SlideShare a Scribd company logo
1 of 14
Download to read offline
Learning Management System
                    ผศ.ดร.เด่นพงษ์ สุดภักดี
                      ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายวิชาการ และ
           ผู้อานวยการสานักนวัตกรรมการเรียนการสอน
                                 มหาวิทยาลัยขอนแก่น
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เด่นพงษ์ สุดภักดี
• ผู้ช่วยอธิการดีฝ่ายวิชาการ
  มหาวิทยาลัยขอนแก่น
• ผู้อานวยการสานักนวัตกรรมการเรียนการสอน
  มหาวิทยาลัยขอนแก่น
• อาจารย์ประจาภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล
  คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
• ผู้เชี่ยวชาญด้านการอนุรักษ์พลังงาน
  กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน
  กระทรวงพลังงาน
นิยาม Learning Management System (LMS)
    “A software application for the administration,
    documentation, tracking, and reporting of training
   programs, classroom and online events, e-learning
            programs, and training content”
                          --|--



“เป็นซอฟต์แวร์ประยุกต์สาหรับการบริหารจัดการ จัดทาเอกสาร
    ติดตามและรายงานผลการฝึกอบรม ห้องเรียนและกิจกรรม
                    ออนไลน์ e-Learning”
                                          Ellis, Ryann K. (2009)
ผู้ใช้งาน LMS
• กลุ่มสถานศึกษา
   – การจัดการบทเรียน
   – การจัดการการเรียนรู้ของนักเรียน นิสิต นักศึกษา
• กลุ่มองค์การ/องค์กร ต่างๆ
   – การพัฒนาบุคลากร
   – การประเมิน ติดตามสมรรถนะรายบุคคล
ลักษณะเฉพาะของ LMS
(ที่เหมือนกันทุกซอฟต์แวร์)
• มีระบบจัดการผูใช้ ระบบกาหนดบทบาทผู้ใช้ ระบบจัดการวิชา ระบบจัดการ
                 ้
  ผู้สอน ระบบสนับสนุนการสร้างกิจกรรมการเรียนรู้ และระบบรายงานผล
• มีปฏิทินการศึกษาของรายวิชา
• มีเส้นทางการเรียนรู้ (Learning Path)
• มีระบบการส่งข้อความติดต่อผู้ใช้และระบบแจ้งเตือน
• มีระบบประเมินผลการเรียนรู้
• มีระบบแสดงผลการเรียนรู้
• มีระบบบันทึกการใช้งานของผู้ใช้
• มีระบบการนาส่งข้อมูลผ่านเว็บหรือผสมผสาน
ลักษณะเฉพาะของ LMS
(อาจแตกต่างกันในแต่ละซอฟต์แวร์)
• ระบบลงทะเบียนเข้าศึกษาในรายวิชา (ตามเงื่อนไขของรายวิชา หรือ ตาม
  ข้อจากัดในความสามารถของซอฟต์แวร์
• เงื่อนไขการเข้าเรียน (prerequisite หรือ equivalency)
• การบูรณาการระบบจัดการสมรรถนะรายบุคคล
• เครื่องมือในการวางแผนในการพัฒนาทักษะรายบุคคล
• ระบบจัดการหลักสูตร
• ระบบจัดกลุ่มผู้ใช้ที่หลากหลายเช่น ตามพื้นที่ให้บริการ ตามสายการผลิต
  ตามขนาดหน่วยงาน เป็นต้น
ข้อมูลทางเทคนิคของ LMS
• ขึ้นกับแพลตฟอร์มในการพัฒนา
   – Java/J2EE
   – Microsoft .NET
   – PHP
• มักจะมีระบบฐานข้อมูลในการจัดการเป็น back-end
• จาแนกตามเชิงพาณิชย์ได้ 2 ประเภท
   – ซอฟต์แวร์เชิงพาณิชย์ (Commercial software)
   – ซอฟต์แวร์แบบเปิด (Open-Source)
ระบบจัดการเนื้อหาการเรียนรู้ (LCMS)
• LCMS - Learning Content Management System
• เป็นระบบกลางในการจัดการเนื้อหา (Central Object Repository)
• เป็นระบบสร้าง จัดเก็บ นาไปใช้งานในลักษณะใช้ซ้าๆ ร่วมกัน จัดการ และ
  นาส่งเนื้อหาการเรียนรู้แบบดิจิตอล
• มักเป็นการพัฒนาเนื้อหาการเรียนรู้เป็นชิ้นๆ เรียกว่า Learning Object
• เน้นจัดการเนื้อหาให้สามารถใช้งานซ้าร่วมกันได้ ในขณะที่ LMS เน้นการ
  จัดการผู้เรียน และสมรรถนะในการเรียนรู้ของผู้เรียน
การเลือก LMS (Product Features Approach)
• Integration with current database
