดบน Instagram ภาษา
ไทยเป็นหนึ่งในภาษายอดนิยมบน Twitter
ประเทศไทยมีผู้ ใช้งาน LINE 20 ล้านคน เป็น
อันดับสองของโลก ฯลฯ สถิติเหล่านี้น่าจะ
เป็นตัวบ่งชb้ได้ถึงความตื่นตัวในการใช้งาน
Social Media ของคนไทยได้อย่างดี

ในปี 2014 เราก็จะยังคงเห็นการขับเคลื่อน
ของ Social Media อย่างต่อเนื่อง พร้อม
กับกลุ่มผู้ ใช้งานที่เป็น Gen-Z จะโตขF้นและมี
บทบาทกับโลกออนไลน์มากขF้นตามไป รูป
แบบความสัมพันธ์ต่างๆ บน Social Media
จะมีบทบาทกับความสัมพันธ์ ในโลกจร3งมาก
ขF้น ไมว่าจะเป็นเรX่องการแชร์ข้อมูลข่าวสาร
การแชร์ความสนใจ รวมไปถึงการใช้ Social
Media เพื่อสร้างตัวตนให้เป็นที่ยอมรับใน
วงสังคมที่กว้างขวางขF้น ซF่งจะทำให้หลายคน
พยายามใช้ช่องทางออนไลน์สร้างเครXอข่าย
ของตัวเอง ไม่ว่าจะเป็น Facebook Page
Instagram SocialCam เป็นต้น
4. Digital Savvy:

เข้าสู่ยุค “ว3ถีชbว3ตแห่งดิจ3ทัล”
สิ่งน่าสนใจไม่แพ้กับเทคโนโลยีที่กำลังก้าว
กระโดดอย่างน่าตื่นตาตื่นใจคือความคุ้นช3น
กับว3ถีดิจ3ทัลของผู้บร3โภคพร้อมๆ กับการ
เปิดรับที่จะใช้เ ทคโนโลยีเ หล่านี้มากขF้นกว่า
เดิม
ถ้าเราพิจารณากันแล้ว ทุกวันนี้กิจกรรม
การใช้งานอิน เทอร์เนตนั้นไม่ ใช่แค่การเปิด
อีเมล์หรXอเล่น Facebook เพียงอย่างเดียว
แต่เรากำลังเห็นรูปแบบบร3การอื่นๆ เพิ่มเข้า
มาเรX ่ อ ยๆ ซF ่ ง หลายๆ คนเองก็ ส มั ค ร
บร3การเหล่านี้ เช่น บร3การซX้อขายสินค้า
ออนไลน์ บร3การค้นหาร้านอาหาร บร3การ
จองโรงแรมและที่พัก หรXอแม้แต่บร3การหา
เพื ่ อ น หาคู ่ ร ั ก ฯลฯ สิ ่ ง เหล่ า นี ้ เ ป็ น
สัญญาณให้เ ห็นว่าดิจ3ทัลกำลังเข้าไปเป็น
ส่วนหนึ่งในโลกชbว3ตประจำวันของผู้บร3โภค
มากขF้นเรX่อยๆ ซF่งในมุมหนึ่งแล้ว มันคือ

การเปลี่ยนว3ถีชbว3ตขอผู้บร3โภคไปจากเดิม
นั่นเอง
นอกจากกลุ่มประชากรเดิมที่เปิดรับการใช้
งานเทคโนโลยีและบร3การทางดิจ3ทัลมากขF้น
แล้ว ประชากรอีกกลุ่มหนึ่งซF่งไม่อาจมอง
ข้ามได้เลยคือกลุ่ม Digital Native หรXอ
กลุ่มประชากรเด็กและวัยรุ่นซF่งโตขF้นมาใน
ยุคดิจ3ทัลแล้ว โดยปัจจTบัน International
Telecom Union รายงานมี Digital Native
อยู่ประมาณ 4.3 ล้านคน คิดเป็น 6.3%
ของประชากรประเทศไทย โดยประชากร
กลุ ่ ม นี ้ จ ะเป็ น กลุ ่ ม ที ่ ม ี ค วามคล่ อ งและ
ชำนาญในการใช้เทคโนโลยีดิจ3ทัลอย่างมาก
ซF่งพวกเขาจะมีบทบาทกับการตลาดดิจ3ทัล
อย่างมาก
PART II
Digital Marketing

>>
5. Content Marketing Era:

ถึงเวลาแบรนด์ผลิตคอนเทนต์เอง (ได้แล้ว)
หลังจากที่ธุรกิจและแบรนด์หันมาตื่นตัวกับ
Digital Marketing และสร้างช่องทางการ
สื่อสารบนโลกออนไลน์มากมายในช่วง 2-3
ปีที่ผ่านมา ไม่ว่าจะเป็นเว็บไซต์ Facebook
Twitter Instagram ฯลฯ หนึ่งในสิ่งที่เราเร3่ม
เห็นในช่วงปีที่ผ่านมาคือการเร3่มแนวคิดใหม่
ว่าแบรนด์ควรจะมองหาแนวทางการสร้าง
คอนเทนต์ที่ไม่ใช่การโฆษณาขายของอีกต่อ
ไป และนั่นทำให้หลายๆ คนตื่นตัวกับ
Content Marketing มากขF้น
อันที่จร3ง Content Marketing ไม่ใช่เรX่อง
ใหม่แต่อย่างใด แต่ที่เพิ่งมาถูกพูดถึงเยอะ
มากในช่วงปีที่ผ่านมาและกลายเป็นเทรนด์
การตลาดปัจจTบันก็เพราะธุรกิจและแบรนด์
จำนวนมากสามารถมีสื่อของตัวเองได้ง่าย
กว่าแต่ก่อน จากเดิมที่ต้องซX้อโฆษณาในสื่อ
อื่นๆ แต่ปัจจTบันสามารถมีช่องทางนำเสนอ
คอนเทนต์ตัวเองได้แล้ว แต่นั่นก็เลยเป็น
ความท้าทายใหม่ของแบรนด์ว่าจะทำคอน

เทนต์อย่างไรให้คนสนใจและอยากติดตาม
กัน ซF่งนั่นอาจจะไม่ได้ไปในแนวทางการคิด
โฆษณาที่แทรกอยู่ในสื่อต่างๆ เหมือนแต่
ก่อน
คำถามน่าคิดของนักการตลาดหลังจากที่
เราพยายามสร้างฐาน “ผู้ชม” อย่าง
Facebook Fan และ Twitter Followers ใน
ช่วงสองปีก่อนคือเราจะผลิตคอนเทต์แบบ
ไหนที่จะสามารถสร้างประโยชน์จากกลุ่มผู้
ชมนี้ได้ (และนั่นอาจจะทำให้หลายๆ แบรนด์
พบความจร3งที่น่ากลัวว่าได้เดินกลยุทธ์ที่จะ
สร้างฐานผู้ชมผิดมาตั้งแต่ต้นก็ได้)
กระบวนการคิด Content Strategy จะ
กลายเป็นความท้าทายใหม่ของแบรนด์และเอ
เยนซb่ว่าจะดึงตัวแบรนด์ออกมาให้กลายเป็น
คอนเทนต์ได้อย่างไร รวมทั้งการว3เคราะห์
คุณภาพและมูลค่าของคอนเทนต์ที่ไป
มากกว่าการดูแค่ยอด Like Comment และ
Share
6. Not only Facebook Marketing

เลิกพูดถึงแต่ Facebook กันเถอะ
แม้ว่าการตลาดดิจ3ทัลจะมุ่งไปที่ Facebook
เป็นหลักในช่วงสองสามปีที่ผ่านมาเนื่องจาก
Facebook เป็นกิจกรรมหลักของคน
ออนไลน์อย่างปฏิเสธไม่ได้ อย่างไรก็ตาม
ทิศทางของการทำการตลาดดิจ3ทัลในปีต่อๆ
ไปน่าจะมีทางเลือกมากขF้นอย่างเช่น
Instagram เองก็มีผู้ ใช้งานจำนวนมากจน
ติดอันดับโลก หรXอการใช้แพลตฟอร์มอื่นๆ
เข้ามาเกี่ยวข้อง
ในขณะเดียวกัน เราจะให้ได้ตลอดช่วงปี
2013 ว่า Facebook มีการปรับปรุงและ
พัฒนาระบบหลายอย่างจนกระทบกับการใช้
Facebook Page เพื่อนำเสนอคอนเทนต์ ไม่
ว่าจะเป็น Organic Reach ที่ตกลงอย่างต่อ
เนื่องหรXอการพยายามให้เจ้าของ
Facebook Page ซX้อโฆษณาโปรโมทต่างๆ
ซF่งนั่นทำให้หลายๆ คนเร3่มพบแล้วว่า
Facebook อาจจะไม่ใช่ทางเลือกเดียวที่ดี
ที่สุดก็ได้

ประเด็นหนึ่งที่นักการตลาดต้องเร3่มคิดคือ
Facebook Twitter หรXอ Instagram นั้น
เป็นช่องทางที่แบรนด์ไม่ได้เป็นเจ้าของแบบที่
สามารถควบคุมทุกอย่างได้เสียทีเดียว หาก
ตัวแพลตฟอร์มมีการปรับเปลี่ยนอะไรแล้ว
เราก็ต้องจำยอมกับการเปลี่ยนแปลงนั้น ซF่ง
นั่นอาจจะทำให้หลายคนคิดในเรX่องการสร้าง
ระบบนิเวศน์ของแบรนด์บนโลกออนไลน์เสีย
ใหม่เพื่อให้มีครอบคลุมมากกว่าเดิม และ
เป็นการกระจายความเสี่ยงไปพร้อมๆ กัน
ด้วย
ในปี 2014 เราน่าจะเห็นพฤติกรรมการใช้
งานอินเทอร์เนตที่เปลี่ยนไปกว่าเดิม ซF่งการ
ตลาดดิจ3ทัลเองก็ต้องผันตัวเองตามให้ทัน
ด้วยเช่นกัน และนั่นคือการปรับตัวสู่ความ
หลากหลายทั้งในเรX่องเทคนิค ว3ธbการ ช่อง
ทาง เพื่อตอบโจทย์พฤติกรรมที่หลากหลาย
และแตกต่างไปตาม Customer Journey แบบ
ใหม่ด้วย
7. Real-Time Media

