SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 8
Baixar para ler offline
ธรรมชาติของภาษา
1.ภาษาใช้เสี ยงสื่ อความหมาย
1.1 ภาษาในความหมายอย่างกว้าง หมายถึง การแสดงออกทัวไปเพื่อสื่ อความหมาย เช่น ท่าทาง
่
ภาษาใบ้ ภาษาสัตว์ ภาษาคอมพิวเตอร์ เครื่ องหมาย สัญญาณต่างๆ(เสี ยงระฆัง เสี ยงหวอ สัญญาณไฟจราจร)
(อวัจนภาษา)
1.2 ภาษาในความหมายอย่างแคบ หมายถึง ภาษาพูดของคนโดยใช้เสี ยงเป็ นสื่ อ (วัจนภาษา)
1.3.เสี ยงที่ใช้แต่ละภาษามีจานวนจากัด
1.4 แต่ละภาษาไม่จาเป็ นต้องใช้คาๆเดียวกัน เมื่อพูดถึงสิ่ งเดียวกัน เช่น เดิน-walk
ั
1.5 คาที่เสี ยงกับความหมาย"สัมพันธ์กน" จะมีนอย โดยส่ วนใหญ่จะมีแต่คาที่เสี ยงกับความหมาย"
้
ั
ไม่สัมพันธ์กน" เช่น
1.5.1)คาที่เลียนเสี ยงธรรมชาติ เช่น โครม หวูด ออด กริ่ ง ตุกตุก ตุกแก ฉู่ฉี่ ก๊อบแก๊บ
๊ ๊ ๊
โหม่ง ทุ่ม โมง เพล้ง ปั ง กริ๊ ก คิกๆ(หัวเราะ)
ั
1.5.2)คาที่เสี ยง"พยัญชนะ"สัมพันธ์กบความหมาย เช่น
ค : ขุ่น เคือง แค้น เคียด ขึ้ง ขัด(โกรธ ไม่พอใจ)
ั
1.5.3.คาที่เสี ยง"สระ"สัมพันธ์กบความหมาย เช่น
- เ- :
เก เข เป๋ เฉ เซ เห เย (ไม่ตรง)
- เ-อ :
เป๋ อ เอ๋ อ เหรอ เหวอ เซ่อ เด๋ อ เหม่อ เผลอ (ไม่มีสติ งงๆ)
- -าบ : ราบ นาบ ทาบ ฉาบ (ทาให้แบนแผ่)
2.หน่วยในภาษาและการขยายหน่วยภาษา
-หน่วยในภาษา หมายถึง ส่ วนประกอบของภาษา คือ เสี ยง คา วลี ประโยค ข้อความ
-มนุษย์สามารถสร้างประโยคได้ไม่จากัดจากเสี ยงในภาษาซึ่ งมีจากัด
-เรี ยงหน่วยเล็ก->หน่วยใหญ่ เสี ยง>>พยางค์>>คา>>วลี>>ประโยค >>ข้อความ>>เรื่ องยาวๆ
3.ลักษณะที่"เหมือนกัน"ของภาษาต่างๆ
-ใช้เสี ยงสื่ อความหมาย ทุกภาษาจะมีเสี ยงพยัญชนะ และเสี ยงสระ
-มีชนิดของคาคล้ายกัน เช่น คานาม คากริ ยา
-มีวธีแสดงความคิดเห็นคล้ายกัน เช่น คาถาม บอกเล่า ปฏิเสธ คาสั่ง
ิ
-สามารถขยายประโยคได้เรื่ อยๆ
-เปลี่ยนแปลงตามกาลเวลา
-มีการใช้คาในความหมายใหม่ (พวกสานวน)
4.ลักษณะที่"ต่างกัน"ของภาษาต่างๆ
-เสี ยง
-วรรณยุกต์
-ไวยากรณ์
5.การเปลี่ยนแปลงของภาษา สาเหตุคือ
5.1 สิ่ งแวดล้อมเปลี่ยนไป
-คาบางคาออกเสี ยงต่างกับคาสมัยก่อน เช่น ลางครั้ง ลางที บางครั้ง บางที เข้า ข้าว ผ่ายหน้า
ผ่ายหลัง ภายหน้า ภายหลัง เม็ดตา เมตตา
-คาบางคามีความหมายต่างไปจากเดิม เช่น
ั
-ขายตัว (ใช้กบทาส)
-จริ ต ความประพฤติ มารยาท ในความหมายเชิงลบ
-สาส่ อน ปนกัน รู ้ๆกันอยู่
ั
ั
-ห่ม (ใช้กบ)เสื้ อหรื อผ้า (ใช้กบ)ผ้าที่เป็ นผืนเท่านั้น เช่น ที่เป็ นผืนก็ได้ เช่น ห่มผ้า ห่มผ้า ห่มจีวร
ห่มสไบ ห่มเสื้ อ ห่มเกราะ
5.2 การพูดกันในชีวิตประจาวัน
-การกร่ อนเสี ยง(ตัดเสี ยง) เช่น หมากพร้าว- มะพร้าว ฉันนั้น-ฉะนั้ น อันไร-อะไร อันหนึ่ง-อนึ่ ง
รื่ นรื่ น-ระรื่ น วับวับ-วะวับ
-การกลืนเสี ยง(รวมเสี ยง)เช่นอย่างไร-อย่างไง (ง กลืน ร) อย่างนี้-อย่างงี้ (ง กลืน น)
อย่างนั้น-อย่างงั้น (ง กลืน น) ดิฉน-เดี๊ยน
ั
5.3 อิทธิ พลจากภาษาต่างประเทศ
-ยืมคาจากต่างประเทศมาใช้ เช่น เทป คลินิก ปิ รามิด เต้าหู้ กุหลาบ ยูโด
-สานวนภาษาต่างประเทศ
5.4 การเรี ยนภาษาของเด็ก
-เด็กออกเสี ยงไม่ชด คาจึงเพี้ยน เช่น ขนม-หนม อร่ อย-หร่ อย
ั
พลังของภาษา 4 ประการ ได้แก่
๑) ภาษามีอานาจในการชักนาให้เกิดพฤติกรรมของมนุษย์ ตัวอย่างเช่น เมื่อบุตรหลานขอร้อง
ให้ผปกครองซื้ อของเล่นให้ แล้วผูปกครองก็ซ้ื อให้ตามที่ร้องขอ หรื อการใช้ขอความในป้ ายหรื อการใช้
ู้
้
้
สัญลักษณ์ต่างๆ เพื่อบังคับให้บุคคลปฏิบติตาม เป็ นต้น
ั
๒) ภาษาเป็ นสิ่ งที่ช่วยสร้างมโนทัศน์เกี่ยวกับสิ่ งต่างๆ และทาให้บุคคลจาสิ่ งนั้นได้ พลังของ
ภาษาในข้อนี้ ถือว่าเป็ นความสามารถทางสติปัญญา ที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับการสร้างมโนทัศน์และหลักการ
่
เช่น เราสามารถจาได้วา คาเป็ นคาตายคืออะไร เหมือนหรื อแตกต่างกันอย่างไร หรื อหลักการใช้คาว่า ‚ทรง‛
เพื่อสร้างคากริ ยาราชาศัพท์มีอะไรบ้าง
๓) ภาษาเป็ นสิ่ งที่ใช้ส่งผ่านความรู ้และขยายความรู ้ของมนุษย์ เมื่อมนุษย์คิดค้นองค์ความรู้
ต่างๆ ได้ ก็มกจะมีความพยายามในการส่ งผ่านความรู ้น้ นไปสู่ บุคคลอื่นๆ เช่น ครู บรรยายหรื ออธิบาย
ั
ั
ความรู ้ให้แก่นกเรี ยน บิดามารดาบอกวิธีการใช้เครื่ องมือและอุปกรณ์ต่างๆ แก่บุตร ความสาคัญของภาษา
ั
ข้อนี้สามารถที่จะก่อให้เกิดวิวฒนาการของวัฒนธรรมได้
ั
๔) ภาษาสามารถใช้เป็ นเครื่ องมือในการคิดเกี่ยวกับภาษา เช่น การที่เด็กเล็กๆ ใช้ภาษาเพื่อถาม
ผูปกครองเกี่ยวกับความหมายของคา วิธีการแต่งประโยค หรื อไวยากรณ์ต่างๆ หรื อการที่นกภาษาศาสตร์
้
ั
พยายามที่จะศึกษาภาษาใดภาษาหนึ่ง
ภาษาเปลี่ยนแปลงไปอย่างไรบ้าง
๑. การบัญญัติศพท์ หมายถึง การสร้างคาในภาษาเพื่อแทนคาในอีกภาษาหนึ่ง ส่ วนใหญ่วธีการ
ั
ิ
บัญญัติศพท์จะใช้วธีการประสมคาทั้งแบบไทยและคาสมาสแบบคาบาลีสันสกฤต เช่น น้ าแข็ง
ั
ิ
บัตรเติมเงิน ห้างสรรพสิ นค้า โทรศัพท์มือถือ โทรทัศน์ ประชาธิปไตย รัฐบาล โศกนาฏกรรม วิสัยทัศน์
๒. การแปลศัพท์ หมายถึง การแปลความหมายของคาศัพท์ในภาษาหนึ่ง มาใช้เป็ นคาในอีก
ภาษาหนึ่งโดยตรง เช่น
-right hand