  LMS ที่ไม่สามารถทางานร่วมกับระบบ HR หรือ ระบบทะเบียนประวัติที่มีอยู่แล้ว จะ
  สร้างปัญหาในการใช้งานให้กับองค์กรในระยะยาวได้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งระบบการเข้า
  ใช้งานของผูใช้
              ้
• Administration tools
  LMS ต้องมีระบบบริหารจัดการผู้ใช้ การลงทะเบียนเรียนและทะเบียนประวัติ กาหนด
  บทบาทหน้าที่ในระบบได้ มีระบบติดตามและบันทึกการใช้งานของผูใช้ที่ละเอียด และที่
                                                                ้
  สาคัญจะต้องสามารถเข้าถึงฐานข้อมูลระบบได้เต็มที่เพื่อให้สามารถพัฒนาระบบต่อได้
  เช่นการรายงานผลตามความต้องการขององค์กร โดยระบบการจัดการทั้งหมดควรจะมี
  GUI ที่ใช้งานได้ง่าย
การเลือก LMS (Product Features Approach)
• Content access
   เป็นความสามารถในการรองรับรูปแบบการจัดการเรียนรู้ มีวิธีการนาส่งเนื้อหาที่หลากหลาย
   เพื่อให้สามารถเลือกได้เหมาะสมกับการใช้งาน มีภาษาที่เหมาะสมกับเนื้อหา
• Content development
   เกี่ยวกับเครื่องมือในการพัฒนา จัดเก็บ และดูแลเนื้อหา
• Content integration
   ความสามารถในการใช้งานเนื้อหาที่ผลิตจากเครื่องมืออื่นๆ ภายนอก ควรหลีกเลี่ยง
   LMS ที่ต้องใช้งานกับเครื่องมือผลิตสื่อที่เป็นของ LMS อย่างเดียวเท่านั้น
• Skill management
   เป็นเครื่องมือในการวัดศักยภาพของผู้เรียน โดยสามารถแสดงผลการเรียนรู้ได้
การเลือก LMS (Product Features Approach)
• Assessment capabilities
   มีระบบประเมินผล ทั้งในเนื้อหาหรือประเมินภาพรวม
• Adherence to standards
   สามารถรองรับเนื้อหาที่ผลิตตามมาตรฐานได้ เช่น SCORM ข้อพึงระวังในส่วนนี้
   เนื่องจากมี LMS หลายตัวที่ต้องมีค่าใช้จ่ายเพิ่มหากต้องการใช้งานส่วนนี้
• Configurability
   ความสามารถในการแก้ไขระบบการจัดการ หน้าตา หรือการติดตั้งระบบใหม่เพื่อรองรับ
   การใช้งานขององค์กร
• Security
   มีระบบรักษาความปลอดภัยที่เชื่อถือได้ โดยอาจจะมีระบบที่รองรับ Password policy
   หรือมี Password salt เป็นต้น
การเลือก LMS (Cost and pricing approach)
• In-house open-source model
   การใช้งานโปรแกรม Open-Source มีข้อดีทตัวโปรแกรมไม่มีคาใช้จ่าย แต่ตองมีผู้ดูแลระบบที่ดี และมี
                                        ี่              ่            ้
   ความชานาญในตัวโปรแกรม และพร้อมศึกษาหาความรู้เกียวกับโปรแกรมอยู่เสมอ
                                                   ่
• Direct purchase model
   เป็นการจัดซือโปรแกรมสาเร็จรูปและติดตั้งในองค์กร ซึ่งจะต้องมีผดูแลภายในองค์ทดี มีความเข้าใจระบบ
               ้                                                ู้            ี่
   ซึ่งอาจจะได้รับการฝึกอบรมจากเจ้าของโปรแกรมในระยะเริ่มแรก
• Third-party maintenance model
   เป็นการจัดซื้อโปรแกรมติดตั้งในระบบขององค์กร แต่การดูแลรักษา การ update/upgrade เป็น
   การซื้อบริการจากผู้ให้บริการซึ่งเป็นได้ทั้งเจ้าของโปรแกรมหรือที่ปรึกษาอื่นๆ
• Software as a Service (SaaS) model
   เป็นการจัดซื้อซอฟแวร์ในลักษณะของการซื้อบริการ เป็นการจัดการและดูแลโดยภายนอกองค์กร
   ทั้งหมด โดยระบบทั้งฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์เป็นการติดตั้งทางกายภาพนอกองค์กรทั้งหมด
การเลือก LMS (Cost and pricing approach)
•   ราคาที่เสนอรวมค่าบารุงรักษา การฝึกอบรม หรือค่าที่ปรึกษาหรือไม่
•   ต้องการความสามารถด้านความปลอดภัยเป็นพิเศษหรือไม่
•   ต้องการการสนับสนุนเชิงเทคนิคหรือไม่
•   ราคารวมการ upgrade หรือไม่ อย่างไร
•   ราคาขึ้นกับจานวนผู้ใช้งานหรือจานวน user ในระบบหรือไม่
THANK YOU