นวัตกรรมใหม่ของสื่อโฆษณาออนไลน์

นอกจากสื่อใหม่ๆ อย่าง Social Media
แล้ว การตลาดดิจ3ทัลเองก็ยังไม่สามารถ
มองข้ามหรXอลืมสื่อพื้นฐานของ Digital
Display ได้เช่นกัน เมื่อเป็นเช่นนี้จะเห็นว่า
Eco-System ของ Digital Media นั้น
ขยายตัวมากขF้นเรX่อยๆ เช่นเดียวกับทาง
เลือกและช่องทางของข้อมูลดิจ3ทัล ไม่ว่า
จะเป็นเว็บไซต์และบล็อกต่างๆ มากมายที่
เกิดขF้นในทุกๆ วัน
การเปลี่ยนแปลงของโครงสร้างสื่อ
โฆษณาออนไลน์นี้ทำให้เกิดการพัฒนา
เทคโนโลยีในการซX้อสื่อโฆษณาที่จะสะดวก
สบายยิ่งขF้น สามารถเข้าถึงกลุ่มเป้าหมาย
ได้ง่ายขF้น นอกจากนี้ยังสามารถปรับแต่
งงได้มากกว่าเดิมเพื่อประสิทธ3ภาพที่สูง
ขF้นของการใช้งบประมาณเพื่อซX้อสื่อ
โฆษณาดังเช่นที่เราเร3่มคุ้นเคยกับการใช้
Ad Network, Facekbook Ad มากขF้น
เรX่อยๆ

เทคโนโลยีใหม่ๆ จะเข้ามาเป็นตัวเลือกให้
กับนักการตลาดเพิ่มขF้น อย่าง DemandSide Platform ที่จะเร3่มเข้ามามีบทบาท
สำหรับการซX้อสื่อโฆษณาแบบ Real-Time
ที่ผู้ซX้อโฆษณาสามารถเลือกกลุ่มเป้า
หมายแล้วให้ระบบทำการประมวลผลและ
ส่งโฆษณาไปยังเว็บไซต์ต่างๆ ที่กลุ่มเป้า
หมายกำลังใช้อยู่ ว3ธbการแบบนี้มีการ
อัพเดทข้อมูลอยู่ตลอดเวลาซF่งจะเป็นผล
ดีที่โฆษณาเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายที่เลือก
เฉพาะเจาะจงจร3ง ทำให้ โอกาสและ
ประสิทธ3ภาพสูงกว่าการซX้อโฆษณาแบบ
เดิมๆ
นอกจากการซX้อสื่อแล้ว เทคโนโลยีของ
การวัดผลและจัดเก็บข้อมูลเองก็จะเป็นอีก
ด้านที่สำคัญไม่แพ้กันเพราะความต้องการ
ที่จะวัดคุณภาพของการใช้สื่อโฆษณาจะ
สูงขF้นด้วยเช่นกัน ทั้งนี้เพื่อนำมารองรับ
และเสร3มการอธ3บายเช3งปร3มาณที่สื่อ
ดิจ3ทัลทำได้ดีอยู่แล้ว
8. Social Listening

ถึงเวลาล่วงรู้ว่าผู้บร3โภคเขา​​คิดอะไร
คงไม่มียุคไหนก่อนหน้านี้ที่ผู้บร3โภคจะแชร์
ความเห็นและข้อมูลต่างๆ ของพวกเขาให้
สามารถเข้าถึงกันได้แบบฟรbๆ เท่ายุคดิจ3ทัล
อีกแล้ว Social Media ทำให้คนจำนวนมาก
แชร์เรX่องราวต่างๆ แลกเปลี่ยนความคิด
เห็นในทุกๆ เรX่องตั้งแต่ข่าว เทรนด์ สินค้า
บร3การ ฯลน ซF่งนั่นก็ไม่ต่างจาก Market
Research ที่สามารถหาอ่านได้ตามเว็บ
บอร์ดทั่วไป ใน Timeline Twitter หรXอใน
บล็อกต่างๆ
ข้อมูลความคิดเห็นของผู้บร3โภคเหล่านี้ล้วน
เป็นประโยชน์กับธุรกิจในหลายๆ ด้านตั้งแต่
การดูสถานะของธุรกิจในสายตาของผู้
บร3โภค การรวบรวมความคิดเห็นทั้งด้านติ

และชมเพื่อนำไปปรับปรุง ตลอดไปจน
Insight บางอย่างที่นักการตลาดหรXอผู้
พัฒนาผลิตภัณฑ์สามารถนำไปใช้ต่อได้
และรวมไปถึงการรู้ทันสถานการณ์ร้ายแรง
ที่อาจจะเกิดขF้นหากผู้บร3โภคเร3่มก่อหวอด
โจมตีแบรนด์บนโลกออนไลน์
เมื่อเป็นเช่นนี้แล้ว เครX่องมืออย่าง Social
Listening จFงกลายเป็นกุญแจสำคัญที่จะ
ช่วยนักการตลาดในการรวบข้อมูลเหล่านี้
และอัพเดทให้อย่างต่อเนื่อง เพื่อที่นักการ
ตลาดจะสามารถนำข้อมูลเหล่านี้ไปว3เคราะห์
ได้อย่างทันท่วงที และนั่นทำให้ Social
Listening จะเป็นเครX่องมือสำคัญที่มองข้าม
ไม่ได้ ในปี 2014 เลยทีเดียว
9. Big Data

เอาข้อมูลดิจ3ทัลมาใช้ประโยชน์กันเถิด
หนึ ่ ง ในคุ ณ ลั ก ษณะที ่ ย อดเยี ่ ย มของ
เทคโนโลยีดิจ3ทัลคือการเก็บข้อมูลที่ลึกและ
ละเอียดมากอย่างไม่น่าเชX่อ เช่นรูปถ่ายหนึ่ง
รูปสามารถระบุได้ตั้งแต่รุ่นกล้องที่ใช้ ขนาด
ความละเอียด วัน เวลา และสถานที่ที่ถ่าย
ฯลน ทั้งหมดนนี้กลายเป็นข้อมูลที่สามารถ
นำไปว3เคราะห์ได้มากมาย
และเมื่อเทคโนโลยีทำให้ผู้บร3โภคผลิตคอน
เทนต์ดิจ3ทัลออกมาได้มากเช่นเดียวกับการ
ใช้บร3การที่มีเทคโนโลยีดิจ3ทัลอยู่ด้วย นั่น
ทำให้ เ กิ ด ข้ อ มู ล มหาศาลที ่ บ ่ ง ชb ้ ถ ึ ง
พฤติกรรมของผู้บร3โภคต่างๆ เช่นสถานที่
ที่มีการถ่ายรูปมากที่สุด ช่วงเวลาที่มีคนเข้า
มาคอมเมนต์มากที่สุด คำพูดที่มีการพูดถึง
บ่อยที่สุด ฯลฯ สิ่งเหล่านี้กลายเป็นชุด
ข้อมูลที่จะแปรเป็น Market Research ที่มี

ความสำคัญได้ไม่ต่างจากข้อมูลที่เราได้จาก
Social Listening เลย
ด้วยเหตุนี้ ปี 2014 จFงเป็นปีที่นักการตลาด
ต้ อ งเร3 ่ ม สนใจในการว3 เ คราะห์ ต ั ว เลขและ
ข้อมูลต่างๆ ที่เกิดขF้นบนโลกดิจ3ทัล ทั้งใน
ส่วนที่มาจากสื่อของตัวเองเช่น Facebook
Twitter หรXอจากสื่ออื่นๆ เช่นเว็บไซต์ เว็บ
บอรด์ เพื่อถอดรหัสพฤติกรรมของกลุ่ม
เป้ า หมายตั ว เอง ตลอดไปจนถึ ง การ
ประเมินผลและว3เคราะห์สถานะของตัวเองไป
พร้อมๆ กัน ซF่งสิ่งที่จำเป็นต้องมองหาคือ
เครX่องมือเช่นซอฟท์แวร์ที่เก็บฐานข้อมูล
ต่างๆ ได้มาก โปรแกรมประมวลผล ตลอด
จนนักว3เคราะห์ที่เชb่ยวชาญเรX่องสถิติและ
ตัวเลข
10. Digital Out of Home

การตลาดดิจ3ทัลที่ออกไปสู่ท้องถนน
จากเดิ ม ที ่ เ ราอาจจะคิ ด
ว่าการตลาดดิจ3ทัลนั้นเน้น
อยู่ที่การใช้คอมพิวเตอร์
และแม้ จ ะมี บ ร3 ก ารบนอิ น
เทอร์ เ นตจนเป็ น ที ่ น ิ ย ม
อย่าง Facebook เอง ผู้
ใช้งานก็ยังคงต้องติดล็อค
อยู่หน้าคอมพิวเตอร์ ซF่ง
นั ่ น ทำให้ แ คมเปญต่ า งๆ
ถูกดีไซน์ให้ ใช้งานผ่านหน้า
จอเสี ย ส่ ว นใหญ่ เช่ น Facebook
Application
อย่างไรก็ตาม ด้วยเทคโนโลยีที่พัฒนาขF้น
ทำให้ ข ้ อ จำกั ด เหล่ า นี ้ ล ดลงไปเรX ่ อ ยๆ
พร้อมกับการเพิ่มเทคนิคใหม่ๆ เข้ามาให้มี
ลูกเล่นสำหรับการทำแคมเปญในสถานที่ที่
ไม่จำเอินเทอร์เนตป็นว่าต้องเป็นบ้านหรXอ
ที่ทำงานอีกต่อไป
ตัวอย่างที่น่าสนใจเช่น Instaprint หรXอ
Selfiprint ที่เป็นฝีมือของคนไทยโดยให้
บร3การพิมพ์รูปภาพที่มีการติด #hashtag
บน Instagram หรXอ Social Media อื่นๆ
เพื่อให้คนที่เข้าร่วมงานอีเวนท์ ได้สนุกกับ
การถ่ายรูปและติด #hashtag เพื่อแชร์บน
Social Media นั่นทำให้เห็นว่าลูกเล่นของ
การทำแคมเปญ Outdoor สามารถผนวก
ดิจ3ทัลเข้าไปได้มากกว่าแต่ก่อน

