SlideShare a Scribd company logo
1 of 72
Download to read offline
กล้องถ่ายภาพในปัจจุบนนัน มีมากมายหลายชนิด ตามแต่วตถุประสงค์ในการใช้
                              ั ้                              ั
งาน ซึ่งกล ้องแต่ละชนิดก็มววฒนาการทางด้านเทคโนโลยีท่ ใช้ ต่างกันออกไปผูท่ ี
                                 ีิั                         ี                ้
ต้องการรูปประเภทใด ก็ตองเลือกกล้องให้ตรงกับงานของตนและต้องทาการศึกษา
                               ้
วิธการใช้และรายละเอียดของกลองชนิดนัน ๆ
    ี                                  ้     ้
       กล้องที่นิยมใช้มากในปัจจุบนมี 2 ชนิดด้วยกันคือ กล้องอัตโนมัตท่ มการกาหนด
                                     ั                               ิีี
ทางยาวโฟกัส ระยะชัดและความไวแสงของฟิ ลมไว้เรียบร้อยแล ้ว ผูท่ ไม่มความรู ้
                                                   ์               ้ี ี
ทางด้านการใช้กล้อง ก็สามารถถ่ายภาพด้วยกล้องอัตโนมัตได้อย่างง่ายดาย และอีก
                                                           ิ
ชนิดก็คอกล้องที่ผูใ้ ช้เป็ นมืออาชีพ หรือกึ่งอาชีพ และมือกล้องหัดใหม่ ที่ตองการจะ
           ื                                                              ้
สร้างผลพิเศษทางภาพด้วยระบบต่าง ๆ ของกล้อง เรียกว่า กล้องสะท้อนเลนส์เดี่ยว
ซึ่งผูท่ จะใช้ ต้องมีความรู ้ ในเรื่องกล้องและวิธการใช้พอสมควร จึงจะสามารถ
        ้ี                                       ี
ถ่ายภาพให้ออกมาดีได้
ประโยชน์ของการถ่ายภาพ
1. บันทึกเรื่องราว เหตุการณ์ การบันทึกเรื่ องราวด้วยภาพทาให้ได้ขอมูล รายละเอียดต่าง
                                                                ้
    ๆ ในการศึกษาเป็ นอย่างดี
2. การสื่ อสาร และการศึกษา ภาพถ่ายสามารถถ่ายทอดความรู ้ ข้อมูลไปยังผูรับ โดยผ่าน
                                                                       ้
    สื่ อแขนงต่าง ๆ
3. ความงาม การถ่ายภาพช่วยให้เกิดความคิดสร้างสรรค์และจินตนาการ การใช้หลักการ
    ทางศิลปะในการถ่ายภาพ หรื อที่เรี ยกว่า ศิลปะภาพถ่าย จะได้ภาพถ่ายที่สวยงามให้
    ประโยชน์ทางจิตใจ
 4. ความเพลิดเพลิน ทาให้เกิดความสนุกสนานเพลิดเพลินกับธรรมชาติ สิ่ งแวดล้อม โดย
    ใช้ช่วงเวลาให้เกิดประโยชน์ ถือเป็ นงานอดิเรกสาหรับผูรักการถ่ายภาพ
                                                        ้
 5. อาชีพ การถ่ายภาพเกี่ยวข้องกับสื่ อมวลชนแขนงต่าง ๆ มากมาย ซึ่ งต้องใช้ภาพถ่ายเพื่อ
    สื่ อสารเชิงธุรกิจ ผูถ่ายภาพที่มีความชานาญ มีประสบการณ์ สามารถยึดเป็ นอาชีพได้
                         ้
ประเภทของกล้องถ่ายภาพ

1. กล้องถ่ ายภาพแบบง่ าย (Simple Camera)
2. กล้ องสะท้ อนภาพเลนส์ เดียว (Single Lens Reflex)
                              ่
3. กล้ องสะท้ อนภาพเลนส์ คู่ (Twin-Lens Reflex)
4. กล้ องแบบเทคนิค (The Technical Camera)
5. กล้ องถ่ ายภาพสาเร็จรู ป (Instant Camera)
6. กล้ องดิจิตอล (Digital Camera)
7. กล้ องถ่ ายภาพสาหรับวัตถุประสงค์ พเิ ศษ
กล้องดิจตอล
        ิ
กล้องดิจตอล
        ิ

 กล้องถ่ายภาพที่ใช้ฟิล์ม ฟิ ล์มจะทาหน้าที่บนทึกภาพและเก็บภาพไปด้วย
                                            ั
   แต่สาหรับกล้องดิจิตอลแล้ว การบันทึกภาพเป็ นหน้าที่ของ Image
   Sensor ส่ วนการเก็บภาพ เป็ นหน้าที่ของการ์ดเก็บข้อมูล หากกล้องทา
   หน้าที่เก็บข้อมูลภาพแล้ว จะต้องมีการโอนข้อมูลจากตัวกล้องไปยัง
   แหล่งเก็บข้อมูลอื่น ๆ เช่น คอมพิวเตอร์ มิเช่นนั้น หน่วยความจาของ
   กล้องจะเต็ม ไม่สามารถถ่ายภาพต่อไปได้อีก จนกว่าจะมีการลบภาพจาก
                                 ่
   หน่วยความจาทิ้ง เพื่อให้มีที่วางในหน่วยความจา ของตัวกล้อง จึงจะ
   สามารถบันทึกภาพต่อไปได้อีก
กล้องดิจตอล
        ิ

 อุปกรณ์ที่สาคัญที่สุดในการถ่ายภาพด้วยกล้องดิจิตอลก็คือ กล้องดิจิตอล
   โครงสร้างของกล้องดิจิตอลไม่ได้แตกต่างไปจากโครงสร้างของกล้อง
   ถ่ายภาพนัก และวิธีการใช้งานก็ไม่ได้แตกต่างกันมากอีกด้วย
   ส่ วนประกอบของกล้องดิจิตอล ยังคงมีเลนส์ มีตวกล้อง มีม่านชัตเตอร์
                                                       ั
   ต้องปรับความชัด ต้องวัดแสง ต้องตั้งความเร็ วชัตเตอร์ ต้องตั้งขนาด
   ช่องรับแสง ยังคงต้องจัดองค์ประกอบภาพ และใช้ศิลปะในการถ่ายภาพ
   จึงจะได้ภาพที่ดี เช่นเดียวกับกล้องใช้ฟิล์ม สิ่ งที่แตกต่างกันก็คือ กล้อง
   ใช้ฟิล์มใช้ฟิล์มเป็ นอุปกรณ์รับแสงและบันทึกภาพ ส่ วนกล้องดิจิตอล
   ใช้ Image Sensor หรื อ CCDs ในการรับแสง
การถ่ ายภาพนิ่ง
ด้ วยกล้องภาพนิ่งดิจิตอล นเซอร์ รับภาพของกล้องดิจิตอล
                ชนิดของเซ็

                           ในปัจจุบันเซ็นเซอร์ ที่ใช้ ในกล้ องถ่ ายภาพนิ่ง
                           แบบดิจิตอลนั้นมีอยู่ด้วยกัน 3 ชนิด คือ
                           1. CCD (Charge Coupled Device)
                           2. CMOS (Complementary Metal Oxides
                              Semiconductor)
                           3. Foveon X3
การถ่ ายภาพนิ่ง
ด้ วยกล้องภาพนิ่งดิจิตอล อมูลภาพ หรือการ์ ดหน่ วยความจา
               สื่ อบันทึกข้

                                   สื่ อบันทึกข้ อมูลภาพจะมีมากมายหลายชนิด
                                   ขึนอยู่กบว่ าแต่ ละบริษทจะใช้ สื่อบันทึก
                                       ้    ั             ั
                                   ข้ อมูลภาพแบบไหน เช่ น Memory Stick,
                                   SmartMedia,Compact Flash, Microdrive
การถ่ ายภาพนิ่ง
                       ชนิดของไฟล์ ภาพทีจัดเก็บ
ด้ วยกล้องภาพนิ่งดิจิตอล                ่


