SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 24
Baixar para ler offline
MBA Entrepreneurship Program
Strategic SMEs Management
BSC, KPI ของธุรกิจ “บานใรกาแฟ”
Present to: ดร.พงษสรรค ลีลาหงสจุฑา
โดย นาย ภวินท พรหมวิริยโกศล
รหัส : 5090031001
สารบัญ

ขอมูลสรุป

1

Organization Chart

2

Vision

3

Mission

3

Objective

3

7s Model

4

Pest Model

5

5 Forces Model

6

SWOT Analysis

8

Construct an Internal Factor Evaluation (IFE) Matrix

10

External Factor Evaluation Matrix For Best Buy (EFE)

11

Strengths-Weaknesses-Opportunities-Threats (SWOT) Matrix

12

The Internal-External (IE) Matrix

13

กลยุทธ (Strategies)

14

กลยุทธระดับบริษัท (Corporate Strategies)
กลยุทธระดับธุรกิจ (Business Strategies)
กลยุทธระดับหนาที่ (Functional Strategies)

Strategic Objective KPI

16

Strategic Map

17

แผนปฏิบัตการ
ิ

18

Blue Ocean Strategy

21
คํานํา

รายงานนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษา คนควา วิชาการจัดการวิสาหกิจขนาดยอม ของนักศึกษาปริญญาโท สาขาการ
เปนผูประกอบการ มหาวิทาลัยฟารอีสเทอรน จังหวัดเชียงใหม เกี่ยวกับ ธุรกิจ SMEs

โดยทางผูจัดทํามุงจะนําเสนอในรูปกรณีศึกษา (Case Study ) โดยการศึกษา จากธุรกิจจริง จํานวน 1 ราย และสรุป
ใหเห็นถึงลักษณะการจัดทํากลยุทธในรูปแบบตาง ๆพรอมทั้งการวิเคราะหโดยใช BSC & KPI และ BLUE OCEAN ซึ่งเปน
ปจจัยที่สําคัญในเชิงกลยุทธ ที่มีผลตอความสําเร็จในการทําธุรกิจไมแกะสลัก
ทางผูจัดหวังเปนอยางยิ่งวารายงานฉบับนี้จะมีประโยชนตอผูที่ไดศึกษากระบวนการในรายงานเลมนี้ ไมมากก็นอย

ผูจัดทํา
นาย ภวินท พรหมวิริยโกศล
บริษัท ออกแบบไรนา (ประเทศไทย) จํากัด
บทสรุปสําหรับผูบริหาร
แนวคิดธุรกิจที่ดําเนินการ
ในปจจุบน ตลาดของคนดื่มกาแฟมีการขยายตัวมากขึ้น ซึ่งสามารถสังเกตไดจาก ผลิตภัณฑ
ั
กาแฟในทองตลาดไมวาจะกาแฟซอง กาแฟกระปอง กาแฟสดคั่ว หลายยี่หอ ตั้งแตราคาแกวละ 10 บาท
จนถึงแกว 100 บาท ธุรกิจรานกาแฟเกิดขึนมากมายในทุกแหง และแนวโนมของคนดืมกาแฟ จะหันมา
้
่
นิยมรสชาติของกาแฟคัวบด ที่มีรสชาติเขมขนหอมมันมากขึ้น ไดมีการขยายตัวจากตางประเทศเขามา
่
เปดสาขาทําธุรกิจประเภทนีในไทยมากขึนดวยการเปลียนแปลง และรสนิยมของผูบริโภคดังกลาว
้
้
่

บริษัทฯ จึงเห็นชองทางที่จะสามารถทําธุรกิจกาแฟไดจากวิถีชีวิตของคนไทยในปจจุบันที่นิยมการเดิน
ทางทองเที่ยวดวยการขับรถยนตไปเองเปนหมูคณะ หรือครอบครัว ในวันสุดสัปดาห หรือเทศกาลวัน
หยุดตางๆ โดยนําเสนอแนวคิดวา ”กาแฟคัวบด สดเสมอสําหรับผูเดินทาง” ซึ่งมีลักษณะหาซื้อไดสะดวก
่
เหมือนเปนเพือนเดินทาง ดวยการเปดเปนรานกาแฟลักษณะ to go ในปมน้ํามันตามเสนทางตางๆ เพื่อ
่
ใหกลุมลูกคาที่ชอบดื่มกาแฟสด ไดมโอกาสดื่มไดแม ขณะเดินทางไปทําธุรกิจหรือทองเที่ยว แทนการ
ี
ดื่มกาแฟชงสําเร็จ หรือกระปอง ตามรานมินิมารทตางๆ ในปมโดยใชตวอาคารเล็กกระทัดรัด เนนรูป
ั
ลักษณของความเปนกาแฟไทยคุณภาพสดจากไร ใชแนวความคิดดานสถาปตยกรรมไทยมาพัฒนาออก
แบบใหกลมกลืนกับตัวสินคาของบริษัทคือ กาแฟไทยสดจากไร
บริษัทฯ ไดเริมดําเนินธุรกิจกาแฟภายใตชอ “บานใรกาแฟ” ตั้งแตป 2541 โดยทดลองดําเนิน
่
ื่
การ 3 สาขาใน 10 เดือน (ในป 2541) และขยายเปน 25 สาขา ในป 2542 จนปจจุบนในป 2550 มีสาขา
ั
รวม 109 สาขา โดยกระจายอยูในสถานีบริการน้ํามัน JET หรือ ปตท ตามเสนทางจากกรุงเทพฯ ไปสู
จังหวัดภาคเหนือ และภาคตะวันออก
ในป 2551 บริษัทตั้งเปาหมายจะขยายสาขาแฟรนไชสไปยังตางประเทศ ซึ่งขณะนี้มีความคืบหนาไป
มาก และที่เห็นชัดเจนคาดวาจะสามารถสรุปไดภายในสินป 2550 ใน 6 ประเทศ ไดแก ซาอุดิอาระเบีย โอมาน
้
่
คูเวต บาเรนห การตา ยูเออี ซึงเปนนักธุรกิจจากซาอุดิอาระเบียสนใจโมเดลธุรกิจบานไรทั้งในสวนของแฟรน
ไชสและสินคาเพื่อนําไปจําหนาย
Organization Chart

บริษัท ออกแบบไรนา (ประเทศไทย) จํากัด

บานใรกาแฟ

คอฟฟ เอฟ บอรก

กาแฟหนองควายโซ บอรก เบลนด

ไทยชง บอรก
วิสัยทัศน (Vision)
เปนกาแฟไทยที่ไดรับการยอมรับ และเปนที่รูจกไปทั่วโลก เทียบเทามาตรฐานสากล
ั
" สรางธุรกิจไทยใหกองโลก "

พันธกิจ (Mission Statement)
ขยายสาขาสูภมิภาคของโลกและสรางมาตรฐานใหเปนทียอมรับ
ู
่
วัตถุประสงค (Objective)
๑.

ขยายสาขาของบานใรกาแฟ ไปในหลายภูมิภาคทั่วโลก

๒.

สรางมาตรฐานดานกาแฟ ทีมีความแตกตางในหลายๆดาน จนเปนที่ประจักษและยอมรับ ตอสากล
่

๓.

สรางผลิตภัณฑ และสินคา ใหเปนที่ยอมรับกันโดยทัวไป
่

๔.

มุงพัฒนาและรักษาคุณภาพของผลิตภัณฑและการบริการ เพื่อดํารงไวซึ่งสวนแบงการตลาดในประเทศ
7s Model
1. กลยุทธขององคกร (Strategy)
มีการกําหนดกลยุทธขององคกรไวเปนลายลักษณที่แนชัด จึงอาจทําใหบุคลากรภายในองคกรเขาใจ
จุดมุงหมายขององคกรไดอยางชัดเจน ถือเปน จุดแข็ง

2. โครงสรางองคกร (Structure)
มีการจัดระเบียบงาน และกิจกรรม โดยการมอบหมายหนาที่และความรับผิดชอบอยางชัดเจน ซึ่งถือวา
เปน จุดแข็ง ของทางบริษัท

3. ระบบการปฏิบัติงาน (System)
การปฏิบัติงานมีความเปนระบบ ทั้งทางดานการจัดทําบัญชี จัดซื้อวัตถุดิบ การโฆษณาประชาสัมพันธ
ซึ่งงายตอการตรวจสอบถือเปน จุดแข็ง ของทางราน
4. รูปแบบการบริหารจัดการ
รูปแบบของการบริหารของผูบริหารเปนแบบมีสวนรวม (Participative Leader) คือ ยอมใหผูอยูใต
บังคับบัญชามีสวนรวมในการตัดสินใจ แตอยางไรก็ตามอาจจะรักษาอํานาจหนาที่ของการตัดสินใจที่สําคัญ
เอาไว เปนการระดมความคิดจากบุคลากรภายในองคกร เพื่อวิสัยทัศนที่กวางขึ้นในมุมมองที่ตางกัน เปน จุดแข็ง

5. บุคลากร (Staff)
การจัดหาบุคลากรเปนไปอยางมีระบบ มีการฝกอบรมใหกับพนักงาน อีกทั้งยังมีเสนอคาตอบแทนที่
เปนที่นาพอใจกับพนักงาน โดยรวมบุคลากรมีประสิทธิภาพและเพียงพอตอความตองการของธุรกิจ ถือเปน จุด
แข็ง

6. ทักษะ ความรู ความสามารถ (Skill)
บุคลากรมีความรูและทักษะ อีกทั้งยังไดรับการอบรมฝกฝนเพื่อเพิ่มทักษะและความชํานาญกอนการเริ่ม
ปฏิบัติงานจริง ถือเปน จุดแข็ง

7. คานิยมรวม (Shared values)
มีการสรางคานิยมรวมภายในองคกรทําใหบุคลกรรูสึกวาทุกคน เปนสวนหนึ่งของกิจการ จึงทําให
บุคลากรมีความตั้งใจมากขึน รวมถึงความภาคภูมใจที่เปนสวนหนึ่งขององคกรอีกดวย ซึ่งถือเปน จุดแข็ง อีกขอ
้
ิ
ของทางบริษทฯ
ั
การวิเคราะหปจจัยภายนอก PEST Model
โอกาส Opportunities
การเมือง (Political Component = P)
- นโยบายของรัฐบาลที่สนับสนุนใหใชอุดหนุนสินคาไทย
เศรษฐกิจ (Economic Component = E)
สังคมและวัฒนธรรม (Sociocultural Component = S)
แนวโนมการบริโภคกาแฟที่เพิ่มขึ้น
การดําเนินชีวิตและพฤติกรรมที่นิยมการดื่มกาแฟสดที่เพิ่มมากขึ้น
เทคโนโลยี (Technological Component = T)
อุปสรรด Threats
การเมือง (Political Component = P)
- ความคุมเครือของรัฐบาล สงผลใหเกิดความไมมั่นใจในการจับจายใชสอย
เศรษฐกิจ (Economic Component = E)
- เศรษฐกิจของประเทศโดยรวมเกิดการชะลอตัว
อัตราการวางงานที่เพิ่มสูงขึ้นทําใหประชากรขาดรายได
สังคมและวัฒนธรรม (Sociocultural Component = S)
ระดับการศึกษาที่สูงขึ้นของประชากรสงผลใหคานิยมในการบริโภคเปลี่ยนไป หันไปบริโภคกาแฟ
จากตางประเทศมากขึ้น
เทคโนโลยี (Technological Component = T)
เทคโนโลยีไมสงผลกระทบอยางชัดเจน ตอธุรกิจรานกาแฟเทาใด
Industry and Competitive Analysis
5 Forces Model
1. การแขงขันในอุตสาหกรรม
การแขงขันในธุรกิจรานกาแฟ ถือไดวามีการแขงขันที่คอนขางสูง ไมวาจะเปนในกลุมเปาหมาย
การตลาดทีวางไวหรือกลุมใกลเคียง
่
2. ขอจํากัดในการเขาสูอุตสาหกรรมของคูแขงขันใหม