ในต่างประเทศเองนั้น เราก็เร3่มเห็นการใช้
ดิจ3ทัลมาทำอะไรบนท้องถนนบ่อยขF้น เช่น
การใช้ป้าย Billboard ที่ตอบสนองกับมือ
ถื อ ของผู ้ ใ ช้ แ ละทำการเปลี ่ ย นป้ า ยตาม
ข้อมูลที่ถูกส่งมา หรXอการทำโครงสร้าง
ขนาดใหญ่ที่ให้คนได้ส่งคอนเทนต์ของตัว
เองไปขF้นแสดงร่วมกันอย่าง Social Tree
ที่สนามบิน Changi เป็นต้น
เทรนด์การคิดแคมเปญการตลาดดิจ3ทัล
แบบออกไปสู ่ ท ้ อ งถนนคงจะมี เ พิ ่ ม ขF ้ น
เรX่อยๆ ในปี 2014 เพราะโลกดิจ3ทัลของผู้
บร3โภคไม่ได้อยู่ ในบ้านหรXอที่ทำงานอีกต่อ
ไป หน้าจอที่ 3 กลายเป็นช่องทางเข้าถึง
อินเทอร์เนตทุกที่ทุกเวลา โทรศัพท์มือถือ
ก็สามารถเป็นอุปกรณ์ที่ทำสิ่งต่างๆ ได้
มากมายเช่นการเก็บข้อมูลสถานที่ นับ
จำนวนก้าว ฯลฯ ซF่งนั่นกลายเป็นเครX่อง
มือของการคิดสร้างสรรค์การตลาดว3ธb
ใหม่ๆ ได้อีกมากทีเดียว
About Edge Asia
Edge is the only advertising network born in the Digital Age of Southeast Asia. Our heritage is
here in our region. We are founded by entrepreneurs who have built businesses for the unique
demands of consumers and global brand owners in the markets where we operate. We are not a
legacy network trying to force fit old-world thinking into the high growth, early adopter markets
of SE Asia.
We combine a street-smart understanding of our region’s vast and growing population of digital
citizens with deep executional expertise in disciplines across the entire landscape of paid,
earned and owned platforms.
We now have over 450 specialists working out of offices in Ho Chi Minh City, Hanoi, Bangkok,
Kuala Lumpur, Jakarta and Singapore.

About Edge Asia Academy
We have worked really hard over the past ten years to grow our expertise in the digital industry.
EDGE ASIA ACADEMY has been born out of our desire to share our combined knowledge and
experience of the ever changing digital landscape. Through our learning centre, we hope to help
educate and guide you to meet the digital challenges of today and the opportunities of
tomorrow. (for more information, visit: http://academy.edge-asia.com )

The New Media Edge Company Limited
946 Dusit Thani Building, 8th floor, Unit 801,
Rama IV Road., Silom, Bangrak, Bangkok, 10500 Thailand
Telephone: +(662) 237-2737, +(662) 237-2737 (-41)
Fax: +(662) 237 2742
Website: www.edge-asia.com
Facebook: www.facebook.com/EdgeThailand

More Related Content

Viewers also liked

เรียนรู้เรื่องลิขสิทธิ์ สำหรับงานสร้างสื่อและสิ่งพิมพ์
เรียนรู้เรื่องลิขสิทธิ์ สำหรับงานสร้างสื่อและสิ่งพิมพ์เรียนรู้เรื่องลิขสิทธิ์ สำหรับงานสร้างสื่อและสิ่งพิมพ์
เรียนรู้เรื่องลิขสิทธิ์ สำหรับงานสร้างสื่อและสิ่งพิมพ์Satapon Yosakonkun
 
คู่มือการใช้ตราสัญลักษณ์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
คู่มือการใช้ตราสัญลักษณ์ มหาวิทยาลัยขอนแก่นคู่มือการใช้ตราสัญลักษณ์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
คู่มือการใช้ตราสัญลักษณ์ มหาวิทยาลัยขอนแก่นSatapon Yosakonkun
 
วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน
วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืนวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน
วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืนSatapon Yosakonkun
 
คู่มือการประเมินผลข้อเสนอการวิจัยของหน่วยงานภาครัฐที่เสนอของบประมาณ ประจาปีงบ...
คู่มือการประเมินผลข้อเสนอการวิจัยของหน่วยงานภาครัฐที่เสนอของบประมาณ ประจาปีงบ...คู่มือการประเมินผลข้อเสนอการวิจัยของหน่วยงานภาครัฐที่เสนอของบประมาณ ประจาปีงบ...
คู่มือการประเมินผลข้อเสนอการวิจัยของหน่วยงานภาครัฐที่เสนอของบประมาณ ประจาปีงบ...Satapon Yosakonkun
 
พัฒนาห้องสมุดดิจิทัลด้วย GreenStone
พัฒนาห้องสมุดดิจิทัลด้วย GreenStoneพัฒนาห้องสมุดดิจิทัลด้วย GreenStone
พัฒนาห้องสมุดดิจิทัลด้วย GreenStoneSatapon Yosakonkun
 
การจัดทำกรอบ การประเมินผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ ที่คิดรวมต้นทุนด้านทรัพยากร...
การจัดทำกรอบ การประเมินผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ ที่คิดรวมต้นทุนด้านทรัพยากร...การจัดทำกรอบ การประเมินผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ ที่คิดรวมต้นทุนด้านทรัพยากร...
การจัดทำกรอบ การประเมินผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ ที่คิดรวมต้นทุนด้านทรัพยากร...National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
โครงการพัฒนาห้องสมุดในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน งบประมาณปี 2553
โครงการพัฒนาห้องสมุดในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน งบประมาณปี 2553โครงการพัฒนาห้องสมุดในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน งบประมาณปี 2553
โครงการพัฒนาห้องสมุดในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน งบประมาณปี 2553Satapon Yosakonkun
 
Professional Development Programme on OER-based e-learning
Professional Development Programme on OER-based e-learningProfessional Development Programme on OER-based e-learning
Professional Development Programme on OER-based e-learningPat Toh
 
พลังงานวิจัยขับเคลื่อนธุรกิจไทย ก้าวไกล ยั่งยืน - The Power of R&D
พลังงานวิจัยขับเคลื่อนธุรกิจไทย ก้าวไกล ยั่งยืน - The Power of R&Dพลังงานวิจัยขับเคลื่อนธุรกิจไทย ก้าวไกล ยั่งยืน - The Power of R&D
พลังงานวิจัยขับเคลื่อนธุรกิจไทย ก้าวไกล ยั่งยืน - The Power of R&DNational Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
การสอนแบบเปิด1
การสอนแบบเปิด1การสอนแบบเปิด1
การสอนแบบเปิด1Apinun Nadee
 
Open Educational Resources for User
Open Educational Resources for UserOpen Educational Resources for User
Open Educational Resources for UserBoonlert Aroonpiboon
 

Viewers also liked (20)

เรียนรู้เรื่องลิขสิทธิ์ สำหรับงานสร้างสื่อและสิ่งพิมพ์
เรียนรู้เรื่องลิขสิทธิ์ สำหรับงานสร้างสื่อและสิ่งพิมพ์เรียนรู้เรื่องลิขสิทธิ์ สำหรับงานสร้างสื่อและสิ่งพิมพ์
เรียนรู้เรื่องลิขสิทธิ์ สำหรับงานสร้างสื่อและสิ่งพิมพ์
 
คู่มือการใช้ตราสัญลักษณ์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
คู่มือการใช้ตราสัญลักษณ์ มหาวิทยาลัยขอนแก่นคู่มือการใช้ตราสัญลักษณ์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
คู่มือการใช้ตราสัญลักษณ์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
 
วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน
วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืนวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน
วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน
 
คู่มือการประเมินผลข้อเสนอการวิจัยของหน่วยงานภาครัฐที่เสนอของบประมาณ ประจาปีงบ...
คู่มือการประเมินผลข้อเสนอการวิจัยของหน่วยงานภาครัฐที่เสนอของบประมาณ ประจาปีงบ...คู่มือการประเมินผลข้อเสนอการวิจัยของหน่วยงานภาครัฐที่เสนอของบประมาณ ประจาปีงบ...
คู่มือการประเมินผลข้อเสนอการวิจัยของหน่วยงานภาครัฐที่เสนอของบประมาณ ประจาปีงบ...
 
พัฒนาห้องสมุดดิจิทัลด้วย GreenStone
พัฒนาห้องสมุดดิจิทัลด้วย GreenStoneพัฒนาห้องสมุดดิจิทัลด้วย GreenStone
พัฒนาห้องสมุดดิจิทัลด้วย GreenStone
 
การจัดทำกรอบ การประเมินผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ ที่คิดรวมต้นทุนด้านทรัพยากร...
การจัดทำกรอบ การประเมินผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ ที่คิดรวมต้นทุนด้านทรัพยากร...การจัดทำกรอบ การประเมินผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ ที่คิดรวมต้นทุนด้านทรัพยากร...
การจัดทำกรอบ การประเมินผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ ที่คิดรวมต้นทุนด้านทรัพยากร...
 