         ไฟล์ ภาพทีถูกจัดเก็บเอาไว้ ในสื่ อบันทึกข้ อมูล
                     ่
         จะมีมากมายหลายชนิดแตกต่ างกันไปตามชนิด
         และยีห้อของกล้องดิจิตอล ชนิดของไฟล์ภาพที่
                ่
         ใช้ กนทั่วไปในกล้ องดิจิตอล คือ
              ั
         - RAW
         - TIFF (Tagged-Image File Format)
         - JPEG (The Joint Photographic Experts Group)
ส่วนประกอบของกล้องถ่ายรูป

1.ตัวกล้อง (Camera body)
2. เลนส์ (Lens)
3. ช่ องรับแสงกับความเร็วชัตเตอร์
4. ชัตเตอร์ (Shutter)
5. ช่ องมองภาพ (view finder)
6. การปรับความชัด (focusing Screen)
ตัวกล้อง (Camera body)
ตัวกล้องทาหน้าที่เป็ นห้องมีดขนาดเล็กคอยป้ องกันแสงสว่างที่
ไม่ตองการเข้าไปภายในกล้องและทาหน้าที่ตดตังชิ้นส่วนสาคัญ
     ้                                   ิ ้
ต่างๆของกล้องอีกด้วยลักษณะตัวกล้องอาจเป็ นรูปกล่อง
สี่เหลี่ยม แบน หรือรูปทรงต่างๆ กันออกไป แต่ท่ สาคัญภายใน
                                              ี
กล้องจะฉาบเอาไว้ดวยสีดา เพื่อป้ องกันการสะท้อนของแสง
                     ้
เลนส์ (Lens)
      เป็ นอุปกรณ์ที่ทาจากแก้วหรื อพลาสติก เลนส์เปรี ยบเสมือนดวงตาของกล้องถ่ายภาพ
ทาหน้าที่หกเหแสง ซึ่ งสะท้อนจากวัตถุให้ไปตัดกัน เกิดเป็ นภาพจริ งหัวกลับ บนระนาบ
           ั
1. เลนส์ มาตราฐาน (Standerd Lens)
2. เลนส์ ถ่ายไกล (Telephpto Lens)
3. เลนส์ มุมกว้าง( Wid – angle lens)
4. เลนส์ ตาปลา ( Fish eye lens)
5. เลนส์ ซูม ( Zoom lens )
6.เลนส์ แมคโคร ( Macro Lens)
วงแหวนปรับรูรบแสง (Aperture Knob)
              ั
  เป็ นวงแหวนซึ่งประกอบอยู่ในชุดกระบอกเลนส์ ตัววงแหวนจะ
อยู่ท่ บริเวณปลอกด้านนอกของเลนส์ แต่ตวกาหนดขนาดช่องรับ
       ี                                     ั
แสง จะเป็ นแผ่นโลหะบาง ๆ จัดเป็ นชุดเรียงซ้อนประกอบกัน
เพื่อให้เกิดเป็ นช่องว่างตรงศูนย์กลาง ช่องว่างนี้ตวม่านจะหรี่ให้
                                                  ั
เล็กหรือขยายให้กว้าง ก็เพื่อเป็ นการควบคุมปริมาณแสงสว่างที่
ส่องผ่านมาจากเลนส์ แล้วส่งต่อไปยังฟิ ลม ช่องรับแสงที่มค่า
                                         ์                ี
ตัวเลขมาก เช่น 16 หรือ 22 จะมีรูรบแสงเล็ก แสงจะผ่านได้
                                     ั
น้อย ภาพที่ได้จะมีความชัดลึก ส่วนช่องรับแสงที่มค่าน้อย เช่น
                                                    ี
2.8 จะมีรูรบแสงกว้าง แสงสามารถผ่านได้มาก ภาพที่ได้จะมี
             ั
ความชัดตื้น ค่าตัวเลขของช่องรับแสงนี้มไว้เพื่อความง่ายในการ
                                           ี
สังเกต การหมุนจากเลขหนึ่งไปยังอีกเลขหนึ่งเรียกว่า 1 สต็อป
(stop)และเลขที่กากับขนาดช่องรับแสงแต่ละตัวเรียกว่า
Factor-number หรือ Factor-stop หรือเรียก
กันง่าย ๆ ว่า f/number
การปรับขนาดช่องรับแสง
การปรับขนาดช่องรับแสงและความเร็วชัตเตอร์
ความสัมพันธ์ระหว่างช่องรับแสงกับความเร็วชัตเตอร์
                                   เนื่ อ งจากช่ อ งรับ แสงและความเร็ว ชัต เตอร์
                                   ทางานสัมพันธ์ซ่ึง กันและกัน เมื่อมีการปรับ
                                   หรือเปลียนช่องรับแสงหรือความเร็ว ชัตเตอร์
                                             ่
                                   ปริม าณของแสงที่เ ข้า ไปในกล้อ งก็ จ ะต้ อ ง
                                   เปลียนไปด้วย ข้อควรจาที่ง่ายๆ ก็คอในการ
                                         ่                                    ื
                                   เลือกใช้ขนาดช่องรับแสง และความเร็วของชัต
                                   เตอร์ต้องใช้ให้สมพันธ์กนโดยคานึงถึงความ
                                                      ั          ั
                                   ไวแสงฟิ ล์ม ที่ใ ช้ด้ว ยเมื่อ ต้อ งการเลือ กปรับ
                                   ขนาดช่องรับแสงเป็ นสาคัญก็ตองปรับเปลียน
                                                                      ้           ่
                                   ความเร็ว ชัต เตอร์ ใ ห้เ ร็ว ขึ้น หรือ ช้ า ลงตาม
                                   สภาพของแสงขณะถ่ายภาพทานองเดียวกัน
                                   หากว่าต้องการปรับเปลียนความเร็ว ชัตเตอร์
                                                               ่
                                   เป็ นหลักต้องเปลียนขนาดช่องรับแสงให้กว้าง
                                                        ่
                                   ขึนหรือแคบลงตามสภาพของแสงเช่นเดียวกัน
                                     ้
เลขแสดงความเร็วชัตเตอร์
การเปลี่ยนแปลงความเร็วชัตเตอร์
การตังความเร็วชัตเตอร์สูงเช่น 1/1000 วินาทีหรือ 1/500
      ้
วินาที ถ่ายภาพวัตถุเคลื่อนที่ไหวจะได้ภาพวัตถุท่ ี
เคลื่อนไหวนันหยุดนิ่งอยู่กบที่เรียกภาพถ่ายนันว่าภาพ
               ้            ั                    ้
Stop action แต่ถา้ ตังความเร็วชัตเตอร์ให้ตา เช่น 1/30
                      ้                        ่
วินาที หรือ 1/15 วินาที ถ่ายภาพวัตถุท่ เี คลื่อนไหว จะได้
ภาพวัตถุท่ เี คลื่อนไหวนัน ดูประหนึ่งว่ากาลังเคลื่อนที่มี
                         ้
ความเร็วช่วงความชัด (Depth of field)
ภาพถ่ายที่มความชัดตังแต่วตถุท่ อยู่ระยะหน้าไปถึงวัตถุท่ ี
             ี        ้ ั ี
อยู่ระยะหลังสุดของระยะตาแหน่งที่ปรับความชัดในภาพ
เราเรียกภาพนันว่าเป็ นภาพที่มความชีดลึกมากคือชัด
               ้             ี
ตลอดขณะเดียวกันมีภาพถ่ายบางภาพมีความชัดเฉพาะ
ตาแหน่งที่เราปรับโฟกัสไว้ส่วนระยะหน้าและระยะหลังจะ
พร่ามัวไม่ชดเจน เราเรียกภาพนันว่ามีความชัดตื้น
           ั                   ้
การถ่ ายภาพนิ่ง
ด้ วยกล้องภาพนิ่งดิจิตอล
  ระดับความสู งของกล้องกับการถ่ ายภาพ




                             ระดับความสู งของกล้องที่ใช้ ในการถ่ ายภาพ
                             จะทาให้ ลกษณะของบุคคลในภาพ มีความ
                                         ั
                             แตกต่ างกันออกไป ทั้งนีขึนอยู่กบว่ าผู้ถ่าย
                                                    ้ ้     ั
                             ต้ องการสื่ อภาพออกมาอย่างไร
การถ่ ายภาพนิ่ง
ด้ วยกล้องภาพนิ่งดิจบความสู งของกล้องกับการถ่ ายภาพ
                ระดัิตอล