แปลว่า มือขวา,

-sea food

แปลว่า อาหารทะเล,

-tea spoon

แปลว่า ช้อนชา,

-cold war

แปลว่า สงครามเย็น,

-black market

แปลว่า ตลาดมืด,

-solar cell

แปลว่า เซลล์สุริยะ

๓. การทับศัพท์ หมายถึง การใช้อกษรของภาษาหนึ่งแทนเสี ยงของคาในอีกภาษาหนึ่ง ทั้งนี้
ั
เพื่อคงเสี ยงของคานั้นไว้ สาหรับในภาษาไทย มีท้ งคาทับศัพท์ภาษาบาลี สันสกฤต
ั
เขมร อังกฤษ จีน ญี่ปุ่น
คาทับศัพท์เหล่านี้เรี ยกว่า คายืมภาษาต่างประเทศ
ผลจากการที่ในภาษามีการหยิบยืมคาระหว่างกัน ก่อให้เกิดผลกระทบต่อภาษาที่เป็ นฝ่ ายยืมหรื อรับคา
จากภาษาอื่นเข้ามาใช้ใน ๓ ลักษณะ ดังนี้
๑. ผลกระทบในด้านการเปลี่ยนแปลงระบบเสี ยง
ตัวอย่างผลกระทบด้านการเปลี่ยนแปลงระบบเสี ยง เช่น
การยืมคาภาษาต่างประเทศมาใช้ เช่น
-Bromine

โบรมีน
-Fluorene

ฟลูออรี น

-Drum Major ดรัมเมเยอร์
treatment

ทรี ตเมนต์

คาเหล่านี้ ทาให้ในภาษาไทยมีเสี ยงพยัญชนะต้นควบเพิ่มขึ้น จากที่มีอยูเ่ ดิม ๑๕ เสี ยง ได้แก่ /
บร/, /ฟล/, /ดร/, /ทร/ หรื ออย่างคาว่า gas แก๊ส, tennis เทนนิส facebook เฟสบุค ทาให้เกิดหน่วยเสี ยง
๊
พยัญชนะท้าย /s/ ซึ่ งไม่มีปรากฏในภาษาไทย และทาให้บางครั้งการออกเสี ยงคาบางคาในภาษาไทย ซึ่ งเดิม
ไม่ออกเสี ยง /s/ เปลี่ยนมาออกเสี ยง /s/ เช่น คาว่า ปารี ส
๒. ผลกระทบในด้านการเปลี่ยนแปลงความหมาย
การยืมคาภาษาอื่นมาใช้ในภาษาอาจทาให้ความหมายของคาในภาษาเดิมแคบลงหรื อกว้างขึ้น
กว่าเดิม เช่น เดิมไทยใช้คาว่า ‚ดั้ ง‛ หมายถึง จมูกทั้งหมด แต่เมื่อยืมคาว่า ‚จมูก‛ จากภาษาเขมรมาใช้ คา
ว่า ‚ดั้ ง‛ ซึ่ งเป็ นคาไทยแท้กลับลดความหมายเป็ นเพียงส่ วนของสันจมูกเท่านั้น โดยทัวไปการเปลี่ยนแปลง
่
ในด้านความหมายเกิดได้ใน ๓ ลักษณะ ได้แก่
๑) ความหมายแคบเข้า คายืมที่นามาใช้แล้วความหมายแคบหรื อจากัดลงจากความหมายใน
ภาษาเดิม ซึ่ งแบ่งได้เป็ นความหมายแคบเข้าในทางที่ดีข้ ึนและแย่ลง เช่น
-บาลี

kiriyā

'ท่าทาง'

ไทย /ki-ri-ya:/ กิริยา 'ท่าทาง
-บาลี-สันสกฤต cārika

‘เดินทาง’

ไทย /ca:-rí k/ จาริ ก ‘เดินทางไปแสวงบุญทางศาสนา’
-บาลี-สันสกฤต nimanta

‘การเชิญ’

ไทย /ni-mon/ นิมนต์ ‘เชิญเฉพาะพระสงฆ์)’
-บาลี-สันสกฤต vāsana

‘การนุ่งห่ม, สิ่ งที่สะสมไว้แต่ปางก่อน’

ไทย /wâ:t-sa-na:/ วาสนา ‘ความดีที่สะสมไว้แต่ปางก่อน’
-บาลี-สันสกฤต harsฺฺ a ‘ขนลุก,ตื่นเต้น’
ไทย /han-sa:/ หรรษา ‘รื่ นรมย์ยนดี (ตื่นเต้นในทางดี)’
ิ
-บาลี-สันสกฤต sakula 'ร่ วมตระกูล'
ไทย /sa-kun/สกุล 'มีตระกูลดี,มาจากครอบครัวที่ดี' ในคาว่า มีสกุล
-บาลี-สันสกฤต karman ‘การกระทา’
ไทย /kam/ กรรม ‘การกระทาที่ไม่ดี’
-บาลี-สันสกฤต

