SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 32
Baixar para ler offline
นางไพรินทร์ แข็งขัน
พยาบาลวิชาชีพชานาญการ
การบาบัดด้วยออกซิเจน ( Oxygen therapy )
: เป็ นการป้องกันแก้ไขภาวะพร่องออกซิเจน                (
Hypoxemia ) หรือวัดความอิมตัวของออกซิเจน
                                   ่                     ( Oxygen
saturation ) ได้เกิน 90% อย่างไรก็ตามวิธการบาบัดด้วยออกซิเจนอย่าง
                                        ี
เหมาะสม ยังต้องคานึงถึงภาวะทางคลินิกอันเป็ นสาเหตุของการพร่อง
ออกซิเจนนันๆ ดังนี้
              ้
       ้ ่ ่
1. ผูปวยทีพร่องออกซิเจนจากภาวะการหายใจล้มเหลวเฉียบพลัน
        ้ ่ ่
2. ผูปวยทีพร่องออกซิเจนจากภาวะการหายใจล้มเหลวเรือรัง ้
วัตถุประสงค์การใช้ออกซิเจน
1. เพื่อเพิ่มความเข้มข้นของออกซิเจน ในกระแสโลหิตที่ขาด ออกซิเจน
   สาเหตุ
   1. อากาศที่หายใจเข้าไปมีออกซิเจนน้อย
   2. ศูนย์ควบคุมการหายใจถูกกด
   3. มีการอุดตันของทางเดินหายใจ
   4. การแลกเปลี่ยนก๊าซในปอดไม่เพียงพอ
   5. เม็ดเลือดแดงต่่าเนื่องจากซีดมาก
2. เพื่อให้ออกซิเจนแก่ผู้ป่วยขณะผ่าตัดในรายที่ให้ General
   anesthesia
อุปกรณ์ ท่ ใช้ ในการบาบัดด้ วยออกซิเจน
           ี
ประกอบด้วย
1. ก๊าซในทางการแพทย์ ( Medical compressed gas )
2. แหล่งจ่ายออกซิเจน ( Oxygen source )
3. อุปกรณ์ควบคุมอัตราการไหลของออกซิเจน ( Flow meter )
4. อุปกรณ์ทาความชืนและฝอยละออง ( Humidifier and
                    ้
Nebulizer)
                      ้ ่
5. อุปกรณ์ทใช้ต่อกับผูปวย ( Oxygen therapy device )
             ่ี
ก๊าซในทางการแพทย์ ( Medical compressed gas )
  ก๊าซทีนามาใช้ประโยชน์ในทางการแพทย์มหลายชนิด ได้แก่
        ่                            ี
   ด้านการบาบัด  Oxygen, Nitrous oxide
   ในห้องปฏิบตการ  Helium, CO2, CO
                  ั ิ
   ในการฆ่าเชือ  Ethylene, Formaldehyde
                ้

                 ั ั
ออกซิเจนทีใช้ในปจจุบนเตรียมมาโดยกรรมวิธี Fractional
          ่
distillation of liquid air ซึงสามารถแยกไนโตรเจนออก
                                  ่
จากออกซิเจนโดยอาศัยจุดเดือดทีไม่เท่ากัน ออกซิเจนทีได้จะมี
                              ่                   ่
ความบริสทธิสูงถึง 99% และถูกเก็บในภาชนะในสถานะภาพ 2
        ุ ์
รูปแบบ คือ
Compressed oxygen คือ ออกซิเจนทีถูกเก็บด้วย่
สถานะภาพของก๊าซภายใต้แรงอัดความดันสูงในถังเก็บ Cylinder
แรงดันออกซิเจนในถังโดยทัวไปจะอยูในช่วง 1800 – 2400 Psi (
                          ่      ่
Pounds per square inch )
Liquid oxygen คือ ออกซิเจนทีถูกเก็บด้วยสถานะภาพของ
                                     ่
ออกซิเจนเหลวในภาชนะทีมฉนวน 2 ชันและสุญญากาศคันกลาง(
                      ่ ี          ้             ่
Thermos bottle ) ภาชนะนี้มกจะรักษาความเย็นได้ต่ากว่า -
                               ั
118.6 c°และมีแรงดันภายในน้อยกว่า 250 Psi ก๊าซออกซิเจนที่
นามาใช้มาจากการระเหยของออกซิเจนเหลว ซึงเมือระเหยเต็มทีจะได้
                                         ่ ่          ่
Compressed oxygen คิดเป็ นปริมาตร 682 เท่าตัวของ
ออกซิเจนเหลว
แหล่ งจ่ ายออกซิเจน ( Oxygen source )
ก๊าซออกซิเจนจากแหล่งเก็บแรงดันสูง เมือจะนามาใช้กบเครืองมือ
                                     ่             ั ่
แพทย์โดยตรง หรือส่งผ่านมาทางท่อส่งก๊าซ ( Pipe line )
จาเป็ นต้องปรับระดับความดันให้คงทีโดยเครืองปรับระดับความดัน (
                                  ่     ่
Pressure regulator ) ก่อน ระดับความดันมาตรฐานสากล
ของท่อก๊าซออกซิเจนก่อนนาไปใช้กบเครืองมือแพทย์ คือ 50 Psi
                                 ั ่
ออกซิเจนจากท่อส่งก๊าซนี้สามารถต่อท่อเข้ากับเครืองช่วยหายใจ
                                               ่
                      ั ้ ่
โดยตรง หรือนามาใช้กบผูปวยโดยผ่านมาตรวัดออกซิเจน ( Flow
meter ) ซึงสามารถวัดและควบคุมการไหลของออกซิเจนในช่วง
             ่
ระหว่าง 0 – 15 ลิตรต่อนาที
แหล่ งจ่ ายออกซิเจนในปั จจุบัน แบ่งออกเป็ น 2 แหล่ง ดังนี ้
1. ออกซิเจนที่บรรจุใน Cylinder คือ ออกซิเจนทีถูกบรรจุในถังทีอดด้วยความดัน
                                               ่              ่ ั
  สูง แรงอัดออกซิเจนในถังประมาณ 1800 – 2400 ปอนด์ต่อตารางนิ้ว อุปกรณ์หลักทีใช้
                                                                           ่
  กับถังออกซิเจน ได้แก่ Pressure regulator และ Flow meter
ตารางแสดงความจุของถังออกซิเจนขนาดต่างๆ และ
              ค่าคงที่ที่จะน่าไปใช้ในการค่านวณ

        เส้นผ่าศูนย์กลาง    ความจุออกซิเจนที่ความดัน
ขนาด   ขอบนอก x ความสูง            2,200 PSI            ค่าคงที่ (K)
               (นิ้ว)
                            แกลลอน       ลูกบาศก์เมตร
 D          4.5 x 17           95            0.343         0.16
 E         4.5 x 26          165            0.594         0.28
 F          5.5 x 51          550            1.987         0.93
 G          7.5 x 51          1400           5.054         2.41
H, K         9 x 51        1645 - 1825       6.594         3.14
การคานวณใช้ สูตร
ระยะเวลาที่ใช้ออกซิเจนได้ = ค่าของความดันที่เหลือในถัง ( Psi ) x ค่าคงที่ ( K )
        ( นาที )            อัตราการไหลของออกซิเจน ( ลิตรต่อนาที )