S&T with NSTDA
S&T with NSTDAS&T with NSTDA
S&T with NSTDA
 
Thai ICT Conceptualization
Thai ICT ConceptualizationThai ICT Conceptualization
Thai ICT Conceptualization
 
โครงการพัฒนาห้องสมุดในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน งบประมาณปี 2553
โครงการพัฒนาห้องสมุดในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน งบประมาณปี 2553โครงการพัฒนาห้องสมุดในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน งบประมาณปี 2553
โครงการพัฒนาห้องสมุดในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน งบประมาณปี 2553
 
NSTDA Research 2013
NSTDA Research 2013NSTDA Research 2013
NSTDA Research 2013
 
Professional Development Programme on OER-based e-learning
Professional Development Programme on OER-based e-learningProfessional Development Programme on OER-based e-learning
Professional Development Programme on OER-based e-learning
 
laminate paper
laminate paperlaminate paper
laminate paper
 
NSTDA Products 2549 - 2556
NSTDA Products 2549 - 2556NSTDA Products 2549 - 2556
NSTDA Products 2549 - 2556
 
10 เทคโนโลยี ที่น่าจับตามองสำหรับธุรกิจ - 2014 : Slide
10 เทคโนโลยี ที่น่าจับตามองสำหรับธุรกิจ - 2014 : Slide10 เทคโนโลยี ที่น่าจับตามองสำหรับธุรกิจ - 2014 : Slide
10 เทคโนโลยี ที่น่าจับตามองสำหรับธุรกิจ - 2014 : Slide
 
พลังงานวิจัยขับเคลื่อนธุรกิจไทย ก้าวไกล ยั่งยืน - The Power of R&D
พลังงานวิจัยขับเคลื่อนธุรกิจไทย ก้าวไกล ยั่งยืน - The Power of R&Dพลังงานวิจัยขับเคลื่อนธุรกิจไทย ก้าวไกล ยั่งยืน - The Power of R&D
พลังงานวิจัยขับเคลื่อนธุรกิจไทย ก้าวไกล ยั่งยืน - The Power of R&D
 
การสอนแบบเปิด1
การสอนแบบเปิด1การสอนแบบเปิด1
การสอนแบบเปิด1
 
NSTDA Commercialization 2015
NSTDA Commercialization 2015NSTDA Commercialization 2015
NSTDA Commercialization 2015
 
Saravit eMagazine 13/2557
Saravit eMagazine 13/2557Saravit eMagazine 13/2557
Saravit eMagazine 13/2557
 
Open Educational Resources for User
Open Educational Resources for UserOpen Educational Resources for User
Open Educational Resources for User
 
S&T- Innovation and sustainable SME development
S&T- Innovation and sustainable SME developmentS&T- Innovation and sustainable SME development
S&T- Innovation and sustainable SME development
 

Similar to Digital Trend 2014: Time to look forward

การเพิ่มโอกาสทางธุรกิจโดยการสร้างเครือข่ายและช่องทางการขาย
การเพิ่มโอกาสทางธุรกิจโดยการสร้างเครือข่ายและช่องทางการขายการเพิ่มโอกาสทางธุรกิจโดยการสร้างเครือข่ายและช่องทางการขาย
การเพิ่มโอกาสทางธุรกิจโดยการสร้างเครือข่ายและช่องทางการขายDr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
digital marketing
digital marketingdigital marketing
digital marketingAew Zhiitzu
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องPongtep Treeone
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องNew Tomza
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องTangkwa Tom
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องKittichai Pinlert
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องTanyarad Chansawang
 
การบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศยุคใหม่ และผลกระทบกับองค์กร
การบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศยุคใหม่ และผลกระทบกับองค์กรการบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศยุคใหม่ และผลกระทบกับองค์กร
การบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศยุคใหม่ และผลกระทบกับองค์กรSoftware Park Thailand
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมร
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมรแบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมร
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมรM'suKanya MinHyuk
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2teeraratWI
 

Similar to Digital Trend 2014: Time to look forward (20)

การเพิ่มโอกาสทางธุรกิจโดยการสร้างเครือข่ายและช่องทางการขาย
การเพิ่มโอกาสทางธุรกิจโดยการสร้างเครือข่ายและช่องทางการขายการเพิ่มโอกาสทางธุรกิจโดยการสร้างเครือข่ายและช่องทางการขาย
การเพิ่มโอกาสทางธุรกิจโดยการสร้างเครือข่ายและช่องทางการขาย
 
digital marketing
digital marketingdigital marketing
digital marketing
 
2
22
2
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
การบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศยุคใหม่ และผลกระทบกับองค์กร
การบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศยุคใหม่ และผลกระทบกับองค์กรการบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศยุคใหม่ และผลกระทบกับองค์กร
การบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศยุคใหม่ และผลกระทบกับองค์กร
 
บทที่ 22
บทที่ 22บทที่ 22
บทที่ 22
 
บทที่ 22
บทที่ 22บทที่ 22
บทที่ 22
 
บทที่ 22
บทที่ 22บทที่ 22
บทที่ 22
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมร
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมรแบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมร
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมร
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ
 
บทที่2
บทที่2บทที่2
บทที่2
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 

More from Satapon Yosakonkun

กรอบแนวทางการประเมิน Ita 2563
กรอบแนวทางการประเมิน Ita 2563 กรอบแนวทางการประเมิน Ita 2563
กรอบแนวทางการประเมิน Ita 2563 Satapon Yosakonkun
 
คู่มือการแปลงนโยบายและแผนการประชาสัมพันธ์แห่งชาติฉบับที่ 5
คู่มือการแปลงนโยบายและแผนการประชาสัมพันธ์แห่งชาติฉบับที่ 5 คู่มือการแปลงนโยบายและแผนการประชาสัมพันธ์แห่งชาติฉบับที่ 5
คู่มือการแปลงนโยบายและแผนการประชาสัมพันธ์แห่งชาติฉบับที่ 5 Satapon Yosakonkun
 
นโยบายและแผนการประชาสัมพันธ์แห่งชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559 - 2564)
นโยบายและแผนการประชาสัมพันธ์แห่งชาติ ฉบับที่ 5  (พ.ศ. 2559 - 2564)นโยบายและแผนการประชาสัมพันธ์แห่งชาติ ฉบับที่ 5  (พ.ศ. 2559 - 2564)
นโยบายและแผนการประชาสัมพันธ์แห่งชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559 - 2564)Satapon Yosakonkun
 
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการประชาสัมพันธ์แห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๓
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการประชาสัมพันธ์แห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๓ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการประชาสัมพันธ์แห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๓
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการประชาสัมพันธ์แห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๓Satapon Yosakonkun
 
การจัดการข้อมูลด้วย Excel
การจัดการข้อมูลด้วย Excelการจัดการข้อมูลด้วย Excel
การจัดการข้อมูลด้วย ExcelSatapon Yosakonkun
 
PROCEEDINGS OF THE 6th INTERNATIONAL CONFERENCE ON ASIA-PACIFIC LIBRARY AND I...
PROCEEDINGS OF THE 6th INTERNATIONAL CONFERENCE ON ASIA-PACIFIC LIBRARY AND I...PROCEEDINGS OF THE 6th INTERNATIONAL CONFERENCE ON ASIA-PACIFIC LIBRARY AND I...
PROCEEDINGS OF THE 6th INTERNATIONAL CONFERENCE ON ASIA-PACIFIC LIBRARY AND I...Satapon Yosakonkun
 
ตราสัญลักษณ์งานเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ
ตราสัญลักษณ์งานเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯตราสัญลักษณ์งานเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ
ตราสัญลักษณ์งานเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯSatapon Yosakonkun
 
มาตรฐานสื่อดิจิทัล
มาตรฐานสื่อดิจิทัลมาตรฐานสื่อดิจิทัล
มาตรฐานสื่อดิจิทัลSatapon Yosakonkun
 
การจัดการสารสนเทศด้วยโปรแกรมจัดการรายการบรรณานุกรม Zotero และมาตรฐานเอกสารดิจ...
การจัดการสารสนเทศด้วยโปรแกรมจัดการรายการบรรณานุกรม Zotero และมาตรฐานเอกสารดิจ...การจัดการสารสนเทศด้วยโปรแกรมจัดการรายการบรรณานุกรม Zotero และมาตรฐานเอกสารดิจ...
การจัดการสารสนเทศด้วยโปรแกรมจัดการรายการบรรณานุกรม Zotero และมาตรฐานเอกสารดิจ...Satapon Yosakonkun
 
การทำรายการอ้างอิงด้วย Open Source Reference Manager : Zotero
การทำรายการอ้างอิงด้วย  Open Source Reference Manager : Zoteroการทำรายการอ้างอิงด้วย  Open Source Reference Manager : Zotero
การทำรายการอ้างอิงด้วย Open Source Reference Manager : ZoteroSatapon Yosakonkun
 
การประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การใช้โปรแกรม Zotero สำหรับจัดเก็บรายการบรรณาน...
การประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การใช้โปรแกรม Zotero สำหรับจัดเก็บรายการบรรณาน...การประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การใช้โปรแกรม Zotero สำหรับจัดเก็บรายการบรรณาน...
การประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การใช้โปรแกรม Zotero สำหรับจัดเก็บรายการบรรณาน...Satapon Yosakonkun
 
หนังสือพหุสัมพันธ์คนกับไก่
หนังสือพหุสัมพันธ์คนกับไก่หนังสือพหุสัมพันธ์คนกับไก่
หนังสือพหุสัมพันธ์คนกับไก่Satapon Yosakonkun
 
Glossary of Metadata standards
Glossary of Metadata standardsGlossary of Metadata standards
Glossary of Metadata standardsSatapon Yosakonkun
 
การจัดการรายการบรรณานุกรมด้วย Zotero
การจัดการรายการบรรณานุกรมด้วย Zoteroการจัดการรายการบรรณานุกรมด้วย Zotero
การจัดการรายการบรรณานุกรมด้วย ZoteroSatapon Yosakonkun
 
เทคนิคการจัดการเรียน การสอนโดยใช้ Social Media
เทคนิคการจัดการเรียนการสอนโดยใช้ Social Mediaเทคนิคการจัดการเรียนการสอนโดยใช้ Social Media
เทคนิคการจัดการเรียน การสอนโดยใช้ Social MediaSatapon Yosakonkun
 
NSTDA for Commercialization 2013
NSTDA for Commercialization 2013NSTDA for Commercialization 2013
NSTDA for Commercialization 2013Satapon Yosakonkun
 
การใช้งานโปรแกรมระบบห้องสมุดอัตโนมัติ OpenBiblio รุ่น myLib
การใช้งานโปรแกรมระบบห้องสมุดอัตโนมัติ OpenBiblio รุ่น myLibการใช้งานโปรแกรมระบบห้องสมุดอัตโนมัติ OpenBiblio รุ่น myLib
การใช้งานโปรแกรมระบบห้องสมุดอัตโนมัติ OpenBiblio รุ่น myLibSatapon Yosakonkun
 
ผลงานวิจัย สวทช. สู่เชิงพาณิชย์ ปี 2549 -2556
ผลงานวิจัย สวทช. สู่เชิงพาณิชย์ ปี 2549 -2556ผลงานวิจัย สวทช. สู่เชิงพาณิชย์ ปี 2549 -2556
ผลงานวิจัย สวทช. สู่เชิงพาณิชย์ ปี 2549 -2556Satapon Yosakonkun
 
การบริการสารสนเทศบนเว็บด้วย OSS : Joomla Workshop
การบริการสารสนเทศบนเว็บด้วย OSS : Joomla Workshopการบริการสารสนเทศบนเว็บด้วย OSS : Joomla Workshop
การบริการสารสนเทศบนเว็บด้วย OSS : Joomla WorkshopSatapon Yosakonkun
 