การเขารวมแขงขันในธุรกิจรานกาแฟ สําหรับคูแขงรายใหมๆ ถือไดวาอยูในระดับต่ําถึงปานกลาง
เนื่องจากธุรกิจรานกาแฟ ใชเงินลงทุนในการเริ่มกิจการไมมากนัก อยางไรก็ตามผูประกอบการจําเปนตองมี
ความรูในเรื่องการทํากาแฟ รวมถึงการมีประสบการณและชื่อเสียงถือไดวาสําคัญอยางยิ่งตอความเชือมั่นของ

่
ลูกคา ดังนั้นตามที่ไดกลาวไวขางตนจะเห็นไดวาการเขารวมแขงขันในธุรกิจนี้ไมยากนัก สําหรับคูแขงราย
ใหมๆ
3. อํานาจตอรองของผูขายวัตถุดิบ
อํานาจการตอรองของผูขายวัตถุดิบตางๆ ถือวาอยูในระดับต่ํา เนื่องจากวัตถุดิบตางๆ สามารถหาได
ทั่วไป และมีจานวนผูขายวัตถุดิบอยูเปนจํานวนมาก จึงถือไดวาทางรานมีอํานาจการตอรองสูงกวาผูขายวัตถุดิบ
ํ
4. อํานาจตอรองของผูซื้อ/ผูบริโภค

อํานาจการตอรองของผูบริโภคมีคอนขางสูง เนื่องจากจํานวนรานกาแฟมีคอนขางมาก ทําใหผูบริโภคมี
ทางเลือกมาก
5. สินคา/บริการทดแทน
เนื่องจากจํานวนรานกาแฟมีมากมายหลากหลายชนิด จํานวนของสินคาทดแทนจึงมีมาก
เครื่องดื่มที่มีคณสมบัติใกลเคียงกับกาแฟมีเปนจํานวนมากอีกดวย
ุ

อีกทั้ง
จุดแข็ง จุดออน โอกาสและอุปสรรค (SWOT)
จุดแข็ง (Strength)
บริษัทฯ มีความชํานาญดานการคัวกาแฟ และมีสูตรกาแฟเฉพาะไดเปนเอกลักษณประจําราน
่
บริษัทฯ ไดสทธิบัตรการปรุงกาแฟและลิขสิทธิ์ รูปแบบอาคารและสวนกาแฟไวแลว
ิ
ไดเปนรายเดียวในการดําเนินธุรกิจกาแฟสดในสถานีบริการน้ํามัน JET
ตราสินคาเปนที่รูจกอยางแพรหลาย
ั
ทําเลที่ตั้งและจุดกระจายสินคา ตั้งอยูในทําเลที่ดี ปมน้ํามัน JET และบนสถานีรถไฟฟา BTS เปนตน
มีประสบการณในธุรกิจกาแฟกวา 10 ป
มีลีลาขันตอนการชงและเตรียมกาแฟที่มีเอกลักษณเฉพาะตัว
้

จุดออน (Weakness)
ไมไดผลิตวัตถุดิบเอง ตองพึ่งพาจากภายนอก ยากตอการควบคุมคุณภาพ
ธุรกิจกาแฟเปนธุรกิจที่สามารถลอกเลียนแบบไดงาย
ี
ภาพลักษณในดานลบของบริษัทฯ เชน วิธการบริหารของผูบริหารคนเกา และราคาตอคุณภาพ
ขาดการโฆษณาประชาสัมพันธถึงคุณสมบัติของผลิตภัณฑ

โอกาส (Opportunity)
แนวโนมการรณรงคใหประชาชนหันมาสนับสนุนผูประกอบการไทย ซื้อของไทย ใชของไทย
กาแฟไทยเริ่มเปนที่รูจักและตองการในตลาดตางประเทศ และตลาดประเทศเพื่อนบาน
แนวโนมการบริโภคกาแฟในประเทศเพิ่มขึ้น
ผูคนจํานวนมากอยากมีธรกิจเปนของตัวเอง
ุ
พฤติกรรมผูบริโภคเปลี่ยนไปมีการเดินทางทองเที่ยวตางจังหวัดมากขึน
้

อุปสรรค (Threat)
ผูบริโภคสวนใหญนยมบริโภคกาแฟนําเขาจากตางประเทศ
ิ
ภาวะเศรษฐกิจที่ผันผวนสงผลใหเกิดการชะลอการจับจายใชสอย
ความไมแนนอนทางการเมืองสงผลตอกําลังซื้อของผูบริโภค
มีสินคาทดแทนเปนจํานวนมาก
มีจํานวนคูแขงในตลาดคอยขางมาก
Construct an Internal Factor Evaluation (IFE) Matrix
ปจจัยภายในทีสําคัญ
่
น้ําหนัก การประเมิน คะแนนถวงน้าหนัก
ํ
Critical External Factor
(weight) (Rating)
(Weighted Score)
จุดแข็ง (Strength)
มีความชํานาญดานการคั่วกาแฟ มีสูตรกาแฟเฉพาะที่เปน
0.08
4
0.32
เอกลักษณ
ไดสิทธิบัตรการปรุงกาแฟและลิขสิทธิ์ รูปแบบอาคาร
0.08
3
0.24
ไดเปนรายเดียวในการดําเนินธุรกิจกาแฟสดในสถานีบริการ
0.10
4
0.4
น้ํามัน JET
ตราสินคาเปนที่รูจกอยางแพรหลาย
ั
0.10
4
0.4
ทําเลที่ตั้งและจุดกระจายสินคา ตั้งอยูในทําเลที่ดี
0.12
4
0.48
มีประสบการณในธุรกิจกาแฟกวา 10 ป
0.05
3
0.15
มีลีลาขันตอนการชงและเตรียมกาแฟที่มีเอกลักษณเฉพาะตัว
้
0.20
4
0.8
จุดออน (Weaknesses)
ไมไดผลิตวัตถุดิบเอง
0.05
1
0.5
ธุรกิจกาแฟเปนธุรกิจที่สามารถลอกเลียนแบบไดงาย
0.05
1
0.5
ภาพลักษณในดานลบของบริษัทฯ เชน วิธการบริหารของ
ี
0.10
1
0.1
ผูบริหารคนเกา และราคาตอคุณภาพ
ขาดการโฆษณาประชาสัมพันธถึงคุณสมบัติของผลิตภัณฑ
0.07
1
0.7
รวม
1.00
3.06
หมายเหตุ: 1 = จุดออนหลัก, 2 = จุดออนรอง, 3 = จุดแข็งรอง, 4 = จุด แข็งหลัก
External Factor Evaluation Matrix For Best Buy (EFE)
ปจจัยภายในทีสําคัญ
่

น้ําหนัก

การประเมิน คะแนนถวง
น้ําหนัก
(weight) (Rating)
(Weighted Score)

Key External Factor
โอกาส (Opportunities)
แนวโนมการรณรงคใหประชาชนหันมาสนับสนุน
0.05
3
0.15
ผูประกอบการไทย
กาแฟไทยเริ่มเปนที่รจักและตองการในตลาดตางประเทศ
ู
0.20
4
0.8
แนวโนมการบริโภคกาแฟในประเทศเพิ่มขึ้น
0.15
3
0.45
ผูคนจํานวนมากอยากมีธุรกิจเปนของตัวเอง
0.07
3
0.21
พฤติกรรมผูบริโภคเปลี่ยนไปมีการเดินทางทองเที่ยว
0.05
3
0.15
ตางจังหวัดมากขึ้น
อุปสรรค (Threats)
ผูบริโภคสวนใหญนยมบริโภคกาแฟนําเขาจากตางประเทศ
ิ
0.20
1
0.20
ภาวะเศรษฐกิจที่ผันผวนสงผลใหเกิดการชะลอการจับจายใช
0.10
2
0.20
สอย
ความไมแนนอนทางการเมืองสงผลตอกําลังซื้อของผูบริโภค
0.07
2
0.14
มีสินคาทดแทนเปนจํานวนมาก
0.05
2
0.10
มีจํานวนคูแขงในตลาดที่เพิ่มขึ้น
0.06
2
0.12
รวม
1.00
2.52
หมายเหตุ: 1 = โอกาสนอยหรืออุปสรรคมาก, 2 = โอกาสเทากับคาเฉลีย, 3 = โอกาสดีกวาคาเฉลี่ย, 4 = โอกาสดี
่
Strengths-Weaknesses-Opportunities-Threats (SWOT) Matrix
1. กลยุทธ SO (SO Strategy) จากการที่บริษัทฯ มีจดแข็งคือเปนกาแฟไทยที่ใชเมล็ดกาแฟที่มีอยูใน
ุ

ประเทศ มีเอกลักษณเปนของตนเองไมซ้ําใคร อีกทั้งยังมีประสบการณในการดําเนินงานมานานกวา 10 ป มี
ภาพพจนและชื่อเสียงที่ดี และมีจํานวนสาขากวารอยสาขา จึงมีโอกาสที่จะขยายไปสูตลาดตางประเทศ

2. กลยุทธ WO (WO Strategy) จากจุดออนในดานการขาดการประชาสัมพันธในผลิตภัณฑ และ
ภาพลักษณในดานลบของบริษัทฯ สามารถแกไขไดโดยการใชโอกาสที่กาแฟไทยเริมเปนที่รจักและตองการใน
่
ู
ตลาดตางประเทศ และตลาดประเทศเพื่อนบาน เพื่อพัฒนาภาพลักษณของบริษัทฯและผลิตภัณฑวาได
มาตรฐานสากล และยังเปนการประชาสัมพันธไปในตัวอีกดวย
3. กลยุทธ ST (ST Strategy) จากจุดแข็งตามขอ 1 แมจะสรางโอกาส แตก็มีอุปสรรค จากสภาวะ
เศรษฐกิจทําใหการจับจายใชสอยของผูบริโภคลดนอยลง อีกทั้งยังทําใหผูบริโภคหันมาบริโภคหันมาบริโภค
่
่
ของที่มีราคาต่า ดังนั้นการเพิมจํานวนสาขาของ Sub-brand อยาเชน ไทยชง บอรก ทีมีราคาต่ําเนนกลุมลูกคา
ํ
ระดับกลาง-ลาง จึงอาจรองรับความตองการของผูบริโภค ในชวงภาวะเศรษฐกิจตกต่าได อีกทั้ง ยังสามารถทําให
ํ
ตราบานใรกาแฟ โดยรวมเปนที่รจักมากขึนดวย
ู
้
4. กลยุทธ WT (WT Strategy) จากการที่มจุดออนทางดานการขาดการประชาสัมพันธในผลิตภัณฑ
ี
และภาพลักษณในดานลบของบริษัทฯ รวมทั้งอุปสรรคจากสภาวะเศรษฐกิจทําใหการจับจายใชสอยของ
ผูบริโภคลดนอยลง ดังนั้นการประชาสัมพันธและขยายฐานลูกคาผาน แบรนด ไทยชง บอรก ที่เนนลูกคา
ระดับกลาง-ลาง อาจชวยเพิมสวนแบงการตลาดใหครอบคลุมมากขึ้น
่
The Internal-External (IE) Matrix
The IFE total weighted scores
Strong 3.0-4.0
High 3.0-4.0
Medium 2.0-2.99
Low 1.0-1.99