                              ความสู งระดับสายตา (Eye-level Shot)
                               เป็ นการวางระดับความสู งของกล้อง ในระดับ
                              สายตาของบุคคลที่เป็ นจุดสนใจ ภาพที่ได้
                              จะเป็ นธรรมชาติ เหมือนจริง
การถ่ ายภาพนิ่ง
ด้ วยกล้องภาพนิ่งระดัิตอล งของกล้องกับการถ่ ายภาพ
                 ดิจ บความสู



                            ความสู งระดับเหนือศรีษะ (High-angle Shot)
                            เป็ นการวางระดับความสู งของกล้อง ในระดับ
                            เหนือศรีษะของบุคคลทีเ่ ป็ นจุดสนใจ
                            ภาพที่ได้ จะแตกต่ างจากภาพจริง คือ จะมี
                            ศรีษะใหญ่ กว่าเท้ า ตัวสั้ น ดูอ่อนแอ ไม่ มีพลัง
การถ่ ายภาพนิ่ง
ด้ วยกล้องภาพนิระดับความสู งของกล้องกับการถ่ ายภาพ
                ่งดิจิตอล



                             ความสู งระดับต่ากว่ าศรีษะ (Low-angle Shot)
                             เป็ นการวางระดับความสู งของกล้อง ในระดับ
                             ต่ากว่ าศรีษะของบุคคลที่สนใจ หรือถ่ าย
                             ย้ อนขึนไปทางด้ านบน ภาพที่ได้ จะไม่ เป็ น
                                     ้
                             ธรรมชาติ บุคคลในภาพจะดูมีพลังมากขึน    ้
การถ่ ายภาพนิ่ง
ด้ วยกล้องภาพนิ่งดิจิตอล ฐานของการถ่ายภาพ
                 ช็อตพืน
                       ้


                            Extreme Long Shot (ELS, XLS)
                             เป็ นช็อตระยะไกลที่จะแสดงให้ เห็นภาพรวม
                            ของทั้งภาพ บอกผู้ดูว่าบุคคลหลักของภาพนั้น
                            อยู่ที่ไหน มีขนาดและมีความสั มพันธ์ กบ
                                                                 ั
                            สิ่ งแวดล้อมในภาพอย่างไร
การถ่ ายภาพนิ่ง
     ช็อตพืนฐานของการถ่ ายภาพ
           ้
ด้ วยกล้องภาพนิ่งดิจิตอล


                           Very Long Shot (VLS)
                           เป็ นช็อตที่บุคคล
                           หลักในภาพ จะมีขนาดประมาณ 3/4 - 1/3
                           ของความสู งของภาพ ซึ่งภาพในลักษณะนี้
                           จะแสดงทั้งสภาพแวดล้ อม และรายละเอียด
                           ของบุคคลคนนั้นมากขึน
                                              ้
การถ่ ายภาพนิ่ง
                ช็อตพืนฐานของการถ่ ายภาพ
                      ้
ด้ วยกล้องภาพนิ่งดิจิตอล


                            Long Shot (LS) หรือ Full Shot เป็ นช็อต
                            ที่จะแสดงให้ เห็นรายละเอียดของบุคคลหลัก
                            ของภาพมากขึนกว่า Very Long Shot โดยจะ
                                            ้
                            แสดงรู ปร่ างทั้งหมดของบุคคลคนนั้น และจะ
                            ต้ องมีพนทีว่างเหนือและใต้ บุคคลนั้นด้ วย
                                    ื้ ่
การถ่ ายภาพนิ่ง
                ช็อตพืนฐานของการถ่ ายภาพ
                      ้
ด้ วยกล้องภาพนิ่งดิจิตอล


                            Medium Long Shot (MLS) หรือ Knee Shot
                            เป็ นช็อตที่จะมีขนาดของบุคคลหลักเป็ น
                            3/4 ส่ วนของขนาดจริง ซึ่งจะเป็ นการถ่ าย
                            ภาพตัดจากใต้ หัวเข่ าของบุคคล ไปจน
                            ถึงศรีษะโดยจะต้ องมีช่องว่างเหนือศรีษะ
                            ของคนๆ นั้นด้ วย
การถ่ ายภาพนิ่ง
ด้ วยกล้องภาพนิ่งช็อตพืนฐานของการถ่ายภาพ
                       ้
                 ดิจิตอล


                            Medium Shot (MS) เป็ นช็อตที่ถ่ายตั้งแต่
                            ใต้ เอวของบุคคลหลักของภาพนั้น ขึน ้
                            ไปจนถึงศรีษะ และยังคงต้ องมีพนที่ว่าง
                                                           ื้
                            เหนือศรีษะของบุคคลนั้นเช่ นเดิม
การถ่ ายภาพนิ่ง
ด้ วยกล้องภาพนิ่งดิจิตอล ฐานของการถ่ายภาพ
                 ช็อตพืน
                       ้



                            Medium Close Up (MCU) หรือ Bust Shot
                            เป็ นช็อตที่ถ่ายตั้งแต่ ใต้ รักแร้ ของบุคคลหลัก
                            ของภาพนั้น ขึนไปจนถึงศรีษะ และยังคง
                                            ้
                            ต้ องมีพนทีว่างเหนือศรีษะเช่ นเดิม
                                    ื้ ่
การถ่ ายภาพนิ่ง
ด้ วยกล้องภาพนิ่งช็อตพืนฐานของการถ่ายภาพ (บุคคล)
                       ้
                 ดิจิตอล


                            Close Up (CU) เป็ นช็อตที่ถ่ายตั้งแต่ บริเวณ
                            ใต้ ลาคอ หรือถ้ าเป็ นผู้ชายก็คอใต้ ปมเนคไท
                                                           ื
                            ของบุคคลหลักของภาพนั้น ขึนไปจนถึง้
                            ศรีษะ
การถ่ ายภาพนิ่ง
ด้ วยกล้องภาพนิ่งช็อตพืนฐานของการถ่ายภาพ (บุคคล)
                       ้
                 ดิจิตอล


                            Big Close Up (BCU) เป็ นช็อตที่ถ่ายบริเวณ
                            บางส่ วนของใบหน้ าของบุคคลหลักใน
                            ภาพ ส่ วนใหญ่ จะเริ่มตั้งแต่ บริเวณกลาง
                            หน้ าผากลงมาจนถึงเหนือคาง
การถ่ ายภาพนิ่ง
ด้ วยกล้องภาพนิ่งดิจิตอลประกอบภาพ (Composition)
              การจัดองค์


                               เลือกถ่ ายแนวตั้งหรือแนวนอน
                              เลือกถ่ ายแนวตั้งสาหรับจุดสนใจที่มลกษณะีั
                              เป็ นแนวตั้ง เช่ น ตึกสู ง ต้ นไม้ นาตก ส่ วน
                                                                  ้
                              การถ่ ายแนวนอนเหมาะสาหรับจุดสนใจที่มี
                              ลักษณะกว้ าง เช่ น รู ปหมู่ของบุคคล
การถ่ ายภาพนิ่ง
ด้ วยกล้องภาพนิ่งดิดองค์ประกอบภาพ (Composition)
             การจั จิตอล




                            เลือกจุดที่สนใจในภาพ
                            ก่ อนถ่ ายภาพใดๆ ผู้ถ่ายจะต้ องคิดไว้ ก่อน
                            เสมอว่ าจุดสนใจในภาพคืออะไร แล้ วถึงจะ
                            เลือกตาแหน่ งการจัดวาง หรือมุมกล้ องที่
                            เหมาะสม ที่จะนาเสนอจุดสนใจนั้นออกมา
การถ่ ายภาพนิ่ง
ด้ วยกล้องภาพนิการจัิตอล ประกอบภาพ (Composition)
                ่งดิจ ดองค์



                            หามุมที่เหมาะสม
                            หลังจากที่เรากาหนดจุดสนใจในภาพแล้ ว
                            ให้ เดินรอบๆ จุดสนุใจนั้น เพือหามุมมองที่
                                                         ่
                            น่ าสนใจสาหรับการถ่ ายภาพ
การถ่ ายภาพนิ่ง
ด้ วยกล้องภาพนิ่งดิจิตอลประกอบภาพ (Composition)
              การจัดองค์




