SlideShare a Scribd company logo
1 of 14
Download to read offline
เราขอแนะนา slideshare.com (สไลด์แชร์ ) เว็บไซต์ที่เป็ นชุมชนออนไลน์ท่ีใหญ่ที่สุดในโลก สาหรับ
       ใครก็ได้ที่จะเข้ามาแบ่งปัน "ผลงานพรี เซ็นเทชัน" ของตัวเองให้โลกได้รับรู้ โดยไม่มีค่าใช้จ่ายใดๆ
       หรื ออธิบายให้เข้าใจง่ายๆ ได้ต่อไปอีกว่า "สไลด์แชร์ " ก็คือ "ยูทูบแห่งโลกพาวเวอร์ พอยต์" หรื อที่
       เว็บไซต์แห่งนี้ใช้คาแทนว่า "สไลด์" นันเอง
                                            ่



slideshare (สไลด์แชร์ ) เว็บไซต์ที่เป็ นชุมชนออนไลน์ที่ใหญ่ที่สุดในโลก สาหรับใครก็ได้ที่จะเข้ามาแบ่งปัน
“ผลงานพรี เซ็นเทชัน” ของตัวเองให้โลกได้รับรู้ โดยไม่มีค่าใช้จ่ายใดๆ หรื ออธิบายให้เข้าใจง่ายๆ ได้ต่อไป
อีกว่า “สไลด์แชร์” ก็คือ “ยูทูบแห่งโลกพาวเวอร์ พอยต์” หรื อที่เว็บไซต์แห่งนี้ใช้คาแทนว่า “สไลด์” นันเอง
                                                                                                   ่

ประโยชน์ จากการใช้ งานเว็บสไลด์ แชร์

   ผูที่จะได้ประโยชน์จากการใช้งานเว็บสไลด์แชร์ ก็คือทุกคนบนโลกนี้ โดยแบ่งอย่างกว้างๆ ได้ 2 กลุ่ม
     ้
ใหญ่ๆ คือ ผู้เผยแพร่ สไลด์ และ ผู้อ่านสไลด์

    ผู้เผยแพร่ สไลด์: ยิ่งให้ ยิ่งได้
* ชื่อเสี ยงโด่ งดัง : ถ้าสไลด์ของคุณมีเนื้อหาที่น่าสนใจก็จะมีคนเข้ามาอ่าน ให้ความเห็น และโหวตให้กบ
                                                                                                     ั
สไลด์ของคุณมากมาย ซึ่ งก็จะทาให้คณดังได้ในชัวข้ามคืน
                                      ุ             ่

   * น่ าเชื่อถือ : ทุกคนที่เป็ นสมาชิกจะมีตวตนออนไลน์ และมีที่อยูส่วนตัวที่จะเข้าถึงประวัติการใช้งาน
                                            ั                     ่
ของเว็บสไลด์แชร์ ได้ เช่น http://www.slideshare.net/rashmi

     * สะดวกสบาย : หมดยุคการแนบไฟล์ใหญ่ๆ ผ่านอีเมลแล้ว แค่อปโหลดขึ้นไปเก็บไว้ที่นี่ อยากส่งให้
                                                                ั
เพื่อนก็แค่ส่งเป็ นลิงก์สะดวกกว่า หรื อจะนาสไลด์ไปติดที่บล็อกของตัวเองเสี ยเลยก็ยอมได้
                                                                                 ่

    * เก็บผลงานออนไลน์ : คุณสามารถสร้างให้สไลด์แชร์ ให้กลายเป็ นพื้นที่แห่งพอร์ ตโฟลิโอส่วนตัวของ
คุณ ได้ เพราะไม่มีการจากัดพื้นที่ และสามารถเปิ ดให้ชมได้ตลอด 24 ชัวโมง 7 วัน
                                                                  ่




ผู้อ่านสไลด์: อ่ าน โหวต โหลด และเก็บความรู้

    * หาความรู้ได้ ไม่ รู้จบ : แค่กดปุ่ มเมนู Browse คุณก็จะพบสไลด์นบแสนๆ เรื่ องในหมวดหมู่ต่างๆ กัน ยิง
                                                                    ั                                  ่
คลิกลงลึกมากเท่าไหร่ ความรู้ที่ได้ก็จะทวีคูณ

   * สมัครเป็ นส่ วนหนึ่งในชุมชนเพือรับสไลด์ ใหม่ ๆ จากคนที่คุณชื่นชอบได้ อัปเดตตัวเองในเรื่ องที่คุณ
                                   ่
สนใจเฉพาะได้ตลอดเวลาที่ Community

   * เก็บ โหวต และโหลดสไลด์ ที่เราชอบได้ จะเก็บไว้บนเว็บ หรื อดาวน์โหลดลงไปไว้ในเครื่ อง
คอมพิวเตอร์ ก็ได้