More Related Content

Viewers also liked

Viewers also liked (6)

ICT and e-Learning (Thai)
ICT and e-Learning (Thai)ICT and e-Learning (Thai)
ICT and e-Learning (Thai)
 
Video the Major Player in OERs
Video the Major Player in OERsVideo the Major Player in OERs
Video the Major Player in OERs
 
Ees manual
Ees manualEes manual
Ees manual
 
KKU Faculty Staff Development
KKU Faculty Staff DevelopmentKKU Faculty Staff Development
KKU Faculty Staff Development
 
ICT and Social Media in Thailand Education
ICT and Social Media in Thailand EducationICT and Social Media in Thailand Education
ICT and Social Media in Thailand Education
 
Engineering Equation Solver (Thai)
Engineering Equation Solver (Thai)Engineering Equation Solver (Thai)
Engineering Equation Solver (Thai)
 

Similar to Learning Management System

04 instructional system_design
04 instructional system_design04 instructional system_design
04 instructional system_designAthit Thongkum
 
Instructional Design for e-Learning
Instructional Design for e-LearningInstructional Design for e-Learning
Instructional Design for e-LearningBoonlert Aroonpiboon
 
การเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญระดับอุดมศึกษา
การเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญระดับอุดมศึกษาการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญระดับอุดมศึกษา
การเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญระดับอุดมศึกษาPrachyanun Nilsook
 
Instructional Design for e-Learning
Instructional Design for e-LearningInstructional Design for e-Learning
Instructional Design for e-LearningBoonlert Aroonpiboon
 
ตัวอย่างบทที่ 2 ระบบ e-learning สอนphotoshop
ตัวอย่างบทที่ 2 ระบบ e-learning สอนphotoshopตัวอย่างบทที่ 2 ระบบ e-learning สอนphotoshop
ตัวอย่างบทที่ 2 ระบบ e-learning สอนphotoshoprubtumproject.com
 
นวัตกรรมและสารสนเทศ
นวัตกรรมและสารสนเทศนวัตกรรมและสารสนเทศ
นวัตกรรมและสารสนเทศWisut Lakhamsai
 
องค์ประกอบของ Lms
องค์ประกอบของ Lmsองค์ประกอบของ Lms
องค์ประกอบของ LmsSudkamon Play
 
20140612 elearning
20140612 elearning20140612 elearning
20140612 elearningbundith
 

Similar to Learning Management System (20)

Week5
Week5Week5
Week5
 
Elearning2.0
Elearning2.0Elearning2.0
Elearning2.0
 
Moodle bsf2010
Moodle bsf2010Moodle bsf2010
Moodle bsf2010
 
04 instructional system_design
04 instructional system_design04 instructional system_design
04 instructional system_design
 
Instructional Design for e-Learning
Instructional Design for e-LearningInstructional Design for e-Learning
Instructional Design for e-Learning
 