More from Satapon Yosakonkun (20)

กรอบแนวทางการประเมิน Ita 2563
กรอบแนวทางการประเมิน Ita 2563 กรอบแนวทางการประเมิน Ita 2563
กรอบแนวทางการประเมิน Ita 2563
 
คู่มือการแปลงนโยบายและแผนการประชาสัมพันธ์แห่งชาติฉบับที่ 5
คู่มือการแปลงนโยบายและแผนการประชาสัมพันธ์แห่งชาติฉบับที่ 5 คู่มือการแปลงนโยบายและแผนการประชาสัมพันธ์แห่งชาติฉบับที่ 5
คู่มือการแปลงนโยบายและแผนการประชาสัมพันธ์แห่งชาติฉบับที่ 5
 
นโยบายและแผนการประชาสัมพันธ์แห่งชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559 - 2564)
นโยบายและแผนการประชาสัมพันธ์แห่งชาติ ฉบับที่ 5  (พ.ศ. 2559 - 2564)นโยบายและแผนการประชาสัมพันธ์แห่งชาติ ฉบับที่ 5  (พ.ศ. 2559 - 2564)
นโยบายและแผนการประชาสัมพันธ์แห่งชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2559 - 2564)
 
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการประชาสัมพันธ์แห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๓
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการประชาสัมพันธ์แห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๓ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการประชาสัมพันธ์แห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๓
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการประชาสัมพันธ์แห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๓
 
การจัดการข้อมูลด้วย Excel
การจัดการข้อมูลด้วย Excelการจัดการข้อมูลด้วย Excel
การจัดการข้อมูลด้วย Excel
 
PROCEEDINGS OF THE 6th INTERNATIONAL CONFERENCE ON ASIA-PACIFIC LIBRARY AND I...
PROCEEDINGS OF THE 6th INTERNATIONAL CONFERENCE ON ASIA-PACIFIC LIBRARY AND I...PROCEEDINGS OF THE 6th INTERNATIONAL CONFERENCE ON ASIA-PACIFIC LIBRARY AND I...
PROCEEDINGS OF THE 6th INTERNATIONAL CONFERENCE ON ASIA-PACIFIC LIBRARY AND I...
 
ตราสัญลักษณ์งานเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ
ตราสัญลักษณ์งานเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯตราสัญลักษณ์งานเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ
ตราสัญลักษณ์งานเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ
 
มาตรฐานสื่อดิจิทัล
มาตรฐานสื่อดิจิทัลมาตรฐานสื่อดิจิทัล
มาตรฐานสื่อดิจิทัล
 
การจัดการสารสนเทศด้วยโปรแกรมจัดการรายการบรรณานุกรม Zotero และมาตรฐานเอกสารดิจ...
การจัดการสารสนเทศด้วยโปรแกรมจัดการรายการบรรณานุกรม Zotero และมาตรฐานเอกสารดิจ...การจัดการสารสนเทศด้วยโปรแกรมจัดการรายการบรรณานุกรม Zotero และมาตรฐานเอกสารดิจ...
การจัดการสารสนเทศด้วยโปรแกรมจัดการรายการบรรณานุกรม Zotero และมาตรฐานเอกสารดิจ...
 
การทำรายการอ้างอิงด้วย Open Source Reference Manager : Zotero
การทำรายการอ้างอิงด้วย  Open Source Reference Manager : Zoteroการทำรายการอ้างอิงด้วย  Open Source Reference Manager : Zotero
การทำรายการอ้างอิงด้วย Open Source Reference Manager : Zotero
 
การประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การใช้โปรแกรม Zotero สำหรับจัดเก็บรายการบรรณาน...
การประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การใช้โปรแกรม Zotero สำหรับจัดเก็บรายการบรรณาน...การประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การใช้โปรแกรม Zotero สำหรับจัดเก็บรายการบรรณาน...
การประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การใช้โปรแกรม Zotero สำหรับจัดเก็บรายการบรรณาน...
 
หนังสือพหุสัมพันธ์คนกับไก่
หนังสือพหุสัมพันธ์คนกับไก่หนังสือพหุสัมพันธ์คนกับไก่
หนังสือพหุสัมพันธ์คนกับไก่
 
Glossary of Metadata standards
Glossary of Metadata standardsGlossary of Metadata standards
Glossary of Metadata standards
 
การจัดการรายการบรรณานุกรมด้วย Zotero
การจัดการรายการบรรณานุกรมด้วย Zoteroการจัดการรายการบรรณานุกรมด้วย Zotero
การจัดการรายการบรรณานุกรมด้วย Zotero
 
เทคนิคการจัดการเรียน การสอนโดยใช้ Social Media
เทคนิคการจัดการเรียนการสอนโดยใช้ Social Mediaเทคนิคการจัดการเรียนการสอนโดยใช้ Social Media
เทคนิคการจัดการเรียน การสอนโดยใช้ Social Media
 
NSTDA for Commercialization 2013
NSTDA for Commercialization 2013NSTDA for Commercialization 2013
NSTDA for Commercialization 2013
 
10 Technologies to Watch
10 Technologies to Watch 10 Technologies to Watch
10 Technologies to Watch
 
การใช้งานโปรแกรมระบบห้องสมุดอัตโนมัติ OpenBiblio รุ่น myLib
การใช้งานโปรแกรมระบบห้องสมุดอัตโนมัติ OpenBiblio รุ่น myLibการใช้งานโปรแกรมระบบห้องสมุดอัตโนมัติ OpenBiblio รุ่น myLib
การใช้งานโปรแกรมระบบห้องสมุดอัตโนมัติ OpenBiblio รุ่น myLib
 
ผลงานวิจัย สวทช. สู่เชิงพาณิชย์ ปี 2549 -2556
ผลงานวิจัย สวทช. สู่เชิงพาณิชย์ ปี 2549 -2556ผลงานวิจัย สวทช. สู่เชิงพาณิชย์ ปี 2549 -2556
ผลงานวิจัย สวทช. สู่เชิงพาณิชย์ ปี 2549 -2556
 
การบริการสารสนเทศบนเว็บด้วย OSS : Joomla Workshop
การบริการสารสนเทศบนเว็บด้วย OSS : Joomla Workshopการบริการสารสนเทศบนเว็บด้วย OSS : Joomla Workshop
การบริการสารสนเทศบนเว็บด้วย OSS : Joomla Workshop
 

