SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 14
Baixar para ler offline
Transmitsion Control Protocol
Internet Protocol
TCP/IP
(Transmitsion Control Protocol/Internet
Protocol)
เป็นชุดของโปรโตคอลที่ถูกใช้ในการสื่อสารผ่านเครือข่าย
อินเทอร์เน็ต โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้สามารถใช้สื่อสารจากต้น
ทางข้ามเครือข่ายไปยังปลายทางได้ และสามารถหาเส้นทางที่จะ
ส่งข้อมูลไปได้เองโดยอัตโนมัติ
การติดต่อสื่อสารระหว่างคอมพิวเตอร์ที่ใช้โปรโตคอล
TCP/IP
จากรูปโปรโตคอล TCP/IP ประกอบด้วยโปรโตคอลย่อยหลายโปรโตคอลซึ่งทางาน
ในระดับต่างๆกัน โดยที่โปรโตคอลย่อยที่ทางานในระดับ Application Layer ได้แก่
FTP(File Transfer Protocol), TELNET(Terminal Emulator),
SNMP(Simple Network Management Protocol) โปรโตคอลเหล่านี้จะ
เรียกใช้โปรโตคอลย่อยในระดับ Transport ด้านล่างแบบใดแบบหนึ่ง
ระหว่าง TCP(Transmission Control Protocol) หรือ UDP(User
Datagram Protocol) และโปรโตคอลย่อยทั้งสองจะเรียกใช้โปรโตคอลระดับ
Network ต่อซึ่งได้แก่ IP หรือ ICMP(Internet Communication
Message Protocol)
การทางานในระดับ Transport ที่มีโปรโตคอลย่อย TCP หรือ UDP นั้น
โปรแกรมที่อยู่ด้านบนจะเรียกใช้ผ่านช่องทางที่เป็นตัวเลขที่เรียกว่า Port Number โดย
หมายเลขนี้เป็นเลขที่มาตรฐานในโปรโตคอลแบบ TCP/IP
1. เพื่อใช้ติดต่อสื่อสารระหว่างระบบที่มีความแตกต่างกัน
2. ความสามารถในการแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นในระบบเครือข่าย เช่นในกรณีที่ผู้ส่ง
และผู้รับยังคงมีการติดต่อกันอยู่ แต่โหนดกลางทีใช้เป็นผู้ช่วยรับ-ส่งเกิด
เสียหายใช้การไม่ได้ หรือสายสื่อสารบางช่วงถูกตัดขาด กฎการสื่อสารนี้จะต้อง
สามารถจัดหาทางเลือกอื่นเพื่อทาให้การสื่อสารดาเนินต่อไปได้โดยอัตโนมัติ
3. มีความคล่องตัวต่อการสื่อสารข้อมูลได้หลายชนิดทั้งแบบที่ไม่มีความเร่งด่วน
เช่น การจัดส่งแฟ้ มข้อมูล และแบบที่ต้องการรับประกันความเร่งด่วนของ
ข้อมูล เช่น การสื่อสารแบบ real-time และทั้งการสื่อสารแบบเสียง
(Voice) และข้อมูล (data)
TCP/IP มีจุดประสงค์ของการสื่อสารตามมาตรฐาน
3 ประการ ดังนี้
TCP และ IP มีหน้าที่ต่างกัน คือ
1. TCP จะทาหน้าที่ในการแยกข้อมูลเป็นส่วน ๆ หรือที่
เรียกว่า Package ส่งออกไป ส่วน TCP ปลายทาง ก็
จะทาการรวบรวมข้อมูลแต่ละส่วนเข้าด้วยกัน เพื่อนาไป
ประมวลผลต่อไป โดยระหว่างการรับส่งข้อมูลนั้นก็จะมีการ
ตรวจสอบความถูกต้องของ ข้อมูลด้วย ถ้าเกิดผิดพลาด
TCP ปลายทางก็จะขอไปยัง TCP ต้นทางให้ส่งข้อมูลมา
ใหม่