Average 2.0-2.99

Weak 1.0-1.99

X

ธุรกิจอยูในชวงที่จะใชกลยุทธ เจริญเติบโต โดยใชกลยุทธการขยายตัวใหมากขึ้น เนนการเขาถึงลูกคา
โดยการเพิ่มจํานวนแหลงกระจายสินคา โดยอาศัยการขาย Franchise นอกจากนี้ยังใชกลยุทธการประชาสัมพันธ
ใหทราบถึงความแตกตางของตัวผลิตภัณฑที่มีเอกลักษณเฉพาะตัวไมเหมือนใคร ทั้งในดานรสชาติและกรรมวิธี
การผลิต รวมถึงสถาปตยกรรมที่ทั้งหมดนีถือเปนจุดแข็งของบริษัทฯ เพื่อการบุกตลาดตางประเทศที่ถือเปน
้
ตลาดใหม
Strategies (กลยุทธ)
บริษัทฯ มีการวางกลยุทธในดานตางๆดังนี้
กลยุทธระดับบริษัท (Corporate Strategies)
บริษัทฯใชกลยุทธการขยายตัวแบบเขมขน (Intensive Growth Strategy) โดยมุงเนนการพัฒนาตลาด
โดยใชผลิตภัณฑเดิม ในตลาดใหม โดยบริษัทฯ มุงเนนการขยายสาขาแฟรนไชสไปยังจังหวัดใหมๆ รวมถึง
ตางประเทศ 6 ประเทศ ไดแก ซาอุดิอาระเบีย โอมาน คูเวต บาเรนห การตา ยูเออี
บริษัทฯ ทําการเพิ่มสวนแบงทางการตลาดโดยผานทาง Sub-brand ซึ่มมีกลุมลูกคาที่ตางจากแบรนด
หลัก โดยมีลายละเอียดดังนี้
คอฟฟเอฟ บอรก - เนนกลุมลูกคาระดับลาง เลือกทําเลตามหางสรรพสินคา เชน เทสโกโลตัส เปนตน
กาแฟไทยชง บอรก - เนนกลุมลูกคาระดับกลาง-ลาง เลือกทําเลตามสถานีรถไฟฟา หางสรรพสินคา
เปนตน
กาแฟหนองควายโซ – อยูในระหวางการศึกษาและพัฒนาสายพันธุเพื่อรองรับกลุมลูกคาระดับสูง
ปจจุบันมีสาขาเดียวซึ่งตั้งอยูหนาทางเขาโรงงานคั่วกาแฟที่จังหวัดสระบุรี


กลยุทธระดับธุรกิจ (Business Strategy)
เพื่อการบุกตลาดโลก บริษัทฯใชกลยุทธการสรางความแตกตาง (Differentiation Strategy) โดยใช
Concept ความเปนไทย โดยการสราง บุคลิกของสินคา (Brand Personality) ที่มีลักษณะเฉพาะตัว และไมเหมือน
ใครเชน รูปแบบ และ สถาปตยกรรม
กลยุทธระดับหนาที่ (Functional Strategy)
1. กลยุทธการตลาด (Marketing Strategy)
กลยุทธผลิตภัณฑ (Product)
มีผลิตภัณฑทหลากหลาย และมีคณภาพสูง โดยเนนวัตถุดิบภายในประเทศ
ี่
ุ
กลยุทธราคา (Price)
กําหนดราคาอยูในระดับปานกลาง-สูง ตามคุณภาพของผลิตภัณฑ อยางไรก็ตามบานใรกาแฟยังมี
ผลิตภัณฑสําหรับตลาดกลาง-ลาง โดยจัดจําหนายภายใต sub-brand ของกาแฟบานไร เพื่อใหคลอบคลุมตลาด
โดยรวม
กลยุทธชองทางการจัดจําหนาย


จําหนายในสถานีบริการน้ํามัน ปจจุบันเปนชองทางจัดจําหนายหลัก โดยตั้งอยูในสถานี
บริการน้ํามัน ปตท. และ JET และบนสถานีรถไฟฟา BTS
กลยุทธการประชาสัมพันธ
ผานสื่อ สิ่งพิมพ โทรทัศน และวิทยุ โดยผานทางสื่อในลักษณะขาวและขอมูล รวมถึงการเพิ่มจํานวนจุด
ขายสินคาในทําเลที่มผูคนผานไปมาสม่ําเสมอ เชน บนสถานีรถไฟฟา BTS เปนตน
ี
กลยุทธการโฆษณา
เปนการรวมมือกับปมน้ํามัน JET ในลักษณะการตั้งปายนีออนกลองไปหนาสถานีบริการน้ํามัน
รวมกับรานอาหารในราน Jiffy เพื่อใหผูขับขี่ยานพาหนะเห็นขัดเจน
กลยุทธสงเสริมการขาย
มีการจัดการสงเสริมการขายรวมกับสถานีบริการน้ํามัน (Joint Promotion) ไดแก
1. การแจกคูปองลดราคาเครืองดื่มทุกชนิด 20% เมื่อเติมน้ามันครบ 300 บาท
่
ํ
2. แจกคูปองแกลูกคาราน Jiffy เพื่อแลกซื้อแกวและสินคาที่ระลึกของรานในราคาพิเศษ
Strategic Objective KPIs
กลยุทธ

เพิ่มยอดขาย
เพิ่มความสามารถในการ
ทํากําไร

ลูกคา

เพิ่มความประทับใจ

การเขาถึง
ลูกคา
การจัดการ
ดานเวลา
ควบคุม
ตนทุน

อัตราการเติบโตของรายได

>10%

EBITDA

>10%
>10%

ROE
อัตราความพึงพอใจของลูกคาจาก
แบบสอบถาม

>10%
>10%
>10%

อัตราการใชบริหารซ้ํา

เพิ่มผลตอบแทนตอทุน

CRM

กระบวนการ

เปาหมาย

อัตราการเพิมขึ้นของจํานวนลูกคา
่

ใหประโยชน
ผูถือหุน

การเรียนรู

ตัวชี้วัด

สัดสวนกําไรตอยอดขาย

การเงิน

เติบโต

วัตถุประสงคเชิงกลยุทธ

>5%

เพิ่มความสัมพันธกับลูกคา อัตราการเพิมของ Franchisee
่

>20 สาขา

เพิ่มความตรงตรงตอเวลา
เพิ่มประสิทธิภาพดาน
บุคลากร

อัตราการเขางานสายของพนักงาน

<20%

ระยะเวลาในการผลิต

= 3นาที/แกว

ควบคุมดานตนทุนผันแปร

อัตราการเพิมขึ้น/ลดลงของคาใชจาย
่

<10%

สัดสวนมูลคาความเสียหายตอรายได

<10%

อัตราการเขาออกพนักงาน

<5%

จัดการความ เพิ่มประสิทธิภาพการ
เสี่ยง
จัดการ
พนักงานที่มี
คุณภาพ
Royaltyของพนักงาน
เพิ่มทักษะพนักงาน

อัตราการเพิมขึ้น/ลดลงของวัตถุดิบตอยอดขาย <10%
่
Strategic Map
กําไรสูงสุด
มิติดานการเงิน
การลดลง

(Financial Perspective)

รายไดจาก

รายไดจาก

ลูกคาเกา

ลูกคาใหม

…………………………………………………………………………………………………………………………….

มิติดานลูกคา

การรักษา

(Customer Perspective)

ลูกคาเกา

การแสวงหา
ลูกคาใหม

ความพึงพอใจ
ของลูกคา

สินคาทีมี
่
คุณภาพ
…………………………………………………………………………………………………………………………….

มิติดานกระบวนการภายใน

กระบวนการจัดซื้อ

(Internal Process Perspective)

ที่มีประสิทธิภาพ

การบริหาร
วัตถุดิบ

…………………………………………………………………………………………………………………………….

มิติดานการเรียนรูและการพัฒนา

ทักษะของ

(Learning and Growth Perspective)

พนักงาน

เทคโนโลยี
่
แผนปฏิบัติการ
กลยุทธและแผนปฏิบัตการของฝายการตลาด
ิ
เลือก กลยุทธการการเพิ่มชองทางการจัดจําหนายผลิตภัณฑเพื่อเพิ่มสวนแบงตลาด
โครงการที่ 1 : การเพิ่มชองทางการจัดจําหนายใหม

กิจกรรม

เปาหมาย

ผูรับผิดชอบ งบประมาณ

ระยะเวลา

1. การพัฒนาแนวความคิด

1. เพื่อใหไดผลิตภัณฑใหมๆ

-

-

-

2. กําหนดกลุมเปาหมาย

2. ทราบวัย และภูมิภาคของลูกคา

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

เปาหมาย
่ ู
3. กําหนดตําแหนงสินคาในใจลูกคา วา ตองการ 3. ทราบราคาทีผซื้อตองการ
ระดับ Premium หรือ ระดับทั่วไป หรือตองการ
ขาย Mass Production หรือ Specific กับ
ประเภทลูกคา

4. สํารวจความเปนไปไดทางการตลาด และทํา

4. เพื่อใหทราบวาสินคาเปนที่ตองการ


แบบสอบถาม

ของตลาดหรือไม

5. ติดตามผลการจัดจําหนาย

5. เพื่อใหไดรายไดเพิ่มขึ้น และเปนที่
ตองการของลูกคา
แผนปฏิบติการของฝายจัดซือ
ั
้
โครงการที่ 1 : การเพิ่มชองทางการจัดจําหนายใหม
ผูรบผิดชอบโครงการ : นาย ข.
ั
วัตถุประสงคโครงการ : ผลิตสินคาใหมๆทีมีคุณภาพ
่
เปาหมายของโครงการ : รักษาสวนแบงตลาดและลูกคาไดรับความพึงพอใจ

ขั้นตอน

ผูรับผิดชอบ

งบประมาณ

ระยะเวลา

1. ตรวจสอบจํานวนวัตถุดิบ และ ปริมาณระดับสตอกที่เหมาะสม

-

-

-

2. พิจารณาวาระดับสตอกของปที่ผานมาเปนอยางไร มีปญหาอะไรบาง และ ถาตอง

-

-

-

-

-

-

รองรับแผนการตลาดใหมตองปรับระดับสตอก อยางไรจึงจะเหมาะสม
3. จัดทําแผนการจัดซื้อใหเหมาะสมกับระดับสตอกและสอดคลองกับยอดประมาณ
การณของแผนการตลาด

แผนปฏิบัติการของฝายบุคคล
แนวทางการจัดทําแผนปฏิบติการของฝายบุคคลควรทําดังนี้
ั
1. ตรวจสอบจํานวนบุคลากรที่ตองสรรหาเพิ่มเติมเพื่อรองรับแผนปฏิบติการของหนวยงานอื่น ๆ
ั
วาตองการพนักงานในชวงเดือนไหนบาง จํานวนเทาไร คุณสมบัติเปนอยางไร และแหลงของ
แรงงานดังกลาวจะอยูที่ใดบาง วิธการประชาสัมพันธประกาศรับสมัครงาน การปรับปรุง
ี
แนวทางในการทดสอบและคัดเลือกผูสมัคร ตองทําอยางไรแลวจัดทําเปนแผนปฏิบติการสรร
ั
หาบุคลากรเพือสนับสนุนฝายตาง ๆ
่
2. ตรวจสอบกลยุทธทฝายอื่นๆ ตองการใชวามีอะไรบาง กลยุทธบางตัวที่เปนนวัตกรรมใหมของ
ี่
องคกร อยางเชน TPM, TQA ตองมีการวางแผนการจัดอบรมใหสอดคลองกับแผนงานของ
ฝายอืน ๆ
่