                            ใช้ เส้ นนาสายตา
                            ในบางโอกาสให้ ใช้ เส้ นตรงหรือเส้ นโค้ ง
                            เป็ นเส้ นนาสายตา เพือดึงความสนใจของ
                                                  ่
                            ผู้ดูไปยังจุดสนใจในภาพ
การถ่ ายภาพนิ่ง
ด้ วยกล้องภาพนิ่งดิดองค์ประกอบภาพ (Composition)
             การจั จิตอล



                            รวมสิ่ งที่อยู่ด้านหน้ าจุดสนใจไว้ ในภาพ
                            เพือให้ เกิดมิติ หรือความลึกของภาพ ใน
                               ่
                            บางครั้งเราจะต้ องรวมเอาสิ่ งที่อยู่ด้านหน้ า
                            ของจุดสนใจไว้ ในภาพด้ วย
การถ่ ายภาพนิ่งดสนใจออกจากกลางภาพ
    วางตาแหน่ งจุ
ด้ วยกล้องภาพนิ่งดิจิตอลที่ไม่ ใช่ กงกลางภาพ โดยอาศัยการแบ่ งส่ วนของ
    วางจุดสนใจในตาแหน่ ง            ึ่
   ภาพออกเป็ น สามส่ วนตามแนวตั้งและนอน และทาการจัดวางจุดสนใจใน
   แนวเส้ นหรือจุดตัด
การจัดองค์ประกอบ
จุดตัด9ช่อง คือ การนาเส้นตัด
สามส่วนในระนาบแนวนอนกับ
แนวตังมารวมกัน จะเกิดจุดตัด
      ้
4 จุด เป็ นจุดที่จะวางจุดสาคัญ
ของภาพไว้เพื่อให้ได้รบความ
                      ั
สนใจจากผูชมภาพมากที่สุด
           ้
Shooting Tips : 10 เทคนิคการถ่ ายภาพอย่ างง่ าย
การเข้าใจพื้นฐานการถ่ายภาพด้วยกล้องดิจิตอลและมีเทคนิคดีๆ ก็สามารถ
ช่วยงานพัฒนาสื่ อการสอน ที่ตองถ่ายภาพด้วยกล้องดิจิตอล จะได้งานที่มี
                            ้
คุณภาพมากยิงขึ้นครับ
             ่
Shooting Tips : 10 เทคนิคการถ่ ายภาพอย่ างง่ าย
1. ทากล้ องให้ มั่นคงไม่ สั่นไหว
2. การถ่ ายภาพแนวนอนกับแนวตั้ง
3. การวางเส้ นขอบฟาในการถ่ ายวิว
                        ้
4. Rule of Third
5. ช่ วงเวลาในการถ่ ายภาพ
6. ถ่ ายภาพให้ ใกล้ ขน
                     ึ้
7. การถ่ ายภาพแบบมีเงาหรือมีเงาสะท้ อน
8. นาสิ่ งทีต้องการเน้ นออกจากตรงกลางของภาพ
             ่
9. คุณรู้ จักระยะแฟลชของกล้ องคุณหรือเปล่ า?
10. เทคนิคการใช้ แฟลช
การถ่ายภาพเบื้องต้น
การถ่ายภาพเบื้องต้น
การถ่ายภาพเบื้องต้น
การถ่ายภาพเบื้องต้น
การถ่ายภาพเบื้องต้น
การถ่ายภาพเบื้องต้น
การถ่ายภาพเบื้องต้น
การถ่ายภาพเบื้องต้น
การถ่ายภาพเบื้องต้น
การถ่ายภาพเบื้องต้น
การถ่ายภาพเบื้องต้น
การถ่ายภาพเบื้องต้น
การถ่ายภาพเบื้องต้น
การถ่ายภาพเบื้องต้น
การถ่ายภาพเบื้องต้น
การถ่ายภาพเบื้องต้น
การถ่ายภาพเบื้องต้น
การถ่ายภาพเบื้องต้น
การถ่ายภาพเบื้องต้น
การถ่ายภาพเบื้องต้น
การถ่ายภาพเบื้องต้น
การถ่ายภาพเบื้องต้น
การถ่ายภาพเบื้องต้น
การถ่ายภาพเบื้องต้น
การถ่ายภาพเบื้องต้น
การถ่ายภาพเบื้องต้น

More Related Content

What's hot

ดาวโหลดเอกสารเลือกตั้งประธานนักเรียน
ดาวโหลดเอกสารเลือกตั้งประธานนักเรียนดาวโหลดเอกสารเลือกตั้งประธานนักเรียน
ดาวโหลดเอกสารเลือกตั้งประธานนักเรียนwaranyuati
 
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลยใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลยthnaporn999
 
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียนโครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียนพัน พัน
 
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4Thanawut Rattanadon
 
ตัวอย่าง ปกรายงาน
ตัวอย่าง ปกรายงานตัวอย่าง ปกรายงาน
ตัวอย่าง ปกรายงานSamorn Tara
 
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์Jiraporn
 
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์Aomiko Wipaporn
 
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทรูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทAekapoj Poosathan
 
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2dnavaroj
 
Is2 การสื่อสารและการนำเสนอ กลุ่ม1
Is2  การสื่อสารและการนำเสนอ  กลุ่ม1Is2  การสื่อสารและการนำเสนอ  กลุ่ม1
Is2 การสื่อสารและการนำเสนอ กลุ่ม1พัน พัน
 
ใบงานอาหารและโภชนาการ
ใบงานอาหารและโภชนาการใบงานอาหารและโภชนาการ
ใบงานอาหารและโภชนาการtassanee chaicharoen
 
การทำงานของระบบประสาท
การทำงานของระบบประสาทการทำงานของระบบประสาท
การทำงานของระบบประสาทThitaree Samphao
 
องค์ประกอบของหลักสูตร
องค์ประกอบของหลักสูตรองค์ประกอบของหลักสูตร
องค์ประกอบของหลักสูตรSunisa199444
 
แบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานแบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานpacharawalee
 
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทchaipalat
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวกโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวกพัน พัน
 

What's hot (20)

ดาวโหลดเอกสารเลือกตั้งประธานนักเรียน
ดาวโหลดเอกสารเลือกตั้งประธานนักเรียนดาวโหลดเอกสารเลือกตั้งประธานนักเรียน
ดาวโหลดเอกสารเลือกตั้งประธานนักเรียน
 
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลยใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
 
อินธนูครู
อินธนูครูอินธนูครู
อินธนูครู
 
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียนโครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
 
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
 
ตัวอย่าง ปกรายงาน
ตัวอย่าง ปกรายงานตัวอย่าง ปกรายงาน
ตัวอย่าง ปกรายงาน
 
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
 
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
 
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
 
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทรูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
 
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
 
Is2 การสื่อสารและการนำเสนอ กลุ่ม1
Is2  การสื่อสารและการนำเสนอ  กลุ่ม1Is2  การสื่อสารและการนำเสนอ  กลุ่ม1
Is2 การสื่อสารและการนำเสนอ กลุ่ม1
 
ใบงานอาหารและโภชนาการ
ใบงานอาหารและโภชนาการใบงานอาหารและโภชนาการ
ใบงานอาหารและโภชนาการ
 
การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)
 
การทำงานของระบบประสาท
การทำงานของระบบประสาทการทำงานของระบบประสาท
การทำงานของระบบประสาท
 
องค์ประกอบของหลักสูตร
องค์ประกอบของหลักสูตรองค์ประกอบของหลักสูตร
องค์ประกอบของหลักสูตร
 
แบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานแบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงาน
 
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวกโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 

Similar to การถ่ายภาพเบื้องต้น

Part 2.2 ส่วนประกอบของกล้องถ่ายภาพ
Part 2.2 ส่วนประกอบของกล้องถ่ายภาพPart 2.2 ส่วนประกอบของกล้องถ่ายภาพ
Part 2.2 ส่วนประกอบของกล้องถ่ายภาพPipit Sitthisak
 
Macro phography
Macro phographyMacro phography
Macro phographyedtech29
 
9789740330196
97897403301969789740330196
9789740330196CUPress
 
Images Digitization with Digital Photography
Images Digitization with Digital PhotographyImages Digitization with Digital Photography
Images Digitization with Digital PhotographyRachabodin Suwannakanthi
 