2. IP จะทาหน้าที่ในการจัดส่งข้อมูลจากเครื่องต้นทางไปยัง
เครื่องปลายทางโดยอาศัย IP Address
โดยปกติเราแบ่ง IP address เป็น 2 แบบ
1. Public IP address (อาจเรียกอย่างไม่เป็นทางการว่า WAN IP
address) คือ IP address ที่ใช้งานจริงมีการจดทะเบียนและเสียเงิน
เพื่อใช้งานจริงๆ มีการจดบันทึกในระบบว่า ใครใช้งาน IP อะไรในวง
กว้าง
2. Private IP address (อาจเรียกว่า LAN IP address) คือ IP
address ที่ใช้กันในเฉพาะระบบวงปิด เช่นใน Office หรือในบ้านที่มี
คอมพิวเตอร์มากกว่า 1 เครื่อง IP ระบบนี้หากต้องการใช้กับ เครื่องนอกวง
ต้องใช้ อุปกรณ์ที่เรียกว่า NAT (Network Address Translator)
จะทาการแปลข้อมูลจากวง LAN ไปออกภายนอก
IP Address จะประกอบด้วยตัวเลข 2 ส่วน คือ
1. Network Address
2. Computer Address
วิธีการติดตั้งโปรโตคอลTCP/IP
ในขณะที่ติดตั้งวินโดวส์เอ็นที ถ้าได้เลือกว่าต้องการติดตั้ง Internet
Information Server ด้วย โปรแกรมติดตั้งจะทาการเพิ่มโปรโตคอล TCP/IP เข้าไป
ด้วย หากไม่ได้ติดตั้งไว้ก่อนหรือ โปรคอล TCP/IP หายไป เราสามารถติดตั้งเพิ่มเติมได้โดย
วิธีการต่อไปนี้
1.Logon เป็น Administrator
2.ดับเบิ้ลคลิกไอคอน Network ที่คอนโทรลพาเนล จะปรากฏจอภาพดังรูป
3. คลิกเลือก Protocol Tab แล้วกดปุ่ม Add... จะปรากฏรายชื่อของโปรโตคอลขึ้นมาให้
เลือกดังรูป
4. คลิกที่ TCP/IP Protocol แล้วกดปุ่ม OK จะปรากฏจอภาพขึ้นมาถามว่านต้องการใช้โปรแกรม
DHCP(Dynamic Host Configuration Protocol) Server เป็นผู้กาหนด IP
Address แทนการกาหนดด้วย manual หรือไม่
( DHCP Server เป็นโปรแกรมที่ทาหน้าที่แจก IP Address ให้กับเครื่องลูกข่ายโดยอัตโนมัติ)
ถ้าต้องการใช้ความสามารถนี้จะต้องระบุเครื่องที่ทาหน้าที่เป็น DHCP Server ให้กับเครื่องลูกข่ายไว้
5.ให้ตอบ Yes ในกรณีที่มี DHCP Server หรือตอบ No ถ้าต้องการกาหนด IP Address ด้วย
manual วินโดวส์เอ็นทีจะถามตาแหน่งของ CD-ROM ของวินโดวส์เอ็นที ให้ระบุตาแหน่งของ
CD-ROM แล้วกดปุ่ม Continue โปรแกรมจะอ่าน CD-ROM เพื่อนาข้อมูลที่ต้องการเข้ามาใช้
การแบ่งขนาดของเครือข่าย
เราสามารถแบ่งขนาดของการแจกจ่าย Network Address ได้ 3 ขนาดคือ
1. Class A nnn.ccc.ccc.ccc (nnn ชุดแรก ตัวเลขอยู่ระหว่าง 1-126)
เครือข่าย Class A สามารถแจกจ่าย IP Address ได้มากที่สุดถึง 16 ล้านหมายเลข
2. Class B nnn.nnn.ccc.ccc (nnn ชุดแรก ตัวเลขอยู่ระหว่าง 128-191)
เครือข่าย Class A สามารถแจกจ่าย IP Address ได้มากเป็นอันดับสอง คือ 65,000 หมายเลข
3. Class C nnn.nnn.nnn.ccc (nnn ชุดแรก ตัวเลขอยู่ระหว่าง 192-233)