จัดทําเปนแผนปฏิบัติการปรับปรุงประสิทธิภาพของฝายบุคคล เชน ปรับปรุงในเรื่องดังตอไปนี้
•

การวางแผนกําลังคน

•

การสรรหา

•

การพัฒนาความสามารถ การฝกอบรม การเรียนรู

•

ผลตอบแทน สวัสดิการ

•

แรงงานสัมพันธ

•

โครงสรางองคกร

•

การปรับปรุงสภาพแวดลอมในการทํางาน คุณภาพชีวต
ิ

•

คุณวัดคาของงาน ความกาวหนาในงาน

•

การประยุกตระบบการประเมินผลเชิงวัดสมรรถนะบุคลากร (Competency

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

5การวางแผนโครงการ
5การวางแผนโครงการ5การวางแผนโครงการ
5การวางแผนโครงการpop Jaturong
 
แนวความคิดและทฤษฎีการบริหาร
แนวความคิดและทฤษฎีการบริหารแนวความคิดและทฤษฎีการบริหาร
แนวความคิดและทฤษฎีการบริหารguest3d68ee
 
สัปดาห์ที่ 5 6 ทฤษฎีสังคมวิทยา แนวคิด
สัปดาห์ที่ 5 6 ทฤษฎีสังคมวิทยา แนวคิดสัปดาห์ที่ 5 6 ทฤษฎีสังคมวิทยา แนวคิด
สัปดาห์ที่ 5 6 ทฤษฎีสังคมวิทยา แนวคิดSani Satjachaliao
 
ทฤษฎีทางการบริหาร
ทฤษฎีทางการบริหารทฤษฎีทางการบริหาร
ทฤษฎีทางการบริหารPrapaporn Boonplord
 
ทฤษฎีระบบราชการ
ทฤษฎีระบบราชการทฤษฎีระบบราชการ
ทฤษฎีระบบราชการwiraja
 
องค์การสมัยใหม่ ครั้งที่ 1
องค์การสมัยใหม่  ครั้งที่ 1องค์การสมัยใหม่  ครั้งที่ 1
องค์การสมัยใหม่ ครั้งที่ 1ma020406
 
บทที่ 1-หลักการความหมายของท้องถิ่นศึกษา
บทที่ 1-หลักการความหมายของท้องถิ่นศึกษาบทที่ 1-หลักการความหมายของท้องถิ่นศึกษา
บทที่ 1-หลักการความหมายของท้องถิ่นศึกษาpop Jaturong
 
ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียง
ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียงถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียง
ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียงkrupornpana55
 
โมเดลและทฤษฎีที่สำคัญเกี่ยวกับการจัดการความรู้ (Km)
โมเดลและทฤษฎีที่สำคัญเกี่ยวกับการจัดการความรู้ (Km) โมเดลและทฤษฎีที่สำคัญเกี่ยวกับการจัดการความรู้ (Km)
โมเดลและทฤษฎีที่สำคัญเกี่ยวกับการจัดการความรู้ (Km) Sasichay Sritep
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจบ้านใร่กาแฟ
ตัวอย่างแผนธุรกิจบ้านใร่กาแฟตัวอย่างแผนธุรกิจบ้านใร่กาแฟ
ตัวอย่างแผนธุรกิจบ้านใร่กาแฟNattakorn Sunkdon
 
ชุดการสอนที่ 4 เรื่อง เส้นขนานและรูปสามเหลี่ยม
ชุดการสอนที่ 4 เรื่อง เส้นขนานและรูปสามเหลี่ยมชุดการสอนที่ 4 เรื่อง เส้นขนานและรูปสามเหลี่ยม
ชุดการสอนที่ 4 เรื่อง เส้นขนานและรูปสามเหลี่ยมวิเชียร กีรติศักดิ์กุล
 
4.แผนเรื่องโครงงานทองม้วน
4.แผนเรื่องโครงงานทองม้วน4.แผนเรื่องโครงงานทองม้วน
4.แผนเรื่องโครงงานทองม้วนWareerut Hunter
 
หนังสือขออนุเคราะห์ประชาสัมพันธ์ รับสมัครสมาชิกชมรมเครือข่ายนักวิจัยและพัฒนาส...
หนังสือขออนุเคราะห์ประชาสัมพันธ์ รับสมัครสมาชิกชมรมเครือข่ายนักวิจัยและพัฒนาส...หนังสือขออนุเคราะห์ประชาสัมพันธ์ รับสมัครสมาชิกชมรมเครือข่ายนักวิจัยและพัฒนาส...
หนังสือขออนุเคราะห์ประชาสัมพันธ์ รับสมัครสมาชิกชมรมเครือข่ายนักวิจัยและพัฒนาส...Totsaporn Inthanin
 
4สารบัญตารางวิจัย
4สารบัญตารางวิจัย4สารบัญตารางวิจัย
4สารบัญตารางวิจัยkrupornpana55
 
เร ยงความ
เร ยงความเร ยงความ
เร ยงความpapontee
 
จิตวิทยาแนะแนวและการให้คำปรึกษา
จิตวิทยาแนะแนวและการให้คำปรึกษาจิตวิทยาแนะแนวและการให้คำปรึกษา
จิตวิทยาแนะแนวและการให้คำปรึกษาจารุวรรณ ชื่นใจชน
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำน้ำผลไม้ชนิดผง(Powder fruitjuice)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำน้ำผลไม้ชนิดผง(Powder fruitjuice)ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำน้ำผลไม้ชนิดผง(Powder fruitjuice)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำน้ำผลไม้ชนิดผง(Powder fruitjuice)Nattakorn Sunkdon
 

Mais procurados (20)

5การวางแผนโครงการ
5การวางแผนโครงการ5การวางแผนโครงการ
5การวางแผนโครงการ
 
แนวความคิดและทฤษฎีการบริหาร
แนวความคิดและทฤษฎีการบริหารแนวความคิดและทฤษฎีการบริหาร
แนวความคิดและทฤษฎีการบริหาร
 
สัปดาห์ที่ 5 6 ทฤษฎีสังคมวิทยา แนวคิด
สัปดาห์ที่ 5 6 ทฤษฎีสังคมวิทยา แนวคิดสัปดาห์ที่ 5 6 ทฤษฎีสังคมวิทยา แนวคิด
สัปดาห์ที่ 5 6 ทฤษฎีสังคมวิทยา แนวคิด
 
Tipco
TipcoTipco
Tipco
 
ทฤษฎีทางการบริหาร
ทฤษฎีทางการบริหารทฤษฎีทางการบริหาร
ทฤษฎีทางการบริหาร
 
ทฤษฎีระบบราชการ
ทฤษฎีระบบราชการทฤษฎีระบบราชการ
ทฤษฎีระบบราชการ
 
องค์การสมัยใหม่ ครั้งที่ 1
องค์การสมัยใหม่  ครั้งที่ 1องค์การสมัยใหม่  ครั้งที่ 1
องค์การสมัยใหม่ ครั้งที่ 1
 
บทที่ 1-หลักการความหมายของท้องถิ่นศึกษา
บทที่ 1-หลักการความหมายของท้องถิ่นศึกษาบทที่ 1-หลักการความหมายของท้องถิ่นศึกษา
บทที่ 1-หลักการความหมายของท้องถิ่นศึกษา
 
ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียง
ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียงถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียง
ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียง
 
โมเดลและทฤษฎีที่สำคัญเกี่ยวกับการจัดการความรู้ (Km)
โมเดลและทฤษฎีที่สำคัญเกี่ยวกับการจัดการความรู้ (Km) โมเดลและทฤษฎีที่สำคัญเกี่ยวกับการจัดการความรู้ (Km)
โมเดลและทฤษฎีที่สำคัญเกี่ยวกับการจัดการความรู้ (Km)
 
Swot
 Swot Swot
Swot
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจบ้านใร่กาแฟ
ตัวอย่างแผนธุรกิจบ้านใร่กาแฟตัวอย่างแผนธุรกิจบ้านใร่กาแฟ
ตัวอย่างแผนธุรกิจบ้านใร่กาแฟ
 
การเขียนแผนธุรกิจเพื่อการนำเสนอ
การเขียนแผนธุรกิจเพื่อการนำเสนอการเขียนแผนธุรกิจเพื่อการนำเสนอ
การเขียนแผนธุรกิจเพื่อการนำเสนอ
 
ชุดการสอนที่ 4 เรื่อง เส้นขนานและรูปสามเหลี่ยม
ชุดการสอนที่ 4 เรื่อง เส้นขนานและรูปสามเหลี่ยมชุดการสอนที่ 4 เรื่อง เส้นขนานและรูปสามเหลี่ยม
ชุดการสอนที่ 4 เรื่อง เส้นขนานและรูปสามเหลี่ยม
 
4.แผนเรื่องโครงงานทองม้วน
4.แผนเรื่องโครงงานทองม้วน4.แผนเรื่องโครงงานทองม้วน
4.แผนเรื่องโครงงานทองม้วน
 
หนังสือขออนุเคราะห์ประชาสัมพันธ์ รับสมัครสมาชิกชมรมเครือข่ายนักวิจัยและพัฒนาส...
หนังสือขออนุเคราะห์ประชาสัมพันธ์ รับสมัครสมาชิกชมรมเครือข่ายนักวิจัยและพัฒนาส...หนังสือขออนุเคราะห์ประชาสัมพันธ์ รับสมัครสมาชิกชมรมเครือข่ายนักวิจัยและพัฒนาส...
หนังสือขออนุเคราะห์ประชาสัมพันธ์ รับสมัครสมาชิกชมรมเครือข่ายนักวิจัยและพัฒนาส...
 
4สารบัญตารางวิจัย
4สารบัญตารางวิจัย4สารบัญตารางวิจัย
4สารบัญตารางวิจัย
 
เร ยงความ
เร ยงความเร ยงความ
เร ยงความ
 
จิตวิทยาแนะแนวและการให้คำปรึกษา
จิตวิทยาแนะแนวและการให้คำปรึกษาจิตวิทยาแนะแนวและการให้คำปรึกษา
จิตวิทยาแนะแนวและการให้คำปรึกษา
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำน้ำผลไม้ชนิดผง(Powder fruitjuice)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำน้ำผลไม้ชนิดผง(Powder fruitjuice)ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำน้ำผลไม้ชนิดผง(Powder fruitjuice)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำน้ำผลไม้ชนิดผง(Powder fruitjuice)
 

Semelhante a กลยุทธ กาแฟบ้านใร่

Semelhante a กลยุทธ กาแฟบ้านใร่ (20)

ตัวอย่างงานบริหาร
ตัวอย่างงานบริหารตัวอย่างงานบริหาร
ตัวอย่างงานบริหาร
 
Po
PoPo
Po
 
Po
PoPo
Po
 
No1
No1No1
No1
 
Watsubsamosorn
WatsubsamosornWatsubsamosorn
Watsubsamosorn
 
D:\2
D:\2D:\2
D:\2
 
New strategic management 2013
New  strategic management 2013New  strategic management 2013
New strategic management 2013
 
Execution premium
Execution premiumExecution premium
Execution premium
 
Plan 21072011181254
Plan 21072011181254Plan 21072011181254
Plan 21072011181254
 
Chapter(1)
Chapter(1)Chapter(1)
Chapter(1)
 