กล้องจุลทรรศน์
กล้องจุลทรรศน์กล้องจุลทรรศน์
กล้องจุลทรรศน์pongrawee
 
งานอาจารภูเบศ22610 มุก (1)
งานอาจารภูเบศ22610 มุก (1)งานอาจารภูเบศ22610 มุก (1)
งานอาจารภูเบศ22610 มุก (1)James James
 
เทคนิคการถ่ายภาพ
เทคนิคการถ่ายภาพเทคนิคการถ่ายภาพ
เทคนิคการถ่ายภาพK'donuz Drumz
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์warayut promrat
 
Janti55540089
Janti55540089Janti55540089
Janti55540089Mook Jpd
 
Janti55540089
Janti55540089Janti55540089
Janti55540089Mook Jpd
 
การถ่ายภาพดิจิตอลหน่วยเรียน1
การถ่ายภาพดิจิตอลหน่วยเรียน1การถ่ายภาพดิจิตอลหน่วยเรียน1
การถ่ายภาพดิจิตอลหน่วยเรียน1pattaya chantokul
 
การถ่ายภาพดิจิตอล หน่วยเรียนที่ 2
การถ่ายภาพดิจิตอล หน่วยเรียนที่ 2การถ่ายภาพดิจิตอล หน่วยเรียนที่ 2
การถ่ายภาพดิจิตอล หน่วยเรียนที่ 2pattaya chantokul
 
Image Digitization with Digital Photography
Image Digitization with Digital PhotographyImage Digitization with Digital Photography
Image Digitization with Digital PhotographyRachabodin Suwannakanthi
 
ระบบภาพดิ...
ระบบภาพดิ...ระบบภาพดิ...
ระบบภาพดิ...chanita
 
กล้องจุลทรรศน์ เซลล์และการค้นพบเซลล์
กล้องจุลทรรศน์ เซลล์และการค้นพบเซลล์กล้องจุลทรรศน์ เซลล์และการค้นพบเซลล์
กล้องจุลทรรศน์ เซลล์และการค้นพบเซลล์dnavaroj
 
ชีววิทยา เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ " Microscope"
ชีววิทยา เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ " Microscope"ชีววิทยา เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ " Microscope"
ชีววิทยา เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ " Microscope"kasidid20309
 
Image Digitization with Scanning Technology
Image Digitization with Scanning TechnologyImage Digitization with Scanning Technology
Image Digitization with Scanning TechnologyRachabodin Suwannakanthi
 

Similar to การถ่ายภาพเบื้องต้น (20)

10วิธีแก้ปัญหาในการใช้กล้องดิจิตอล
10วิธีแก้ปัญหาในการใช้กล้องดิจิตอล10วิธีแก้ปัญหาในการใช้กล้องดิจิตอล
10วิธีแก้ปัญหาในการใช้กล้องดิจิตอล
 
Part 2.2 ส่วนประกอบของกล้องถ่ายภาพ
Part 2.2 ส่วนประกอบของกล้องถ่ายภาพPart 2.2 ส่วนประกอบของกล้องถ่ายภาพ
Part 2.2 ส่วนประกอบของกล้องถ่ายภาพ
 
Macro phography
Macro phographyMacro phography
Macro phography
 
9789740330196
97897403301969789740330196
9789740330196
 
Images Digitization with Digital Photography
Images Digitization with Digital PhotographyImages Digitization with Digital Photography
Images Digitization with Digital Photography
 
กล้องจุลทรรศน์
กล้องจุลทรรศน์กล้องจุลทรรศน์
กล้องจุลทรรศน์
 
งานอาจารภูเบศ22610 มุก (1)
งานอาจารภูเบศ22610 มุก (1)งานอาจารภูเบศ22610 มุก (1)
งานอาจารภูเบศ22610 มุก (1)
 
เทคนิคการถ่ายภาพ
เทคนิคการถ่ายภาพเทคนิคการถ่ายภาพ
เทคนิคการถ่ายภาพ
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
55540089
5554008955540089
55540089
 
Janti55540089
Janti55540089Janti55540089
Janti55540089
 
Janti55540089
Janti55540089Janti55540089
Janti55540089
 
การถ่ายภาพดิจิตอลหน่วยเรียน1
การถ่ายภาพดิจิตอลหน่วยเรียน1การถ่ายภาพดิจิตอลหน่วยเรียน1
การถ่ายภาพดิจิตอลหน่วยเรียน1
 
การถ่ายภาพดิจิตอล หน่วยเรียนที่ 2
การถ่ายภาพดิจิตอล หน่วยเรียนที่ 2การถ่ายภาพดิจิตอล หน่วยเรียนที่ 2
การถ่ายภาพดิจิตอล หน่วยเรียนที่ 2
 
Image Digitization with Digital Photography
Image Digitization with Digital PhotographyImage Digitization with Digital Photography
Image Digitization with Digital Photography
 
ระบบภาพดิ...
ระบบภาพดิ...ระบบภาพดิ...
ระบบภาพดิ...
 
กล้องจุลทรรศน์ เซลล์และการค้นพบเซลล์
กล้องจุลทรรศน์ เซลล์และการค้นพบเซลล์กล้องจุลทรรศน์ เซลล์และการค้นพบเซลล์
กล้องจุลทรรศน์ เซลล์และการค้นพบเซลล์
 
ชีววิทยา เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ " Microscope"
ชีววิทยา เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ " Microscope"ชีววิทยา เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ " Microscope"
ชีววิทยา เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ " Microscope"
 
Image Digitization with Scanning Technology
Image Digitization with Scanning TechnologyImage Digitization with Scanning Technology
Image Digitization with Scanning Technology
 
Canon 600 d thai manual
Canon 600 d thai manualCanon 600 d thai manual
Canon 600 d thai manual
 

More from Suphol Sutthiyutthasenee

More from Suphol Sutthiyutthasenee (8)

Multimedia Application
Multimedia ApplicationMultimedia Application
Multimedia Application
 
Multimedia for Education1
Multimedia for Education1Multimedia for Education1
Multimedia for Education1
 
หลักการนำเสนอ.pdf
หลักการนำเสนอ.pdfหลักการนำเสนอ.pdf
หลักการนำเสนอ.pdf
 
Slideshare ภาษาไทย
Slideshare ภาษาไทยSlideshare ภาษาไทย
Slideshare ภาษาไทย
 
Presentations - การนำเสนอ
Presentations - การนำเสนอPresentations - การนำเสนอ
Presentations - การนำเสนอ
 
Presentation-การนำเสนอ
Presentation-การนำเสนอPresentation-การนำเสนอ
Presentation-การนำเสนอ
 