Digital Trend 2014: Time to look forward

  • 1. Digital Trend 2014 Time to look forward >>
  • 2. Introduction >> ปี 2013 น่าจะเป็นปีที่การตลาดดิจ3ทัลดูคึกคัก มากเป็นพิเศษด้วยสภาพแวดล้อมที่ตื่นตัวและ พัฒนามากขF้น ไม่ว่าจะเป็นตลาด Smartphone Tablet ตลอดไปจนถึงผู้ ใช้งาน Social Media ที่เพิ่มขF้นอย่างต่อเนื่อง นั่นเป็นเหตุให้ “โลก ดิจ3ทัล” กลายเป็นอีกหนึ่งพื้นที่การตลาดที่ สำคัญในปัจจTบัน สอดคล้องไปกับทิศทางการ ตลาดโลกที่หันมาสนใจการตลาดดิจ3ทัลกันอย่าง จร3งจัง องค์กรมากมายเปิดแผนกใหม่หรXอรับ พนักงานที่มีความสามารถเฉพาะทางด้านดิจ3ทัล เข้ า มารั บ หน้ า ที ่ ม ากขF ้ น จนกลายเป็ น หนึ ่ ง ใน ทรั พ ยากรมนุ ษ ย์ ท ี ่ ม ี ค วามต้ อ งการสู ง ไม่ แ พ้ ตำแหน่งงานอื่นๆ เรX่องราวเหล่านี้น่าจะเป็นสัญญาณที่ดีว่าเรา กำลังอยู่บนเส้นทางที่ก้าวไปสู่อนาคตอันน่าตื่น เต้นของการตลาดดิจ3ทัล แถมยังเป็นเส้นทางที่ ว3 ่ ง ไปข้ า งหน้ า อย่ า งรวดเร็ ว ชนิ ด น่ า ใจหาย สำหรับหลายๆ คนเพราะในช่วงเวลาไม่กี่ปีที่ผ่าน มานี้ เราเห็นการเปลี่ยนแปลงมากมาย ทั้งในแง่ เทคโนโลยี การสื ่ อ สาร ตลอดไปจนถึ ง พฤติกรรมผู้บร3โภคซF่งได้กลายเป็นความท้าทาย และโอกาสสำหรับผู้ประกอบการจำนวนมาก การพั ฒ นาด้ า นสภาพแวดล้ อ มของ “โลก ดิจ3ทัล” นี่เองที่กลายเป็นรากฐานสำคัญของ ตลาดในอนาคต ปี 2013 น่าจะเป็นอีกปีหนึ่งที่ เราเห็นการสร้างรากฐานของผู้บร3โภคยุคใหม่ที่ จะกลายเป็นกลุ่มสำคัญในอนาคต และปี 2014 ก็คงจะเป็นอีกปีที่เราจะได้พบกับการเปลี่ยนแปลง อะไรใหม่ๆ ที่เข้ามาสร้างความตื่นเต้นให้เราไม่แพ้ กัน
  • 4. 1. Mobile World: โลกหน้าจอที่ 3 ที่อยู่ในมือ ทุกที่ ทุกเวลา ณ เวลานี้ คงไม่มีใครปฏิเสธได้ว่าอุปกรณ์ พกพาหรX อ ที ่ เรามัก เรbย กกันว่า Mobile Device นั้นกลายเป็นอุปกรณ์คู่กายของคน ยุคใหม่ไปเรbยบร้อย และ Mobile Device นี้ ไม่ ใ ช่ แ ค่ โ ทรศั พ ท์ ม ื อ ถื อ เพี ย งอย่ า งเดี ย ว หากแต่รวมไปถึงอุปกรณ์อย่าง Tablet และ Laptop อีกด้วย ตัวเลขการเติบโตของ อุปกรณ์ทั้งสองอย่างนั้นสูงขF้นอย่างเห็นได้ ชัดในช่วงไม่กี่ปีที่ผ่านมา สิ ่ ง ที ่ ม ี ผ ลตามมาคื อ พฤติ ก รรมของผู ้ บร3โภคจะเปลี่ยนไป การเสพคอนเทต์ผ่าน ทางอุปกรณ์พกพาเหล่านี้จะเพิ่มขF้นตามไป ด้วย แน่นอนว่านั่นทำให้ข้อจำกัดเดิมๆ ของ การเสพคอนเทนต์ดิจ3ทัลอย่างเว็บไซต์หรXอ วbดีโอหายไปด้วย ทุกวันนี้เราเห็นการดูคลิป วbดีโอบนโทรศัพท์มือถือหรXอการเปิดเว็บหา ข้อมูลแม้จะเดินอยู่ในห้างสรรพสินค้ากลาย เป็นเรX่องปรกติไปแล้ว ในขณะเดียวกัน การขยายตัวของตลาด Smartphone และ Tablet ยังมีส่วนสำคัญที่ ทำลดช่องว่างของการเข้าถึงดิจ3ทัลได้อย่าง รวดเร็ว กล่าวคือการเข้าถึงอินเทอร์เนต นั ้ น สะดวกขF ้ น ไม่ จ ำเป็ น ต้ อ งใช้ ผ ่ า น คอมพิวเตอร์อีกต่อไป ใช้งานได้ง่าย ผู้ ใหญ่ และผู้สูงอายุก็มีแนวโน้มจะใช้อุปกรณ์เหล่านี้ เพิ่มขF้นตามไปด้วยเช่นกัน ในปี 2014 น่าจะเป็นปีที่เห็นผลกระทบของ Mobile Device ได้อย่างชัดเจนทั้งในแง่
  • 5. พฤติกรรมผู้บร3โภคและการตลาดออนไลน์ กิจกรรมที่เคยคิดว่าต้องอยู่ใน คอมพิ ว เตอร์ อ าจจะต้ อ งถึ ง เวลาเปลี ่ ย น ความคิดเสียใหม่เพราะโลกออนไลน์ ได้ย้าย ออกจาก Second Screen ไปสู่ Third Screen เรbยบร้อยแล้ว • กิ จ กรรมการตลาดต้ อ งให้ ค วามสนใจ กั บ พฤติ ก รรมของการใช้ Mobile Device มากขF้น สิ่งที่นักการตลาดควรเตร2ยมตัว • ปรับเว็บไซต์ต่างๆ ให้สามารถรองรับ การดูผ่าน Mobile Device ได้ เช่นการ ทำ Responsive Website • การออกแบบและผลิตคอนเทนต์ต้องให้ รองรับการดูผ่านทาง Mobile Device ด้วยเช่นกัน เช่นการออกแบบโพสต์บน Facebookให้แสดงผลได้ดีที่สุดเมื่อดูบน หน้าจอมือถือ เว็บไซต์ veedvil.com มีการรายงานจำนวนผู้ ใช้ Smartphone ของไทยโดยประมาณอยู่ที่ 24 ล้านเครX่อง คิดเป็น ประมาณ 25% ของตลาดโทรศัพท์มือถือไทย
  • 6. 2. Muti-Screen: ยุคหลายจอ แยกกัน พร้อมกัน ต่อเนื่องกัน แน่นอนว่าการมี Mobile Device ทำให้ผู้ บร3โภคมีทางเลือกในการเข้าถึงข้อมูลมาก ขF้น แต่นั่นไม่ใช่หมายความว่าพวกเขาจะเลิก ดู โ ทรทั ศ น์ หรX อ เลิ ก ใช้ ค อมพิ ว เตอร์ แ ต่ อย่ า งใด โดยแม้ ว ่ า ยอดจำหน่ า ยของ คอมพิ ว เตอร์ จ ะลดลงสวนทางกั บ ยอด จำหน่าย Smartphone และ Tablet ก็จร3ง แต่ในการสำรวจต่างๆ ล้วนพบว่าสิ่งที่เกิด ขF้นคือพฤติกรรมการใช้งาน “หลายหน้า จอ” (Multi-Screen) แทนที่จะเป็นการเลือก ไปใช้หน้าจอใดหน้าจอหนึ่ง ในงานศึกษาของ Microsoft เมื่อปีที่ผ่านมา เกี่ยวกับพฤติกรรม Multi-Screen นี้ก็ได้ ข้อมูลน่าสนใจว่าผู้บร3โภคเร3่มคุ้นเคยกับการ ใช้งานหลายหน้าจอพร้อมๆ กันและเปลี่ยน เป็นพฤติกรรมปรกติไปแล้ว ไม่ว่าจะเป็นการ สลั บ ใช้ ง านโทรศั พ ท์ ม ื อ ถื อ ระหว่ า งดู โทรทัศน์ไปพร้อมๆ กัน หรXอการใช้งานข้าม หน้าจอไปเพื่อให้เกิดความต่อเนื่อง ฯลฯ ซF่ง สิ่งเหล่านี้ทำให้เกิดเทรนด์ต่อเนื่องที่ส่งผล ไปยังอุตสาหกรรมอื่นๆ เช่น Social TV ดัง ที่เราเห็นในปรากฏการณ์อย่าง #Hormonetheseries หรXอ #สุภาพบรุษ จTฑาเทพ เป็นต้น ณ วันนี้ Multi-Screen คงไม่ใช่แค่แฟชั่นอีก ต่อไป แต่จะเป็นรูปแบบการใช้งานและเข้าถึง ข้อมูลของคนยุคดิจ3ทัล และนั่นก็กลายเป็น สิ ่ ง ที ่ ก ลายเป็ น โอกาสทั ้ ง ในด้ า นธุ ร กิ จ และ การตลาดอย่างแน่นอน สิ่งที่นักการตลาดควรเตร2ยมตัว • การดีไซน์แคมเปญหรXอการสื่อสาร ทางการตลาดต่างๆ ไม่ควรติดอยู่ใน กรอบว่าต้องจบในครั้งเดียว สามารถ พลิกแพลงสร้างประสบการณ์ที่ต่อเนื่อง หรXอประสบการณ์แบบคู่ขนานผ่านการ ใช้ Multi-Screen ได้
  • 7. 3. Social Media Addicted: ภาวะติดสังคม-โรคขาดโซเชbยลไม่ได้ สิ่งที่น่าสนใจต่อเนื่องมาคือเรX่องพฤติกรรม การใช้ Social Media ของคนไทยที่กลาย เป็นหนึ่งในพฤติกรรมหลักของคนรุ่นใหม่ มี การสำรวจแล้วพบว่าวัยรุ่นไทยในปัจจTบัน ยอมรั บ ว่ า ติ ด การใช้ ง าน LINE และ Facebook รวมทั้งไม่สามารถอยู่ได้ โดยขาด โทรศัพท์มือถือ ข้อมูลเหล่านี้น่าจะเป็นการตอกย้ำอย่างดีว่า Social Media เป็นสิ่งที่เข้ามาเปลี่ยนสภาพ แวดล้อมของผู้บร3โภคไปจากยุคก่อนดิจ3ทัล Facebook LINE Twitter Instagram ไม่ใช่แค่ เครX่องมือหรXอช่องทางออนไลน์ที่เพิ่มเข้ามา เฉยๆ แต่เป็นสิ่งที่เข้ามาสร้างพฤติกรรมผู้ บร3โภคใหม่ชนิดที่พลิกตำราการตลาดเดิม ในปี 2013 ที่ผ่านมาน่าจะมีหลายสถิติที่ชb้ให้ เห็ น ว่ า คนไทยเป็ น คนดิ จ 3 ท ั ล ที ่ ม ี ก ารใช้ ง าน Social Media อย่างมากทีเดียว ตั้งแต่การ ที่กรุงเทพเป็นเมืองที่มีผู้ ใช้งาน Facebook มากที่สุดในโลก และเป็นอันดับ 2 ของโลกใน Instagram สถานที่อย่างสยามพารากอน และสนามบิ น สุ ว รรณภู ม ิ เ ป็ น สถานที ่ ท ี ่ ถ ู ก Check-In บ่อยที่สุดบน Instagram ภาษา ไทยเป็นหนึ่งในภาษายอดนิยมบน Twitter ประเทศไทยมีผู้ ใช้งาน LINE 20 ล้านคน เป็น อันดับสองของโลก ฯลฯ สถิติเหล่านี้น่าจะ เป็นตัวบ่งชb้ได้ถึงความตื่นตัวในการใช้งาน Social Media ของคนไทยได้อย่างดี ในปี 2014 เราก็จะยังคงเห็นการขับเคลื่อน ของ Social Media อย่างต่อเนื่อง พร้อม กับกลุ่มผู้ ใช้งานที่เป็น Gen-Z จะโตขF้นและมี บทบาทกับโลกออนไลน์มากขF้นตามไป รูป แบบความสัมพันธ์ต่างๆ บน Social Media จะมีบทบาทกับความสัมพันธ์ ในโลกจร3งมาก ขF้น ไมว่าจะเป็นเรX่องการแชร์ข้อมูลข่าวสาร การแชร์ความสนใจ รวมไปถึงการใช้ Social Media เพื่อสร้างตัวตนให้เป็นที่ยอมรับใน วงสังคมที่กว้างขวางขF้น ซF่งจะทำให้หลายคน พยายามใช้ช่องทางออนไลน์สร้างเครXอข่าย ของตัวเอง ไม่ว่าจะเป็น Facebook Page Instagram SocialCam เป็นต้น