Moodle
MoodleMoodle
Moodle
 
การเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญระดับอุดมศึกษา
การเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญระดับอุดมศึกษาการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญระดับอุดมศึกษา
การเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญระดับอุดมศึกษา
 
Instructional Design for e-Learning
Instructional Design for e-LearningInstructional Design for e-Learning
Instructional Design for e-Learning
 
ตัวอย่างบทที่ 2 ระบบ e-learning สอนphotoshop
ตัวอย่างบทที่ 2 ระบบ e-learning สอนphotoshopตัวอย่างบทที่ 2 ระบบ e-learning สอนphotoshop
ตัวอย่างบทที่ 2 ระบบ e-learning สอนphotoshop
 
K8
K8K8
K8
 
นวัตกรรมและสารสนเทศ
นวัตกรรมและสารสนเทศนวัตกรรมและสารสนเทศ
นวัตกรรมและสารสนเทศ
 
องค์ประกอบของ Lms
องค์ประกอบของ Lmsองค์ประกอบของ Lms
องค์ประกอบของ Lms
 
AECT W1 704
AECT W1 704AECT W1 704
AECT W1 704
 
20140612 elearning
20140612 elearning20140612 elearning
20140612 elearning
 
Elearning2.0
Elearning2.0Elearning2.0
Elearning2.0
 
Moodle2010
Moodle2010Moodle2010
Moodle2010
 
Moodle
MoodleMoodle
Moodle
 
Introduction to e-Learning
Introduction to e-LearningIntroduction to e-Learning
Introduction to e-Learning
 
E4
E4E4
E4
 
2 3
2 32 3
2 3
 

More from Denpong Soodphakdee

Graduate Skills for Digital Age Employability
Graduate Skills for Digital Age EmployabilityGraduate Skills for Digital Age Employability
Graduate Skills for Digital Age EmployabilityDenpong Soodphakdee
 
Smart Living, Learning, & Working @KKU
Smart Living, Learning, & Working @KKUSmart Living, Learning, & Working @KKU
Smart Living, Learning, & Working @KKUDenpong Soodphakdee
 
Balancing Graduate Skills for Digital Age Employability
Balancing Graduate Skills for Digital Age EmployabilityBalancing Graduate Skills for Digital Age Employability
Balancing Graduate Skills for Digital Age EmployabilityDenpong Soodphakdee
 
Living, Learning, & Working Smart @KKU
Living, Learning, & Working Smart @KKULiving, Learning, & Working Smart @KKU
Living, Learning, & Working Smart @KKUDenpong Soodphakdee
 
Concept of e-Learning and its Applications
Concept of e-Learning and its ApplicationsConcept of e-Learning and its Applications
Concept of e-Learning and its ApplicationsDenpong Soodphakdee
 
ICT Administration in Modern Education Institute
ICT Administration in Modern Education InstituteICT Administration in Modern Education Institute
ICT Administration in Modern Education InstituteDenpong Soodphakdee
 
Communication in Modern Organization
Communication in Modern OrganizationCommunication in Modern Organization
Communication in Modern OrganizationDenpong Soodphakdee
 
Social Medias in Library Service
Social Medias in Library ServiceSocial Medias in Library Service
Social Medias in Library ServiceDenpong Soodphakdee
 
Net Zero Energy Building @ Khon Kaen University
Net Zero Energy Building @ Khon Kaen UniversityNet Zero Energy Building @ Khon Kaen University
Net Zero Energy Building @ Khon Kaen UniversityDenpong Soodphakdee
 
Higher Education for 21st Century Learners
Higher Education for 21st Century LearnersHigher Education for 21st Century Learners
Higher Education for 21st Century LearnersDenpong Soodphakdee
 
Flipped Classroom at Khon Kaen University
Flipped Classroom at Khon Kaen UniversityFlipped Classroom at Khon Kaen University
Flipped Classroom at Khon Kaen UniversityDenpong Soodphakdee
 
Technology Skills Required to be a Success Secretary
Technology Skills Required to be a Success SecretaryTechnology Skills Required to be a Success Secretary
Technology Skills Required to be a Success SecretaryDenpong Soodphakdee
 
Cloud Computing and Open Educational Resources
Cloud Computing and Open Educational ResourcesCloud Computing and Open Educational Resources
Cloud Computing and Open Educational ResourcesDenpong Soodphakdee
 
Innovative Online Technology in Education
Innovative Online Technology in EducationInnovative Online Technology in Education
Innovative Online Technology in EducationDenpong Soodphakdee
 

More from Denpong Soodphakdee (20)

Graduate Skills for Digital Age Employability
Graduate Skills for Digital Age EmployabilityGraduate Skills for Digital Age Employability
Graduate Skills for Digital Age Employability
 
Smart Living, Learning, & Working @KKU
Smart Living, Learning, & Working @KKUSmart Living, Learning, & Working @KKU
Smart Living, Learning, & Working @KKU
 
Balancing Graduate Skills for Digital Age Employability
Balancing Graduate Skills for Digital Age EmployabilityBalancing Graduate Skills for Digital Age Employability
Balancing Graduate Skills for Digital Age Employability
 
Living, Learning, & Working Smart @KKU
Living, Learning, & Working Smart @KKULiving, Learning, & Working Smart @KKU
Living, Learning, & Working Smart @KKU
 
New Media in Digital Age
New Media in Digital AgeNew Media in Digital Age
New Media in Digital Age
 
21st century learning skills
21st century learning skills21st century learning skills
21st century learning skills
 
ICT in Modern Education
ICT in Modern EducationICT in Modern Education
ICT in Modern Education
 
New Learning Paradigm
New Learning ParadigmNew Learning Paradigm
New Learning Paradigm
 
Concept of e-Learning and its Applications
Concept of e-Learning and its ApplicationsConcept of e-Learning and its Applications
Concept of e-Learning and its Applications
 
KKU General Education 3.0
KKU General Education 3.0KKU General Education 3.0
KKU General Education 3.0
 
ICT Administration in Modern Education Institute
ICT Administration in Modern Education InstituteICT Administration in Modern Education Institute
ICT Administration in Modern Education Institute
 
Communication in Modern Organization
Communication in Modern OrganizationCommunication in Modern Organization
Communication in Modern Organization
 
Social Medias in Library Service
Social Medias in Library ServiceSocial Medias in Library Service
Social Medias in Library Service
 
Net Zero Energy Building @ Khon Kaen University
Net Zero Energy Building @ Khon Kaen UniversityNet Zero Energy Building @ Khon Kaen University
Net Zero Energy Building @ Khon Kaen University
 
Higher Education for 21st Century Learners
Higher Education for 21st Century LearnersHigher Education for 21st Century Learners
Higher Education for 21st Century Learners
 
Flipped Classroom at Khon Kaen University
Flipped Classroom at Khon Kaen UniversityFlipped Classroom at Khon Kaen University
Flipped Classroom at Khon Kaen University
 
Technology Skills Required to be a Success Secretary
Technology Skills Required to be a Success SecretaryTechnology Skills Required to be a Success Secretary
Technology Skills Required to be a Success Secretary
 
Google Apps - KKU Experiences
Google Apps - KKU ExperiencesGoogle Apps - KKU Experiences
Google Apps - KKU Experiences
 
Cloud Computing and Open Educational Resources
Cloud Computing and Open Educational ResourcesCloud Computing and Open Educational Resources
Cloud Computing and Open Educational Resources
 
Innovative Online Technology in Education
Innovative Online Technology in EducationInnovative Online Technology in Education
Innovative Online Technology in Education
 