ditti ‘ความเห็น’
ไทย /thí t-thì ʔ/ ทิฐิ ‘ความดื้ อดึง(ความเห็นผิด)’
-บาลี-สันสกฤต sādhārana ‘ทัวไป’
่
ไทย /sa:-tha:n/ สาธารณ์ ‘ชัวช้าเลวทราม (ทัวไปในทางไม่ดี)’
่
่
-บาลี-สันสกฤต sāmānya ‘ทัวไป’
่
ไทย /sa:-ma:n/ สามานย์ ‘ชัวช้าเลวทราม (ทัวไปในทางไม่ดี)’
่
่
-บาลี-สันสกฤต sthūla 'หยาบ'
ไทย/sa-thun/ สถุล 'หยาบคาย, ต่าช้า'
-บาลี-สันสกฤต apriya 'ไม่เป็ นที่รัก'
ไทย /à p-pri:/ อัปรี ย ์ ‘ชัวช้า’
่
-บาลี-สันสกฤต ājñā 'คาสั่ง, คาอนุญาต
ไทย /ʔà :t-ya:/ อาชญา ‘คาสังลงโทษ’
่
๒) ความหมายกว้างออก หมายถึง ความหมายของคาที่ยมมาใช้ในภาษาไทย ขยายออก
ื
จากความหมายของคาในภาษาเดิม ตัวอย่างเช่น
-บาลี-สันสกฤต nāta ‘การร่ ายรา, ผูร่ายรา’
้
ไทย /nâ:t/ ‘นางรา > นาฏ ผูหญิงทัวไป’
้
่
-บาลี-สันสกฤต vedī ‘ยกพื้นที่เป็ นที่บูชา’
ไทย /we:-thi:/ เวที ‘ยกพื้นทัวไป’
่
-บาลี-สันสกฤต sutā ‘ลูกสาว’
ไทย /su-da:/ สุ ดา ‘ผูหญิงทัวไป’
้
่
-บาลี-สันสกฤต himavant ‘ภูเขาหิมาลัย’
ไทย /hım-ma-pha:n/ หิมพานต์ ‘ป่ าเขาในวรรณคดี’
-บาลี-สันสกฤต āirāvata ‘ชื่อช้างของพระอินทร์
ไทย/ʔay-ya-ra:/ ไอยรา ‘ช้างทัวไป’
่
-บาลี-สันสกฤต meru ‘ชื่อภูเขาที่เป็ นหลักของโลกในตานาน
ไทย /me:n/ เมรุ ‘ภูเขาทัวไป’
่
-บาลี-สันสกฤต

bārānasī ‘ชื่อเมืองในอินเดีย’

ไทย /pha:-ra:/ พารา ‘เมืองทัวไป’
่
-บาลี-สันสกฤต

sata-anga ‘ส่ วนของร้อย’
่
ไทย /sa-ta:ŋ/สตางค์ ‘เศษของบาท เงินตราทัวไปไม่วาประเทศใด
่
๓) ความหมายย้ายที่ หมายถึง ความหมายของคาในภาษาเดิมสู ญหายไป และคานั้นได้
นามาใช้ในภาษาไทยโดยกาหนดความหมายใหม่ ตัวอย่างเช่น
-บาลี-สันสกฤต aparājaya 'ความไม่แพ้'
ไทย /ʔà (p)-pa-ra:-chay/ อัปราชัย 'ความพ่ายแพ้'
-บาลี-สันสกฤต añjana ‘การทา, สี ทาตา’
ไทย /ʔan-chan/ อัญชัน‘ชื่อดอกไม้ ชื่อนก’
-บาลี-สันสกฤต anātha ‘ไม่มีที่พ่ ึง’
ไทย /ʔa-na:-tha:/ อนาถา‘ยากจน’
-บาลี-สันสกฤต

ājāneyya ‘(ผู)้ มีตระกูลดี’

ไทย /ʔa:-cha:-nay/, /ʔa:-cha:/ อาชาไนย‘ม้า’
-บาลี-สันสกฤต karavīka ‘ชื่อเทือกเขาเทือกหนึ่ง
ไทย /ka(:)–ra-wí k/ การะเวก‘ชื่อนก’ ;ล้อมรอบเขาพระสุ เมรุ ’/ka:-ra-wê :k/ 'ชื่อนก, ชื่อต้นไม้’
-บาลี-สันสกฤต taskara ‘ขโมย’
ไทย /dà t–sa-kɔ:n/ ดัสกร ‘ข้าศึก’
-บาลี-สันสกฤต dvesa ‘ความเกลียดชัง’
ไทย /tha-wê :t/ เทวศ, เทวษ ‘ความเศร้าโศก’
-บาลี-สันสกฤต

nissita ‘ผูอาศัย’
้

ไทย /ní -sì t/ นิสิต ‘นักศึกษาในมหาวิทยาลัยบางแห่ง’
-บาลี-สันสกฤต śaśi-dhara ‘ผูทรงไว้ซ่ ึงพระจันทร์ คือ พระศิวะ’
้
ไทย /sà -si-thɔ:n/ ศศิธร‘พระจันทร์ ’
-บาลี-สันสกฤต santāna ‘การแผ่ไป’
ไทย /san–da:n/ สันดาน ‘นิสัยที่ติดตัวถาวร’
-บาลี-สันสกฤต smara ‘ความระลึกถึง'
ไทย /sa-mɔ:n/ สมร‘ผูหญิง’
้
-บาลี-สันสกฤต horā ‘ชัวโมง, เวลา’
่
ไทย /ho:n/ โหร‘หมอดูดวงชะตา’
๓. ผลกระทบในด้านการเปลี่ยนแปลงในด้านไวยากรณ์
การเปลี่ยนแปลงไวยากรณ์ เกิดจากการใช้ประโยคหรื อกลุ่มคาที่แปลในลักษณะที่เลียนแบบ
โครงสร้างของภาษาต่างประเทศ ตัวอย่างการเปลี่ยนแปลงด้านไวยากรณ์อนเนื่องมาจากการเลียนแบบระบบ
ั
ประโยคภาษาต่างประเทศ เช่น
In my opinion

ตามความเห็นของผม

We just found that…

เราเพิ่งพบว่า...

ตัวอย่างประโยคที่ได้รับอิทธิ พลจากโครงสร้างไวยากรณ์ของภาษาต่างประเทศ เช่น
๑. เขาถูกเชิญไปรับประทานอาหาร (ผิด)

เขาได้รับเชิญไปรับประทานอาหาร (ถูก)

๒. เขาได้รับการลงโทษอย่างหนัก (ผิด)

เขาถูกลงโทษอย่างหนัก (ถูก)

๓. เขาจับรถไฟไปเชียงใหม่ (ผิด)

เขาโดยสารรถไฟไปเชียงใหม่ (ถูก)

เขาไปเชียงใหม่ทางรถไฟ (ถูก)
๔. วาสิ ฏฐีแต่งโดยเสฐียรโกเศศและนาคะประทีป (ผิด)

เสฐียรโกเศศและนาคะประทีปแต่งวาสิ ฏฐี (ถูก)

วาสิ ฏฐีเป็ นนิพนธ์ของเสฐียรโกเศศและนาคะประทีป (ถูก)
๕. กาหนดนัดตรงกับ ๒๐ นาฬิกา แต่เขามาสายไป ๑๕ นาที (ผิด) กาหนดนัดตรงกับ ๒๐ นาฬิกา แต่เขา
มาช้าไป ๑๕ นาที (ถูก)
่
๖. เธอพบตัวเองอยูในห้องคนเดียว (ผิด)
๗. สนามเต็มไปด้วยหญ้า (ผิด)

่
เธอรู ้สึกตัวว่าอยูในห้องคนเดียว (ถูก)
ในสนามมีหญ้าเต็ม (ถูก)

สนามมีหญ้าเต็ม (ถูก)