เครือข่าย Class A สามารถแจกจ่าย IP Address ได้น้อยที่สุด คือ 256 หมายเลข nnn หมายถึง
Network Address ccc หมายถึง Computer Address
เนื่องจากเครือข่ายก็อาจจาเป็นต้องใช้ IP Address ดังนั้น จึงจาเป็นต้องมีการจากัดบาง
หมายเลขเพื่อใช้เป็นการภายใน ได้แก่
Class A ตั้งแต่ 10.xxx.xxx.xxx
Class B ตั้งแต่ 172.16.xxx.xxx ถึง 172.31.xxx.xxx
Class C ตั้งแต่ 192.168.0.xxx ถึง 192.168.255.xxx สาหรับภายในองค์กร ก็มีหมายเลขต้องห้ามเช่นกัน
ได้แก่ 127.xxx.xxx.xxx หมายเลขนี้ใช้สื่อสารกับตัวเอง
การกาหนด IP address
มี 2 วิธีหลักๆ
1. Static IP address คือการกาหนด เลข IP address เอาดื้อๆ เครื่องอื่นๆ ในวงต้องมี
Network Address อยู่ในกลุ่มเดียวกัน จึงจะมองเห็นกันได้
2. Dynamic IP address คือการกาหนด เลข IP address โดยอุปกรณ์ หรือ Server ที่เรียกว่า
DHCP server (Dynamic Host Configuration Protocol Server) ซึ่งจะง่ายกว่า
แบบแรกเนื่องจากไม่ต้องทราบอะไรเลยเสียบปุ๊ บ ตั้ง Auto ใช้งานได้เลยการตั้งค่า Static IP
address เพื่อให้วง เป็นวงเดียวกัน จะต้อง
1.) มี Subnet mask เดียวกัน
2.) หากต้องการวิ่งไปยังช่องทางออกผ่านการแชร์ของเครื่องใดเครื่องหนึ่ง ให้เช็ค IP address ของ
ทางออก แล้ว Set ค่าที่ Gateway ให้ตรงกับ เครื่องที่ใช้เป็นทางออก
3.) มี Network Address เดียวกัน
4.) มี Host Address ไม่ตรงกัน
การหาค่า Host และ Network Address
เนื่องจากระบบ IP address ทางานอยู่บน ระบบ เลขฐาน 2 เป็นจานวน 32 ตัว
เพื่อความง่ายต่อการเรียก จึงแบ่งออกเป็น 4 ชุด ชุดละแปดตัว (2 ยกกาลังแปด = 256 เลขที่
เป็นไปได้คือ 0-255) การหาค่า Host และ Network Address ทาได้ดังนี้
ตั้งค่าเครื่องคิดเลขของท่านไปเป็นแบบ Logical Calculator
เอาเลข Subnet mask มา and กับ IP Address ค่าที่ได้เป็น Network Address
invert Subnet mask มา and กับ IP Address ค่าที่ได้เป็น Host Address
บทสรุป
TCP/IP นี้มีการออกแบบเป็นเวลานาน และได้ปรับปรุงไปเรื่อยๆ เพื่อให้สามารถใช้
งานได้หลากหลาย และมีประสิทธิภาพมากขึ้น แต่อย่างไรก้อตามโปรโตคอลชุดนี้ก้อยังมี
จุดบกพร่องอีกมาก http://www.us-
cert.gov/cas/techalerts/index.html และจุดบกพร่องเหล่านี้อาจเป็นนามา
เป็นเครื่องมือใช้ในการโจมตีของเหล่าแฮกเกอร์ได้ การเรียนรู้พื้นฐานด้าน TCP/IP นี้เป็น
พื้นฐานเพื่อที่จะศึกษาเรื่องข้อบกพร่องของโปรโตคอล ผลกระทบ และวิธีการป้ องกันตัวเอง
จากการโจมตีของแฮกเกอร์ต่อไป
By
Phatcha Prithong no.19
Monsawan Pankawanich no.22
Pitchanan Niyomkit no.24
M.5/3