Learning Management System

  • 1. Learning Management System ผศ.ดร.เด่นพงษ์ สุดภักดี ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายวิชาการ และ ผู้อานวยการสานักนวัตกรรมการเรียนการสอน มหาวิทยาลัยขอนแก่น
  • 2. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เด่นพงษ์ สุดภักดี • ผู้ช่วยอธิการดีฝ่ายวิชาการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น • ผู้อานวยการสานักนวัตกรรมการเรียนการสอน มหาวิทยาลัยขอนแก่น • อาจารย์ประจาภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น • ผู้เชี่ยวชาญด้านการอนุรักษ์พลังงาน กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน กระทรวงพลังงาน
  • 3. นิยาม Learning Management System (LMS) “A software application for the administration, documentation, tracking, and reporting of training programs, classroom and online events, e-learning programs, and training content” --|-- “เป็นซอฟต์แวร์ประยุกต์สาหรับการบริหารจัดการ จัดทาเอกสาร ติดตามและรายงานผลการฝึกอบรม ห้องเรียนและกิจกรรม ออนไลน์ e-Learning” Ellis, Ryann K. (2009)
  • 4. ผู้ใช้งาน LMS • กลุ่มสถานศึกษา – การจัดการบทเรียน – การจัดการการเรียนรู้ของนักเรียน นิสิต นักศึกษา • กลุ่มองค์การ/องค์กร ต่างๆ – การพัฒนาบุคลากร – การประเมิน ติดตามสมรรถนะรายบุคคล
  • 5. ลักษณะเฉพาะของ LMS (ที่เหมือนกันทุกซอฟต์แวร์) • มีระบบจัดการผูใช้ ระบบกาหนดบทบาทผู้ใช้ ระบบจัดการวิชา ระบบจัดการ ้ ผู้สอน ระบบสนับสนุนการสร้างกิจกรรมการเรียนรู้ และระบบรายงานผล • มีปฏิทินการศึกษาของรายวิชา • มีเส้นทางการเรียนรู้ (Learning Path) • มีระบบการส่งข้อความติดต่อผู้ใช้และระบบแจ้งเตือน • มีระบบประเมินผลการเรียนรู้ • มีระบบแสดงผลการเรียนรู้ • มีระบบบันทึกการใช้งานของผู้ใช้ • มีระบบการนาส่งข้อมูลผ่านเว็บหรือผสมผสาน
  • 6. ลักษณะเฉพาะของ LMS (อาจแตกต่างกันในแต่ละซอฟต์แวร์) • ระบบลงทะเบียนเข้าศึกษาในรายวิชา (ตามเงื่อนไขของรายวิชา หรือ ตาม ข้อจากัดในความสามารถของซอฟต์แวร์ • เงื่อนไขการเข้าเรียน (prerequisite หรือ equivalency) • การบูรณาการระบบจัดการสมรรถนะรายบุคคล • เครื่องมือในการวางแผนในการพัฒนาทักษะรายบุคคล • ระบบจัดการหลักสูตร • ระบบจัดกลุ่มผู้ใช้ที่หลากหลายเช่น ตามพื้นที่ให้บริการ ตามสายการผลิต ตามขนาดหน่วยงาน เป็นต้น
  • 7. ข้อมูลทางเทคนิคของ LMS • ขึ้นกับแพลตฟอร์มในการพัฒนา – Java/J2EE – Microsoft .NET – PHP • มักจะมีระบบฐานข้อมูลในการจัดการเป็น back-end • จาแนกตามเชิงพาณิชย์ได้ 2 ประเภท – ซอฟต์แวร์เชิงพาณิชย์ (Commercial software) – ซอฟต์แวร์แบบเปิด (Open-Source)
  • 8. ระบบจัดการเนื้อหาการเรียนรู้ (LCMS) • LCMS - Learning Content Management System • เป็นระบบกลางในการจัดการเนื้อหา (Central Object Repository) • เป็นระบบสร้าง จัดเก็บ นาไปใช้งานในลักษณะใช้ซ้าๆ ร่วมกัน จัดการ และ นาส่งเนื้อหาการเรียนรู้แบบดิจิตอล • มักเป็นการพัฒนาเนื้อหาการเรียนรู้เป็นชิ้นๆ เรียกว่า Learning Object • เน้นจัดการเนื้อหาให้สามารถใช้งานซ้าร่วมกันได้ ในขณะที่ LMS เน้นการ จัดการผู้เรียน และสมรรถนะในการเรียนรู้ของผู้เรียน