๘. กองทัพไทยภายใต้การนาของสมเด็จพระนเรศวร มีชยชนะแก่กองทัพพม่า (ผิด)
ั
กองทัพไทยซึ่งสมเด็จพระนเรศวรทรงนา ชนะกองทัพพม่า (ถูก)
๙. ในอนาคตอันใกล้น้ ี ฉันจะได้เป็ นนิสิตมหาวิทยาลัยแล้ว (ผิด) ฉันจะได้เป็ นนิสิตมหาวิทยาลัยเร็ วนี้ (ถูก)
่
๑๐. พอทราบผลการสอบไล่ เขาก็ตกอยูในห้วงแห่งความระทมทุกข์ (ผิด)
พอทราบผลการสอบไล่เขาก็เกิดความระทมทุกข์ (ถูก)
่
แม้วาภาษาจะมีการเปลี่ยนแปลงไปได้หลายลักษณะดังที่กล่าวมา แต่ความเปลี่ยนแปลงดังกล่าว
่
นักภาษาศาสตร์ ถือว่าเป็ นธรรมชาติของภาษาที่ยงไม่ตาย เพราะภาษาที่พดจากันอยูในชีวตประจาวันนั้น
ั
ู
ิ
จะต้องมีการเปลี่ยนแปร ซึ่งหากการเปลี่ยนแปรนั้นเกิดขึ้นอย่างถาวรแล้ว ก็จะเรี ยกว่าภาษามีการ
เปลี่ยนแปลงไป ดังนั้นสาหรับการใช้ภาษาในรู ปแบบสมัยนิยม เช่น คาคะนอง หรื อสานวนภาษาของ
ั
วัยรุ่ น นักภาษาศาสตร์ จะถือว่าเป็ นแค่การเปลี่ยนแปร แต่ยงไม่สร้างการเปลี่ยนแปลงให้กบภาษา
ั
จบ
แบบฝึ กทบทวนความรู้
จงทาเครื่ องหมาย ถูก หน้าข้อที่ ถูก และ ผิด หน้าข้อที่ผด
ิ
........๑. คาว่า ภาษา เป็ นคามาจากภาษา บาลี (สันสกฤต เป็ นภาสา) มีรากเดิมว่า ภาษ แปลว่า กล่าว,
่
พูด หรื อบอก เมื่อนามาใช้เป็ นคานาม มีรูปเป็ น ภาษา แปลตามรู ปศัพท์วา คาพูดหรื อถ้อยคา แปลเอา
ความว่า เครื่ องสื่ อความหมายระหว่างมนุษย์ ให้สามารถกาหนดรู ้ความประสงค์ของกันและกันได้ โดยมี
ระเบียบคาหรื อจังหวะเสี ยงเป็ นเครื่ องกาหนด
........๒. ความหมายอย่างกว้าง ภาษา หมายถึง การแสดงออกต่าง ๆ เช่น เสี ยง ท่าทาง สัญญาณ ที่สื่อ
ความหมายกันได้
........๓. ความหมายอย่างแคบ ภาษา หมายถึง ถ้อยคาที่มนุษย์ใช้สื่อความหมาย ผูที่ใช้ภาษาจึงต้องเป็ น
้
มนุษย์ และสิ่ งที่ใช้สื่อความหมายจึงเป็ นเสี ยงพูด
........๔. ภาษาบางประเทศเท่านั้นที่ใช้เสี ยงสื่ อความหมาย ภาษาหลายภาษามีการถ่ายทอดเสี ยงเป็ น
ตัวอักษร ใช้ตวอักษรสื่ อความหมายได้อีกวิธีหนึ่ง
ั
ั
๕. เสี ยงที่ใช้สื่อความหมายไม่มีความสัมพันธ์กบความหมายเท่าไรนัก เสี ยงและความหมายส่ วนมากจะ
ั
เกิดจากข้อตกลงร่ วมกันของคนในกลุ่มนั้น ๆ (ถ้าเสี ยงและความหมายสัมพันธ์กนทุกภาษาจะออกเสี ยง
เหมือนกัน)
........๖. หน่วยในภาษาหรื อส่ วนประกอบของภาษา (เสี ยง คา และประโยค) สามารถประกอบกันเป็ น
หน่วยที่ใหญ่ข้ ึน เช่นคาว่า ใคร – ไป – หา - ให้ สามารถประกอบกันเป็ นประโยคได้มากมาย
........๗ การพูดจาในชีวตประจาวัน เช่น การพูดไม่ชด ทาให้มีการกลมกลืนเสี ยงบ้าง เช่น อย่างนี้ - อย่างงี้
ิ
ั
กร่ อนเสี ยงบ้าง เช่น สาวใภ้ - สะใภ้ อันหนึ่ง - อนึ่งและอิทธิ พลภาษาอื่น ไม่ทาให้ภาษาเปลี่ยนแปลง
........๘. ภาษาต่าง ๆ มีลกษณะคล้ายคลึงกันและต่างกัน ส่ วนที่คล้ายกัน เช่น ใช้เสี ยงสื่ อ สร้างศัพท์ใหม่
ั
จากศัพท์เดิม มีสานวน มีคาชนิดต่าง ๆ ส่ วนที่ต่างกัน ด้านเสี ยง เช่น ภาษาอังกฤษมีเสี ยง แต่ภาษาไทย
ไม่มี ภาษาไทยมีเสี ยงวรรณยุกต์ แต่ภาษาอังกฤษไม่มี

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

3 การใช้ทักษะทางภาษาสื่อสารเพื่อพัฒนาตนเอง(74-103)
3 การใช้ทักษะทางภาษาสื่อสารเพื่อพัฒนาตนเอง(74-103)3 การใช้ทักษะทางภาษาสื่อสารเพื่อพัฒนาตนเอง(74-103)
3 การใช้ทักษะทางภาษาสื่อสารเพื่อพัฒนาตนเอง(74-103)อัมพร ศรีพิทักษ์
 
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทย
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทยบทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทย
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทยAj.Mallika Phongphaew
 
Dc102 digital media-text
Dc102 digital media-textDc102 digital media-text
Dc102 digital media-textajpeerawich
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาพัน พัน
 
ภาษาพูด ภาษาเขียน
ภาษาพูด ภาษาเขียนภาษาพูด ภาษาเขียน
ภาษาพูด ภาษาเขียนmonnawan
 
ความหมายของภาษา.ส
ความหมายของภาษา.สความหมายของภาษา.ส
ความหมายของภาษา.ส11nueng11
 
หน่วยที่๑
หน่วยที่๑หน่วยที่๑
หน่วยที่๑panjit
 
บทท 3-6 กศบป
บทท   3-6 กศบปบทท   3-6 กศบป
บทท 3-6 กศบปNamfon Wannapa
 

Mais procurados (17)

Man lg
Man lgMan lg
Man lg
 
ระบบคำยืมเสนอ
ระบบคำยืมเสนอระบบคำยืมเสนอ
ระบบคำยืมเสนอ
 
ระดับของภาษา
ระดับของภาษาระดับของภาษา
ระดับของภาษา
 
3 การใช้ทักษะทางภาษาสื่อสารเพื่อพัฒนาตนเอง(74-103)
3 การใช้ทักษะทางภาษาสื่อสารเพื่อพัฒนาตนเอง(74-103)3 การใช้ทักษะทางภาษาสื่อสารเพื่อพัฒนาตนเอง(74-103)
3 การใช้ทักษะทางภาษาสื่อสารเพื่อพัฒนาตนเอง(74-103)
 
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทย
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทยบทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทย
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทย
 
Dc102 digital media-text
Dc102 digital media-textDc102 digital media-text
Dc102 digital media-text
 
Week 2 of WS4T
Week 2 of WS4T Week 2 of WS4T
Week 2 of WS4T
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษา
 
ภาษาพูด ภาษาเขียน
ภาษาพูด ภาษาเขียนภาษาพูด ภาษาเขียน
ภาษาพูด ภาษาเขียน
 
ความหมายของภาษา.ส
ความหมายของภาษา.สความหมายของภาษา.ส
ความหมายของภาษา.ส
 
ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารของม.ราชภัฎสวนดุสิต
ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารของม.ราชภัฎสวนดุสิตภาษาไทยเพื่อการสื่อสารของม.ราชภัฎสวนดุสิต
ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารของม.ราชภัฎสวนดุสิต
 
ธรรมชาติของภาษาออนไลน์
ธรรมชาติของภาษาออนไลน์ธรรมชาติของภาษาออนไลน์
ธรรมชาติของภาษาออนไลน์
 