การนำเสนอ
การนำเสนอการนำเสนอ
การนำเสนอ
 
Objectives
ObjectivesObjectives
Objectives
 

การถ่ายภาพเบื้องต้น

  • 1.
  • 2. กล้องถ่ายภาพในปัจจุบนนัน มีมากมายหลายชนิด ตามแต่วตถุประสงค์ในการใช้ ั ้ ั งาน ซึ่งกล ้องแต่ละชนิดก็มววฒนาการทางด้านเทคโนโลยีท่ ใช้ ต่างกันออกไปผูท่ ี ีิั ี ้ ต้องการรูปประเภทใด ก็ตองเลือกกล้องให้ตรงกับงานของตนและต้องทาการศึกษา ้ วิธการใช้และรายละเอียดของกลองชนิดนัน ๆ ี ้ ้ กล้องที่นิยมใช้มากในปัจจุบนมี 2 ชนิดด้วยกันคือ กล้องอัตโนมัตท่ มการกาหนด ั ิีี ทางยาวโฟกัส ระยะชัดและความไวแสงของฟิ ลมไว้เรียบร้อยแล ้ว ผูท่ ไม่มความรู ้ ์ ้ี ี ทางด้านการใช้กล้อง ก็สามารถถ่ายภาพด้วยกล้องอัตโนมัตได้อย่างง่ายดาย และอีก ิ ชนิดก็คอกล้องที่ผูใ้ ช้เป็ นมืออาชีพ หรือกึ่งอาชีพ และมือกล้องหัดใหม่ ที่ตองการจะ ื ้ สร้างผลพิเศษทางภาพด้วยระบบต่าง ๆ ของกล้อง เรียกว่า กล้องสะท้อนเลนส์เดี่ยว ซึ่งผูท่ จะใช้ ต้องมีความรู ้ ในเรื่องกล้องและวิธการใช้พอสมควร จึงจะสามารถ ้ี ี ถ่ายภาพให้ออกมาดีได้
  • 3. ประโยชน์ของการถ่ายภาพ 1. บันทึกเรื่องราว เหตุการณ์ การบันทึกเรื่ องราวด้วยภาพทาให้ได้ขอมูล รายละเอียดต่าง ้ ๆ ในการศึกษาเป็ นอย่างดี 2. การสื่ อสาร และการศึกษา ภาพถ่ายสามารถถ่ายทอดความรู ้ ข้อมูลไปยังผูรับ โดยผ่าน ้ สื่ อแขนงต่าง ๆ 3. ความงาม การถ่ายภาพช่วยให้เกิดความคิดสร้างสรรค์และจินตนาการ การใช้หลักการ ทางศิลปะในการถ่ายภาพ หรื อที่เรี ยกว่า ศิลปะภาพถ่าย จะได้ภาพถ่ายที่สวยงามให้ ประโยชน์ทางจิตใจ 4. ความเพลิดเพลิน ทาให้เกิดความสนุกสนานเพลิดเพลินกับธรรมชาติ สิ่ งแวดล้อม โดย ใช้ช่วงเวลาให้เกิดประโยชน์ ถือเป็ นงานอดิเรกสาหรับผูรักการถ่ายภาพ ้ 5. อาชีพ การถ่ายภาพเกี่ยวข้องกับสื่ อมวลชนแขนงต่าง ๆ มากมาย ซึ่ งต้องใช้ภาพถ่ายเพื่อ สื่ อสารเชิงธุรกิจ ผูถ่ายภาพที่มีความชานาญ มีประสบการณ์ สามารถยึดเป็ นอาชีพได้ ้
  • 4.
  • 5. ประเภทของกล้องถ่ายภาพ 1. กล้องถ่ ายภาพแบบง่ าย (Simple Camera) 2. กล้ องสะท้ อนภาพเลนส์ เดียว (Single Lens Reflex) ่ 3. กล้ องสะท้ อนภาพเลนส์ คู่ (Twin-Lens Reflex) 4. กล้ องแบบเทคนิค (The Technical Camera) 5. กล้ องถ่ ายภาพสาเร็จรู ป (Instant Camera) 6. กล้ องดิจิตอล (Digital Camera) 7. กล้ องถ่ ายภาพสาหรับวัตถุประสงค์ พเิ ศษ
  • 7. กล้องดิจตอล ิ  กล้องถ่ายภาพที่ใช้ฟิล์ม ฟิ ล์มจะทาหน้าที่บนทึกภาพและเก็บภาพไปด้วย ั แต่สาหรับกล้องดิจิตอลแล้ว การบันทึกภาพเป็ นหน้าที่ของ Image Sensor ส่ วนการเก็บภาพ เป็ นหน้าที่ของการ์ดเก็บข้อมูล หากกล้องทา หน้าที่เก็บข้อมูลภาพแล้ว จะต้องมีการโอนข้อมูลจากตัวกล้องไปยัง แหล่งเก็บข้อมูลอื่น ๆ เช่น คอมพิวเตอร์ มิเช่นนั้น หน่วยความจาของ กล้องจะเต็ม ไม่สามารถถ่ายภาพต่อไปได้อีก จนกว่าจะมีการลบภาพจาก ่ หน่วยความจาทิ้ง เพื่อให้มีที่วางในหน่วยความจา ของตัวกล้อง จึงจะ สามารถบันทึกภาพต่อไปได้อีก
  • 8. กล้องดิจตอล ิ  อุปกรณ์ที่สาคัญที่สุดในการถ่ายภาพด้วยกล้องดิจิตอลก็คือ กล้องดิจิตอล โครงสร้างของกล้องดิจิตอลไม่ได้แตกต่างไปจากโครงสร้างของกล้อง ถ่ายภาพนัก และวิธีการใช้งานก็ไม่ได้แตกต่างกันมากอีกด้วย ส่ วนประกอบของกล้องดิจิตอล ยังคงมีเลนส์ มีตวกล้อง มีม่านชัตเตอร์ ั ต้องปรับความชัด ต้องวัดแสง ต้องตั้งความเร็ วชัตเตอร์ ต้องตั้งขนาด ช่องรับแสง ยังคงต้องจัดองค์ประกอบภาพ และใช้ศิลปะในการถ่ายภาพ จึงจะได้ภาพที่ดี เช่นเดียวกับกล้องใช้ฟิล์ม สิ่ งที่แตกต่างกันก็คือ กล้อง ใช้ฟิล์มใช้ฟิล์มเป็ นอุปกรณ์รับแสงและบันทึกภาพ ส่ วนกล้องดิจิตอล ใช้ Image Sensor หรื อ CCDs ในการรับแสง
  • 9. การถ่ ายภาพนิ่ง ด้ วยกล้องภาพนิ่งดิจิตอล นเซอร์ รับภาพของกล้องดิจิตอล ชนิดของเซ็ ในปัจจุบันเซ็นเซอร์ ที่ใช้ ในกล้ องถ่ ายภาพนิ่ง แบบดิจิตอลนั้นมีอยู่ด้วยกัน 3 ชนิด คือ 1. CCD (Charge Coupled Device) 2. CMOS (Complementary Metal Oxides Semiconductor) 3. Foveon X3
  • 10. การถ่ ายภาพนิ่ง ด้ วยกล้องภาพนิ่งดิจิตอล อมูลภาพ หรือการ์ ดหน่ วยความจา สื่ อบันทึกข้ สื่ อบันทึกข้ อมูลภาพจะมีมากมายหลายชนิด ขึนอยู่กบว่ าแต่ ละบริษทจะใช้ สื่อบันทึก ้ ั ั ข้ อมูลภาพแบบไหน เช่ น Memory Stick, SmartMedia,Compact Flash, Microdrive
  • 11. การถ่ ายภาพนิ่ง ชนิดของไฟล์ ภาพทีจัดเก็บ ด้ วยกล้องภาพนิ่งดิจิตอล ่ ไฟล์ ภาพทีถูกจัดเก็บเอาไว้ ในสื่ อบันทึกข้ อมูล ่ จะมีมากมายหลายชนิดแตกต่ างกันไปตามชนิด และยีห้อของกล้องดิจิตอล ชนิดของไฟล์ภาพที่ ่ ใช้ กนทั่วไปในกล้ องดิจิตอล คือ ั - RAW - TIFF (Tagged-Image File Format) - JPEG (The Joint Photographic Experts Group)
  • 12.
  • 13. ส่วนประกอบของกล้องถ่ายรูป 1.ตัวกล้อง (Camera body) 2. เลนส์ (Lens) 3. ช่ องรับแสงกับความเร็วชัตเตอร์ 4. ชัตเตอร์ (Shutter) 5. ช่ องมองภาพ (view finder) 6. การปรับความชัด (focusing Screen)