แผนธุรกิจ
แผนธุรกิจแผนธุรกิจ
แผนธุรกิจ
 
2การบริหารองค์การด้วยโครงการ
2การบริหารองค์การด้วยโครงการ2การบริหารองค์การด้วยโครงการ
2การบริหารองค์การด้วยโครงการ
 
Plans
PlansPlans
Plans
 
Pmqa%20 aug%202007
Pmqa%20 aug%202007Pmqa%20 aug%202007
Pmqa%20 aug%202007
 
Strategicnew9
Strategicnew9Strategicnew9
Strategicnew9
 
Organization and Management (OM) overview (ch.1)
Organization and Management (OM) overview (ch.1)Organization and Management (OM) overview (ch.1)
Organization and Management (OM) overview (ch.1)
 
Handout1
Handout1Handout1
Handout1
 
management style
management stylemanagement style
management style
 
บทที่3
บทที่3บทที่3
บทที่3
 
การจัดองค์การและการบริหาร
การจัดองค์การและการบริหารการจัดองค์การและการบริหาร
การจัดองค์การและการบริหาร
 

Mais de DrDanai Thienphut

Change for the future : New concept and New management tools
Change for the future : New concept and New management toolsChange for the future : New concept and New management tools
Change for the future : New concept and New management toolsDrDanai Thienphut
 
Postgraduate education @ sju PhD 27 08-17
Postgraduate education @ sju  PhD 27 08-17Postgraduate education @ sju  PhD 27 08-17
Postgraduate education @ sju PhD 27 08-17DrDanai Thienphut
 
ไทยเที่ยวไทย :คอนซูเมอร์แฟร์ที่คิดไกลระดับนานาชาติ
ไทยเที่ยวไทย :คอนซูเมอร์แฟร์ที่คิดไกลระดับนานาชาติไทยเที่ยวไทย :คอนซูเมอร์แฟร์ที่คิดไกลระดับนานาชาติ
ไทยเที่ยวไทย :คอนซูเมอร์แฟร์ที่คิดไกลระดับนานาชาติDrDanai Thienphut
 
Result based HRM ฺ : Dr.Danai Thienphut
Result based HRM ฺ : Dr.Danai ThienphutResult based HRM ฺ : Dr.Danai Thienphut
Result based HRM ฺ : Dr.Danai ThienphutDrDanai Thienphut
 
บทความ ถึงเวลายกระดับการท่องเที่ยวชุมชนหรือยัง
บทความ ถึงเวลายกระดับการท่องเที่ยวชุมชนหรือยังบทความ ถึงเวลายกระดับการท่องเที่ยวชุมชนหรือยัง
บทความ ถึงเวลายกระดับการท่องเที่ยวชุมชนหรือยังDrDanai Thienphut
 
ท่องเที่ยวชุมชน : การตลาดเพิ่มมูลค่า หรือ ฉกฉวยวิถีชีวิตและสินทรัพย์ชุมชน
ท่องเที่ยวชุมชน : การตลาดเพิ่มมูลค่า หรือ ฉกฉวยวิถีชีวิตและสินทรัพย์ชุมชนท่องเที่ยวชุมชน : การตลาดเพิ่มมูลค่า หรือ ฉกฉวยวิถีชีวิตและสินทรัพย์ชุมชน
ท่องเที่ยวชุมชน : การตลาดเพิ่มมูลค่า หรือ ฉกฉวยวิถีชีวิตและสินทรัพย์ชุมชนDrDanai Thienphut
 
กลยุทธสำหรับการตลาดเมือง
กลยุทธสำหรับการตลาดเมือง  กลยุทธสำหรับการตลาดเมือง
กลยุทธสำหรับการตลาดเมือง DrDanai Thienphut
 
กลยุทธการวิจัยและพัฒนานำสู่ Digital Economy (R and D Strategy)
กลยุทธการวิจัยและพัฒนานำสู่ Digital Economy (R and D Strategy) กลยุทธการวิจัยและพัฒนานำสู่ Digital Economy (R and D Strategy)
กลยุทธการวิจัยและพัฒนานำสู่ Digital Economy (R and D Strategy) DrDanai Thienphut
 
โปรไฟล์ ดร.ดนัย เทียนพุฒ 2559
โปรไฟล์ ดร.ดนัย เทียนพุฒ  2559โปรไฟล์ ดร.ดนัย เทียนพุฒ  2559
โปรไฟล์ ดร.ดนัย เทียนพุฒ 2559DrDanai Thienphut
 
Teaching and learning development strategy
Teaching and learning development strategyTeaching and learning development strategy
Teaching and learning development strategyDrDanai Thienphut
 
บทความ ความท้าทายใหม่ในการจัดทำกลยุทธ
บทความ ความท้าทายใหม่ในการจัดทำกลยุทธบทความ ความท้าทายใหม่ในการจัดทำกลยุทธ
บทความ ความท้าทายใหม่ในการจัดทำกลยุทธDrDanai Thienphut
 
Inter Human Capital Management Seminar PhD. Assignment
Inter Human Capital Management Seminar PhD. AssignmentInter Human Capital Management Seminar PhD. Assignment
Inter Human Capital Management Seminar PhD. AssignmentDrDanai Thienphut
 
สัมมนาหัวข้อ ธรรมาภิบาลภาคเอกชน หลักสูตรปธพ. รุ่นที่ 4
สัมมนาหัวข้อ ธรรมาภิบาลภาคเอกชน หลักสูตรปธพ. รุ่นที่ 4สัมมนาหัวข้อ ธรรมาภิบาลภาคเอกชน หลักสูตรปธพ. รุ่นที่ 4
สัมมนาหัวข้อ ธรรมาภิบาลภาคเอกชน หลักสูตรปธพ. รุ่นที่ 4DrDanai Thienphut
 
คำถามประจำสัปดาห์ที่ 22 พ.ย.58
คำถามประจำสัปดาห์ที่ 22 พ.ย.58 คำถามประจำสัปดาห์ที่ 22 พ.ย.58
คำถามประจำสัปดาห์ที่ 22 พ.ย.58 DrDanai Thienphut
 

Mais de DrDanai Thienphut (20)

Change for the future : New concept and New management tools
Change for the future : New concept and New management toolsChange for the future : New concept and New management tools
Change for the future : New concept and New management tools
 
PKRU Scenario 2040
PKRU Scenario 2040PKRU Scenario 2040
PKRU Scenario 2040
 
Planning with PDCA
Planning with PDCAPlanning with PDCA
Planning with PDCA
 
Postgraduate education @ sju PhD 27 08-17
Postgraduate education @ sju  PhD 27 08-17Postgraduate education @ sju  PhD 27 08-17
Postgraduate education @ sju PhD 27 08-17
 
Minimum wage 2018
Minimum wage 2018Minimum wage 2018
Minimum wage 2018
 
SMEs upscaling
SMEs upscaling SMEs upscaling
SMEs upscaling
 
Study trip at Angor Wat
Study trip at Angor WatStudy trip at Angor Wat
Study trip at Angor Wat
 
ไทยเที่ยวไทย :คอนซูเมอร์แฟร์ที่คิดไกลระดับนานาชาติ
ไทยเที่ยวไทย :คอนซูเมอร์แฟร์ที่คิดไกลระดับนานาชาติไทยเที่ยวไทย :คอนซูเมอร์แฟร์ที่คิดไกลระดับนานาชาติ
ไทยเที่ยวไทย :คอนซูเมอร์แฟร์ที่คิดไกลระดับนานาชาติ
 
Result based HRM ฺ : Dr.Danai Thienphut
Result based HRM ฺ : Dr.Danai ThienphutResult based HRM ฺ : Dr.Danai Thienphut
Result based HRM ฺ : Dr.Danai Thienphut
 
บทความ ถึงเวลายกระดับการท่องเที่ยวชุมชนหรือยัง
บทความ ถึงเวลายกระดับการท่องเที่ยวชุมชนหรือยังบทความ ถึงเวลายกระดับการท่องเที่ยวชุมชนหรือยัง
บทความ ถึงเวลายกระดับการท่องเที่ยวชุมชนหรือยัง
 
ท่องเที่ยวชุมชน : การตลาดเพิ่มมูลค่า หรือ ฉกฉวยวิถีชีวิตและสินทรัพย์ชุมชน
ท่องเที่ยวชุมชน : การตลาดเพิ่มมูลค่า หรือ ฉกฉวยวิถีชีวิตและสินทรัพย์ชุมชนท่องเที่ยวชุมชน : การตลาดเพิ่มมูลค่า หรือ ฉกฉวยวิถีชีวิตและสินทรัพย์ชุมชน
ท่องเที่ยวชุมชน : การตลาดเพิ่มมูลค่า หรือ ฉกฉวยวิถีชีวิตและสินทรัพย์ชุมชน
 
กลยุทธสำหรับการตลาดเมือง
กลยุทธสำหรับการตลาดเมือง  กลยุทธสำหรับการตลาดเมือง
กลยุทธสำหรับการตลาดเมือง
 
Transformative HR 2016
Transformative HR 2016 Transformative HR 2016
Transformative HR 2016
 
กลยุทธการวิจัยและพัฒนานำสู่ Digital Economy (R and D Strategy)
กลยุทธการวิจัยและพัฒนานำสู่ Digital Economy (R and D Strategy) กลยุทธการวิจัยและพัฒนานำสู่ Digital Economy (R and D Strategy)
กลยุทธการวิจัยและพัฒนานำสู่ Digital Economy (R and D Strategy)
 
โปรไฟล์ ดร.ดนัย เทียนพุฒ 2559
โปรไฟล์ ดร.ดนัย เทียนพุฒ  2559โปรไฟล์ ดร.ดนัย เทียนพุฒ  2559
โปรไฟล์ ดร.ดนัย เทียนพุฒ 2559
 
Teaching and learning development strategy
Teaching and learning development strategyTeaching and learning development strategy
Teaching and learning development strategy
 
บทความ ความท้าทายใหม่ในการจัดทำกลยุทธ
บทความ ความท้าทายใหม่ในการจัดทำกลยุทธบทความ ความท้าทายใหม่ในการจัดทำกลยุทธ
บทความ ความท้าทายใหม่ในการจัดทำกลยุทธ
 
Inter Human Capital Management Seminar PhD. Assignment
Inter Human Capital Management Seminar PhD. AssignmentInter Human Capital Management Seminar PhD. Assignment
Inter Human Capital Management Seminar PhD. Assignment
 
สัมมนาหัวข้อ ธรรมาภิบาลภาคเอกชน หลักสูตรปธพ. รุ่นที่ 4
สัมมนาหัวข้อ ธรรมาภิบาลภาคเอกชน หลักสูตรปธพ. รุ่นที่ 4สัมมนาหัวข้อ ธรรมาภิบาลภาคเอกชน หลักสูตรปธพ. รุ่นที่ 4
สัมมนาหัวข้อ ธรรมาภิบาลภาคเอกชน หลักสูตรปธพ. รุ่นที่ 4
 
คำถามประจำสัปดาห์ที่ 22 พ.ย.58
คำถามประจำสัปดาห์ที่ 22 พ.ย.58 คำถามประจำสัปดาห์ที่ 22 พ.ย.58
คำถามประจำสัปดาห์ที่ 22 พ.ย.58
 