Mais conteúdo relacionado

Semelhante a Protocol

บทที่3เทคนิคการส่งข้อมูลดิจิตอล
บทที่3เทคนิคการส่งข้อมูลดิจิตอลบทที่3เทคนิคการส่งข้อมูลดิจิตอล
บทที่3เทคนิคการส่งข้อมูลดิจิตอลkamolphan_sri
 
การทำงานของอินเทอร์เน็ต
การทำงานของอินเทอร์เน็ตการทำงานของอินเทอร์เน็ต
การทำงานของอินเทอร์เน็ตmakkuzeez
 
บทที่ 1 การติดต่อสื่อสารทางอินเทอร์เน็ต
บทที่ 1 การติดต่อสื่อสารทางอินเทอร์เน็ตบทที่ 1 การติดต่อสื่อสารทางอินเทอร์เน็ต
บทที่ 1 การติดต่อสื่อสารทางอินเทอร์เน็ตKantida SilverSoul
 
ความเป็นมาและแนวคิดของการสื่อสารใน
ความเป็นมาและแนวคิดของการสื่อสารในความเป็นมาและแนวคิดของการสื่อสารใน
ความเป็นมาและแนวคิดของการสื่อสารในaru
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ บทที่ 3
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ บทที่ 3เครือข่ายคอมพิวเตอร์ บทที่ 3
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ บทที่ 3Nuttapoom Tossanut
 
งานคอม0053PDF
งานคอม0053PDFงานคอม0053PDF
งานคอม0053PDFNthw Trty
 
งานคอม0053
งานคอม0053งานคอม0053
งานคอม0053Nthw Trty
 
โปรโตคอล TCP/IP Transmission Control Protocol/Internet Protocol
โปรโตคอล TCP/IP Transmission Control Protocol/Internet Protocolโปรโตคอล TCP/IP Transmission Control Protocol/Internet Protocol
โปรโตคอล TCP/IP Transmission Control Protocol/Internet ProtocolAdisak Kammungkun
 

Semelhante a Protocol (20)

Protocol
ProtocolProtocol
Protocol
 
Week8 TCP/IP and internet
Week8 TCP/IP and internetWeek8 TCP/IP and internet
Week8 TCP/IP and internet
 
บทที่3เทคนิคการส่งข้อมูลดิจิตอล
บทที่3เทคนิคการส่งข้อมูลดิจิตอลบทที่3เทคนิคการส่งข้อมูลดิจิตอล
บทที่3เทคนิคการส่งข้อมูลดิจิตอล
 
2
22
2
 
2
22
2
 
Protocol
ProtocolProtocol
Protocol
 
Protocol
ProtocolProtocol
Protocol
 
การทำงานของอินเทอร์เน็ต
การทำงานของอินเทอร์เน็ตการทำงานของอินเทอร์เน็ต
การทำงานของอินเทอร์เน็ต
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
 
บทที่ 1 การติดต่อสื่อสารทางอินเทอร์เน็ต
บทที่ 1 การติดต่อสื่อสารทางอินเทอร์เน็ตบทที่ 1 การติดต่อสื่อสารทางอินเทอร์เน็ต
บทที่ 1 การติดต่อสื่อสารทางอินเทอร์เน็ต
 
ความเป็นมาและแนวคิดของการสื่อสารใน
ความเป็นมาและแนวคิดของการสื่อสารในความเป็นมาและแนวคิดของการสื่อสารใน
ความเป็นมาและแนวคิดของการสื่อสารใน
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ บทที่ 3
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ บทที่ 3เครือข่ายคอมพิวเตอร์ บทที่ 3
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ บทที่ 3
 
Tcp
TcpTcp
Tcp
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
 
Tcp
TcpTcp
Tcp
 
งานคอม0053PDF
งานคอม0053PDFงานคอม0053PDF
งานคอม0053PDF
 
งานคอม0053
งานคอม0053งานคอม0053
งานคอม0053
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูล
 
โปรโตคอล TCP/IP Transmission Control Protocol/Internet Protocol
โปรโตคอล TCP/IP Transmission Control Protocol/Internet Protocolโปรโตคอล TCP/IP Transmission Control Protocol/Internet Protocol
โปรโตคอล TCP/IP Transmission Control Protocol/Internet Protocol
 