                                               ั
   ถังบรรจุออกซิเจนขนาด G อ่านความดันบนหน้าปดของ Pressure
   regulator ขณะเปิดใช้ได้ 800 Psi ถ้าเปิดใช้ 8 ลิตรต่อนาที จะใช้ได้
   นานเท่าไหร่ออกซิเจนจึงจะหมด
   ระยะเวลาทีใช้ออกซิเจนได้ ( นาที ) = 800 x 2.41
             ่
                                            8
                                      = 241 นาที ( 6 ชัวโมง )
                                                       ่
วิธีการใช้ งาน
 ควรตรวจดูวาเครืองมือหรืออุปกรณ์ทจะนามาต่อใช้งาน เช่น Flow
            ่ ่                   ่ี
  meter ควรอยูในตาแหน่งปิด ( Off ) ก่อนจะเปิดวาล์วใช้งานทุกครัง
                ่                                             ้
 ต่ออุปกรณ์ดานหนึ่งของอุปกรณ์การทาความชืนเข้ากับ Flow meter
             ้                          ้
  อีกด้านหนึ่งต่อเข้ากับท่อนาออกซิเจน
 เปิดวาล์วทีถงออกซิเจนโดยให้คอยๆ เปิดวาล์วช้าๆ รอจนเสียงของ
             ่ ั                ่
  ออกซิเจนทีไหลออกมาเงียบลง จากนันจึงเปิดจนสุด ( หมุนทวนเข็มนาฬิกา)
                ่                     ้
  แล้วหมุนกลับเล็กน้อย
              ่
 ปรับหมุนปุม Flow meter เพือเปิดอัตราการไหลของออกซิเจนตาม
                                   ่
  ต้องการ
 เมือไม่ตองการใช้ออกซิเจน ให้ปิดวาล์วทีถงออกซิเจน รอจน Flow
     ่    ้                             ่ ั
  meter ตกเป็ นศูนย์ จึงปิด Flow meter
การทาความสะอาด
 ใช้ผาชืนหมาดๆเช็ดถังบรรจุออกซิเจน แล้วเช็ดตามด้วยผ้าแห้ง รวมทังเช็ดทา
       ้ ้                                                        ้
  ความสะอาด Pressure regulator ด้วย
 ข้อควรระวัง
  ไม่ควรตังถังออกซิเจนไว้ใกล้กบวัตถุไวไฟ
             ้                    ั
  เครืองมือทีจะนามาใช้ถงบรรจุออกซิเจน ห้ามใช้น้ ามันหล่อลืนทุกชนิด เพราะ
        ่        ่       ั                                 ่
    อาจติดไฟได้
  หากมีออกซิเจนรัวออกตามรูต่างๆของอุปกรณ์ ควรส่งซ่อมทันที ไม่ควรใช้
                   ่
    วัสดุทุกประเภทมาปิดรูรวทีเกิดขึน
                           ั่ ่ ้
  ระหว่างทีมการจัดวางหรือเคลือนย้าย ต้องระวังอย่างยิง อย่าให้ถงบรรจุ
               ่ ี              ่                    ่         ั
    ออกซิเจน และ Pressure regulator ล้ม เพราะอุปกรณ์นิรภัยจะ
    เสียหาย ทาให้ถงบรรจุแก๊สระเบิดได้
                     ั
2. Oxygen จาก Central supply ที่ส่งมาตาม Pipe
                                              ้ ่          ้ ่
line เป็ นระบบจ่ายออกซิเจนจากศูนย์ไปยังหอผูปวย หรือห้องผูปวย โดย
        ่             ั ่
ผ่านท่อซึงเดินลอยหรือฝงอยูในผนังตึก และมีรเปิด ณ จุดทีตองการใช้
                                          ู           ่ ้
ออกซิเจน
วิธีการใช้งาน
1. ให้หวต่อของ Flow meter เข้ากับรูเปิดของออกซิเจน (
        ั
 Oxygen out let ) ทีฝาผนัง ดูให้เหลียมตรงกัน แล้วดัน Flow
                          ่              ่
 meter เข้าไปตรงๆให้ได้ยนเสียงดังแกร๊ก
                            ิ
2. เมือ Flow meter เข้าทีเรียบร้อย ค่อยต่ออุปกรณ์ทาความชืนและ
      ่                       ่                           ้
 ท่อนาออกซิเจน
ข้อควรระวัง
เมือเลิกใช้ออกซิเจน ควรนาเอา Flow meter ออกจาก Oxygen
   ่
 outlet แล้วปิดรูเปิดให้เรียบร้อย เพือป้องกันไม่ให้ฝนเกาะ
                                    ่               ุ่
อุปกรณ์ ควบคุมอัตราการไหลของออกซิเจน ( Flow meter )

                   Flow meter : เป็ นอุปกรณ์ควบคุม
                   การไหลของออกซิเจน ทีบอยทีสุด มักจะ
                                           ่ ่ ่
                   สามารถปรับอัตราการไหลของออกซิเจน
                   ตังแต่ 0 - 15 ลิตรต่อนาที โดยการอ่าน
                       ้
                   อัตราการไหลของออกซิเจนจากลูกลอยใน
                   หลอดแก้วใส ในเด็กเล็กมี Flow
                   meter ทีสามารถตังค่าได้ละเอียดมาก
                               ่         ้
                   ขึน ระหว่าง 0 - 2 ลิตรต่อนาที
                     ้
Pressure        Pressure regulator
  regulator แบบมี    แบบมีมาตรวัดความดัน 2
    มาตรวัดความดัน         ั          ั
                     หน้าปด หน้าปดแรกสาหรับวัด
( Pressure gauge )   ปริมาตรก๊าซทีเหลือในถัง
                                  ่
     เพียงอันเดียว           ั ่
                     หน้าปดทีสองสาหรับควบคุม
                     ความดันก๊าซทีไหลออกจากถัง
                                    ่
วิธีการใช้งาน
              ่
 ตรวจปุมปรับอัตราการไหลให้อยูในสภาพปิด
                                    ่
 สวมปลายข้างหนึ่งของ Flow meter เข้าในรูเปิดของ Pipe line
   หรือเชือมต่อกับ Pressure regulator บนถังบรรจุออกซิเจน
            ่
การทาความสะอาด
 ใช้ผาชุบน้ าหมาดๆเช็ดให้สะอาด แล้วเช็ดตามด้วย 70% Alcohol
        ้
 ข้อควรระวัง
 ปิดปุม Flow meter ทุกครังหลังเลิกใช้ เพือป้องกันไม่ให้ลกลอยชน
          ่                       ้         ่              ู
   ด้านบนของหลอดแก้ว ซึงจะทาให้ Flow meter ชารุดได้งาย
                            ่                            ่
 ควรปลดอุปกรณ์ทาความชืนออกจาก Flow meter หลังเลิกใช้ทุกครัง
                              ้                                 ้
   เพือป้องกันไม่ให้น้ าไหลเข้า Flow meter
      ่
อุปกรณ์ ทาความชืนและฝอยละออง
                             ้
             Humidifier และ Nebulizer
          ่ ี ่ ั ั
ออกซิเจนทีมอยูในปจจุบนนี้ ไม่วาจะถูกเก็บในลักษณะ Compressed
                               ่
oxygen หรือ Liquid oxygen ล้วนเป็ นออกซิเจนบริสทธิ ์ทีผาน  ุ ่ ่
การกรองและดูดความชืนออกแล้วทังสิน เมือมีการนาก๊าซออกซิเจนออกมา
                      ้           ้ ้ ่
    ั ้ ่
ใช้กบผูปวย จาเป็ นอย่างยิงทีจะต้องทาให้ออกซิเจนแห้งนี้ มีความชืนอยูใน
                         ่ ่                                   ้ ่
ระดับทีพอเหมาะไม่เป็ นอันตรายต่อทางเดินหายและปอด วิธการในการทา
        ่                                                ี
ความชืนให้กบอากาศ หรือออกซิเจนนัน แบ่งเป็ น 2 วิธี ใหญ่ๆ คือ
      ้     ั                        ้
1.Humidification : การทาให้น้าระเหยเป็ นไอ (
  Vaporiazation )
2.Heated humidifier : เป็ น Humidifier ทีมเี ครือง
                                         ่ ่
  ทาความร้อนในตัว
 Humidification : การทาให้น้ าระเหยเป็ นไอ (
  Vaporization ) แล้วลอยปะปนไปกับอากาศหรือออกซิเจน หรือ
  กล่าวอีกนัยหนึ่งคือ การทาให้น้ าอยูในสถานะก๊าซเช่นเดียวกับอากาศ
                                     ่
  ความชืนลักษณะนี้ไม่สามารถมองเห็นได้ดวยตาเปล่า แบ่งเป็ น 2 ชนิด คือ
         ้                                ้
 1.Simple humidifier : เป็ น Humidifier ทีไม่มเี ครืองทา    ่     ่
  ความร้อนในตัว ชนิดทีนิยมใช้มากทีสด คือ Bubble humidifier (
                        ่              ุ่
  บางชนิดสามารถปรับให้เป็ น Jet nebulizer ในเครืองเดียวกันได้ )
                                                       ่