กลยุทธ กาแฟบ้านใร่

  • 1. MBA Entrepreneurship Program Strategic SMEs Management BSC, KPI ของธุรกิจ “บานใรกาแฟ” Present to: ดร.พงษสรรค ลีลาหงสจุฑา โดย นาย ภวินท พรหมวิริยโกศล รหัส : 5090031001
  • 2. สารบัญ ขอมูลสรุป 1 Organization Chart 2 Vision 3 Mission 3 Objective 3 7s Model 4 Pest Model 5 5 Forces Model 6 SWOT Analysis 8 Construct an Internal Factor Evaluation (IFE) Matrix 10 External Factor Evaluation Matrix For Best Buy (EFE) 11 Strengths-Weaknesses-Opportunities-Threats (SWOT) Matrix 12 The Internal-External (IE) Matrix 13 กลยุทธ (Strategies) 14 กลยุทธระดับบริษัท (Corporate Strategies)
  • 3. กลยุทธระดับธุรกิจ (Business Strategies) กลยุทธระดับหนาที่ (Functional Strategies) Strategic Objective KPI 16 Strategic Map 17 แผนปฏิบัตการ ิ 18 Blue Ocean Strategy 21
  • 4. คํานํา รายงานนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษา คนควา วิชาการจัดการวิสาหกิจขนาดยอม ของนักศึกษาปริญญาโท สาขาการ เปนผูประกอบการ มหาวิทาลัยฟารอีสเทอรน จังหวัดเชียงใหม เกี่ยวกับ ธุรกิจ SMEs โดยทางผูจัดทํามุงจะนําเสนอในรูปกรณีศึกษา (Case Study ) โดยการศึกษา จากธุรกิจจริง จํานวน 1 ราย และสรุป ใหเห็นถึงลักษณะการจัดทํากลยุทธในรูปแบบตาง ๆพรอมทั้งการวิเคราะหโดยใช BSC & KPI และ BLUE OCEAN ซึ่งเปน ปจจัยที่สําคัญในเชิงกลยุทธ ที่มีผลตอความสําเร็จในการทําธุรกิจไมแกะสลัก ทางผูจัดหวังเปนอยางยิ่งวารายงานฉบับนี้จะมีประโยชนตอผูที่ไดศึกษากระบวนการในรายงานเลมนี้ ไมมากก็นอย ผูจัดทํา นาย ภวินท พรหมวิริยโกศล
  • 5. บริษัท ออกแบบไรนา (ประเทศไทย) จํากัด บทสรุปสําหรับผูบริหาร แนวคิดธุรกิจที่ดําเนินการ ในปจจุบน ตลาดของคนดื่มกาแฟมีการขยายตัวมากขึ้น ซึ่งสามารถสังเกตไดจาก ผลิตภัณฑ ั กาแฟในทองตลาดไมวาจะกาแฟซอง กาแฟกระปอง กาแฟสดคั่ว หลายยี่หอ ตั้งแตราคาแกวละ 10 บาท จนถึงแกว 100 บาท ธุรกิจรานกาแฟเกิดขึนมากมายในทุกแหง และแนวโนมของคนดืมกาแฟ จะหันมา ้ ่ นิยมรสชาติของกาแฟคัวบด ที่มีรสชาติเขมขนหอมมันมากขึ้น ไดมีการขยายตัวจากตางประเทศเขามา ่ เปดสาขาทําธุรกิจประเภทนีในไทยมากขึนดวยการเปลียนแปลง และรสนิยมของผูบริโภคดังกลาว ้ ้ ่  บริษัทฯ จึงเห็นชองทางที่จะสามารถทําธุรกิจกาแฟไดจากวิถีชีวิตของคนไทยในปจจุบันที่นิยมการเดิน ทางทองเที่ยวดวยการขับรถยนตไปเองเปนหมูคณะ หรือครอบครัว ในวันสุดสัปดาห หรือเทศกาลวัน หยุดตางๆ โดยนําเสนอแนวคิดวา ”กาแฟคัวบด สดเสมอสําหรับผูเดินทาง” ซึ่งมีลักษณะหาซื้อไดสะดวก ่ เหมือนเปนเพือนเดินทาง ดวยการเปดเปนรานกาแฟลักษณะ to go ในปมน้ํามันตามเสนทางตางๆ เพื่อ ่ ใหกลุมลูกคาที่ชอบดื่มกาแฟสด ไดมโอกาสดื่มไดแม ขณะเดินทางไปทําธุรกิจหรือทองเที่ยว แทนการ ี ดื่มกาแฟชงสําเร็จ หรือกระปอง ตามรานมินิมารทตางๆ ในปมโดยใชตวอาคารเล็กกระทัดรัด เนนรูป ั ลักษณของความเปนกาแฟไทยคุณภาพสดจากไร ใชแนวความคิดดานสถาปตยกรรมไทยมาพัฒนาออก แบบใหกลมกลืนกับตัวสินคาของบริษัทคือ กาแฟไทยสดจากไร บริษัทฯ ไดเริมดําเนินธุรกิจกาแฟภายใตชอ “บานใรกาแฟ” ตั้งแตป 2541 โดยทดลองดําเนิน ่ ื่ การ 3 สาขาใน 10 เดือน (ในป 2541) และขยายเปน 25 สาขา ในป 2542 จนปจจุบนในป 2550 มีสาขา ั รวม 109 สาขา โดยกระจายอยูในสถานีบริการน้ํามัน JET หรือ ปตท ตามเสนทางจากกรุงเทพฯ ไปสู จังหวัดภาคเหนือ และภาคตะวันออก ในป 2551 บริษัทตั้งเปาหมายจะขยายสาขาแฟรนไชสไปยังตางประเทศ ซึ่งขณะนี้มีความคืบหนาไป มาก และที่เห็นชัดเจนคาดวาจะสามารถสรุปไดภายในสินป 2550 ใน 6 ประเทศ ไดแก ซาอุดิอาระเบีย โอมาน ้ ่ คูเวต บาเรนห การตา ยูเออี ซึงเปนนักธุรกิจจากซาอุดิอาระเบียสนใจโมเดลธุรกิจบานไรทั้งในสวนของแฟรน ไชสและสินคาเพื่อนําไปจําหนาย
  • 6. Organization Chart บริษัท ออกแบบไรนา (ประเทศไทย) จํากัด บานใรกาแฟ คอฟฟ เอฟ บอรก กาแฟหนองควายโซ บอรก เบลนด ไทยชง บอรก
  • 7. วิสัยทัศน (Vision) เปนกาแฟไทยที่ไดรับการยอมรับ และเปนที่รูจกไปทั่วโลก เทียบเทามาตรฐานสากล ั " สรางธุรกิจไทยใหกองโลก " พันธกิจ (Mission Statement) ขยายสาขาสูภมิภาคของโลกและสรางมาตรฐานใหเปนทียอมรับ ู ่ วัตถุประสงค (Objective) ๑. ขยายสาขาของบานใรกาแฟ ไปในหลายภูมิภาคทั่วโลก ๒. สรางมาตรฐานดานกาแฟ ทีมีความแตกตางในหลายๆดาน จนเปนที่ประจักษและยอมรับ ตอสากล ่ ๓. สรางผลิตภัณฑ และสินคา ใหเปนที่ยอมรับกันโดยทัวไป ่ ๔. มุงพัฒนาและรักษาคุณภาพของผลิตภัณฑและการบริการ เพื่อดํารงไวซึ่งสวนแบงการตลาดในประเทศ
  • 8. 7s Model 1. กลยุทธขององคกร (Strategy) มีการกําหนดกลยุทธขององคกรไวเปนลายลักษณที่แนชัด จึงอาจทําใหบุคลากรภายในองคกรเขาใจ จุดมุงหมายขององคกรไดอยางชัดเจน ถือเปน จุดแข็ง 2. โครงสรางองคกร (Structure) มีการจัดระเบียบงาน และกิจกรรม โดยการมอบหมายหนาที่และความรับผิดชอบอยางชัดเจน ซึ่งถือวา เปน จุดแข็ง ของทางบริษัท 3. ระบบการปฏิบัติงาน (System) การปฏิบัติงานมีความเปนระบบ ทั้งทางดานการจัดทําบัญชี จัดซื้อวัตถุดิบ การโฆษณาประชาสัมพันธ ซึ่งงายตอการตรวจสอบถือเปน จุดแข็ง ของทางราน
  • 9. 4. รูปแบบการบริหารจัดการ รูปแบบของการบริหารของผูบริหารเปนแบบมีสวนรวม (Participative Leader) คือ ยอมใหผูอยูใต บังคับบัญชามีสวนรวมในการตัดสินใจ แตอยางไรก็ตามอาจจะรักษาอํานาจหนาที่ของการตัดสินใจที่สําคัญ เอาไว เปนการระดมความคิดจากบุคลากรภายในองคกร เพื่อวิสัยทัศนที่กวางขึ้นในมุมมองที่ตางกัน เปน จุดแข็ง 5. บุคลากร (Staff) การจัดหาบุคลากรเปนไปอยางมีระบบ มีการฝกอบรมใหกับพนักงาน อีกทั้งยังมีเสนอคาตอบแทนที่ เปนที่นาพอใจกับพนักงาน โดยรวมบุคลากรมีประสิทธิภาพและเพียงพอตอความตองการของธุรกิจ ถือเปน จุด แข็ง 6. ทักษะ ความรู ความสามารถ (Skill) บุคลากรมีความรูและทักษะ อีกทั้งยังไดรับการอบรมฝกฝนเพื่อเพิ่มทักษะและความชํานาญกอนการเริ่ม ปฏิบัติงานจริง ถือเปน จุดแข็ง 7. คานิยมรวม (Shared values) มีการสรางคานิยมรวมภายในองคกรทําใหบุคลกรรูสึกวาทุกคน เปนสวนหนึ่งของกิจการ จึงทําให บุคลากรมีความตั้งใจมากขึน รวมถึงความภาคภูมใจที่เปนสวนหนึ่งขององคกรอีกดวย ซึ่งถือเปน จุดแข็ง อีกขอ ้ ิ ของทางบริษทฯ ั
  • 10. การวิเคราะหปจจัยภายนอก PEST Model โอกาส Opportunities การเมือง (Political Component = P) - นโยบายของรัฐบาลที่สนับสนุนใหใชอุดหนุนสินคาไทย เศรษฐกิจ (Economic Component = E) สังคมและวัฒนธรรม (Sociocultural Component = S) แนวโนมการบริโภคกาแฟที่เพิ่มขึ้น การดําเนินชีวิตและพฤติกรรมที่นิยมการดื่มกาแฟสดที่เพิ่มมากขึ้น เทคโนโลยี (Technological Component = T) อุปสรรด Threats การเมือง (Political Component = P) - ความคุมเครือของรัฐบาล สงผลใหเกิดความไมมั่นใจในการจับจายใชสอย เศรษฐกิจ (Economic Component = E) - เศรษฐกิจของประเทศโดยรวมเกิดการชะลอตัว อัตราการวางงานที่เพิ่มสูงขึ้นทําใหประชากรขาดรายได สังคมและวัฒนธรรม (Sociocultural Component = S) ระดับการศึกษาที่สูงขึ้นของประชากรสงผลใหคานิยมในการบริโภคเปลี่ยนไป หันไปบริโภคกาแฟ จากตางประเทศมากขึ้น เทคโนโลยี (Technological Component = T) เทคโนโลยีไมสงผลกระทบอยางชัดเจน ตอธุรกิจรานกาแฟเทาใด