  • 8. 4. Digital Savvy: เข้าสู่ยุค “ว3ถีชbว3ตแห่งดิจ3ทัล” สิ่งน่าสนใจไม่แพ้กับเทคโนโลยีที่กำลังก้าว กระโดดอย่างน่าตื่นตาตื่นใจคือความคุ้นช3น กับว3ถีดิจ3ทัลของผู้บร3โภคพร้อมๆ กับการ เปิดรับที่จะใช้เ ทคโนโลยีเ หล่านี้มากขF้นกว่า เดิม ถ้าเราพิจารณากันแล้ว ทุกวันนี้กิจกรรม การใช้งานอิน เทอร์เนตนั้นไม่ ใช่แค่การเปิด อีเมล์หรXอเล่น Facebook เพียงอย่างเดียว แต่เรากำลังเห็นรูปแบบบร3การอื่นๆ เพิ่มเข้า มาเรX ่ อ ยๆ ซF ่ ง หลายๆ คนเองก็ ส มั ค ร บร3การเหล่านี้ เช่น บร3การซX้อขายสินค้า ออนไลน์ บร3การค้นหาร้านอาหาร บร3การ จองโรงแรมและที่พัก หรXอแม้แต่บร3การหา เพื ่ อ น หาคู ่ ร ั ก ฯลฯ สิ ่ ง เหล่ า นี ้ เ ป็ น สัญญาณให้เ ห็นว่าดิจ3ทัลกำลังเข้าไปเป็น ส่วนหนึ่งในโลกชbว3ตประจำวันของผู้บร3โภค มากขF้นเรX่อยๆ ซF่งในมุมหนึ่งแล้ว มันคือ การเปลี่ยนว3ถีชbว3ตขอผู้บร3โภคไปจากเดิม นั่นเอง นอกจากกลุ่มประชากรเดิมที่เปิดรับการใช้ งานเทคโนโลยีและบร3การทางดิจ3ทัลมากขF้น แล้ว ประชากรอีกกลุ่มหนึ่งซF่งไม่อาจมอง ข้ามได้เลยคือกลุ่ม Digital Native หรXอ กลุ่มประชากรเด็กและวัยรุ่นซF่งโตขF้นมาใน ยุคดิจ3ทัลแล้ว โดยปัจจTบัน International Telecom Union รายงานมี Digital Native อยู่ประมาณ 4.3 ล้านคน คิดเป็น 6.3% ของประชากรประเทศไทย โดยประชากร กลุ ่ ม นี ้ จ ะเป็ น กลุ ่ ม ที ่ ม ี ค วามคล่ อ งและ ชำนาญในการใช้เทคโนโลยีดิจ3ทัลอย่างมาก ซF่งพวกเขาจะมีบทบาทกับการตลาดดิจ3ทัล อย่างมาก
  • 10. 5. Content Marketing Era: ถึงเวลาแบรนด์ผลิตคอนเทนต์เอง (ได้แล้ว) หลังจากที่ธุรกิจและแบรนด์หันมาตื่นตัวกับ Digital Marketing และสร้างช่องทางการ สื่อสารบนโลกออนไลน์มากมายในช่วง 2-3 ปีที่ผ่านมา ไม่ว่าจะเป็นเว็บไซต์ Facebook Twitter Instagram ฯลฯ หนึ่งในสิ่งที่เราเร3่ม เห็นในช่วงปีที่ผ่านมาคือการเร3่มแนวคิดใหม่ ว่าแบรนด์ควรจะมองหาแนวทางการสร้าง คอนเทนต์ที่ไม่ใช่การโฆษณาขายของอีกต่อ ไป และนั่นทำให้หลายๆ คนตื่นตัวกับ Content Marketing มากขF้น อันที่จร3ง Content Marketing ไม่ใช่เรX่อง ใหม่แต่อย่างใด แต่ที่เพิ่งมาถูกพูดถึงเยอะ มากในช่วงปีที่ผ่านมาและกลายเป็นเทรนด์ การตลาดปัจจTบันก็เพราะธุรกิจและแบรนด์ จำนวนมากสามารถมีสื่อของตัวเองได้ง่าย กว่าแต่ก่อน จากเดิมที่ต้องซX้อโฆษณาในสื่อ อื่นๆ แต่ปัจจTบันสามารถมีช่องทางนำเสนอ คอนเทนต์ตัวเองได้แล้ว แต่นั่นก็เลยเป็น ความท้าทายใหม่ของแบรนด์ว่าจะทำคอน เทนต์อย่างไรให้คนสนใจและอยากติดตาม กัน ซF่งนั่นอาจจะไม่ได้ไปในแนวทางการคิด โฆษณาที่แทรกอยู่ในสื่อต่างๆ เหมือนแต่ ก่อน คำถามน่าคิดของนักการตลาดหลังจากที่ เราพยายามสร้างฐาน “ผู้ชม” อย่าง Facebook Fan และ Twitter Followers ใน ช่วงสองปีก่อนคือเราจะผลิตคอนเทต์แบบ ไหนที่จะสามารถสร้างประโยชน์จากกลุ่มผู้ ชมนี้ได้ (และนั่นอาจจะทำให้หลายๆ แบรนด์ พบความจร3งที่น่ากลัวว่าได้เดินกลยุทธ์ที่จะ สร้างฐานผู้ชมผิดมาตั้งแต่ต้นก็ได้) กระบวนการคิด Content Strategy จะ กลายเป็นความท้าทายใหม่ของแบรนด์และเอ เยนซb่ว่าจะดึงตัวแบรนด์ออกมาให้กลายเป็น คอนเทนต์ได้อย่างไร รวมทั้งการว3เคราะห์ คุณภาพและมูลค่าของคอนเทนต์ที่ไป มากกว่าการดูแค่ยอด Like Comment และ Share
  • 11. 6. Not only Facebook Marketing เลิกพูดถึงแต่ Facebook กันเถอะ แม้ว่าการตลาดดิจ3ทัลจะมุ่งไปที่ Facebook เป็นหลักในช่วงสองสามปีที่ผ่านมาเนื่องจาก Facebook เป็นกิจกรรมหลักของคน ออนไลน์อย่างปฏิเสธไม่ได้ อย่างไรก็ตาม ทิศทางของการทำการตลาดดิจ3ทัลในปีต่อๆ ไปน่าจะมีทางเลือกมากขF้นอย่างเช่น Instagram เองก็มีผู้ ใช้งานจำนวนมากจน ติดอันดับโลก หรXอการใช้แพลตฟอร์มอื่นๆ เข้ามาเกี่ยวข้อง ในขณะเดียวกัน เราจะให้ได้ตลอดช่วงปี 2013 ว่า Facebook มีการปรับปรุงและ พัฒนาระบบหลายอย่างจนกระทบกับการใช้ Facebook Page เพื่อนำเสนอคอนเทนต์ ไม่ ว่าจะเป็น Organic Reach ที่ตกลงอย่างต่อ เนื่องหรXอการพยายามให้เจ้าของ Facebook Page ซX้อโฆษณาโปรโมทต่างๆ ซF่งนั่นทำให้หลายๆ คนเร3่มพบแล้วว่า Facebook อาจจะไม่ใช่ทางเลือกเดียวที่ดี ที่สุดก็ได้ ประเด็นหนึ่งที่นักการตลาดต้องเร3่มคิดคือ Facebook Twitter หรXอ Instagram นั้น เป็นช่องทางที่แบรนด์ไม่ได้เป็นเจ้าของแบบที่ สามารถควบคุมทุกอย่างได้เสียทีเดียว หาก ตัวแพลตฟอร์มมีการปรับเปลี่ยนอะไรแล้ว เราก็ต้องจำยอมกับการเปลี่ยนแปลงนั้น ซF่ง นั่นอาจจะทำให้หลายคนคิดในเรX่องการสร้าง ระบบนิเวศน์ของแบรนด์บนโลกออนไลน์เสีย ใหม่เพื่อให้มีครอบคลุมมากกว่าเดิม และ เป็นการกระจายความเสี่ยงไปพร้อมๆ กัน ด้วย ในปี 2014 เราน่าจะเห็นพฤติกรรมการใช้ งานอินเทอร์เนตที่เปลี่ยนไปกว่าเดิม ซF่งการ ตลาดดิจ3ทัลเองก็ต้องผันตัวเองตามให้ทัน ด้วยเช่นกัน และนั่นคือการปรับตัวสู่ความ หลากหลายทั้งในเรX่องเทคนิค ว3ธbการ ช่อง ทาง เพื่อตอบโจทย์พฤติกรรมที่หลากหลาย และแตกต่างไปตาม Customer Journey แบบ ใหม่ด้วย
  • 12. 7. Real-Time Media นวัตกรรมใหม่ของสื่อโฆษณาออนไลน์ นอกจากสื่อใหม่ๆ อย่าง Social Media แล้ว การตลาดดิจ3ทัลเองก็ยังไม่สามารถ มองข้ามหรXอลืมสื่อพื้นฐานของ Digital Display ได้เช่นกัน เมื่อเป็นเช่นนี้จะเห็นว่า Eco-System ของ Digital Media นั้น ขยายตัวมากขF้นเรX่อยๆ เช่นเดียวกับทาง เลือกและช่องทางของข้อมูลดิจ3ทัล ไม่ว่า จะเป็นเว็บไซต์และบล็อกต่างๆ มากมายที่ เกิดขF้นในทุกๆ วัน การเปลี่ยนแปลงของโครงสร้างสื่อ โฆษณาออนไลน์นี้ทำให้เกิดการพัฒนา เทคโนโลยีในการซX้อสื่อโฆษณาที่จะสะดวก สบายยิ่งขF้น สามารถเข้าถึงกลุ่มเป้าหมาย ได้ง่ายขF้น นอกจากนี้ยังสามารถปรับแต่ งงได้มากกว่าเดิมเพื่อประสิทธ3ภาพที่สูง ขF้นของการใช้งบประมาณเพื่อซX้อสื่อ โฆษณาดังเช่นที่เราเร3่มคุ้นเคยกับการใช้ Ad Network, Facekbook Ad มากขF้น เรX่อยๆ เทคโนโลยีใหม่ๆ จะเข้ามาเป็นตัวเลือกให้ กับนักการตลาดเพิ่มขF้น อย่าง DemandSide Platform ที่จะเร3่มเข้ามามีบทบาท สำหรับการซX้อสื่อโฆษณาแบบ Real-Time ที่ผู้ซX้อโฆษณาสามารถเลือกกลุ่มเป้า หมายแล้วให้ระบบทำการประมวลผลและ ส่งโฆษณาไปยังเว็บไซต์ต่างๆ ที่กลุ่มเป้า หมายกำลังใช้อยู่ ว3ธbการแบบนี้มีการ อัพเดทข้อมูลอยู่ตลอดเวลาซF่งจะเป็นผล ดีที่โฆษณาเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายที่เลือก เฉพาะเจาะจงจร3ง ทำให้ โอกาสและ ประสิทธ3ภาพสูงกว่าการซX้อโฆษณาแบบ เดิมๆ นอกจากการซX้อสื่อแล้ว เทคโนโลยีของ การวัดผลและจัดเก็บข้อมูลเองก็จะเป็นอีก ด้านที่สำคัญไม่แพ้กันเพราะความต้องการ ที่จะวัดคุณภาพของการใช้สื่อโฆษณาจะ สูงขF้นด้วยเช่นกัน ทั้งนี้เพื่อนำมารองรับ และเสร3มการอธ3บายเช3งปร3มาณที่สื่อ ดิจ3ทัลทำได้ดีอยู่แล้ว