                              รูป A                           รูป B
                        Bubble humidifier                 Jet nebulizer
ข้อบ่งชี้ : ใช้ในกรณีทตองการทาให้แก๊สออกซิเจนซึงเดิมเป็ นแก๊สแห้ง
                      ่ี ้                    ่
ปราศจากความชืน มีความชืนเหมาะสมสาหรับการหายใจ
                   ้       ้
วิธีการใช้
 เติม Sterile water ลงในภาชนะให้ถงระดับทีกาหนดไว้ตามเส้น
                                        ึ       ่
   เครืองหมาย
        ่
 ต่อเครือง Humidifier เข้ากับ Flow meter ซึงต่อกับท่อ
          ่                                           ่
   ออกซิเจนอยูแล้ว
                 ่
 ส่วนปลายท่ออีกด้านหนึ่งของ Humidifier ต่อกับ Nasal
                             ่ ั ้ ่
   cannula หรือ mask ทีใช้กบผูปวย
 เปิด Flow meter ปรับให้ได้ปริมาณออกซิเจนตามต้องการ
 ถ้าน้ าในภาชนะลดระดับต่ากว่าขีดทีกาหนด ควรเปิดฝาเปลียนน้ าใหม่ ให้
                                   ่                     ่
   อยูในระดับเต็มขีดทีกาหนดเสมอ
      ่                 ่
ต่อ
 หมันตรวจดูวา เครืองทาความชืนใช้งานได้ดอยูหรือไม่ เช่น ดูการปุดใต้น้ า
      ่         ่  ่         ้          ี ่
  อย่างสม่าเสมอ
 ระดับน้ าใน Humidifier ควรอยูเหนือขีดต่าสุดทีกาหนดไว้เสมอ
                                  ่               ่
  มิฉะนันจะไม่ได้ความชืน
        ้             ้
 ก่อนการเติม Sterile water ทุกครัง ควรเทน้ าทีเหลือใน
                                    ้           ่
  Humidifier เดิมทิงก่อน เพือป้องกันการสะสมของเชือโรค
                        ้      ่                       ้
                                         ้ ่ ่
 ไม่ควรใช้ Simple humidifier กับผูปวยทีใส่
  Endotracheal tube หรือ Tracheostomy tube เพราะ
  จะให้ความชืนไม่พอ ในกรณีดงกล่าว ควรใช้ Heated humidifier
              ้            ั
  หรือ Nebulizer แทน
2.Heated humidifier : เป็ น Humidifier ทีมเี ครืองทา   ่ ่
ความร้อนในตัว ทาให้อากาศทีไหลผ่าน มีความอุ่นพอเหมาะกับหลอดลม
                          ่
และอุมความชืนได้มากขึน ชนิดทีใช้กนอย่างแพร่หลาย ได้แก่ Heated
     ้      ้        ้       ่ ั
bubble type humidifier และ Heated wick type
humidifier




                                     รูป C
                 Heated humidifier ที่ใช้ต่อกับเครื่องช่วยหายใจ
 ข้อบ่งชี้
                   ้ ่ ่
 ใช้ให้ความชืนในผูปวยทีหายใจเอง ผ่าน Endotracheal tube
             ้
  หรือ Tracheotomy tube
 ใช้เป็ นอุปกรณ์ให้ความชืนของเครืองช่วยหายใจ
                         ้       ่
               ้     ้ ่
 ใช้ให้ความชืนในผูปวยเด็กทีหายใจผ่าน Oxygen box
                            ่
 วิธีการ
 เติม Sterile water จนถึงขีดทีเครืองกาหนด
                                   ่ ่
 ต่อกับ Ventilator circuit ตามแต่ชนิดของเครืองช่วยหายใจ
                                                  ่
                 ่                      ่
 เปิดสวิตช์เครือง Humidifier และปุมปรับตังความร้อนให้ได้อุณหภูม ิ
                                              ้
             ่ ั ้ ่
  ของแก๊สทีให้กบผูปวยไม่ต่ากว่า 25 องศาเซลเซียส และไม่สงเกิน 37 องศา
                                                       ู
  เซลเซียส
 การทาความสะอาด
 ควรทาความสะอาดทุก 3 วัน โดยทาความสะอาดเฉพาะส่วนทีเป็ นภาชนะ
                                                   ่
  ใส่น้ า ล้างให้สะอาด ผึงให้แห้ง แล้วนาไปอบแก๊ส
                         ่
 ข้อควรระวัง
 ท่อนาแก๊สทีต่อกับ Heated humidifier ต้องเป็ น
             ่
  Corrugated tube เท่านัน      ้
 หมันตรวจดูตามท่อช่วยหายใจ อย่าให้น้ าท่วมขัง
        ่
                             ่ ั ้ ่
 ตรวจสอบอุณหภูมของแก๊สทีให้กบผูปวย เพราะถ้าต่าเกินไป จะทาให้
                   ิ
    ้ ่
  ผูปวยได้รบความชืนไม่เพียงพอ เสมหะอาจเหนียวแห้งอุดตันในระบบ
           ั         ้
                                                    ้ ่
  หายใจได้ หรือถ้าสูงเกินไปอาจทาให้ทางเดินหายใจของผูปวย burn ได้
 Nebulization : วิธการทาความชืนแบบ ทาให้น้ ากลายเป็ นละออง
                    ี         ้
เล็กๆแขวนลอยไปกับอากาศ อากาศทีมละอองน้ าแขวนลอยอยูน้ี เรียกว่า
                                   ่ ี                ่
Aerosol ซึงสามารถมองเห็นเป็ นควันขาวๆ เครืองมือทีผลิต Aerosol
                ่                           ่     ่
ทีแพร่หลายมากทีสุดคือ Jet nebulizer แบ่งเป็ น 3 ประเภท คือ
  ่                  ่
1. Small volume nebulizer (Hand - held
    nebulizer)
ข้อบ่งชี้ : ใช้ในกรณีทตองการให้ยาขยายหลอดลมหรือยาอื่นๆโดยตรง หรือ
                       ่ี ้
ต้องการให้ความชุมแก่ทางเดินหายใจ ทาให้เสมหะเหนียวน้อยลง ถูกขับออก
                   ่
ได้งาย
     ่


                การใช้ Small volume   การใช้ Small volume
                      nebulizer             nebulizer
                 ผ่าน mouth piece        ผ่าน face mask
การใช้ Small volume
                                nebulizer
                              ผ่าน t – piece

 การทาความสะอาด
         ่                    ้ ่
 อุปกรณ์พนยาแต่ละชุดควรใช้ในผูปวยเพียง 1 ราย ให้เปลียนและทาความ
                                                    ่
 สะอาดทุกๆ 24 ชัวโมง โดยล้างอุปกรณ์ทุกชินให้สะอาด แล้วทาให้แห้ง
                ่                      ้
 ก่อนนาไปอบแก๊ส
2.Large - volume jet nebulizer
ข้อบ่งชี้ : Large - volume jet nebulizer เป็ นเครืองมือทีผลิตละออง
                                                             ่      ่
น้ าได้อย่างต่อเนื่องตลอดเวลา ทาให้ทางเดินหายใจชุมชืนอยูเสมอ มักใช้รวมกับ
                                                  ่ ่ ่                   ่
การให้ออกซิเจนแบบต่างๆ เช่น oxygen box, T - piece,
                                การทาความสะอาด ทาแบบเดียวกับ Small
tracheotomy mask เป็ นต้น
                                volume nebulizer ทุกๆ 24 ชัวโมง         ่
                                ข้อควรระวัง
                                อาจมีเชือโรคปนเปื้อนได้ ถ้าดูแลเรืองความ
                                        ้                        ่
                                สะอาดไม่ดพอถ้ามีน้ าทีกลันตัวค้างใน
                                            ี         ่ ่
                                Corrugated tube มากๆจะทาให้แก๊ส
                                          ้ ่
                                ไปถึงตัวผูปวยลดลงจึงควรหมันเทน้ าทีคางใน
                                                               ่      ่ ้
                                corrugated tube ออก ระวังอย่าให้น้ า
                                ไหลย้อนกลับไปยังภาชนะทีใส่น้ าหรือไหลลง
                                                           ่
                                  ้ ่
                                ผูปวย
ั ้ ่ ่
3.Ultrasonic nebulizer : ใช้กบผูปวยทีมเี สมหะเหนียว ขับ
เสมหะไม่ออกหลังจากใช้แบบ Small - volume jet nebulizer
หรือ Large - volume jet nebulizer แล้วไม่ดขน
                                           ี ้ึ