ระดับของภาษา
ระดับของภาษาระดับของภาษา
ระดับของภาษา
 
Week 3 of WS4T
Week 3 of WS4TWeek 3 of WS4T
Week 3 of WS4T
 
หน่วยที่๑
หน่วยที่๑หน่วยที่๑
หน่วยที่๑
 
บทท 3-6 กศบป
บทท   3-6 กศบปบทท   3-6 กศบป
บทท 3-6 กศบป
 
Radio Script Concept
Radio Script ConceptRadio Script Concept
Radio Script Concept
 

Semelhante a ใบความรู้เรื่อง ธรรมชาติของภาษา

9789740335610
97897403356109789740335610
9789740335610CUPress
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาwattanaka
 
สิ่งพิมพ์แผ่นพับ2
สิ่งพิมพ์แผ่นพับ2สิ่งพิมพ์แผ่นพับ2
สิ่งพิมพ์แผ่นพับ2Pimjai Young-oun
 
การอ่าน
การอ่านการอ่าน
การอ่านcandy109
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทยโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทยNook Kanokwan
 
เด็ก2
เด็ก2เด็ก2
เด็ก2yungpuy
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาkingkarn somchit
 
วัฒนธรรมกับภาษา ๕๗( ตอน ๓)
วัฒนธรรมกับภาษา ๕๗( ตอน ๓)วัฒนธรรมกับภาษา ๕๗( ตอน ๓)
วัฒนธรรมกับภาษา ๕๗( ตอน ๓)Milky' __
 
บทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการบทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการnootsaree
 
9789740329787
97897403297879789740329787
9789740329787CUPress
 

Semelhante a ใบความรู้เรื่อง ธรรมชาติของภาษา (20)

1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
 
ภาษาถิ่นตะโหมด
ภาษาถิ่นตะโหมดภาษาถิ่นตะโหมด
ภาษาถิ่นตะโหมด
 
9789740335610
97897403356109789740335610
9789740335610
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษา
 
สรุปเนื้อหา ติว
สรุปเนื้อหา ติวสรุปเนื้อหา ติว
สรุปเนื้อหา ติว
 
สิ่งพิมพ์แผ่นพับ2
สิ่งพิมพ์แผ่นพับ2สิ่งพิมพ์แผ่นพับ2
สิ่งพิมพ์แผ่นพับ2
 
การอ่าน
การอ่านการอ่าน
การอ่าน
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทยโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
 
การสร้างคำ
การสร้างคำการสร้างคำ
การสร้างคำ
 
การสร้างคำ
การสร้างคำการสร้างคำ
การสร้างคำ
 
เด็ก2
เด็ก2เด็ก2
เด็ก2
 
Mil chapter 1_3(1)
Mil chapter 1_3(1)Mil chapter 1_3(1)
Mil chapter 1_3(1)
 
ภาษากับการคิด
ภาษากับการคิดภาษากับการคิด
ภาษากับการคิด
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษา
 
วัฒนธรรมกับภาษา ๕๗( ตอน ๓)
วัฒนธรรมกับภาษา ๕๗( ตอน ๓)วัฒนธรรมกับภาษา ๕๗( ตอน ๓)
วัฒนธรรมกับภาษา ๕๗( ตอน ๓)
 
ใบความรู้ลักษณะเฉพาะของภาษาไทยการสร้างคำ
ใบความรู้ลักษณะเฉพาะของภาษาไทยการสร้างคำใบความรู้ลักษณะเฉพาะของภาษาไทยการสร้างคำ
ใบความรู้ลักษณะเฉพาะของภาษาไทยการสร้างคำ
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
ภาษาไทย ปลาย
ภาษาไทย ปลายภาษาไทย ปลาย
ภาษาไทย ปลาย
 
บทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการบทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการ
 