  • 14. ตัวกล้อง (Camera body) ตัวกล้องทาหน้าที่เป็ นห้องมีดขนาดเล็กคอยป้ องกันแสงสว่างที่ ไม่ตองการเข้าไปภายในกล้องและทาหน้าที่ตดตังชิ้นส่วนสาคัญ ้ ิ ้ ต่างๆของกล้องอีกด้วยลักษณะตัวกล้องอาจเป็ นรูปกล่อง สี่เหลี่ยม แบน หรือรูปทรงต่างๆ กันออกไป แต่ท่ สาคัญภายใน ี กล้องจะฉาบเอาไว้ดวยสีดา เพื่อป้ องกันการสะท้อนของแสง ้
  • 15. เลนส์ (Lens) เป็ นอุปกรณ์ที่ทาจากแก้วหรื อพลาสติก เลนส์เปรี ยบเสมือนดวงตาของกล้องถ่ายภาพ ทาหน้าที่หกเหแสง ซึ่ งสะท้อนจากวัตถุให้ไปตัดกัน เกิดเป็ นภาพจริ งหัวกลับ บนระนาบ ั 1. เลนส์ มาตราฐาน (Standerd Lens) 2. เลนส์ ถ่ายไกล (Telephpto Lens) 3. เลนส์ มุมกว้าง( Wid – angle lens) 4. เลนส์ ตาปลา ( Fish eye lens) 5. เลนส์ ซูม ( Zoom lens ) 6.เลนส์ แมคโคร ( Macro Lens)
  • 16. วงแหวนปรับรูรบแสง (Aperture Knob) ั เป็ นวงแหวนซึ่งประกอบอยู่ในชุดกระบอกเลนส์ ตัววงแหวนจะ อยู่ท่ บริเวณปลอกด้านนอกของเลนส์ แต่ตวกาหนดขนาดช่องรับ ี ั แสง จะเป็ นแผ่นโลหะบาง ๆ จัดเป็ นชุดเรียงซ้อนประกอบกัน เพื่อให้เกิดเป็ นช่องว่างตรงศูนย์กลาง ช่องว่างนี้ตวม่านจะหรี่ให้ ั เล็กหรือขยายให้กว้าง ก็เพื่อเป็ นการควบคุมปริมาณแสงสว่างที่ ส่องผ่านมาจากเลนส์ แล้วส่งต่อไปยังฟิ ลม ช่องรับแสงที่มค่า ์ ี ตัวเลขมาก เช่น 16 หรือ 22 จะมีรูรบแสงเล็ก แสงจะผ่านได้ ั น้อย ภาพที่ได้จะมีความชัดลึก ส่วนช่องรับแสงที่มค่าน้อย เช่น ี 2.8 จะมีรูรบแสงกว้าง แสงสามารถผ่านได้มาก ภาพที่ได้จะมี ั ความชัดตื้น ค่าตัวเลขของช่องรับแสงนี้มไว้เพื่อความง่ายในการ ี สังเกต การหมุนจากเลขหนึ่งไปยังอีกเลขหนึ่งเรียกว่า 1 สต็อป (stop)และเลขที่กากับขนาดช่องรับแสงแต่ละตัวเรียกว่า Factor-number หรือ Factor-stop หรือเรียก กันง่าย ๆ ว่า f/number
  • 18. ความสัมพันธ์ระหว่างช่องรับแสงกับความเร็วชัตเตอร์ เนื่ อ งจากช่ อ งรับ แสงและความเร็ว ชัต เตอร์ ทางานสัมพันธ์ซ่ึง กันและกัน เมื่อมีการปรับ หรือเปลียนช่องรับแสงหรือความเร็ว ชัตเตอร์ ่ ปริม าณของแสงที่เ ข้า ไปในกล้อ งก็ จ ะต้ อ ง เปลียนไปด้วย ข้อควรจาที่ง่ายๆ ก็คอในการ ่ ื เลือกใช้ขนาดช่องรับแสง และความเร็วของชัต เตอร์ต้องใช้ให้สมพันธ์กนโดยคานึงถึงความ ั ั ไวแสงฟิ ล์ม ที่ใ ช้ด้ว ยเมื่อ ต้อ งการเลือ กปรับ ขนาดช่องรับแสงเป็ นสาคัญก็ตองปรับเปลียน ้ ่ ความเร็ว ชัต เตอร์ ใ ห้เ ร็ว ขึ้น หรือ ช้ า ลงตาม สภาพของแสงขณะถ่ายภาพทานองเดียวกัน หากว่าต้องการปรับเปลียนความเร็ว ชัตเตอร์ ่ เป็ นหลักต้องเปลียนขนาดช่องรับแสงให้กว้าง ่ ขึนหรือแคบลงตามสภาพของแสงเช่นเดียวกัน ้
  • 19.
  • 21. การเปลี่ยนแปลงความเร็วชัตเตอร์ การตังความเร็วชัตเตอร์สูงเช่น 1/1000 วินาทีหรือ 1/500 ้ วินาที ถ่ายภาพวัตถุเคลื่อนที่ไหวจะได้ภาพวัตถุท่ ี เคลื่อนไหวนันหยุดนิ่งอยู่กบที่เรียกภาพถ่ายนันว่าภาพ ้ ั ้ Stop action แต่ถา้ ตังความเร็วชัตเตอร์ให้ตา เช่น 1/30 ้ ่ วินาที หรือ 1/15 วินาที ถ่ายภาพวัตถุท่ เี คลื่อนไหว จะได้ ภาพวัตถุท่ เี คลื่อนไหวนัน ดูประหนึ่งว่ากาลังเคลื่อนที่มี ้ ความเร็วช่วงความชัด (Depth of field) ภาพถ่ายที่มความชัดตังแต่วตถุท่ อยู่ระยะหน้าไปถึงวัตถุท่ ี ี ้ ั ี อยู่ระยะหลังสุดของระยะตาแหน่งที่ปรับความชัดในภาพ เราเรียกภาพนันว่าเป็ นภาพที่มความชีดลึกมากคือชัด ้ ี ตลอดขณะเดียวกันมีภาพถ่ายบางภาพมีความชัดเฉพาะ ตาแหน่งที่เราปรับโฟกัสไว้ส่วนระยะหน้าและระยะหลังจะ พร่ามัวไม่ชดเจน เราเรียกภาพนันว่ามีความชัดตื้น ั ้
  • 22.
  • 23. การถ่ ายภาพนิ่ง ด้ วยกล้องภาพนิ่งดิจิตอล ระดับความสู งของกล้องกับการถ่ ายภาพ ระดับความสู งของกล้องที่ใช้ ในการถ่ ายภาพ จะทาให้ ลกษณะของบุคคลในภาพ มีความ ั แตกต่ างกันออกไป ทั้งนีขึนอยู่กบว่ าผู้ถ่าย ้ ้ ั ต้ องการสื่ อภาพออกมาอย่างไร
  • 24. การถ่ ายภาพนิ่ง ด้ วยกล้องภาพนิ่งดิจบความสู งของกล้องกับการถ่ ายภาพ ระดัิตอล ความสู งระดับสายตา (Eye-level Shot) เป็ นการวางระดับความสู งของกล้อง ในระดับ สายตาของบุคคลที่เป็ นจุดสนใจ ภาพที่ได้ จะเป็ นธรรมชาติ เหมือนจริง
  • 25. การถ่ ายภาพนิ่ง ด้ วยกล้องภาพนิ่งระดัิตอล งของกล้องกับการถ่ ายภาพ ดิจ บความสู ความสู งระดับเหนือศรีษะ (High-angle Shot) เป็ นการวางระดับความสู งของกล้อง ในระดับ เหนือศรีษะของบุคคลทีเ่ ป็ นจุดสนใจ ภาพที่ได้ จะแตกต่ างจากภาพจริง คือ จะมี ศรีษะใหญ่ กว่าเท้ า ตัวสั้ น ดูอ่อนแอ ไม่ มีพลัง
  • 26. การถ่ ายภาพนิ่ง ด้ วยกล้องภาพนิระดับความสู งของกล้องกับการถ่ ายภาพ ่งดิจิตอล ความสู งระดับต่ากว่ าศรีษะ (Low-angle Shot) เป็ นการวางระดับความสู งของกล้อง ในระดับ ต่ากว่ าศรีษะของบุคคลที่สนใจ หรือถ่ าย ย้ อนขึนไปทางด้ านบน ภาพที่ได้ จะไม่ เป็ น ้ ธรรมชาติ บุคคลในภาพจะดูมีพลังมากขึน ้
  • 27.