                    Ultrasonic nebulizer
อุปกรณ์ ที่ใช้ต่อกับผูป่วย ( Oxygen therapy device )
                      ้
 Oxygen therapy device เป็ นอุปกรณ์บาบัดออกซิเจนส่วนทีต่อกับ
                                                       ่
    ้ ่
  ผูปวยโดยตรงสามารถแบ่งประเภทการใช้งานได้ ดังนี้
 อุปกรณ์ ที่ให้ออกซิเจนผ่านทางจมูกและทางปาก ได้แก่
 Nasal cannula
 Simple mask
 Partial rebreathing mask
 Non - Partial rebreathing mask
 Ventury mask
 Oxygen hood or Box
 อุปกรณ์ ที่ให้ออกซิเจนผ่านทาง Endothacheal or
  Tracheostomy tube
 T – piece
 Tracheostomy mask
ตารางแสดงความเข้มข้นของ Oxygen ( FIO2 ) ที่ได้โดยประมาณเมื่อใช้ Oxygen therapy
            อุปกรณ์           อัdevice ชนิดต่างๆ จน ( LPM )
                                ตราการไหลของออกซิเ               FIO2 โดยประมาณ
                                            1                     0.24
                                            2                     0.28
          Nasal cannula                     3                     0.31
                                            4                     0.34
                                            5                     0.37
                                            6                     0.40
                                            6                     0.35
          Simple mask                       7                     0.40
                                            8                     0.48
                                            9                     0.50
                                           10                     0.55
                                            6                     0.35
                                            7                     0.40
     Partial rebreathing mask               8                     0.45
                                            9                     0.50
                                           10                     0.60
  Non - Partial rebreathing mask          > 10                0.95 + 0.05
             T – piece                     15                   0.7 - 1
       Tracheostomy tube                   15                 0.45 – 0.6
       Oxygen hood or Box                7 - 15                0.3 – 0.7
สรุป
          ิ                       ่         ั ้ ่
   แผนภูมแสดงระบบการส่งออกซิเจนเพือนาไปใช้กบผูปวยไม่วาจะเป็ น
                                                      ่
       ้ ่ ่
     ผูปวยทีใช้เครืองช่วยหายใจ หรือไม่ใช้เครืองช่วยหายใจก็ตาม
                  ่                         ่

                                                                           Oxygen
                                                    O2       Humidifier
                                   Flow meter                              therapy
                                                0 – 15 LPM   Nebulizer
                                                                            device



แหล่งกาเนิด   Pressure     O2
 ออกซิเจน     regulator   50 Psi



                                   Respirator                  Endothacheal tube
Thank you

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

การดูดเสมหะ Paramedic msu
การดูดเสมหะ Paramedic msuการดูดเสมหะ Paramedic msu
การดูดเสมหะ Paramedic msuNantawan Tippayanate
 
Central venous pressure (cvp)
Central venous pressure (cvp)Central venous pressure (cvp)
Central venous pressure (cvp)piyarat wongnai
 
การพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfการพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfMaytinee Beudam
 
การดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอก
การดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอกการดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอก
การดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอกPatamaporn Seajoho
 
ความรู้ IC
ความรู้ ICความรู้ IC
ความรู้ ICwichudaice
 
Neonatal resuscitation การช่วยฟื้นชีวิตทารกและทารกแรกเกิด
Neonatal resuscitation การช่วยฟื้นชีวิตทารกและทารกแรกเกิดNeonatal resuscitation การช่วยฟื้นชีวิตทารกและทารกแรกเกิด
Neonatal resuscitation การช่วยฟื้นชีวิตทารกและทารกแรกเกิดNarenthorn EMS Center
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจการพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจtechno UCH
 
การวัดความดันในหลอดเลือดดำกลาง Yui
การวัดความดันในหลอดเลือดดำกลาง Yuiการวัดความดันในหลอดเลือดดำกลาง Yui
การวัดความดันในหลอดเลือดดำกลาง Yuipiyarat wongnai
 
การอ่านเเละเเปลผลคลื่นไฟฟ้าหัวใจที่เต้นผิดจังหวะสำหรับพยาบาล
การอ่านเเละเเปลผลคลื่นไฟฟ้าหัวใจที่เต้นผิดจังหวะสำหรับพยาบาลการอ่านเเละเเปลผลคลื่นไฟฟ้าหัวใจที่เต้นผิดจังหวะสำหรับพยาบาล
การอ่านเเละเเปลผลคลื่นไฟฟ้าหัวใจที่เต้นผิดจังหวะสำหรับพยาบาลChutchavarn Wongsaree
 
การพยาบาลผู้ป่วยก่อนและหลังการตรวจเพื่อการวินิจฉัยโรค
การพยาบาลผู้ป่วยก่อนและหลังการตรวจเพื่อการวินิจฉัยโรคการพยาบาลผู้ป่วยก่อนและหลังการตรวจเพื่อการวินิจฉัยโรค
การพยาบาลผู้ป่วยก่อนและหลังการตรวจเพื่อการวินิจฉัยโรคCC Nakhon Pathom Rajabhat University
 
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัยSuradet Sriangkoon
 
Cvp central venous pressure monitoring
Cvp central venous pressure monitoringCvp central venous pressure monitoring
Cvp central venous pressure monitoringpiyarat wongnai
 
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)pueniiz
 
11แผน
11แผน11แผน
11แผนFmz Npaz
 

Mais procurados (20)

การดูดเสมหะ Paramedic msu
การดูดเสมหะ Paramedic msuการดูดเสมหะ Paramedic msu
การดูดเสมหะ Paramedic msu
 
Central venous pressure (cvp)
Central venous pressure (cvp)Central venous pressure (cvp)
Central venous pressure (cvp)
 
การพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfการพยาบาลDhf
การพยาบาลDhf
 
การดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอก
การดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอกการดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอก
การดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอก
 
ความรู้ IC
ความรู้ ICความรู้ IC
ความรู้ IC
 
Neonatal resuscitation การช่วยฟื้นชีวิตทารกและทารกแรกเกิด
Neonatal resuscitation การช่วยฟื้นชีวิตทารกและทารกแรกเกิดNeonatal resuscitation การช่วยฟื้นชีวิตทารกและทารกแรกเกิด
Neonatal resuscitation การช่วยฟื้นชีวิตทารกและทารกแรกเกิด
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจการพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
 
Chest drain systems
Chest drain systemsChest drain systems
Chest drain systems
 
Septic Shock
Septic ShockSeptic Shock
Septic Shock
 
การวัดความดันในหลอดเลือดดำกลาง Yui
การวัดความดันในหลอดเลือดดำกลาง Yuiการวัดความดันในหลอดเลือดดำกลาง Yui
การวัดความดันในหลอดเลือดดำกลาง Yui
 
การอ่านเเละเเปลผลคลื่นไฟฟ้าหัวใจที่เต้นผิดจังหวะสำหรับพยาบาล
การอ่านเเละเเปลผลคลื่นไฟฟ้าหัวใจที่เต้นผิดจังหวะสำหรับพยาบาลการอ่านเเละเเปลผลคลื่นไฟฟ้าหัวใจที่เต้นผิดจังหวะสำหรับพยาบาล
การอ่านเเละเเปลผลคลื่นไฟฟ้าหัวใจที่เต้นผิดจังหวะสำหรับพยาบาล
 
การพยาบาลผู้ป่วยก่อนและหลังการตรวจเพื่อการวินิจฉัยโรค
การพยาบาลผู้ป่วยก่อนและหลังการตรวจเพื่อการวินิจฉัยโรคการพยาบาลผู้ป่วยก่อนและหลังการตรวจเพื่อการวินิจฉัยโรค
การพยาบาลผู้ป่วยก่อนและหลังการตรวจเพื่อการวินิจฉัยโรค
 
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
 
HAP
HAPHAP
HAP
 
Cvp central venous pressure monitoring
Cvp central venous pressure monitoringCvp central venous pressure monitoring
Cvp central venous pressure monitoring
 
2016 Respiratory Assessment
2016 Respiratory Assessment2016 Respiratory Assessment
2016 Respiratory Assessment
 
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)
 
Septic shock guideline
Septic shock guidelineSeptic shock guideline
Septic shock guideline
 