  • 11. Industry and Competitive Analysis 5 Forces Model 1. การแขงขันในอุตสาหกรรม การแขงขันในธุรกิจรานกาแฟ ถือไดวามีการแขงขันที่คอนขางสูง ไมวาจะเปนในกลุมเปาหมาย การตลาดทีวางไวหรือกลุมใกลเคียง ่ 2. ขอจํากัดในการเขาสูอุตสาหกรรมของคูแขงขันใหม  การเขารวมแขงขันในธุรกิจรานกาแฟ สําหรับคูแขงรายใหมๆ ถือไดวาอยูในระดับต่ําถึงปานกลาง เนื่องจากธุรกิจรานกาแฟ ใชเงินลงทุนในการเริ่มกิจการไมมากนัก อยางไรก็ตามผูประกอบการจําเปนตองมี ความรูในเรื่องการทํากาแฟ รวมถึงการมีประสบการณและชื่อเสียงถือไดวาสําคัญอยางยิ่งตอความเชือมั่นของ  ่ ลูกคา ดังนั้นตามที่ไดกลาวไวขางตนจะเห็นไดวาการเขารวมแขงขันในธุรกิจนี้ไมยากนัก สําหรับคูแขงราย ใหมๆ 3. อํานาจตอรองของผูขายวัตถุดิบ อํานาจการตอรองของผูขายวัตถุดิบตางๆ ถือวาอยูในระดับต่ํา เนื่องจากวัตถุดิบตางๆ สามารถหาได ทั่วไป และมีจานวนผูขายวัตถุดิบอยูเปนจํานวนมาก จึงถือไดวาทางรานมีอํานาจการตอรองสูงกวาผูขายวัตถุดิบ ํ 4. อํานาจตอรองของผูซื้อ/ผูบริโภค  อํานาจการตอรองของผูบริโภคมีคอนขางสูง เนื่องจากจํานวนรานกาแฟมีคอนขางมาก ทําใหผูบริโภคมี ทางเลือกมาก 5. สินคา/บริการทดแทน เนื่องจากจํานวนรานกาแฟมีมากมายหลากหลายชนิด จํานวนของสินคาทดแทนจึงมีมาก เครื่องดื่มที่มีคณสมบัติใกลเคียงกับกาแฟมีเปนจํานวนมากอีกดวย ุ อีกทั้ง
  • 12. จุดแข็ง จุดออน โอกาสและอุปสรรค (SWOT) จุดแข็ง (Strength) บริษัทฯ มีความชํานาญดานการคัวกาแฟ และมีสูตรกาแฟเฉพาะไดเปนเอกลักษณประจําราน ่ บริษัทฯ ไดสทธิบัตรการปรุงกาแฟและลิขสิทธิ์ รูปแบบอาคารและสวนกาแฟไวแลว ิ ไดเปนรายเดียวในการดําเนินธุรกิจกาแฟสดในสถานีบริการน้ํามัน JET ตราสินคาเปนที่รูจกอยางแพรหลาย ั ทําเลที่ตั้งและจุดกระจายสินคา ตั้งอยูในทําเลที่ดี ปมน้ํามัน JET และบนสถานีรถไฟฟา BTS เปนตน มีประสบการณในธุรกิจกาแฟกวา 10 ป มีลีลาขันตอนการชงและเตรียมกาแฟที่มีเอกลักษณเฉพาะตัว ้ จุดออน (Weakness) ไมไดผลิตวัตถุดิบเอง ตองพึ่งพาจากภายนอก ยากตอการควบคุมคุณภาพ ธุรกิจกาแฟเปนธุรกิจที่สามารถลอกเลียนแบบไดงาย ี ภาพลักษณในดานลบของบริษัทฯ เชน วิธการบริหารของผูบริหารคนเกา และราคาตอคุณภาพ ขาดการโฆษณาประชาสัมพันธถึงคุณสมบัติของผลิตภัณฑ โอกาส (Opportunity) แนวโนมการรณรงคใหประชาชนหันมาสนับสนุนผูประกอบการไทย ซื้อของไทย ใชของไทย
  • 13. กาแฟไทยเริ่มเปนที่รูจักและตองการในตลาดตางประเทศ และตลาดประเทศเพื่อนบาน แนวโนมการบริโภคกาแฟในประเทศเพิ่มขึ้น ผูคนจํานวนมากอยากมีธรกิจเปนของตัวเอง ุ พฤติกรรมผูบริโภคเปลี่ยนไปมีการเดินทางทองเที่ยวตางจังหวัดมากขึน ้ อุปสรรค (Threat) ผูบริโภคสวนใหญนยมบริโภคกาแฟนําเขาจากตางประเทศ ิ ภาวะเศรษฐกิจที่ผันผวนสงผลใหเกิดการชะลอการจับจายใชสอย ความไมแนนอนทางการเมืองสงผลตอกําลังซื้อของผูบริโภค มีสินคาทดแทนเปนจํานวนมาก มีจํานวนคูแขงในตลาดคอยขางมาก
  • 14. Construct an Internal Factor Evaluation (IFE) Matrix ปจจัยภายในทีสําคัญ ่ น้ําหนัก การประเมิน คะแนนถวงน้าหนัก ํ Critical External Factor (weight) (Rating) (Weighted Score) จุดแข็ง (Strength) มีความชํานาญดานการคั่วกาแฟ มีสูตรกาแฟเฉพาะที่เปน 0.08 4 0.32 เอกลักษณ ไดสิทธิบัตรการปรุงกาแฟและลิขสิทธิ์ รูปแบบอาคาร 0.08 3 0.24 ไดเปนรายเดียวในการดําเนินธุรกิจกาแฟสดในสถานีบริการ 0.10 4 0.4 น้ํามัน JET ตราสินคาเปนที่รูจกอยางแพรหลาย ั 0.10 4 0.4 ทําเลที่ตั้งและจุดกระจายสินคา ตั้งอยูในทําเลที่ดี 0.12 4 0.48 มีประสบการณในธุรกิจกาแฟกวา 10 ป 0.05 3 0.15 มีลีลาขันตอนการชงและเตรียมกาแฟที่มีเอกลักษณเฉพาะตัว ้ 0.20 4 0.8 จุดออน (Weaknesses) ไมไดผลิตวัตถุดิบเอง 0.05 1 0.5 ธุรกิจกาแฟเปนธุรกิจที่สามารถลอกเลียนแบบไดงาย 0.05 1 0.5 ภาพลักษณในดานลบของบริษัทฯ เชน วิธการบริหารของ ี 0.10 1 0.1 ผูบริหารคนเกา และราคาตอคุณภาพ ขาดการโฆษณาประชาสัมพันธถึงคุณสมบัติของผลิตภัณฑ 0.07 1 0.7 รวม 1.00 3.06 หมายเหตุ: 1 = จุดออนหลัก, 2 = จุดออนรอง, 3 = จุดแข็งรอง, 4 = จุด แข็งหลัก
  • 15. External Factor Evaluation Matrix For Best Buy (EFE) ปจจัยภายในทีสําคัญ ่ น้ําหนัก การประเมิน คะแนนถวง น้ําหนัก (weight) (Rating) (Weighted Score) Key External Factor โอกาส (Opportunities) แนวโนมการรณรงคใหประชาชนหันมาสนับสนุน 0.05 3 0.15 ผูประกอบการไทย กาแฟไทยเริ่มเปนที่รจักและตองการในตลาดตางประเทศ ู 0.20 4 0.8 แนวโนมการบริโภคกาแฟในประเทศเพิ่มขึ้น 0.15 3 0.45 ผูคนจํานวนมากอยากมีธุรกิจเปนของตัวเอง 0.07 3 0.21 พฤติกรรมผูบริโภคเปลี่ยนไปมีการเดินทางทองเที่ยว 0.05 3 0.15 ตางจังหวัดมากขึ้น อุปสรรค (Threats) ผูบริโภคสวนใหญนยมบริโภคกาแฟนําเขาจากตางประเทศ ิ 0.20 1 0.20 ภาวะเศรษฐกิจที่ผันผวนสงผลใหเกิดการชะลอการจับจายใช 0.10 2 0.20 สอย ความไมแนนอนทางการเมืองสงผลตอกําลังซื้อของผูบริโภค 0.07 2 0.14 มีสินคาทดแทนเปนจํานวนมาก 0.05 2 0.10 มีจํานวนคูแขงในตลาดที่เพิ่มขึ้น 0.06 2 0.12 รวม 1.00 2.52 หมายเหตุ: 1 = โอกาสนอยหรืออุปสรรคมาก, 2 = โอกาสเทากับคาเฉลีย, 3 = โอกาสดีกวาคาเฉลี่ย, 4 = โอกาสดี ่
  • 16. Strengths-Weaknesses-Opportunities-Threats (SWOT) Matrix 1. กลยุทธ SO (SO Strategy) จากการที่บริษัทฯ มีจดแข็งคือเปนกาแฟไทยที่ใชเมล็ดกาแฟที่มีอยูใน ุ  ประเทศ มีเอกลักษณเปนของตนเองไมซ้ําใคร อีกทั้งยังมีประสบการณในการดําเนินงานมานานกวา 10 ป มี ภาพพจนและชื่อเสียงที่ดี และมีจํานวนสาขากวารอยสาขา จึงมีโอกาสที่จะขยายไปสูตลาดตางประเทศ  2. กลยุทธ WO (WO Strategy) จากจุดออนในดานการขาดการประชาสัมพันธในผลิตภัณฑ และ ภาพลักษณในดานลบของบริษัทฯ สามารถแกไขไดโดยการใชโอกาสที่กาแฟไทยเริมเปนที่รจักและตองการใน ่ ู ตลาดตางประเทศ และตลาดประเทศเพื่อนบาน เพื่อพัฒนาภาพลักษณของบริษัทฯและผลิตภัณฑวาได มาตรฐานสากล และยังเปนการประชาสัมพันธไปในตัวอีกดวย 3. กลยุทธ ST (ST Strategy) จากจุดแข็งตามขอ 1 แมจะสรางโอกาส แตก็มีอุปสรรค จากสภาวะ เศรษฐกิจทําใหการจับจายใชสอยของผูบริโภคลดนอยลง อีกทั้งยังทําใหผูบริโภคหันมาบริโภคหันมาบริโภค ่ ่ ของที่มีราคาต่า ดังนั้นการเพิมจํานวนสาขาของ Sub-brand อยาเชน ไทยชง บอรก ทีมีราคาต่ําเนนกลุมลูกคา ํ ระดับกลาง-ลาง จึงอาจรองรับความตองการของผูบริโภค ในชวงภาวะเศรษฐกิจตกต่าได อีกทั้ง ยังสามารถทําให ํ ตราบานใรกาแฟ โดยรวมเปนที่รจักมากขึนดวย ู ้ 4. กลยุทธ WT (WT Strategy) จากการที่มจุดออนทางดานการขาดการประชาสัมพันธในผลิตภัณฑ ี และภาพลักษณในดานลบของบริษัทฯ รวมทั้งอุปสรรคจากสภาวะเศรษฐกิจทําใหการจับจายใชสอยของ ผูบริโภคลดนอยลง ดังนั้นการประชาสัมพันธและขยายฐานลูกคาผาน แบรนด ไทยชง บอรก ที่เนนลูกคา ระดับกลาง-ลาง อาจชวยเพิมสวนแบงการตลาดใหครอบคลุมมากขึ้น ่
  • 17. The Internal-External (IE) Matrix The IFE total weighted scores Strong 3.0-4.0 High 3.0-4.0 Medium 2.0-2.99 Low 1.0-1.99 Average 2.0-2.99 Weak 1.0-1.99 X ธุรกิจอยูในชวงที่จะใชกลยุทธ เจริญเติบโต โดยใชกลยุทธการขยายตัวใหมากขึ้น เนนการเขาถึงลูกคา โดยการเพิ่มจํานวนแหลงกระจายสินคา โดยอาศัยการขาย Franchise นอกจากนี้ยังใชกลยุทธการประชาสัมพันธ ใหทราบถึงความแตกตางของตัวผลิตภัณฑที่มีเอกลักษณเฉพาะตัวไมเหมือนใคร ทั้งในดานรสชาติและกรรมวิธี การผลิต รวมถึงสถาปตยกรรมที่ทั้งหมดนีถือเปนจุดแข็งของบริษัทฯ เพื่อการบุกตลาดตางประเทศที่ถือเปน ้ ตลาดใหม