9789740329787
97897403297879789740329787
9789740329787
 

ใบความรู้เรื่อง ธรรมชาติของภาษา

  • 1. ธรรมชาติของภาษา 1.ภาษาใช้เสี ยงสื่ อความหมาย 1.1 ภาษาในความหมายอย่างกว้าง หมายถึง การแสดงออกทัวไปเพื่อสื่ อความหมาย เช่น ท่าทาง ่ ภาษาใบ้ ภาษาสัตว์ ภาษาคอมพิวเตอร์ เครื่ องหมาย สัญญาณต่างๆ(เสี ยงระฆัง เสี ยงหวอ สัญญาณไฟจราจร) (อวัจนภาษา) 1.2 ภาษาในความหมายอย่างแคบ หมายถึง ภาษาพูดของคนโดยใช้เสี ยงเป็ นสื่ อ (วัจนภาษา) 1.3.เสี ยงที่ใช้แต่ละภาษามีจานวนจากัด 1.4 แต่ละภาษาไม่จาเป็ นต้องใช้คาๆเดียวกัน เมื่อพูดถึงสิ่ งเดียวกัน เช่น เดิน-walk ั 1.5 คาที่เสี ยงกับความหมาย"สัมพันธ์กน" จะมีนอย โดยส่ วนใหญ่จะมีแต่คาที่เสี ยงกับความหมาย" ้ ั ไม่สัมพันธ์กน" เช่น 1.5.1)คาที่เลียนเสี ยงธรรมชาติ เช่น โครม หวูด ออด กริ่ ง ตุกตุก ตุกแก ฉู่ฉี่ ก๊อบแก๊บ ๊ ๊ ๊ โหม่ง ทุ่ม โมง เพล้ง ปั ง กริ๊ ก คิกๆ(หัวเราะ) ั 1.5.2)คาที่เสี ยง"พยัญชนะ"สัมพันธ์กบความหมาย เช่น ค : ขุ่น เคือง แค้น เคียด ขึ้ง ขัด(โกรธ ไม่พอใจ) ั 1.5.3.คาที่เสี ยง"สระ"สัมพันธ์กบความหมาย เช่น - เ- : เก เข เป๋ เฉ เซ เห เย (ไม่ตรง) - เ-อ : เป๋ อ เอ๋ อ เหรอ เหวอ เซ่อ เด๋ อ เหม่อ เผลอ (ไม่มีสติ งงๆ) - -าบ : ราบ นาบ ทาบ ฉาบ (ทาให้แบนแผ่) 2.หน่วยในภาษาและการขยายหน่วยภาษา -หน่วยในภาษา หมายถึง ส่ วนประกอบของภาษา คือ เสี ยง คา วลี ประโยค ข้อความ -มนุษย์สามารถสร้างประโยคได้ไม่จากัดจากเสี ยงในภาษาซึ่ งมีจากัด -เรี ยงหน่วยเล็ก->หน่วยใหญ่ เสี ยง>>พยางค์>>คา>>วลี>>ประโยค >>ข้อความ>>เรื่ องยาวๆ 3.ลักษณะที่"เหมือนกัน"ของภาษาต่างๆ -ใช้เสี ยงสื่ อความหมาย ทุกภาษาจะมีเสี ยงพยัญชนะ และเสี ยงสระ -มีชนิดของคาคล้ายกัน เช่น คานาม คากริ ยา -มีวธีแสดงความคิดเห็นคล้ายกัน เช่น คาถาม บอกเล่า ปฏิเสธ คาสั่ง ิ -สามารถขยายประโยคได้เรื่ อยๆ -เปลี่ยนแปลงตามกาลเวลา -มีการใช้คาในความหมายใหม่ (พวกสานวน) 4.ลักษณะที่"ต่างกัน"ของภาษาต่างๆ -เสี ยง
  • 2. -วรรณยุกต์ -ไวยากรณ์ 5.การเปลี่ยนแปลงของภาษา สาเหตุคือ 5.1 สิ่ งแวดล้อมเปลี่ยนไป -คาบางคาออกเสี ยงต่างกับคาสมัยก่อน เช่น ลางครั้ง ลางที บางครั้ง บางที เข้า ข้าว ผ่ายหน้า ผ่ายหลัง ภายหน้า ภายหลัง เม็ดตา เมตตา -คาบางคามีความหมายต่างไปจากเดิม เช่น ั -ขายตัว (ใช้กบทาส) -จริ ต ความประพฤติ มารยาท ในความหมายเชิงลบ -สาส่ อน ปนกัน รู ้ๆกันอยู่ ั ั -ห่ม (ใช้กบ)เสื้ อหรื อผ้า (ใช้กบ)ผ้าที่เป็ นผืนเท่านั้น เช่น ที่เป็ นผืนก็ได้ เช่น ห่มผ้า ห่มผ้า ห่มจีวร ห่มสไบ ห่มเสื้ อ ห่มเกราะ 5.2 การพูดกันในชีวิตประจาวัน -การกร่ อนเสี ยง(ตัดเสี ยง) เช่น หมากพร้าว- มะพร้าว ฉันนั้น-ฉะนั้ น อันไร-อะไร อันหนึ่ง-อนึ่ ง รื่ นรื่ น-ระรื่ น วับวับ-วะวับ -การกลืนเสี ยง(รวมเสี ยง)เช่นอย่างไร-อย่างไง (ง กลืน ร) อย่างนี้-อย่างงี้ (ง กลืน น) อย่างนั้น-อย่างงั้น (ง กลืน น) ดิฉน-เดี๊ยน ั 5.3 อิทธิ พลจากภาษาต่างประเทศ -ยืมคาจากต่างประเทศมาใช้ เช่น เทป คลินิก ปิ รามิด เต้าหู้ กุหลาบ ยูโด -สานวนภาษาต่างประเทศ 5.4 การเรี ยนภาษาของเด็ก -เด็กออกเสี ยงไม่ชด คาจึงเพี้ยน เช่น ขนม-หนม อร่ อย-หร่ อย ั พลังของภาษา 4 ประการ ได้แก่ ๑) ภาษามีอานาจในการชักนาให้เกิดพฤติกรรมของมนุษย์ ตัวอย่างเช่น เมื่อบุตรหลานขอร้อง ให้ผปกครองซื้ อของเล่นให้ แล้วผูปกครองก็ซ้ื อให้ตามที่ร้องขอ หรื อการใช้ขอความในป้ ายหรื อการใช้ ู้ ้ ้ สัญลักษณ์ต่างๆ เพื่อบังคับให้บุคคลปฏิบติตาม เป็ นต้น ั ๒) ภาษาเป็ นสิ่ งที่ช่วยสร้างมโนทัศน์เกี่ยวกับสิ่ งต่างๆ และทาให้บุคคลจาสิ่ งนั้นได้ พลังของ ภาษาในข้อนี้ ถือว่าเป็ นความสามารถทางสติปัญญา ที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับการสร้างมโนทัศน์และหลักการ ่ เช่น เราสามารถจาได้วา คาเป็ นคาตายคืออะไร เหมือนหรื อแตกต่างกันอย่างไร หรื อหลักการใช้คาว่า ‚ทรง‛ เพื่อสร้างคากริ ยาราชาศัพท์มีอะไรบ้าง
  • 3. ๓) ภาษาเป็ นสิ่ งที่ใช้ส่งผ่านความรู ้และขยายความรู ้ของมนุษย์ เมื่อมนุษย์คิดค้นองค์ความรู้ ต่างๆ ได้ ก็มกจะมีความพยายามในการส่ งผ่านความรู ้น้ นไปสู่ บุคคลอื่นๆ เช่น ครู บรรยายหรื ออธิบาย ั ั ความรู ้ให้แก่นกเรี ยน บิดามารดาบอกวิธีการใช้เครื่ องมือและอุปกรณ์ต่างๆ แก่บุตร ความสาคัญของภาษา ั ข้อนี้สามารถที่จะก่อให้เกิดวิวฒนาการของวัฒนธรรมได้ ั ๔) ภาษาสามารถใช้เป็ นเครื่ องมือในการคิดเกี่ยวกับภาษา เช่น การที่เด็กเล็กๆ ใช้ภาษาเพื่อถาม ผูปกครองเกี่ยวกับความหมายของคา วิธีการแต่งประโยค หรื อไวยากรณ์ต่างๆ หรื อการที่นกภาษาศาสตร์ ้ ั พยายามที่จะศึกษาภาษาใดภาษาหนึ่ง ภาษาเปลี่ยนแปลงไปอย่างไรบ้าง ๑. การบัญญัติศพท์ หมายถึง การสร้างคาในภาษาเพื่อแทนคาในอีกภาษาหนึ่ง ส่ วนใหญ่วธีการ ั ิ บัญญัติศพท์จะใช้วธีการประสมคาทั้งแบบไทยและคาสมาสแบบคาบาลีสันสกฤต เช่น น้ าแข็ง ั ิ บัตรเติมเงิน ห้างสรรพสิ นค้า โทรศัพท์มือถือ โทรทัศน์ ประชาธิปไตย รัฐบาล โศกนาฏกรรม วิสัยทัศน์ ๒. การแปลศัพท์ หมายถึง การแปลความหมายของคาศัพท์ในภาษาหนึ่ง มาใช้เป็ นคาในอีก ภาษาหนึ่งโดยตรง เช่น -right hand แปลว่า มือขวา, -sea food แปลว่า อาหารทะเล, -tea spoon แปลว่า ช้อนชา, -cold war แปลว่า สงครามเย็น, -black market แปลว่า ตลาดมืด, -solar cell แปลว่า เซลล์สุริยะ ๓. การทับศัพท์ หมายถึง การใช้อกษรของภาษาหนึ่งแทนเสี ยงของคาในอีกภาษาหนึ่ง ทั้งนี้ ั เพื่อคงเสี ยงของคานั้นไว้ สาหรับในภาษาไทย มีท้ งคาทับศัพท์ภาษาบาลี สันสกฤต ั เขมร อังกฤษ จีน ญี่ปุ่น คาทับศัพท์เหล่านี้เรี ยกว่า คายืมภาษาต่างประเทศ ผลจากการที่ในภาษามีการหยิบยืมคาระหว่างกัน ก่อให้เกิดผลกระทบต่อภาษาที่เป็ นฝ่ ายยืมหรื อรับคา จากภาษาอื่นเข้ามาใช้ใน ๓ ลักษณะ ดังนี้ ๑. ผลกระทบในด้านการเปลี่ยนแปลงระบบเสี ยง ตัวอย่างผลกระทบด้านการเปลี่ยนแปลงระบบเสี ยง เช่น การยืมคาภาษาต่างประเทศมาใช้ เช่น -Bromine โบรมีน
  • 4. -Fluorene ฟลูออรี น -Drum Major ดรัมเมเยอร์ treatment ทรี ตเมนต์ คาเหล่านี้ ทาให้ในภาษาไทยมีเสี ยงพยัญชนะต้นควบเพิ่มขึ้น จากที่มีอยูเ่ ดิม ๑๕ เสี ยง ได้แก่ / บร/, /ฟล/, /ดร/, /ทร/ หรื ออย่างคาว่า gas แก๊ส, tennis เทนนิส facebook เฟสบุค ทาให้เกิดหน่วยเสี ยง ๊ พยัญชนะท้าย /s/ ซึ่ งไม่มีปรากฏในภาษาไทย และทาให้บางครั้งการออกเสี ยงคาบางคาในภาษาไทย ซึ่ งเดิม ไม่ออกเสี ยง /s/ เปลี่ยนมาออกเสี ยง /s/ เช่น คาว่า ปารี ส ๒. ผลกระทบในด้านการเปลี่ยนแปลงความหมาย การยืมคาภาษาอื่นมาใช้ในภาษาอาจทาให้ความหมายของคาในภาษาเดิมแคบลงหรื อกว้างขึ้น กว่าเดิม เช่น เดิมไทยใช้คาว่า ‚ดั้ ง‛ หมายถึง จมูกทั้งหมด แต่เมื่อยืมคาว่า ‚จมูก‛ จากภาษาเขมรมาใช้ คา ว่า ‚ดั้ ง‛ ซึ่ งเป็ นคาไทยแท้กลับลดความหมายเป็ นเพียงส่ วนของสันจมูกเท่านั้น โดยทัวไปการเปลี่ยนแปลง ่ ในด้านความหมายเกิดได้ใน ๓ ลักษณะ ได้แก่ ๑) ความหมายแคบเข้า คายืมที่นามาใช้แล้วความหมายแคบหรื อจากัดลงจากความหมายใน ภาษาเดิม ซึ่ งแบ่งได้เป็ นความหมายแคบเข้าในทางที่ดีข้ ึนและแย่ลง เช่น -บาลี kiriyā 'ท่าทาง' ไทย /ki-ri-ya:/ กิริยา 'ท่าทาง -บาลี-สันสกฤต cārika ‘เดินทาง’ ไทย /ca:-rí k/ จาริ ก ‘เดินทางไปแสวงบุญทางศาสนา’ -บาลี-สันสกฤต nimanta ‘การเชิญ’ ไทย /ni-mon/ นิมนต์ ‘เชิญเฉพาะพระสงฆ์)’ -บาลี-สันสกฤต vāsana ‘การนุ่งห่ม, สิ่ งที่สะสมไว้แต่ปางก่อน’ ไทย /wâ:t-sa-na:/ วาสนา ‘ความดีที่สะสมไว้แต่ปางก่อน’ -บาลี-สันสกฤต harsฺฺ a ‘ขนลุก,ตื่นเต้น’ ไทย /han-sa:/ หรรษา ‘รื่ นรมย์ยนดี (ตื่นเต้นในทางดี)’ ิ -บาลี-สันสกฤต sakula 'ร่ วมตระกูล' ไทย /sa-kun/สกุล 'มีตระกูลดี,มาจากครอบครัวที่ดี' ในคาว่า มีสกุล -บาลี-สันสกฤต karman ‘การกระทา’ ไทย /kam/ กรรม ‘การกระทาที่ไม่ดี’ -บาลี-สันสกฤต ditti ‘ความเห็น’
  • 5. ไทย /thí t-thì ʔ/ ทิฐิ ‘ความดื้ อดึง(ความเห็นผิด)’ -บาลี-สันสกฤต sādhārana ‘ทัวไป’ ่ ไทย /sa:-tha:n/ สาธารณ์ ‘ชัวช้าเลวทราม (ทัวไปในทางไม่ดี)’ ่ ่ -บาลี-สันสกฤต sāmānya ‘ทัวไป’ ่ ไทย /sa:-ma:n/ สามานย์ ‘ชัวช้าเลวทราม (ทัวไปในทางไม่ดี)’ ่ ่ -บาลี-สันสกฤต sthūla 'หยาบ' ไทย/sa-thun/ สถุล 'หยาบคาย, ต่าช้า' -บาลี-สันสกฤต apriya 'ไม่เป็ นที่รัก' ไทย /à p-pri:/ อัปรี ย ์ ‘ชัวช้า’ ่ -บาลี-สันสกฤต ājñā 'คาสั่ง, คาอนุญาต ไทย /ʔà :t-ya:/ อาชญา ‘คาสังลงโทษ’ ่ ๒) ความหมายกว้างออก หมายถึง ความหมายของคาที่ยมมาใช้ในภาษาไทย ขยายออก ื จากความหมายของคาในภาษาเดิม ตัวอย่างเช่น -บาลี-สันสกฤต nāta ‘การร่ ายรา, ผูร่ายรา’ ้ ไทย /nâ:t/ ‘นางรา > นาฏ ผูหญิงทัวไป’ ้ ่ -บาลี-สันสกฤต vedī ‘ยกพื้นที่เป็ นที่บูชา’ ไทย /we:-thi:/ เวที ‘ยกพื้นทัวไป’ ่ -บาลี-สันสกฤต sutā ‘ลูกสาว’ ไทย /su-da:/ สุ ดา ‘ผูหญิงทัวไป’ ้ ่ -บาลี-สันสกฤต himavant ‘ภูเขาหิมาลัย’ ไทย /hım-ma-pha:n/ หิมพานต์ ‘ป่ าเขาในวรรณคดี’ -บาลี-สันสกฤต āirāvata ‘ชื่อช้างของพระอินทร์ ไทย/ʔay-ya-ra:/ ไอยรา ‘ช้างทัวไป’ ่ -บาลี-สันสกฤต meru ‘ชื่อภูเขาที่เป็ นหลักของโลกในตานาน ไทย /me:n/ เมรุ ‘ภูเขาทัวไป’ ่ -บาลี-สันสกฤต bārānasī ‘ชื่อเมืองในอินเดีย’ ไทย /pha:-ra:/ พารา ‘เมืองทัวไป’ ่ -บาลี-สันสกฤต sata-anga ‘ส่ วนของร้อย’