11แผน
11แผน11แผน
11แผน
 
EKG in ACLS
EKG in ACLSEKG in ACLS
EKG in ACLS
 

Semelhante a การดูแลเครื่องมือและอุปกรณ์ในการบำบัด

พลศาสตร์ของไหล
พลศาสตร์ของไหลพลศาสตร์ของไหล
พลศาสตร์ของไหลSatit Originator
 
โครงการกังหันชัยพัฒนา
โครงการกังหันชัยพัฒนาโครงการกังหันชัยพัฒนา
โครงการกังหันชัยพัฒนาRiibbon Blow's
 
โครงการกังหันชัยพัฒนา
โครงการกังหันชัยพัฒนาโครงการกังหันชัยพัฒนา
โครงการกังหันชัยพัฒนาRiibbon Blow's
 
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system kasidid20309
 

Semelhante a การดูแลเครื่องมือและอุปกรณ์ในการบำบัด (7)

พลศาสตร์ของไหล
พลศาสตร์ของไหลพลศาสตร์ของไหล
พลศาสตร์ของไหล
 
แก๊ส
แก๊ส แก๊ส
แก๊ส
 
05_เครื่องบำบัดน้ำเสียด้วยโอโซนในสภาพความดันสูงสำหรับบ่อเลี้ยงปลา Vol.1 No.1
05_เครื่องบำบัดน้ำเสียด้วยโอโซนในสภาพความดันสูงสำหรับบ่อเลี้ยงปลา Vol.1 No.105_เครื่องบำบัดน้ำเสียด้วยโอโซนในสภาพความดันสูงสำหรับบ่อเลี้ยงปลา Vol.1 No.1
05_เครื่องบำบัดน้ำเสียด้วยโอโซนในสภาพความดันสูงสำหรับบ่อเลี้ยงปลา Vol.1 No.1
 
โครงการกังหันชัยพัฒนา
โครงการกังหันชัยพัฒนาโครงการกังหันชัยพัฒนา
โครงการกังหันชัยพัฒนา
 
โครงการกังหันชัยพัฒนา
โครงการกังหันชัยพัฒนาโครงการกังหันชัยพัฒนา
โครงการกังหันชัยพัฒนา
 
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system
 
Week5[1]
Week5[1]Week5[1]
Week5[1]
 

Mais de techno UCH

ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์ ประจำปี 2557
ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์ ประจำปี 2557ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์ ประจำปี 2557
ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์ ประจำปี 2557techno UCH
 
มะเร็งเต้านม
มะเร็งเต้านม มะเร็งเต้านม
มะเร็งเต้านม techno UCH
 
การดูแลผู้ป่วยที่รักษาด้วยยาเคมีบำบัดและฮอร์โมน
การดูแลผู้ป่วยที่รักษาด้วยยาเคมีบำบัดและฮอร์โมนการดูแลผู้ป่วยที่รักษาด้วยยาเคมีบำบัดและฮอร์โมน
การดูแลผู้ป่วยที่รักษาด้วยยาเคมีบำบัดและฮอร์โมนtechno UCH
 
Breast presentation
Breast presentation Breast presentation
Breast presentation techno UCH
 
แนวทางการป้องกันเชื้อ Ebola
แนวทางการป้องกันเชื้อ Ebola แนวทางการป้องกันเชื้อ Ebola
แนวทางการป้องกันเชื้อ Ebola techno UCH
 
คุณภาพเวชระเบียน
คุณภาพเวชระเบียนคุณภาพเวชระเบียน
คุณภาพเวชระเบียนtechno UCH
 
ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์
ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์
ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์techno UCH
 
การให้ Enteral nutrition
การให้ Enteral nutrition การให้ Enteral nutrition
การให้ Enteral nutrition techno UCH
 
Total parenteral nutrition
Total parenteral nutrition Total parenteral nutrition
Total parenteral nutrition techno UCH
 
สุขภาพในช่องปาก ตอน โรคฟันผุ
สุขภาพในช่องปาก ตอน โรคฟันผุสุขภาพในช่องปาก ตอน โรคฟันผุ
สุขภาพในช่องปาก ตอน โรคฟันผุtechno UCH
 
เห็ดเป็นยาไทย
เห็ดเป็นยาไทยเห็ดเป็นยาไทย
เห็ดเป็นยาไทยtechno UCH
 
การใช้โปรแกรม Access เบื้องต้น
การใช้โปรแกรม Access เบื้องต้นการใช้โปรแกรม Access เบื้องต้น
การใช้โปรแกรม Access เบื้องต้นtechno UCH
 
Blood glucose monitoring
Blood glucose monitoring Blood glucose monitoring
Blood glucose monitoring techno UCH
 
การอ่านค่า Ekg
การอ่านค่า Ekgการอ่านค่า Ekg
การอ่านค่า Ekgtechno UCH
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับรังสีรักษา
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับรังสีรักษา การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับรังสีรักษา
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับรังสีรักษา techno UCH
 
Emergency rt for nurse
Emergency rt for nurseEmergency rt for nurse
Emergency rt for nursetechno UCH
 
มะเร็งเต้านม
มะเร็งเต้านมมะเร็งเต้านม
มะเร็งเต้านมtechno UCH
 

Mais de techno UCH (20)

ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์ ประจำปี 2557
ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์ ประจำปี 2557ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์ ประจำปี 2557
ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์ ประจำปี 2557
 
มะเร็งเต้านม
มะเร็งเต้านม มะเร็งเต้านม
มะเร็งเต้านม
 
การดูแลผู้ป่วยที่รักษาด้วยยาเคมีบำบัดและฮอร์โมน
การดูแลผู้ป่วยที่รักษาด้วยยาเคมีบำบัดและฮอร์โมนการดูแลผู้ป่วยที่รักษาด้วยยาเคมีบำบัดและฮอร์โมน
การดูแลผู้ป่วยที่รักษาด้วยยาเคมีบำบัดและฮอร์โมน
 
Breast presentation
Breast presentation Breast presentation
Breast presentation
 
แนวทางการป้องกันเชื้อ Ebola
แนวทางการป้องกันเชื้อ Ebola แนวทางการป้องกันเชื้อ Ebola
แนวทางการป้องกันเชื้อ Ebola
 
คุณภาพเวชระเบียน
คุณภาพเวชระเบียนคุณภาพเวชระเบียน
คุณภาพเวชระเบียน
 
ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์
ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์
ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์
 
การให้ Enteral nutrition
การให้ Enteral nutrition การให้ Enteral nutrition
การให้ Enteral nutrition
 
Total parenteral nutrition
Total parenteral nutrition Total parenteral nutrition
Total parenteral nutrition
 
สุขภาพในช่องปาก ตอน โรคฟันผุ
สุขภาพในช่องปาก ตอน โรคฟันผุสุขภาพในช่องปาก ตอน โรคฟันผุ
สุขภาพในช่องปาก ตอน โรคฟันผุ
 
เห็ดเป็นยาไทย
เห็ดเป็นยาไทยเห็ดเป็นยาไทย
เห็ดเป็นยาไทย
 
การใช้โปรแกรม Access เบื้องต้น
การใช้โปรแกรม Access เบื้องต้นการใช้โปรแกรม Access เบื้องต้น
การใช้โปรแกรม Access เบื้องต้น
 
Blood glucose monitoring
Blood glucose monitoring Blood glucose monitoring
Blood glucose monitoring
 
การอ่านค่า Ekg
การอ่านค่า Ekgการอ่านค่า Ekg
การอ่านค่า Ekg
 
Concept pc.
Concept pc.Concept pc.
Concept pc.
 