22
2222
22
 

Mais de electhoeng

การสือสารข้อมูล
การสือสารข้อมูลการสือสารข้อมูล
การสือสารข้อมูลelecthoeng
 
น้ำมาให้รีบอ่าน
น้ำมาให้รีบอ่านน้ำมาให้รีบอ่าน
น้ำมาให้รีบอ่านelecthoeng
 
มังกรสอนใจ
มังกรสอนใจมังกรสอนใจ
มังกรสอนใจelecthoeng
 
8 love free full edition (extended)
8 love free full edition (extended)8 love free full edition (extended)
8 love free full edition (extended)electhoeng
 
Chat วิทย์ชิดเยาวชน vol.8
Chat วิทย์ชิดเยาวชน vol.8Chat วิทย์ชิดเยาวชน vol.8
Chat วิทย์ชิดเยาวชน vol.8electhoeng
 
มารู้จักซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์กันเถอะ
มารู้จักซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์กันเถอะมารู้จักซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์กันเถอะ
มารู้จักซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์กันเถอะelecthoeng
 
Windows 8 guide
Windows 8 guideWindows 8 guide
Windows 8 guideelecthoeng
 
คู่มือเขียน Windows 8 apps ด้วย vb 2012 & vc# 2012 สำหรับผู้เริ่มต้น
คู่มือเขียน Windows 8 apps ด้วย vb 2012 & vc# 2012 สำหรับผู้เริ่มต้นคู่มือเขียน Windows 8 apps ด้วย vb 2012 & vc# 2012 สำหรับผู้เริ่มต้น
คู่มือเขียน Windows 8 apps ด้วย vb 2012 & vc# 2012 สำหรับผู้เริ่มต้นelecthoeng
 
เปิดร้านค้าบน Facebook ด้วย buddy buy
เปิดร้านค้าบน Facebook ด้วย buddy buyเปิดร้านค้าบน Facebook ด้วย buddy buy
เปิดร้านค้าบน Facebook ด้วย buddy buyelecthoeng
 
คู่มืออบรมการพัฒนาโปรแกรมแอนดรอยด์ขั้นพื้นฐาน
คู่มืออบรมการพัฒนาโปรแกรมแอนดรอยด์ขั้นพื้นฐานคู่มืออบรมการพัฒนาโปรแกรมแอนดรอยด์ขั้นพื้นฐาน
คู่มืออบรมการพัฒนาโปรแกรมแอนดรอยด์ขั้นพื้นฐานelecthoeng
 

Mais de electhoeng (12)

Bas
BasBas
Bas
 
การสือสารข้อมูล
การสือสารข้อมูลการสือสารข้อมูล
การสือสารข้อมูล
 
Ecstazy05
Ecstazy05Ecstazy05
Ecstazy05
 
น้ำมาให้รีบอ่าน
น้ำมาให้รีบอ่านน้ำมาให้รีบอ่าน
น้ำมาให้รีบอ่าน
 
มังกรสอนใจ
มังกรสอนใจมังกรสอนใจ
มังกรสอนใจ
 
8 love free full edition (extended)
8 love free full edition (extended)8 love free full edition (extended)
8 love free full edition (extended)
 
Chat วิทย์ชิดเยาวชน vol.8
Chat วิทย์ชิดเยาวชน vol.8Chat วิทย์ชิดเยาวชน vol.8
Chat วิทย์ชิดเยาวชน vol.8
 
มารู้จักซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์กันเถอะ
มารู้จักซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์กันเถอะมารู้จักซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์กันเถอะ
มารู้จักซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์กันเถอะ
 
Windows 8 guide
Windows 8 guideWindows 8 guide
Windows 8 guide
 
คู่มือเขียน Windows 8 apps ด้วย vb 2012 & vc# 2012 สำหรับผู้เริ่มต้น
คู่มือเขียน Windows 8 apps ด้วย vb 2012 & vc# 2012 สำหรับผู้เริ่มต้นคู่มือเขียน Windows 8 apps ด้วย vb 2012 & vc# 2012 สำหรับผู้เริ่มต้น
คู่มือเขียน Windows 8 apps ด้วย vb 2012 & vc# 2012 สำหรับผู้เริ่มต้น
 
เปิดร้านค้าบน Facebook ด้วย buddy buy
เปิดร้านค้าบน Facebook ด้วย buddy buyเปิดร้านค้าบน Facebook ด้วย buddy buy
เปิดร้านค้าบน Facebook ด้วย buddy buy
 