  • 28. การถ่ ายภาพนิ่ง ด้ วยกล้องภาพนิ่งดิจิตอล ฐานของการถ่ายภาพ ช็อตพืน ้ Extreme Long Shot (ELS, XLS) เป็ นช็อตระยะไกลที่จะแสดงให้ เห็นภาพรวม ของทั้งภาพ บอกผู้ดูว่าบุคคลหลักของภาพนั้น อยู่ที่ไหน มีขนาดและมีความสั มพันธ์ กบ ั สิ่ งแวดล้อมในภาพอย่างไร
  • 29. การถ่ ายภาพนิ่ง ช็อตพืนฐานของการถ่ ายภาพ ้ ด้ วยกล้องภาพนิ่งดิจิตอล Very Long Shot (VLS) เป็ นช็อตที่บุคคล หลักในภาพ จะมีขนาดประมาณ 3/4 - 1/3 ของความสู งของภาพ ซึ่งภาพในลักษณะนี้ จะแสดงทั้งสภาพแวดล้ อม และรายละเอียด ของบุคคลคนนั้นมากขึน ้
  • 30. การถ่ ายภาพนิ่ง ช็อตพืนฐานของการถ่ ายภาพ ้ ด้ วยกล้องภาพนิ่งดิจิตอล Long Shot (LS) หรือ Full Shot เป็ นช็อต ที่จะแสดงให้ เห็นรายละเอียดของบุคคลหลัก ของภาพมากขึนกว่า Very Long Shot โดยจะ ้ แสดงรู ปร่ างทั้งหมดของบุคคลคนนั้น และจะ ต้ องมีพนทีว่างเหนือและใต้ บุคคลนั้นด้ วย ื้ ่
  • 31. การถ่ ายภาพนิ่ง ช็อตพืนฐานของการถ่ ายภาพ ้ ด้ วยกล้องภาพนิ่งดิจิตอล Medium Long Shot (MLS) หรือ Knee Shot เป็ นช็อตที่จะมีขนาดของบุคคลหลักเป็ น 3/4 ส่ วนของขนาดจริง ซึ่งจะเป็ นการถ่ าย ภาพตัดจากใต้ หัวเข่ าของบุคคล ไปจน ถึงศรีษะโดยจะต้ องมีช่องว่างเหนือศรีษะ ของคนๆ นั้นด้ วย
  • 32. การถ่ ายภาพนิ่ง ด้ วยกล้องภาพนิ่งช็อตพืนฐานของการถ่ายภาพ ้ ดิจิตอล Medium Shot (MS) เป็ นช็อตที่ถ่ายตั้งแต่ ใต้ เอวของบุคคลหลักของภาพนั้น ขึน ้ ไปจนถึงศรีษะ และยังคงต้ องมีพนที่ว่าง ื้ เหนือศรีษะของบุคคลนั้นเช่ นเดิม
  • 33. การถ่ ายภาพนิ่ง ด้ วยกล้องภาพนิ่งดิจิตอล ฐานของการถ่ายภาพ ช็อตพืน ้ Medium Close Up (MCU) หรือ Bust Shot เป็ นช็อตที่ถ่ายตั้งแต่ ใต้ รักแร้ ของบุคคลหลัก ของภาพนั้น ขึนไปจนถึงศรีษะ และยังคง ้ ต้ องมีพนทีว่างเหนือศรีษะเช่ นเดิม ื้ ่
  • 34. การถ่ ายภาพนิ่ง ด้ วยกล้องภาพนิ่งช็อตพืนฐานของการถ่ายภาพ (บุคคล) ้ ดิจิตอล Close Up (CU) เป็ นช็อตที่ถ่ายตั้งแต่ บริเวณ ใต้ ลาคอ หรือถ้ าเป็ นผู้ชายก็คอใต้ ปมเนคไท ื ของบุคคลหลักของภาพนั้น ขึนไปจนถึง้ ศรีษะ
  • 35. การถ่ ายภาพนิ่ง ด้ วยกล้องภาพนิ่งช็อตพืนฐานของการถ่ายภาพ (บุคคล) ้ ดิจิตอล Big Close Up (BCU) เป็ นช็อตที่ถ่ายบริเวณ บางส่ วนของใบหน้ าของบุคคลหลักใน ภาพ ส่ วนใหญ่ จะเริ่มตั้งแต่ บริเวณกลาง หน้ าผากลงมาจนถึงเหนือคาง
  • 36.
  • 37. การถ่ ายภาพนิ่ง ด้ วยกล้องภาพนิ่งดิจิตอลประกอบภาพ (Composition) การจัดองค์ เลือกถ่ ายแนวตั้งหรือแนวนอน เลือกถ่ ายแนวตั้งสาหรับจุดสนใจที่มลกษณะีั เป็ นแนวตั้ง เช่ น ตึกสู ง ต้ นไม้ นาตก ส่ วน ้ การถ่ ายแนวนอนเหมาะสาหรับจุดสนใจที่มี ลักษณะกว้ าง เช่ น รู ปหมู่ของบุคคล
  • 38. การถ่ ายภาพนิ่ง ด้ วยกล้องภาพนิ่งดิดองค์ประกอบภาพ (Composition) การจั จิตอล เลือกจุดที่สนใจในภาพ ก่ อนถ่ ายภาพใดๆ ผู้ถ่ายจะต้ องคิดไว้ ก่อน เสมอว่ าจุดสนใจในภาพคืออะไร แล้ วถึงจะ เลือกตาแหน่ งการจัดวาง หรือมุมกล้ องที่ เหมาะสม ที่จะนาเสนอจุดสนใจนั้นออกมา
  • 39. การถ่ ายภาพนิ่ง ด้ วยกล้องภาพนิการจัิตอล ประกอบภาพ (Composition) ่งดิจ ดองค์ หามุมที่เหมาะสม หลังจากที่เรากาหนดจุดสนใจในภาพแล้ ว ให้ เดินรอบๆ จุดสนุใจนั้น เพือหามุมมองที่ ่ น่ าสนใจสาหรับการถ่ ายภาพ
  • 40. การถ่ ายภาพนิ่ง ด้ วยกล้องภาพนิ่งดิจิตอลประกอบภาพ (Composition) การจัดองค์ ใช้ เส้ นนาสายตา ในบางโอกาสให้ ใช้ เส้ นตรงหรือเส้ นโค้ ง เป็ นเส้ นนาสายตา เพือดึงความสนใจของ ่ ผู้ดูไปยังจุดสนใจในภาพ
  • 41. การถ่ ายภาพนิ่ง ด้ วยกล้องภาพนิ่งดิดองค์ประกอบภาพ (Composition) การจั จิตอล รวมสิ่ งที่อยู่ด้านหน้ าจุดสนใจไว้ ในภาพ เพือให้ เกิดมิติ หรือความลึกของภาพ ใน ่ บางครั้งเราจะต้ องรวมเอาสิ่ งที่อยู่ด้านหน้ า ของจุดสนใจไว้ ในภาพด้ วย
  • 42. การถ่ ายภาพนิ่งดสนใจออกจากกลางภาพ วางตาแหน่ งจุ ด้ วยกล้องภาพนิ่งดิจิตอลที่ไม่ ใช่ กงกลางภาพ โดยอาศัยการแบ่ งส่ วนของ วางจุดสนใจในตาแหน่ ง ึ่ ภาพออกเป็ น สามส่ วนตามแนวตั้งและนอน และทาการจัดวางจุดสนใจใน แนวเส้ นหรือจุดตัด
  • 43. การจัดองค์ประกอบ จุดตัด9ช่อง คือ การนาเส้นตัด สามส่วนในระนาบแนวนอนกับ แนวตังมารวมกัน จะเกิดจุดตัด ้ 4 จุด เป็ นจุดที่จะวางจุดสาคัญ ของภาพไว้เพื่อให้ได้รบความ ั สนใจจากผูชมภาพมากที่สุด ้
  • 44.
  • 45. Shooting Tips : 10 เทคนิคการถ่ ายภาพอย่ างง่ าย การเข้าใจพื้นฐานการถ่ายภาพด้วยกล้องดิจิตอลและมีเทคนิคดีๆ ก็สามารถ ช่วยงานพัฒนาสื่ อการสอน ที่ตองถ่ายภาพด้วยกล้องดิจิตอล จะได้งานที่มี ้ คุณภาพมากยิงขึ้นครับ ่
  • 46. Shooting Tips : 10 เทคนิคการถ่ ายภาพอย่ างง่ าย 1. ทากล้ องให้ มั่นคงไม่ สั่นไหว 2. การถ่ ายภาพแนวนอนกับแนวตั้ง 3. การวางเส้ นขอบฟาในการถ่ ายวิว ้ 4. Rule of Third 5. ช่ วงเวลาในการถ่ ายภาพ 6. ถ่ ายภาพให้ ใกล้ ขน ึ้ 7. การถ่ ายภาพแบบมีเงาหรือมีเงาสะท้ อน 8. นาสิ่ งทีต้องการเน้ นออกจากตรงกลางของภาพ ่ 9. คุณรู้ จักระยะแฟลชของกล้ องคุณหรือเปล่ า? 10. เทคนิคการใช้ แฟลช