Case study
Case studyCase study
Case study
 
Assesment
AssesmentAssesment
Assesment
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับรังสีรักษา
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับรังสีรักษา การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับรังสีรักษา
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับรังสีรักษา
 
Emergency rt for nurse
Emergency rt for nurseEmergency rt for nurse
Emergency rt for nurse
 
มะเร็งเต้านม
มะเร็งเต้านมมะเร็งเต้านม
มะเร็งเต้านม
 

การดูแลเครื่องมือและอุปกรณ์ในการบำบัด

  • 2. การบาบัดด้วยออกซิเจน ( Oxygen therapy ) : เป็ นการป้องกันแก้ไขภาวะพร่องออกซิเจน ( Hypoxemia ) หรือวัดความอิมตัวของออกซิเจน ่ ( Oxygen saturation ) ได้เกิน 90% อย่างไรก็ตามวิธการบาบัดด้วยออกซิเจนอย่าง ี เหมาะสม ยังต้องคานึงถึงภาวะทางคลินิกอันเป็ นสาเหตุของการพร่อง ออกซิเจนนันๆ ดังนี้ ้ ้ ่ ่ 1. ผูปวยทีพร่องออกซิเจนจากภาวะการหายใจล้มเหลวเฉียบพลัน ้ ่ ่ 2. ผูปวยทีพร่องออกซิเจนจากภาวะการหายใจล้มเหลวเรือรัง ้
  • 3. วัตถุประสงค์การใช้ออกซิเจน 1. เพื่อเพิ่มความเข้มข้นของออกซิเจน ในกระแสโลหิตที่ขาด ออกซิเจน สาเหตุ 1. อากาศที่หายใจเข้าไปมีออกซิเจนน้อย 2. ศูนย์ควบคุมการหายใจถูกกด 3. มีการอุดตันของทางเดินหายใจ 4. การแลกเปลี่ยนก๊าซในปอดไม่เพียงพอ 5. เม็ดเลือดแดงต่่าเนื่องจากซีดมาก 2. เพื่อให้ออกซิเจนแก่ผู้ป่วยขณะผ่าตัดในรายที่ให้ General anesthesia
  • 4. อุปกรณ์ ท่ ใช้ ในการบาบัดด้ วยออกซิเจน ี ประกอบด้วย 1. ก๊าซในทางการแพทย์ ( Medical compressed gas ) 2. แหล่งจ่ายออกซิเจน ( Oxygen source ) 3. อุปกรณ์ควบคุมอัตราการไหลของออกซิเจน ( Flow meter ) 4. อุปกรณ์ทาความชืนและฝอยละออง ( Humidifier and ้ Nebulizer) ้ ่ 5. อุปกรณ์ทใช้ต่อกับผูปวย ( Oxygen therapy device ) ่ี
  • 5. ก๊าซในทางการแพทย์ ( Medical compressed gas ) ก๊าซทีนามาใช้ประโยชน์ในทางการแพทย์มหลายชนิด ได้แก่ ่ ี  ด้านการบาบัด  Oxygen, Nitrous oxide  ในห้องปฏิบตการ  Helium, CO2, CO ั ิ  ในการฆ่าเชือ  Ethylene, Formaldehyde ้ ั ั ออกซิเจนทีใช้ในปจจุบนเตรียมมาโดยกรรมวิธี Fractional ่ distillation of liquid air ซึงสามารถแยกไนโตรเจนออก ่ จากออกซิเจนโดยอาศัยจุดเดือดทีไม่เท่ากัน ออกซิเจนทีได้จะมี ่ ่ ความบริสทธิสูงถึง 99% และถูกเก็บในภาชนะในสถานะภาพ 2 ุ ์ รูปแบบ คือ
  • 6. Compressed oxygen คือ ออกซิเจนทีถูกเก็บด้วย่ สถานะภาพของก๊าซภายใต้แรงอัดความดันสูงในถังเก็บ Cylinder แรงดันออกซิเจนในถังโดยทัวไปจะอยูในช่วง 1800 – 2400 Psi ( ่ ่ Pounds per square inch ) Liquid oxygen คือ ออกซิเจนทีถูกเก็บด้วยสถานะภาพของ ่ ออกซิเจนเหลวในภาชนะทีมฉนวน 2 ชันและสุญญากาศคันกลาง( ่ ี ้ ่ Thermos bottle ) ภาชนะนี้มกจะรักษาความเย็นได้ต่ากว่า - ั 118.6 c°และมีแรงดันภายในน้อยกว่า 250 Psi ก๊าซออกซิเจนที่ นามาใช้มาจากการระเหยของออกซิเจนเหลว ซึงเมือระเหยเต็มทีจะได้ ่ ่ ่ Compressed oxygen คิดเป็ นปริมาตร 682 เท่าตัวของ ออกซิเจนเหลว
  • 7. แหล่ งจ่ ายออกซิเจน ( Oxygen source ) ก๊าซออกซิเจนจากแหล่งเก็บแรงดันสูง เมือจะนามาใช้กบเครืองมือ ่ ั ่ แพทย์โดยตรง หรือส่งผ่านมาทางท่อส่งก๊าซ ( Pipe line ) จาเป็ นต้องปรับระดับความดันให้คงทีโดยเครืองปรับระดับความดัน ( ่ ่ Pressure regulator ) ก่อน ระดับความดันมาตรฐานสากล ของท่อก๊าซออกซิเจนก่อนนาไปใช้กบเครืองมือแพทย์ คือ 50 Psi ั ่ ออกซิเจนจากท่อส่งก๊าซนี้สามารถต่อท่อเข้ากับเครืองช่วยหายใจ ่ ั ้ ่ โดยตรง หรือนามาใช้กบผูปวยโดยผ่านมาตรวัดออกซิเจน ( Flow meter ) ซึงสามารถวัดและควบคุมการไหลของออกซิเจนในช่วง ่ ระหว่าง 0 – 15 ลิตรต่อนาที
  • 8. แหล่ งจ่ ายออกซิเจนในปั จจุบัน แบ่งออกเป็ น 2 แหล่ง ดังนี ้ 1. ออกซิเจนที่บรรจุใน Cylinder คือ ออกซิเจนทีถูกบรรจุในถังทีอดด้วยความดัน ่ ่ ั สูง แรงอัดออกซิเจนในถังประมาณ 1800 – 2400 ปอนด์ต่อตารางนิ้ว อุปกรณ์หลักทีใช้ ่ กับถังออกซิเจน ได้แก่ Pressure regulator และ Flow meter
  • 9. ตารางแสดงความจุของถังออกซิเจนขนาดต่างๆ และ ค่าคงที่ที่จะน่าไปใช้ในการค่านวณ เส้นผ่าศูนย์กลาง ความจุออกซิเจนที่ความดัน ขนาด ขอบนอก x ความสูง 2,200 PSI ค่าคงที่ (K) (นิ้ว) แกลลอน ลูกบาศก์เมตร D 4.5 x 17 95 0.343 0.16 E 4.5 x 26 165 0.594 0.28 F 5.5 x 51 550 1.987 0.93 G 7.5 x 51 1400 5.054 2.41 H, K 9 x 51 1645 - 1825 6.594 3.14
  • 10. การคานวณใช้ สูตร ระยะเวลาที่ใช้ออกซิเจนได้ = ค่าของความดันที่เหลือในถัง ( Psi ) x ค่าคงที่ ( K ) ( นาที ) อัตราการไหลของออกซิเจน ( ลิตรต่อนาที ) ั ถังบรรจุออกซิเจนขนาด G อ่านความดันบนหน้าปดของ Pressure regulator ขณะเปิดใช้ได้ 800 Psi ถ้าเปิดใช้ 8 ลิตรต่อนาที จะใช้ได้ นานเท่าไหร่ออกซิเจนจึงจะหมด ระยะเวลาทีใช้ออกซิเจนได้ ( นาที ) = 800 x 2.41 ่ 8 = 241 นาที ( 6 ชัวโมง ) ่