คู่มืออบรมการพัฒนาโปรแกรมแอนดรอยด์ขั้นพื้นฐาน
คู่มืออบรมการพัฒนาโปรแกรมแอนดรอยด์ขั้นพื้นฐานคู่มืออบรมการพัฒนาโปรแกรมแอนดรอยด์ขั้นพื้นฐาน
คู่มืออบรมการพัฒนาโปรแกรมแอนดรอยด์ขั้นพื้นฐาน
 

Protocol

  • 2. TCP/IP (Transmitsion Control Protocol/Internet Protocol) เป็นชุดของโปรโตคอลที่ถูกใช้ในการสื่อสารผ่านเครือข่าย อินเทอร์เน็ต โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้สามารถใช้สื่อสารจากต้น ทางข้ามเครือข่ายไปยังปลายทางได้ และสามารถหาเส้นทางที่จะ ส่งข้อมูลไปได้เองโดยอัตโนมัติ
  • 4. จากรูปโปรโตคอล TCP/IP ประกอบด้วยโปรโตคอลย่อยหลายโปรโตคอลซึ่งทางาน ในระดับต่างๆกัน โดยที่โปรโตคอลย่อยที่ทางานในระดับ Application Layer ได้แก่ FTP(File Transfer Protocol), TELNET(Terminal Emulator), SNMP(Simple Network Management Protocol) โปรโตคอลเหล่านี้จะ เรียกใช้โปรโตคอลย่อยในระดับ Transport ด้านล่างแบบใดแบบหนึ่ง ระหว่าง TCP(Transmission Control Protocol) หรือ UDP(User Datagram Protocol) และโปรโตคอลย่อยทั้งสองจะเรียกใช้โปรโตคอลระดับ Network ต่อซึ่งได้แก่ IP หรือ ICMP(Internet Communication Message Protocol) การทางานในระดับ Transport ที่มีโปรโตคอลย่อย TCP หรือ UDP นั้น โปรแกรมที่อยู่ด้านบนจะเรียกใช้ผ่านช่องทางที่เป็นตัวเลขที่เรียกว่า Port Number โดย หมายเลขนี้เป็นเลขที่มาตรฐานในโปรโตคอลแบบ TCP/IP
  • 5. 1. เพื่อใช้ติดต่อสื่อสารระหว่างระบบที่มีความแตกต่างกัน 2. ความสามารถในการแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นในระบบเครือข่าย เช่นในกรณีที่ผู้ส่ง และผู้รับยังคงมีการติดต่อกันอยู่ แต่โหนดกลางทีใช้เป็นผู้ช่วยรับ-ส่งเกิด เสียหายใช้การไม่ได้ หรือสายสื่อสารบางช่วงถูกตัดขาด กฎการสื่อสารนี้จะต้อง สามารถจัดหาทางเลือกอื่นเพื่อทาให้การสื่อสารดาเนินต่อไปได้โดยอัตโนมัติ 3. มีความคล่องตัวต่อการสื่อสารข้อมูลได้หลายชนิดทั้งแบบที่ไม่มีความเร่งด่วน เช่น การจัดส่งแฟ้ มข้อมูล และแบบที่ต้องการรับประกันความเร่งด่วนของ ข้อมูล เช่น การสื่อสารแบบ real-time และทั้งการสื่อสารแบบเสียง (Voice) และข้อมูล (data) TCP/IP มีจุดประสงค์ของการสื่อสารตามมาตรฐาน 3 ประการ ดังนี้
  • 6. TCP และ IP มีหน้าที่ต่างกัน คือ 1. TCP จะทาหน้าที่ในการแยกข้อมูลเป็นส่วน ๆ หรือที่ เรียกว่า Package ส่งออกไป ส่วน TCP ปลายทาง ก็ จะทาการรวบรวมข้อมูลแต่ละส่วนเข้าด้วยกัน เพื่อนาไป ประมวลผลต่อไป โดยระหว่างการรับส่งข้อมูลนั้นก็จะมีการ ตรวจสอบความถูกต้องของ ข้อมูลด้วย ถ้าเกิดผิดพลาด TCP ปลายทางก็จะขอไปยัง TCP ต้นทางให้ส่งข้อมูลมา ใหม่ 2. IP จะทาหน้าที่ในการจัดส่งข้อมูลจากเครื่องต้นทางไปยัง เครื่องปลายทางโดยอาศัย IP Address