  • 13. 8. Social Listening ถึงเวลาล่วงรู้ว่าผู้บร3โภคเขา​​คิดอะไร คงไม่มียุคไหนก่อนหน้านี้ที่ผู้บร3โภคจะแชร์ ความเห็นและข้อมูลต่างๆ ของพวกเขาให้ สามารถเข้าถึงกันได้แบบฟรbๆ เท่ายุคดิจ3ทัล อีกแล้ว Social Media ทำให้คนจำนวนมาก แชร์เรX่องราวต่างๆ แลกเปลี่ยนความคิด เห็นในทุกๆ เรX่องตั้งแต่ข่าว เทรนด์ สินค้า บร3การ ฯลน ซF่งนั่นก็ไม่ต่างจาก Market Research ที่สามารถหาอ่านได้ตามเว็บ บอร์ดทั่วไป ใน Timeline Twitter หรXอใน บล็อกต่างๆ ข้อมูลความคิดเห็นของผู้บร3โภคเหล่านี้ล้วน เป็นประโยชน์กับธุรกิจในหลายๆ ด้านตั้งแต่ การดูสถานะของธุรกิจในสายตาของผู้ บร3โภค การรวบรวมความคิดเห็นทั้งด้านติ และชมเพื่อนำไปปรับปรุง ตลอดไปจน Insight บางอย่างที่นักการตลาดหรXอผู้ พัฒนาผลิตภัณฑ์สามารถนำไปใช้ต่อได้ และรวมไปถึงการรู้ทันสถานการณ์ร้ายแรง ที่อาจจะเกิดขF้นหากผู้บร3โภคเร3่มก่อหวอด โจมตีแบรนด์บนโลกออนไลน์ เมื่อเป็นเช่นนี้แล้ว เครX่องมืออย่าง Social Listening จFงกลายเป็นกุญแจสำคัญที่จะ ช่วยนักการตลาดในการรวบข้อมูลเหล่านี้ และอัพเดทให้อย่างต่อเนื่อง เพื่อที่นักการ ตลาดจะสามารถนำข้อมูลเหล่านี้ไปว3เคราะห์ ได้อย่างทันท่วงที และนั่นทำให้ Social Listening จะเป็นเครX่องมือสำคัญที่มองข้าม ไม่ได้ ในปี 2014 เลยทีเดียว
  • 14. 9. Big Data เอาข้อมูลดิจ3ทัลมาใช้ประโยชน์กันเถิด หนึ ่ ง ในคุ ณ ลั ก ษณะที ่ ย อดเยี ่ ย มของ เทคโนโลยีดิจ3ทัลคือการเก็บข้อมูลที่ลึกและ ละเอียดมากอย่างไม่น่าเชX่อ เช่นรูปถ่ายหนึ่ง รูปสามารถระบุได้ตั้งแต่รุ่นกล้องที่ใช้ ขนาด ความละเอียด วัน เวลา และสถานที่ที่ถ่าย ฯลน ทั้งหมดนนี้กลายเป็นข้อมูลที่สามารถ นำไปว3เคราะห์ได้มากมาย และเมื่อเทคโนโลยีทำให้ผู้บร3โภคผลิตคอน เทนต์ดิจ3ทัลออกมาได้มากเช่นเดียวกับการ ใช้บร3การที่มีเทคโนโลยีดิจ3ทัลอยู่ด้วย นั่น ทำให้ เ กิ ด ข้ อ มู ล มหาศาลที ่ บ ่ ง ชb ้ ถ ึ ง พฤติกรรมของผู้บร3โภคต่างๆ เช่นสถานที่ ที่มีการถ่ายรูปมากที่สุด ช่วงเวลาที่มีคนเข้า มาคอมเมนต์มากที่สุด คำพูดที่มีการพูดถึง บ่อยที่สุด ฯลฯ สิ่งเหล่านี้กลายเป็นชุด ข้อมูลที่จะแปรเป็น Market Research ที่มี ความสำคัญได้ไม่ต่างจากข้อมูลที่เราได้จาก Social Listening เลย ด้วยเหตุนี้ ปี 2014 จFงเป็นปีที่นักการตลาด ต้ อ งเร3 ่ ม สนใจในการว3 เ คราะห์ ต ั ว เลขและ ข้อมูลต่างๆ ที่เกิดขF้นบนโลกดิจ3ทัล ทั้งใน ส่วนที่มาจากสื่อของตัวเองเช่น Facebook Twitter หรXอจากสื่ออื่นๆ เช่นเว็บไซต์ เว็บ บอรด์ เพื่อถอดรหัสพฤติกรรมของกลุ่ม เป้ า หมายตั ว เอง ตลอดไปจนถึ ง การ ประเมินผลและว3เคราะห์สถานะของตัวเองไป พร้อมๆ กัน ซF่งสิ่งที่จำเป็นต้องมองหาคือ เครX่องมือเช่นซอฟท์แวร์ที่เก็บฐานข้อมูล ต่างๆ ได้มาก โปรแกรมประมวลผล ตลอด จนนักว3เคราะห์ที่เชb่ยวชาญเรX่องสถิติและ ตัวเลข
  • 15. 10. Digital Out of Home การตลาดดิจ3ทัลที่ออกไปสู่ท้องถนน จากเดิ ม ที ่ เ ราอาจจะคิ ด ว่าการตลาดดิจ3ทัลนั้นเน้น อยู่ที่การใช้คอมพิวเตอร์ และแม้ จ ะมี บ ร3 ก ารบนอิ น เทอร์ เ นตจนเป็ น ที ่ น ิ ย ม อย่าง Facebook เอง ผู้ ใช้งานก็ยังคงต้องติดล็อค อยู่หน้าคอมพิวเตอร์ ซF่ง นั ่ น ทำให้ แ คมเปญต่ า งๆ ถูกดีไซน์ให้ ใช้งานผ่านหน้า จอเสี ย ส่ ว นใหญ่ เช่ น Facebook Application อย่างไรก็ตาม ด้วยเทคโนโลยีที่พัฒนาขF้น ทำให้ ข ้ อ จำกั ด เหล่ า นี ้ ล ดลงไปเรX ่ อ ยๆ พร้อมกับการเพิ่มเทคนิคใหม่ๆ เข้ามาให้มี ลูกเล่นสำหรับการทำแคมเปญในสถานที่ที่ ไม่จำเอินเทอร์เนตป็นว่าต้องเป็นบ้านหรXอ ที่ทำงานอีกต่อไป ตัวอย่างที่น่าสนใจเช่น Instaprint หรXอ Selfiprint ที่เป็นฝีมือของคนไทยโดยให้ บร3การพิมพ์รูปภาพที่มีการติด #hashtag บน Instagram หรXอ Social Media อื่นๆ เพื่อให้คนที่เข้าร่วมงานอีเวนท์ ได้สนุกกับ การถ่ายรูปและติด #hashtag เพื่อแชร์บน Social Media นั่นทำให้เห็นว่าลูกเล่นของ การทำแคมเปญ Outdoor สามารถผนวก ดิจ3ทัลเข้าไปได้มากกว่าแต่ก่อน ในต่างประเทศเองนั้น เราก็เร3่มเห็นการใช้ ดิจ3ทัลมาทำอะไรบนท้องถนนบ่อยขF้น เช่น การใช้ป้าย Billboard ที่ตอบสนองกับมือ ถื อ ของผู ้ ใ ช้ แ ละทำการเปลี ่ ย นป้ า ยตาม ข้อมูลที่ถูกส่งมา หรXอการทำโครงสร้าง ขนาดใหญ่ที่ให้คนได้ส่งคอนเทนต์ของตัว เองไปขF้นแสดงร่วมกันอย่าง Social Tree ที่สนามบิน Changi เป็นต้น เทรนด์การคิดแคมเปญการตลาดดิจ3ทัล แบบออกไปสู ่ ท ้ อ งถนนคงจะมี เ พิ ่ ม ขF ้ น เรX่อยๆ ในปี 2014 เพราะโลกดิจ3ทัลของผู้ บร3โภคไม่ได้อยู่ ในบ้านหรXอที่ทำงานอีกต่อ ไป หน้าจอที่ 3 กลายเป็นช่องทางเข้าถึง อินเทอร์เนตทุกที่ทุกเวลา โทรศัพท์มือถือ ก็สามารถเป็นอุปกรณ์ที่ทำสิ่งต่างๆ ได้ มากมายเช่นการเก็บข้อมูลสถานที่ นับ จำนวนก้าว ฯลฯ ซF่งนั่นกลายเป็นเครX่อง มือของการคิดสร้างสรรค์การตลาดว3ธb ใหม่ๆ ได้อีกมากทีเดียว
  • 16. About Edge Asia Edge is the only advertising network born in the Digital Age of Southeast Asia. Our heritage is here in our region. We are founded by entrepreneurs who have built businesses for the unique demands of consumers and global brand owners in the markets where we operate. We are not a legacy network trying to force fit old-world thinking into the high growth, early adopter markets of SE Asia. We combine a street-smart understanding of our region’s vast and growing population of digital citizens with deep executional expertise in disciplines across the entire landscape of paid, earned and owned platforms. We now have over 450 specialists working out of offices in Ho Chi Minh City, Hanoi, Bangkok, Kuala Lumpur, Jakarta and Singapore. About Edge Asia Academy We have worked really hard over the past ten years to grow our expertise in the digital industry. EDGE ASIA ACADEMY has been born out of our desire to share our combined knowledge and experience of the ever changing digital landscape. Through our learning centre, we hope to help educate and guide you to meet the digital challenges of today and the opportunities of tomorrow. (for more information, visit: http://academy.edge-asia.com ) The New Media Edge Company Limited 946 Dusit Thani Building, 8th floor, Unit 801, Rama IV Road., Silom, Bangrak, Bangkok, 10500 Thailand Telephone: +(662) 237-2737, +(662) 237-2737 (-41) Fax: +(662) 237 2742 Website: www.edge-asia.com Facebook: www.facebook.com/EdgeThailand