  • 11. วิธีการใช้ งาน  ควรตรวจดูวาเครืองมือหรืออุปกรณ์ทจะนามาต่อใช้งาน เช่น Flow ่ ่ ่ี meter ควรอยูในตาแหน่งปิด ( Off ) ก่อนจะเปิดวาล์วใช้งานทุกครัง ่ ้  ต่ออุปกรณ์ดานหนึ่งของอุปกรณ์การทาความชืนเข้ากับ Flow meter ้ ้ อีกด้านหนึ่งต่อเข้ากับท่อนาออกซิเจน  เปิดวาล์วทีถงออกซิเจนโดยให้คอยๆ เปิดวาล์วช้าๆ รอจนเสียงของ ่ ั ่ ออกซิเจนทีไหลออกมาเงียบลง จากนันจึงเปิดจนสุด ( หมุนทวนเข็มนาฬิกา) ่ ้ แล้วหมุนกลับเล็กน้อย ่  ปรับหมุนปุม Flow meter เพือเปิดอัตราการไหลของออกซิเจนตาม ่ ต้องการ  เมือไม่ตองการใช้ออกซิเจน ให้ปิดวาล์วทีถงออกซิเจน รอจน Flow ่ ้ ่ ั meter ตกเป็ นศูนย์ จึงปิด Flow meter
  • 12. การทาความสะอาด ใช้ผาชืนหมาดๆเช็ดถังบรรจุออกซิเจน แล้วเช็ดตามด้วยผ้าแห้ง รวมทังเช็ดทา ้ ้ ้ ความสะอาด Pressure regulator ด้วย ข้อควรระวัง  ไม่ควรตังถังออกซิเจนไว้ใกล้กบวัตถุไวไฟ ้ ั  เครืองมือทีจะนามาใช้ถงบรรจุออกซิเจน ห้ามใช้น้ ามันหล่อลืนทุกชนิด เพราะ ่ ่ ั ่ อาจติดไฟได้  หากมีออกซิเจนรัวออกตามรูต่างๆของอุปกรณ์ ควรส่งซ่อมทันที ไม่ควรใช้ ่ วัสดุทุกประเภทมาปิดรูรวทีเกิดขึน ั่ ่ ้  ระหว่างทีมการจัดวางหรือเคลือนย้าย ต้องระวังอย่างยิง อย่าให้ถงบรรจุ ่ ี ่ ่ ั ออกซิเจน และ Pressure regulator ล้ม เพราะอุปกรณ์นิรภัยจะ เสียหาย ทาให้ถงบรรจุแก๊สระเบิดได้ ั
  • 13. 2. Oxygen จาก Central supply ที่ส่งมาตาม Pipe ้ ่ ้ ่ line เป็ นระบบจ่ายออกซิเจนจากศูนย์ไปยังหอผูปวย หรือห้องผูปวย โดย ่ ั ่ ผ่านท่อซึงเดินลอยหรือฝงอยูในผนังตึก และมีรเปิด ณ จุดทีตองการใช้ ู ่ ้ ออกซิเจน
  • 14. วิธีการใช้งาน 1. ให้หวต่อของ Flow meter เข้ากับรูเปิดของออกซิเจน ( ั Oxygen out let ) ทีฝาผนัง ดูให้เหลียมตรงกัน แล้วดัน Flow ่ ่ meter เข้าไปตรงๆให้ได้ยนเสียงดังแกร๊ก ิ 2. เมือ Flow meter เข้าทีเรียบร้อย ค่อยต่ออุปกรณ์ทาความชืนและ ่ ่ ้ ท่อนาออกซิเจน ข้อควรระวัง เมือเลิกใช้ออกซิเจน ควรนาเอา Flow meter ออกจาก Oxygen ่ outlet แล้วปิดรูเปิดให้เรียบร้อย เพือป้องกันไม่ให้ฝนเกาะ ่ ุ่
  • 15. อุปกรณ์ ควบคุมอัตราการไหลของออกซิเจน ( Flow meter ) Flow meter : เป็ นอุปกรณ์ควบคุม การไหลของออกซิเจน ทีบอยทีสุด มักจะ ่ ่ ่ สามารถปรับอัตราการไหลของออกซิเจน ตังแต่ 0 - 15 ลิตรต่อนาที โดยการอ่าน ้ อัตราการไหลของออกซิเจนจากลูกลอยใน หลอดแก้วใส ในเด็กเล็กมี Flow meter ทีสามารถตังค่าได้ละเอียดมาก ่ ้ ขึน ระหว่าง 0 - 2 ลิตรต่อนาที ้
  • 16. Pressure Pressure regulator regulator แบบมี แบบมีมาตรวัดความดัน 2 มาตรวัดความดัน ั ั หน้าปด หน้าปดแรกสาหรับวัด ( Pressure gauge ) ปริมาตรก๊าซทีเหลือในถัง ่ เพียงอันเดียว ั ่ หน้าปดทีสองสาหรับควบคุม ความดันก๊าซทีไหลออกจากถัง ่
  • 17. วิธีการใช้งาน ่  ตรวจปุมปรับอัตราการไหลให้อยูในสภาพปิด ่  สวมปลายข้างหนึ่งของ Flow meter เข้าในรูเปิดของ Pipe line หรือเชือมต่อกับ Pressure regulator บนถังบรรจุออกซิเจน ่ การทาความสะอาด  ใช้ผาชุบน้ าหมาดๆเช็ดให้สะอาด แล้วเช็ดตามด้วย 70% Alcohol ้ ข้อควรระวัง  ปิดปุม Flow meter ทุกครังหลังเลิกใช้ เพือป้องกันไม่ให้ลกลอยชน ่ ้ ่ ู ด้านบนของหลอดแก้ว ซึงจะทาให้ Flow meter ชารุดได้งาย ่ ่  ควรปลดอุปกรณ์ทาความชืนออกจาก Flow meter หลังเลิกใช้ทุกครัง ้ ้ เพือป้องกันไม่ให้น้ าไหลเข้า Flow meter ่
  • 18. อุปกรณ์ ทาความชืนและฝอยละออง ้ Humidifier และ Nebulizer ่ ี ่ ั ั ออกซิเจนทีมอยูในปจจุบนนี้ ไม่วาจะถูกเก็บในลักษณะ Compressed ่ oxygen หรือ Liquid oxygen ล้วนเป็ นออกซิเจนบริสทธิ ์ทีผาน ุ ่ ่ การกรองและดูดความชืนออกแล้วทังสิน เมือมีการนาก๊าซออกซิเจนออกมา ้ ้ ้ ่ ั ้ ่ ใช้กบผูปวย จาเป็ นอย่างยิงทีจะต้องทาให้ออกซิเจนแห้งนี้ มีความชืนอยูใน ่ ่ ้ ่ ระดับทีพอเหมาะไม่เป็ นอันตรายต่อทางเดินหายและปอด วิธการในการทา ่ ี ความชืนให้กบอากาศ หรือออกซิเจนนัน แบ่งเป็ น 2 วิธี ใหญ่ๆ คือ ้ ั ้ 1.Humidification : การทาให้น้าระเหยเป็ นไอ ( Vaporiazation ) 2.Heated humidifier : เป็ น Humidifier ทีมเี ครือง ่ ่ ทาความร้อนในตัว
  • 19.  Humidification : การทาให้น้ าระเหยเป็ นไอ ( Vaporization ) แล้วลอยปะปนไปกับอากาศหรือออกซิเจน หรือ กล่าวอีกนัยหนึ่งคือ การทาให้น้ าอยูในสถานะก๊าซเช่นเดียวกับอากาศ ่ ความชืนลักษณะนี้ไม่สามารถมองเห็นได้ดวยตาเปล่า แบ่งเป็ น 2 ชนิด คือ ้ ้ 1.Simple humidifier : เป็ น Humidifier ทีไม่มเี ครืองทา ่ ่ ความร้อนในตัว ชนิดทีนิยมใช้มากทีสด คือ Bubble humidifier ( ่ ุ่ บางชนิดสามารถปรับให้เป็ น Jet nebulizer ในเครืองเดียวกันได้ ) ่ รูป A รูป B Bubble humidifier Jet nebulizer
  • 20. ข้อบ่งชี้ : ใช้ในกรณีทตองการทาให้แก๊สออกซิเจนซึงเดิมเป็ นแก๊สแห้ง ่ี ้ ่ ปราศจากความชืน มีความชืนเหมาะสมสาหรับการหายใจ ้ ้ วิธีการใช้  เติม Sterile water ลงในภาชนะให้ถงระดับทีกาหนดไว้ตามเส้น ึ ่ เครืองหมาย ่  ต่อเครือง Humidifier เข้ากับ Flow meter ซึงต่อกับท่อ ่ ่ ออกซิเจนอยูแล้ว ่  ส่วนปลายท่ออีกด้านหนึ่งของ Humidifier ต่อกับ Nasal ่ ั ้ ่ cannula หรือ mask ทีใช้กบผูปวย  เปิด Flow meter ปรับให้ได้ปริมาณออกซิเจนตามต้องการ  ถ้าน้ าในภาชนะลดระดับต่ากว่าขีดทีกาหนด ควรเปิดฝาเปลียนน้ าใหม่ ให้ ่ ่ อยูในระดับเต็มขีดทีกาหนดเสมอ ่ ่