  • 7. โดยปกติเราแบ่ง IP address เป็น 2 แบบ 1. Public IP address (อาจเรียกอย่างไม่เป็นทางการว่า WAN IP address) คือ IP address ที่ใช้งานจริงมีการจดทะเบียนและเสียเงิน เพื่อใช้งานจริงๆ มีการจดบันทึกในระบบว่า ใครใช้งาน IP อะไรในวง กว้าง 2. Private IP address (อาจเรียกว่า LAN IP address) คือ IP address ที่ใช้กันในเฉพาะระบบวงปิด เช่นใน Office หรือในบ้านที่มี คอมพิวเตอร์มากกว่า 1 เครื่อง IP ระบบนี้หากต้องการใช้กับ เครื่องนอกวง ต้องใช้ อุปกรณ์ที่เรียกว่า NAT (Network Address Translator) จะทาการแปลข้อมูลจากวง LAN ไปออกภายนอก IP Address จะประกอบด้วยตัวเลข 2 ส่วน คือ 1. Network Address 2. Computer Address
  • 8. วิธีการติดตั้งโปรโตคอลTCP/IP ในขณะที่ติดตั้งวินโดวส์เอ็นที ถ้าได้เลือกว่าต้องการติดตั้ง Internet Information Server ด้วย โปรแกรมติดตั้งจะทาการเพิ่มโปรโตคอล TCP/IP เข้าไป ด้วย หากไม่ได้ติดตั้งไว้ก่อนหรือ โปรคอล TCP/IP หายไป เราสามารถติดตั้งเพิ่มเติมได้โดย วิธีการต่อไปนี้ 1.Logon เป็น Administrator 2.ดับเบิ้ลคลิกไอคอน Network ที่คอนโทรลพาเนล จะปรากฏจอภาพดังรูป
  • 9. 3. คลิกเลือก Protocol Tab แล้วกดปุ่ม Add... จะปรากฏรายชื่อของโปรโตคอลขึ้นมาให้ เลือกดังรูป 4. คลิกที่ TCP/IP Protocol แล้วกดปุ่ม OK จะปรากฏจอภาพขึ้นมาถามว่านต้องการใช้โปรแกรม DHCP(Dynamic Host Configuration Protocol) Server เป็นผู้กาหนด IP Address แทนการกาหนดด้วย manual หรือไม่ ( DHCP Server เป็นโปรแกรมที่ทาหน้าที่แจก IP Address ให้กับเครื่องลูกข่ายโดยอัตโนมัติ) ถ้าต้องการใช้ความสามารถนี้จะต้องระบุเครื่องที่ทาหน้าที่เป็น DHCP Server ให้กับเครื่องลูกข่ายไว้ 5.ให้ตอบ Yes ในกรณีที่มี DHCP Server หรือตอบ No ถ้าต้องการกาหนด IP Address ด้วย manual วินโดวส์เอ็นทีจะถามตาแหน่งของ CD-ROM ของวินโดวส์เอ็นที ให้ระบุตาแหน่งของ CD-ROM แล้วกดปุ่ม Continue โปรแกรมจะอ่าน CD-ROM เพื่อนาข้อมูลที่ต้องการเข้ามาใช้
  • 10. การแบ่งขนาดของเครือข่าย เราสามารถแบ่งขนาดของการแจกจ่าย Network Address ได้ 3 ขนาดคือ 1. Class A nnn.ccc.ccc.ccc (nnn ชุดแรก ตัวเลขอยู่ระหว่าง 1-126) เครือข่าย Class A สามารถแจกจ่าย IP Address ได้มากที่สุดถึง 16 ล้านหมายเลข 2. Class B nnn.nnn.ccc.ccc (nnn ชุดแรก ตัวเลขอยู่ระหว่าง 128-191) เครือข่าย Class A สามารถแจกจ่าย IP Address ได้มากเป็นอันดับสอง คือ 65,000 หมายเลข 3. Class C nnn.nnn.nnn.ccc (nnn ชุดแรก ตัวเลขอยู่ระหว่าง 