  • 6. ่ ไทย /sa-ta:ŋ/สตางค์ ‘เศษของบาท เงินตราทัวไปไม่วาประเทศใด ่ ๓) ความหมายย้ายที่ หมายถึง ความหมายของคาในภาษาเดิมสู ญหายไป และคานั้นได้ นามาใช้ในภาษาไทยโดยกาหนดความหมายใหม่ ตัวอย่างเช่น -บาลี-สันสกฤต aparājaya 'ความไม่แพ้' ไทย /ʔà (p)-pa-ra:-chay/ อัปราชัย 'ความพ่ายแพ้' -บาลี-สันสกฤต añjana ‘การทา, สี ทาตา’ ไทย /ʔan-chan/ อัญชัน‘ชื่อดอกไม้ ชื่อนก’ -บาลี-สันสกฤต anātha ‘ไม่มีที่พ่ ึง’ ไทย /ʔa-na:-tha:/ อนาถา‘ยากจน’ -บาลี-สันสกฤต ājāneyya ‘(ผู)้ มีตระกูลดี’ ไทย /ʔa:-cha:-nay/, /ʔa:-cha:/ อาชาไนย‘ม้า’ -บาลี-สันสกฤต karavīka ‘ชื่อเทือกเขาเทือกหนึ่ง ไทย /ka(:)–ra-wí k/ การะเวก‘ชื่อนก’ ;ล้อมรอบเขาพระสุ เมรุ ’/ka:-ra-wê :k/ 'ชื่อนก, ชื่อต้นไม้’ -บาลี-สันสกฤต taskara ‘ขโมย’ ไทย /dà t–sa-kɔ:n/ ดัสกร ‘ข้าศึก’ -บาลี-สันสกฤต dvesa ‘ความเกลียดชัง’ ไทย /tha-wê :t/ เทวศ, เทวษ ‘ความเศร้าโศก’ -บาลี-สันสกฤต nissita ‘ผูอาศัย’ ้ ไทย /ní -sì t/ นิสิต ‘นักศึกษาในมหาวิทยาลัยบางแห่ง’ -บาลี-สันสกฤต śaśi-dhara ‘ผูทรงไว้ซ่ ึงพระจันทร์ คือ พระศิวะ’ ้ ไทย /sà -si-thɔ:n/ ศศิธร‘พระจันทร์ ’ -บาลี-สันสกฤต santāna ‘การแผ่ไป’ ไทย /san–da:n/ สันดาน ‘นิสัยที่ติดตัวถาวร’ -บาลี-สันสกฤต smara ‘ความระลึกถึง' ไทย /sa-mɔ:n/ สมร‘ผูหญิง’ ้ -บาลี-สันสกฤต horā ‘ชัวโมง, เวลา’ ่ ไทย /ho:n/ โหร‘หมอดูดวงชะตา’ ๓. ผลกระทบในด้านการเปลี่ยนแปลงในด้านไวยากรณ์
  • 7. การเปลี่ยนแปลงไวยากรณ์ เกิดจากการใช้ประโยคหรื อกลุ่มคาที่แปลในลักษณะที่เลียนแบบ โครงสร้างของภาษาต่างประเทศ ตัวอย่างการเปลี่ยนแปลงด้านไวยากรณ์อนเนื่องมาจากการเลียนแบบระบบ ั ประโยคภาษาต่างประเทศ เช่น In my opinion ตามความเห็นของผม We just found that… เราเพิ่งพบว่า... ตัวอย่างประโยคที่ได้รับอิทธิ พลจากโครงสร้างไวยากรณ์ของภาษาต่างประเทศ เช่น ๑. เขาถูกเชิญไปรับประทานอาหาร (ผิด) เขาได้รับเชิญไปรับประทานอาหาร (ถูก) ๒. เขาได้รับการลงโทษอย่างหนัก (ผิด) เขาถูกลงโทษอย่างหนัก (ถูก) ๓. เขาจับรถไฟไปเชียงใหม่ (ผิด) เขาโดยสารรถไฟไปเชียงใหม่ (ถูก) เขาไปเชียงใหม่ทางรถไฟ (ถูก) ๔. วาสิ ฏฐีแต่งโดยเสฐียรโกเศศและนาคะประทีป (ผิด) เสฐียรโกเศศและนาคะประทีปแต่งวาสิ ฏฐี (ถูก) วาสิ ฏฐีเป็ นนิพนธ์ของเสฐียรโกเศศและนาคะประทีป (ถูก) ๕. กาหนดนัดตรงกับ ๒๐ นาฬิกา แต่เขามาสายไป ๑๕ นาที (ผิด) กาหนดนัดตรงกับ ๒๐ นาฬิกา แต่เขา มาช้าไป ๑๕ นาที (ถูก) ่ ๖. เธอพบตัวเองอยูในห้องคนเดียว (ผิด) ๗. สนามเต็มไปด้วยหญ้า (ผิด) ่ เธอรู ้สึกตัวว่าอยูในห้องคนเดียว (ถูก) ในสนามมีหญ้าเต็ม (ถูก) สนามมีหญ้าเต็ม (ถูก) ๘. กองทัพไทยภายใต้การนาของสมเด็จพระนเรศวร มีชยชนะแก่กองทัพพม่า (ผิด) ั กองทัพไทยซึ่งสมเด็จพระนเรศวรทรงนา ชนะกองทัพพม่า (ถูก) ๙. ในอนาคตอันใกล้น้ ี ฉันจะได้เป็ นนิสิตมหาวิทยาลัยแล้ว (ผิด) ฉันจะได้เป็ นนิสิตมหาวิทยาลัยเร็ วนี้ (ถูก) ่ ๑๐. พอทราบผลการสอบไล่ เขาก็ตกอยูในห้วงแห่งความระทมทุกข์ (ผิด) พอทราบผลการสอบไล่เขาก็เกิดความระทมทุกข์ (ถูก) ่ แม้วาภาษาจะมีการเปลี่ยนแปลงไปได้หลายลักษณะดังที่กล่าวมา แต่ความเปลี่ยนแปลงดังกล่าว ่ นักภาษาศาสตร์ ถือว่าเป็ นธรรมชาติของภาษาที่ยงไม่ตาย เพราะภาษาที่พดจากันอยูในชีวตประจาวันนั้น ั ู ิ จะต้องมีการเปลี่ยนแปร ซึ่งหากการเปลี่ยนแปรนั้นเกิดขึ้นอย่างถาวรแล้ว ก็จะเรี ยกว่าภาษามีการ เปลี่ยนแปลงไป ดังนั้นสาหรับการใช้ภาษาในรู ปแบบสมัยนิยม เช่น คาคะนอง หรื อสานวนภาษาของ ั วัยรุ่ น นักภาษาศาสตร์ จะถือว่าเป็ นแค่การเปลี่ยนแปร แต่ยงไม่สร้างการเปลี่ยนแปลงให้กบภาษา ั จบ
  • 8. แบบฝึ กทบทวนความรู้ จงทาเครื่ องหมาย ถูก หน้าข้อที่ ถูก และ ผิด หน้าข้อที่ผด ิ ........๑. คาว่า ภาษา เป็ นคามาจากภาษา บาลี (สันสกฤต เป็ นภาสา) มีรากเดิมว่า ภาษ แปลว่า กล่าว, ่ พูด หรื อบอก เมื่อนามาใช้เป็ นคานาม มีรูปเป็ น ภาษา แปลตามรู ปศัพท์วา คาพูดหรื อถ้อยคา แปลเอา ความว่า เครื่ องสื่ อความหมายระหว่างมนุษย์ ให้สามารถกาหนดรู ้ความประสงค์ของกันและกันได้ โดยมี ระเบียบคาหรื อจังหวะเสี ยงเป็ นเครื่ องกาหนด ........๒. ความหมายอย่างกว้าง ภาษา หมายถึง การแสดงออกต่าง ๆ เช่น เสี ยง ท่าทาง สัญญาณ ที่สื่อ ความหมายกันได้ ........๓. ความหมายอย่างแคบ ภาษา หมายถึง ถ้อยคาที่มนุษย์ใช้สื่อความหมาย ผูที่ใช้ภาษาจึงต้องเป็ น ้ มนุษย์ และสิ่ งที่ใช้สื่อความหมายจึงเป็ นเสี ยงพูด ........๔. ภาษาบางประเทศเท่านั้นที่ใช้เสี ยงสื่ อความหมาย ภาษาหลายภาษามีการถ่ายทอดเสี ยงเป็ น ตัวอักษร ใช้ตวอักษรสื่ อความหมายได้อีกวิธีหนึ่ง ั ั ๕. เสี ยงที่ใช้สื่อความหมายไม่มีความสัมพันธ์กบความหมายเท่าไรนัก เสี ยงและความหมายส่ วนมากจะ ั เกิดจากข้อตกลงร่ วมกันของคนในกลุ่มนั้น ๆ (ถ้าเสี ยงและความหมายสัมพันธ์กนทุกภาษาจะออกเสี ยง เหมือนกัน) ........๖. หน่วยในภาษาหรื อส่ วนประกอบของภาษา (เสี ยง คา และประโยค) สามารถประกอบกันเป็ น หน่วยที่ใหญ่ข้ ึน เช่นคาว่า ใคร – ไป – หา - ให้ สามารถประกอบกันเป็ นประโยคได้มากมาย ........๗ การพูดจาในชีวตประจาวัน เช่น การพูดไม่ชด ทาให้มีการกลมกลืนเสี ยงบ้าง เช่น อย่างนี้ - อย่างงี้ ิ ั กร่ อนเสี ยงบ้าง เช่น สาวใภ้ - สะใภ้ อันหนึ่ง - อนึ่งและอิทธิ พลภาษาอื่น ไม่ทาให้ภาษาเปลี่ยนแปลง ........๘. ภาษาต่าง ๆ มีลกษณะคล้ายคลึงกันและต่างกัน ส่ วนที่คล้ายกัน เช่น ใช้เสี ยงสื่ อ สร้างศัพท์ใหม่ ั จากศัพท์เดิม มีสานวน มีคาชนิดต่าง ๆ ส่ วนที่ต่างกัน ด้านเสี ยง เช่น ภาษาอังกฤษมีเสี ยง แต่ภาษาไทย ไม่มี ภาษาไทยมีเสี ยงวรรณยุกต์ แต่ภาษาอังกฤษไม่มี