  • 21. ต่อ  หมันตรวจดูวา เครืองทาความชืนใช้งานได้ดอยูหรือไม่ เช่น ดูการปุดใต้น้ า ่ ่ ่ ้ ี ่ อย่างสม่าเสมอ  ระดับน้ าใน Humidifier ควรอยูเหนือขีดต่าสุดทีกาหนดไว้เสมอ ่ ่ มิฉะนันจะไม่ได้ความชืน ้ ้  ก่อนการเติม Sterile water ทุกครัง ควรเทน้ าทีเหลือใน ้ ่ Humidifier เดิมทิงก่อน เพือป้องกันการสะสมของเชือโรค ้ ่ ้ ้ ่ ่  ไม่ควรใช้ Simple humidifier กับผูปวยทีใส่ Endotracheal tube หรือ Tracheostomy tube เพราะ จะให้ความชืนไม่พอ ในกรณีดงกล่าว ควรใช้ Heated humidifier ้ ั หรือ Nebulizer แทน
  • 22. 2.Heated humidifier : เป็ น Humidifier ทีมเี ครืองทา ่ ่ ความร้อนในตัว ทาให้อากาศทีไหลผ่าน มีความอุ่นพอเหมาะกับหลอดลม ่ และอุมความชืนได้มากขึน ชนิดทีใช้กนอย่างแพร่หลาย ได้แก่ Heated ้ ้ ้ ่ ั bubble type humidifier และ Heated wick type humidifier รูป C Heated humidifier ที่ใช้ต่อกับเครื่องช่วยหายใจ
  • 23.  ข้อบ่งชี้ ้ ่ ่  ใช้ให้ความชืนในผูปวยทีหายใจเอง ผ่าน Endotracheal tube ้ หรือ Tracheotomy tube  ใช้เป็ นอุปกรณ์ให้ความชืนของเครืองช่วยหายใจ ้ ่ ้ ้ ่  ใช้ให้ความชืนในผูปวยเด็กทีหายใจผ่าน Oxygen box ่  วิธีการ  เติม Sterile water จนถึงขีดทีเครืองกาหนด ่ ่  ต่อกับ Ventilator circuit ตามแต่ชนิดของเครืองช่วยหายใจ ่ ่ ่  เปิดสวิตช์เครือง Humidifier และปุมปรับตังความร้อนให้ได้อุณหภูม ิ ้ ่ ั ้ ่ ของแก๊สทีให้กบผูปวยไม่ต่ากว่า 25 องศาเซลเซียส และไม่สงเกิน 37 องศา ู เซลเซียส
  • 24.  การทาความสะอาด  ควรทาความสะอาดทุก 3 วัน โดยทาความสะอาดเฉพาะส่วนทีเป็ นภาชนะ ่ ใส่น้ า ล้างให้สะอาด ผึงให้แห้ง แล้วนาไปอบแก๊ส ่  ข้อควรระวัง  ท่อนาแก๊สทีต่อกับ Heated humidifier ต้องเป็ น ่ Corrugated tube เท่านัน ้  หมันตรวจดูตามท่อช่วยหายใจ อย่าให้น้ าท่วมขัง ่ ่ ั ้ ่  ตรวจสอบอุณหภูมของแก๊สทีให้กบผูปวย เพราะถ้าต่าเกินไป จะทาให้ ิ ้ ่ ผูปวยได้รบความชืนไม่เพียงพอ เสมหะอาจเหนียวแห้งอุดตันในระบบ ั ้ ้ ่ หายใจได้ หรือถ้าสูงเกินไปอาจทาให้ทางเดินหายใจของผูปวย burn ได้
  • 25.  Nebulization : วิธการทาความชืนแบบ ทาให้น้ ากลายเป็ นละออง ี ้ เล็กๆแขวนลอยไปกับอากาศ อากาศทีมละอองน้ าแขวนลอยอยูน้ี เรียกว่า ่ ี ่ Aerosol ซึงสามารถมองเห็นเป็ นควันขาวๆ เครืองมือทีผลิต Aerosol ่ ่ ่ ทีแพร่หลายมากทีสุดคือ Jet nebulizer แบ่งเป็ น 3 ประเภท คือ ่ ่ 1. Small volume nebulizer (Hand - held nebulizer) ข้อบ่งชี้ : ใช้ในกรณีทตองการให้ยาขยายหลอดลมหรือยาอื่นๆโดยตรง หรือ ่ี ้ ต้องการให้ความชุมแก่ทางเดินหายใจ ทาให้เสมหะเหนียวน้อยลง ถูกขับออก ่ ได้งาย ่ การใช้ Small volume การใช้ Small volume nebulizer nebulizer ผ่าน mouth piece ผ่าน face mask
  • 26. การใช้ Small volume nebulizer ผ่าน t – piece  การทาความสะอาด ่ ้ ่ อุปกรณ์พนยาแต่ละชุดควรใช้ในผูปวยเพียง 1 ราย ให้เปลียนและทาความ ่ สะอาดทุกๆ 24 ชัวโมง โดยล้างอุปกรณ์ทุกชินให้สะอาด แล้วทาให้แห้ง ่ ้ ก่อนนาไปอบแก๊ส
  • 27. 2.Large - volume jet nebulizer ข้อบ่งชี้ : Large - volume jet nebulizer เป็ นเครืองมือทีผลิตละออง ่ ่ น้ าได้อย่างต่อเนื่องตลอดเวลา ทาให้ทางเดินหายใจชุมชืนอยูเสมอ มักใช้รวมกับ ่ ่ ่ ่ การให้ออกซิเจนแบบต่างๆ เช่น oxygen box, T - piece, การทาความสะอาด ทาแบบเดียวกับ Small tracheotomy mask เป็ นต้น volume nebulizer ทุกๆ 24 ชัวโมง ่ ข้อควรระวัง อาจมีเชือโรคปนเปื้อนได้ ถ้าดูแลเรืองความ ้ ่ สะอาดไม่ดพอถ้ามีน้ าทีกลันตัวค้างใน ี ่ ่ Corrugated tube มากๆจะทาให้แก๊ส ้ ่ ไปถึงตัวผูปวยลดลงจึงควรหมันเทน้ าทีคางใน ่ ่ ้ corrugated tube ออก ระวังอย่าให้น้ า ไหลย้อนกลับไปยังภาชนะทีใส่น้ าหรือไหลลง ่ ้ ่ ผูปวย
  • 28. ั ้ ่ ่ 3.Ultrasonic nebulizer : ใช้กบผูปวยทีมเี สมหะเหนียว ขับ เสมหะไม่ออกหลังจากใช้แบบ Small - volume jet nebulizer หรือ Large - volume jet nebulizer แล้วไม่ดขน ี ้ึ Ultrasonic nebulizer
  • 29. อุปกรณ์ ที่ใช้ต่อกับผูป่วย ( Oxygen therapy device ) ้  Oxygen therapy device เป็ นอุปกรณ์บาบัดออกซิเจนส่วนทีต่อกับ ่ ้ ่ ผูปวยโดยตรงสามารถแบ่งประเภทการใช้งานได้ ดังนี้ อุปกรณ์ ที่ให้ออกซิเจนผ่านทางจมูกและทางปาก ได้แก่  Nasal cannula  Simple mask  Partial rebreathing mask  Non - Partial rebreathing mask  Ventury mask  Oxygen hood or Box อุปกรณ์ ที่ให้ออกซิเจนผ่านทาง Endothacheal or Tracheostomy tube  T – piece  Tracheostomy mask
  • 30. ตารางแสดงความเข้มข้นของ Oxygen ( FIO2 ) ที่ได้โดยประมาณเมื่อใช้ Oxygen therapy อุปกรณ์ อัdevice ชนิดต่างๆ จน ( LPM ) ตราการไหลของออกซิเ FIO2 โดยประมาณ 1 0.24 2 0.28 Nasal cannula 3 0.31 4 0.34 5 0.37 6 0.40 6 0.35 Simple mask 7 0.40 8 0.48 9 0.50 10 0.55 6 0.35 7 0.40 Partial rebreathing mask 8 0.45 9 0.50 10 0.60 Non - Partial rebreathing mask > 10 0.95 + 0.05 T – piece 15 0.7 - 1 Tracheostomy tube 15 0.45 – 0.6 Oxygen hood or Box 7 - 15 0.3 – 0.7
  • 31. สรุป ิ ่ ั ้ ่  แผนภูมแสดงระบบการส่งออกซิเจนเพือนาไปใช้กบผูปวยไม่วาจะเป็ น ่ ้ ่ ่ ผูปวยทีใช้เครืองช่วยหายใจ หรือไม่ใช้เครืองช่วยหายใจก็ตาม ่ ่ Oxygen O2 Humidifier Flow meter therapy 0 – 15 LPM Nebulizer device แหล่งกาเนิด Pressure O2 ออกซิเจน regulator 50 Psi Respirator Endothacheal tube