192-233) เครือข่าย Class A สามารถแจกจ่าย IP Address ได้น้อยที่สุด คือ 256 หมายเลข nnn หมายถึง Network Address ccc หมายถึง Computer Address เนื่องจากเครือข่ายก็อาจจาเป็นต้องใช้ IP Address ดังนั้น จึงจาเป็นต้องมีการจากัดบาง หมายเลขเพื่อใช้เป็นการภายใน ได้แก่ Class A ตั้งแต่ 10.xxx.xxx.xxx Class B ตั้งแต่ 172.16.xxx.xxx ถึง 172.31.xxx.xxx Class C ตั้งแต่ 192.168.0.xxx ถึง 192.168.255.xxx สาหรับภายในองค์กร ก็มีหมายเลขต้องห้ามเช่นกัน ได้แก่ 127.xxx.xxx.xxx หมายเลขนี้ใช้สื่อสารกับตัวเอง
  • 11. การกาหนด IP address มี 2 วิธีหลักๆ 1. Static IP address คือการกาหนด เลข IP address เอาดื้อๆ เครื่องอื่นๆ ในวงต้องมี Network Address อยู่ในกลุ่มเดียวกัน จึงจะมองเห็นกันได้ 2. Dynamic IP address คือการกาหนด เลข IP address โดยอุปกรณ์ หรือ Server ที่เรียกว่า DHCP server (Dynamic Host Configuration Protocol Server) ซึ่งจะง่ายกว่า แบบแรกเนื่องจากไม่ต้องทราบอะไรเลยเสียบปุ๊ บ ตั้ง Auto ใช้งานได้เลยการตั้งค่า Static IP address เพื่อให้วง เป็นวงเดียวกัน จะต้อง 1.) มี Subnet mask เดียวกัน 2.) หากต้องการวิ่งไปยังช่องทางออกผ่านการแชร์ของเครื่องใดเครื่องหนึ่ง ให้เช็ค IP address ของ ทางออก แล้ว Set ค่าที่ Gateway ให้ตรงกับ เครื่องที่ใช้เป็นทางออก 3.) มี Network Address เดียวกัน 4.) มี Host Address ไม่ตรงกัน
  • 12. การหาค่า Host และ Network Address เนื่องจากระบบ IP address ทางานอยู่บน ระบบ เลขฐาน 2 เป็นจานวน 32 ตัว เพื่อความง่ายต่อการเรียก จึงแบ่งออกเป็น 4 ชุด ชุดละแปดตัว (2 ยกกาลังแปด = 256 เลขที่ เป็นไปได้คือ 0-255) การหาค่า Host และ Network Address ทาได้ดังนี้ ตั้งค่าเครื่องคิดเลขของท่านไปเป็นแบบ Logical Calculator เอาเลข Subnet mask มา and กับ IP Address ค่าที่ได้เป็น Network Address invert Subnet mask มา and กับ IP Address ค่าที่ได้เป็น Host Address
  • 13. บทสรุป TCP/IP นี้มีการออกแบบเป็นเวลานาน และได้ปรับปรุงไปเรื่อยๆ เพื่อให้สามารถใช้ งานได้หลากหลาย และมีประสิทธิภาพมากขึ้น แต่อย่างไรก้อตามโปรโตคอลชุดนี้ก้อยังมี จุดบกพร่องอีกมาก http://www.us- cert.gov/cas/techalerts/index.html และจุดบกพร่องเหล่านี้อาจเป็นนามา เป็นเครื่องมือใช้ในการโจมตีของเหล่าแฮกเกอร์ได้ การเรียนรู้พื้นฐานด้าน TCP/IP นี้เป็น พื้นฐานเพื่อที่จะศึกษาเรื่องข้อบกพร่องของโปรโตคอล ผลกระทบ และวิธีการป้ องกันตัวเอง จากการโจมตีของแฮกเกอร์ต่อไป
  • 14. By Phatcha Prithong no.19 Monsawan Pankawanich no.22 Pitchanan Niyomkit no.24 M.5/3