  • 18. Strategies (กลยุทธ) บริษัทฯ มีการวางกลยุทธในดานตางๆดังนี้ กลยุทธระดับบริษัท (Corporate Strategies) บริษัทฯใชกลยุทธการขยายตัวแบบเขมขน (Intensive Growth Strategy) โดยมุงเนนการพัฒนาตลาด โดยใชผลิตภัณฑเดิม ในตลาดใหม โดยบริษัทฯ มุงเนนการขยายสาขาแฟรนไชสไปยังจังหวัดใหมๆ รวมถึง ตางประเทศ 6 ประเทศ ไดแก ซาอุดิอาระเบีย โอมาน คูเวต บาเรนห การตา ยูเออี บริษัทฯ ทําการเพิ่มสวนแบงทางการตลาดโดยผานทาง Sub-brand ซึ่มมีกลุมลูกคาที่ตางจากแบรนด หลัก โดยมีลายละเอียดดังนี้ คอฟฟเอฟ บอรก - เนนกลุมลูกคาระดับลาง เลือกทําเลตามหางสรรพสินคา เชน เทสโกโลตัส เปนตน กาแฟไทยชง บอรก - เนนกลุมลูกคาระดับกลาง-ลาง เลือกทําเลตามสถานีรถไฟฟา หางสรรพสินคา เปนตน กาแฟหนองควายโซ – อยูในระหวางการศึกษาและพัฒนาสายพันธุเพื่อรองรับกลุมลูกคาระดับสูง ปจจุบันมีสาขาเดียวซึ่งตั้งอยูหนาทางเขาโรงงานคั่วกาแฟที่จังหวัดสระบุรี  กลยุทธระดับธุรกิจ (Business Strategy) เพื่อการบุกตลาดโลก บริษัทฯใชกลยุทธการสรางความแตกตาง (Differentiation Strategy) โดยใช Concept ความเปนไทย โดยการสราง บุคลิกของสินคา (Brand Personality) ที่มีลักษณะเฉพาะตัว และไมเหมือน ใครเชน รูปแบบ และ สถาปตยกรรม
  • 19. กลยุทธระดับหนาที่ (Functional Strategy) 1. กลยุทธการตลาด (Marketing Strategy) กลยุทธผลิตภัณฑ (Product) มีผลิตภัณฑทหลากหลาย และมีคณภาพสูง โดยเนนวัตถุดิบภายในประเทศ ี่ ุ กลยุทธราคา (Price) กําหนดราคาอยูในระดับปานกลาง-สูง ตามคุณภาพของผลิตภัณฑ อยางไรก็ตามบานใรกาแฟยังมี ผลิตภัณฑสําหรับตลาดกลาง-ลาง โดยจัดจําหนายภายใต sub-brand ของกาแฟบานไร เพื่อใหคลอบคลุมตลาด โดยรวม กลยุทธชองทางการจัดจําหนาย   จําหนายในสถานีบริการน้ํามัน ปจจุบันเปนชองทางจัดจําหนายหลัก โดยตั้งอยูในสถานี บริการน้ํามัน ปตท. และ JET และบนสถานีรถไฟฟา BTS กลยุทธการประชาสัมพันธ ผานสื่อ สิ่งพิมพ โทรทัศน และวิทยุ โดยผานทางสื่อในลักษณะขาวและขอมูล รวมถึงการเพิ่มจํานวนจุด ขายสินคาในทําเลที่มผูคนผานไปมาสม่ําเสมอ เชน บนสถานีรถไฟฟา BTS เปนตน ี กลยุทธการโฆษณา เปนการรวมมือกับปมน้ํามัน JET ในลักษณะการตั้งปายนีออนกลองไปหนาสถานีบริการน้ํามัน รวมกับรานอาหารในราน Jiffy เพื่อใหผูขับขี่ยานพาหนะเห็นขัดเจน กลยุทธสงเสริมการขาย มีการจัดการสงเสริมการขายรวมกับสถานีบริการน้ํามัน (Joint Promotion) ไดแก 1. การแจกคูปองลดราคาเครืองดื่มทุกชนิด 20% เมื่อเติมน้ามันครบ 300 บาท ่ ํ 2. แจกคูปองแกลูกคาราน Jiffy เพื่อแลกซื้อแกวและสินคาที่ระลึกของรานในราคาพิเศษ
  • 20. Strategic Objective KPIs กลยุทธ เพิ่มยอดขาย เพิ่มความสามารถในการ ทํากําไร ลูกคา เพิ่มความประทับใจ การเขาถึง ลูกคา การจัดการ ดานเวลา ควบคุม ตนทุน อัตราการเติบโตของรายได >10% EBITDA >10% >10% ROE อัตราความพึงพอใจของลูกคาจาก แบบสอบถาม >10% >10% >10% อัตราการใชบริหารซ้ํา เพิ่มผลตอบแทนตอทุน CRM กระบวนการ เปาหมาย อัตราการเพิมขึ้นของจํานวนลูกคา ่ ใหประโยชน ผูถือหุน การเรียนรู ตัวชี้วัด สัดสวนกําไรตอยอดขาย การเงิน เติบโต วัตถุประสงคเชิงกลยุทธ >5% เพิ่มความสัมพันธกับลูกคา อัตราการเพิมของ Franchisee ่ >20 สาขา เพิ่มความตรงตรงตอเวลา เพิ่มประสิทธิภาพดาน บุคลากร อัตราการเขางานสายของพนักงาน <20% ระยะเวลาในการผลิต = 3นาที/แกว ควบคุมดานตนทุนผันแปร อัตราการเพิมขึ้น/ลดลงของคาใชจาย ่ <10% สัดสวนมูลคาความเสียหายตอรายได <10% อัตราการเขาออกพนักงาน <5% จัดการความ เพิ่มประสิทธิภาพการ เสี่ยง จัดการ พนักงานที่มี คุณภาพ Royaltyของพนักงาน เพิ่มทักษะพนักงาน อัตราการเพิมขึ้น/ลดลงของวัตถุดิบตอยอดขาย <10% ่
  • 21. Strategic Map กําไรสูงสุด มิติดานการเงิน การลดลง (Financial Perspective) รายไดจาก รายไดจาก ลูกคาเกา ลูกคาใหม ……………………………………………………………………………………………………………………………. มิติดานลูกคา การรักษา (Customer Perspective) ลูกคาเกา การแสวงหา ลูกคาใหม ความพึงพอใจ ของลูกคา สินคาทีมี ่ คุณภาพ ……………………………………………………………………………………………………………………………. มิติดานกระบวนการภายใน กระบวนการจัดซื้อ (Internal Process Perspective) ที่มีประสิทธิภาพ การบริหาร วัตถุดิบ ……………………………………………………………………………………………………………………………. มิติดานการเรียนรูและการพัฒนา ทักษะของ (Learning and Growth Perspective) พนักงาน เทคโนโลยี ่
  • 22. แผนปฏิบัติการ กลยุทธและแผนปฏิบัตการของฝายการตลาด ิ เลือก กลยุทธการการเพิ่มชองทางการจัดจําหนายผลิตภัณฑเพื่อเพิ่มสวนแบงตลาด โครงการที่ 1 : การเพิ่มชองทางการจัดจําหนายใหม กิจกรรม เปาหมาย ผูรับผิดชอบ งบประมาณ ระยะเวลา 1. การพัฒนาแนวความคิด 1. เพื่อใหไดผลิตภัณฑใหมๆ - - - 2. กําหนดกลุมเปาหมาย 2. ทราบวัย และภูมิภาคของลูกคา - - - - - - - - - - - - เปาหมาย ่ ู 3. กําหนดตําแหนงสินคาในใจลูกคา วา ตองการ 3. ทราบราคาทีผซื้อตองการ ระดับ Premium หรือ ระดับทั่วไป หรือตองการ ขาย Mass Production หรือ Specific กับ ประเภทลูกคา 4. สํารวจความเปนไปไดทางการตลาด และทํา 4. เพื่อใหทราบวาสินคาเปนที่ตองการ  แบบสอบถาม ของตลาดหรือไม 5. ติดตามผลการจัดจําหนาย 5. เพื่อใหไดรายไดเพิ่มขึ้น และเปนที่ ตองการของลูกคา
  • 23. แผนปฏิบติการของฝายจัดซือ ั ้ โครงการที่ 1 : การเพิ่มชองทางการจัดจําหนายใหม ผูรบผิดชอบโครงการ : นาย ข. ั วัตถุประสงคโครงการ : ผลิตสินคาใหมๆทีมีคุณภาพ ่ เปาหมายของโครงการ : รักษาสวนแบงตลาดและลูกคาไดรับความพึงพอใจ ขั้นตอน ผูรับผิดชอบ งบประมาณ ระยะเวลา 1. ตรวจสอบจํานวนวัตถุดิบ และ ปริมาณระดับสตอกที่เหมาะสม - - - 2. พิจารณาวาระดับสตอกของปที่ผานมาเปนอยางไร มีปญหาอะไรบาง และ ถาตอง - - - - - - รองรับแผนการตลาดใหมตองปรับระดับสตอก อยางไรจึงจะเหมาะสม 3. จัดทําแผนการจัดซื้อใหเหมาะสมกับระดับสตอกและสอดคลองกับยอดประมาณ การณของแผนการตลาด แผนปฏิบัติการของฝายบุคคล แนวทางการจัดทําแผนปฏิบติการของฝายบุคคลควรทําดังนี้ ั 1. ตรวจสอบจํานวนบุคลากรที่ตองสรรหาเพิ่มเติมเพื่อรองรับแผนปฏิบติการของหนวยงานอื่น ๆ ั วาตองการพนักงานในชวงเดือนไหนบาง จํานวนเทาไร คุณสมบัติเปนอยางไร และแหลงของ แรงงานดังกลาวจะอยูที่ใดบาง วิธการประชาสัมพันธประกาศรับสมัครงาน การปรับปรุง ี
  • 24. แนวทางในการทดสอบและคัดเลือกผูสมัคร ตองทําอยางไรแลวจัดทําเปนแผนปฏิบติการสรร ั หาบุคลากรเพือสนับสนุนฝายตาง ๆ ่ 2. ตรวจสอบกลยุทธทฝายอื่นๆ ตองการใชวามีอะไรบาง กลยุทธบางตัวที่เปนนวัตกรรมใหมของ ี่ องคกร อยางเชน TPM, TQA ตองมีการวางแผนการจัดอบรมใหสอดคลองกับแผนงานของ ฝายอืน ๆ ่ จัดทําเปนแผนปฏิบัติการปรับปรุงประสิทธิภาพของฝายบุคคล เชน ปรับปรุงในเรื่องดังตอไปนี้ • การวางแผนกําลังคน • การสรรหา • การพัฒนาความสามารถ การฝกอบรม การเรียนรู • ผลตอบแทน สวัสดิการ • แรงงานสัมพันธ • โครงสรางองคกร • การปรับปรุงสภาพแวดลอมในการทํางาน คุณภาพชีวต ิ • คุณวัดคาของงาน ความกาวหนาในงาน • การประยุกตระบบการประเมินผลเชิงวัดสมรรถนะบุคลากร (Competency