  • 9. การเลือก LMS (Product Features Approach) • Integration with current database LMS ที่ไม่สามารถทางานร่วมกับระบบ HR หรือ ระบบทะเบียนประวัติที่มีอยู่แล้ว จะ สร้างปัญหาในการใช้งานให้กับองค์กรในระยะยาวได้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งระบบการเข้า ใช้งานของผูใช้ ้ • Administration tools LMS ต้องมีระบบบริหารจัดการผู้ใช้ การลงทะเบียนเรียนและทะเบียนประวัติ กาหนด บทบาทหน้าที่ในระบบได้ มีระบบติดตามและบันทึกการใช้งานของผูใช้ที่ละเอียด และที่ ้ สาคัญจะต้องสามารถเข้าถึงฐานข้อมูลระบบได้เต็มที่เพื่อให้สามารถพัฒนาระบบต่อได้ เช่นการรายงานผลตามความต้องการขององค์กร โดยระบบการจัดการทั้งหมดควรจะมี GUI ที่ใช้งานได้ง่าย
  • 10. การเลือก LMS (Product Features Approach) • Content access เป็นความสามารถในการรองรับรูปแบบการจัดการเรียนรู้ มีวิธีการนาส่งเนื้อหาที่หลากหลาย เพื่อให้สามารถเลือกได้เหมาะสมกับการใช้งาน มีภาษาที่เหมาะสมกับเนื้อหา • Content development เกี่ยวกับเครื่องมือในการพัฒนา จัดเก็บ และดูแลเนื้อหา • Content integration ความสามารถในการใช้งานเนื้อหาที่ผลิตจากเครื่องมืออื่นๆ ภายนอก ควรหลีกเลี่ยง LMS ที่ต้องใช้งานกับเครื่องมือผลิตสื่อที่เป็นของ LMS อย่างเดียวเท่านั้น • Skill management เป็นเครื่องมือในการวัดศักยภาพของผู้เรียน โดยสามารถแสดงผลการเรียนรู้ได้
  • 11. การเลือก LMS (Product Features Approach) • Assessment capabilities มีระบบประเมินผล ทั้งในเนื้อหาหรือประเมินภาพรวม • Adherence to standards สามารถรองรับเนื้อหาที่ผลิตตามมาตรฐานได้ เช่น SCORM ข้อพึงระวังในส่วนนี้ เนื่องจากมี LMS หลายตัวที่ต้องมีค่าใช้จ่ายเพิ่มหากต้องการใช้งานส่วนนี้ • Configurability ความสามารถในการแก้ไขระบบการจัดการ หน้าตา หรือการติดตั้งระบบใหม่เพื่อรองรับ การใช้งานขององค์กร • Security มีระบบรักษาความปลอดภัยที่เชื่อถือได้ โดยอาจจะมีระบบที่รองรับ Password policy หรือมี Password salt เป็นต้น
  • 12. การเลือก LMS (Cost and pricing approach) • In-house open-source model การใช้งานโปรแกรม Open-Source มีข้อดีทตัวโปรแกรมไม่มีคาใช้จ่าย แต่ตองมีผู้ดูแลระบบที่ดี และมี ี่ ่ ้ ความชานาญในตัวโปรแกรม และพร้อมศึกษาหาความรู้เกียวกับโปรแกรมอยู่เสมอ ่ • Direct purchase model เป็นการจัดซือโปรแกรมสาเร็จรูปและติดตั้งในองค์กร ซึ่งจะต้องมีผดูแลภายในองค์ทดี มีความเข้าใจระบบ ้ ู้ ี่ ซึ่งอาจจะได้รับการฝึกอบรมจากเจ้าของโปรแกรมในระยะเริ่มแรก • Third-party maintenance model เป็นการจัดซื้อโปรแกรมติดตั้งในระบบขององค์กร แต่การดูแลรักษา การ update/upgrade เป็น การซื้อบริการจากผู้ให้บริการซึ่งเป็นได้ทั้งเจ้าของโปรแกรมหรือที่ปรึกษาอื่นๆ • Software as a Service (SaaS) model เป็นการจัดซื้อซอฟแวร์ในลักษณะของการซื้อบริการ เป็นการจัดการและดูแลโดยภายนอกองค์กร ทั้งหมด โดยระบบทั้งฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์เป็นการติดตั้งทางกายภาพนอกองค์กรทั้งหมด
  • 13. การเลือก LMS (Cost and pricing approach) • ราคาที่เสนอรวมค่าบารุงรักษา การฝึกอบรม หรือค่าที่ปรึกษาหรือไม่ • ต้องการความสามารถด้านความปลอดภัยเป็นพิเศษหรือไม่ • ต้องการการสนับสนุนเชิงเทคนิคหรือไม่ • ราคารวมการ upgrade หรือไม่ อย่างไร • ราคาขึ้นกับจานวนผู้ใช้งานหรือจานวน user ในระบบหรือไม่