     * ค้นหาความรู้ใหม่ ได้ แค่คลิก: ลองเริ่ มต้นการค้นหาง่ายๆ แค่พิมพ์คาที่ตองการ ก็จะมีการดึงเอาสไลด์ที่
                                                                             ้
มีป้ายกากับ (Tags) ที่เกี่ยวข้องกับคาค้นหาของเรามาโชว์ทนที  ั
เมื่อ ดูแต่ละสไลด์ จะมีการแสดงผลสไลด์ที่มีเนื้อหาเกี่ยวข้องกับสไลด์น้ ี คาที่เกี่ยวข้องกับสไลด์น้ ี ผูอ่านจะ
                                                                                                      ้
                                ่
ได้คลิกอ่านเพื่อเปิ ดโลกความรู้ตอได้ไม่รู้จบ


    เริ่มต้นใช้ งานเว็บสไลด์ แชร์ แค่ 4 ขั้นตอน

    1. สาหรับผูที่ตองการจะเผยแพร่ สไลด์ ควรสมัครเป็ นสมาชิกของเว็บก่อน ที่นี่ (แต่จะไม่สมัครก็ได้)
                ้ ้
ส่วนผูที่อยากเข้าไปอ่านเนื้อหาก็เข้าไปอ่านได้ฟรี โดยไม่ตองสมัครสมาชิกก็ได้ แต่จะดาวน์โหลดไม่ได้
      ้                                                 ้
(อยากโหลดต้องสมัครสมาชิกก่อน)
2. อัปโหลดไฟล์ โดยนามสกุลของไฟล์ที่รองรับกับการอัปโหลดขึ้นไปที่เว็บสไลด์แชร์ มีดงนี้
                                                                                    ั

    * ไฟล์ พรีเซ็นเทชัน: PowerPoint- ppt, pps, pot; OpenOffice- odp, pdf; Apple Keynote- upload as zip
or pdf.

    * ไฟล์ เอกสาร และตาราง: ไมโครซอฟท์ ออฟฟิ ศ- doc, rtf, xls; OpenOffice- odt, ods, pdf.

    โดยทุกไฟล์จะต้องขนาดใหญ่ไม่เกิน 100 เมกะไบต์ และสามารถอัปโหลดได้หลายไฟล์ในครั้งเดียว

      3. ตั้งชื่อไฟล์ (Title) กาหนดป้ ายกากับ (Tags) ที่ใช้สาหรับการค้นหา เขียนคาอธิบายที่เกี่ยวข้องกับสไลด์
นี้ (Description) กาหนดได้ว่าจะให้สไลด์น้ ีดูได้เฉพาะเราเองหรื อทุกคนก็ดูได้ที่ Privacy ระบุภาษาของไฟล์
นั้นๆ และสุดท้ายคือเลือกหมวดหมู่ท่ีเกี่ยวข้องกับไฟล์ (Category)

                                                                           ่
    4. หลังจากอัปโหลดเสร็ จะมีลิงก์ให้ดูสถานะการแปลงไฟล์ของเรา ซึ่ งก็จะอยูที่หน้า My Slidespace
นอกจากสไลด์แสดงภาพธรรมดาๆ แล้ว คุณยังสามารถสร้างสไลด์พร้อมเสี ยง หรื อที่เรี ยกว่า “slidecast”
ได้อีกด้วย เพื่อความชัดเจนในการนาเสนองานมากยิ่งขึ้น ดูวิธีการทางานอย่างละเอียดได้ที่นี่

      และความสามารถล่าสุดของสไลด์แชร์ ที่ถือว่าเป็ นการย้อนเกล็ดโปรแกรมอมตะของค่ายไมโครซอฟท์
คือ การนาสไลด์ แชร์ ไปผสานกับการทางานของโปรแกรม ไมโครซอฟท์ พาวเวอร์ พอยต์ 2007 ด้วยการติดตั้ง
                                                  ่
ปุ่ มเพื่ออัปโหลดไฟล์พรี เซ็นเทชันที่กาลังทางานอยูใน คอมพิวเตอร์ ข้ ึนไปแสดงบนเว็บของสไลด์แชร์ ได้
ทันที อีกทั้งยังสามารถเปิ ดดูไฟล์เก่าที่คุณเคยนาไปโพสไว้ที่สไลด์แชร์ และดาวน์โหลดลงมาเพื่อแก้ไข แล้ว
อัปโหลดขึ้นไปใหม่ก็สามารถทาได้ อ่านรายละเอียด และดูวิธีการทางานได้ที่นี่

    ลิขสิ ทธิ์ของแต่ละสไลด์ จะมีวธีจดการอย่ างไร?
                                 ิ ั

    เรื่ องทรัพย์สินทางปัญญาบนโลก Copy & Paste นั้นค่อนข้างจะปวดหัว แต่สาหรับสไลด์แชร์ ทาได้ดี
                                                                                ่
ระดับหนึ่งด้วยการนาเอาระบบดูแลลิขสิ ทธิ์สาหรับ สิ นค้า หรื อชิ้นงานที่เก็บไว้อยูบนโลกออนไลน์ หรื อ ครี
                                                                                                 ั
เอทีฟ คอมมอนส์ (Creative Commons) มาใช้ ซึ่ งผูเ้ ผยแพร่ สไลด์สามารถเลือกลิขสิ ทธิ์แบบต่างๆ ให้กบแต่
ละสไลด์ของตนได้ โดยสามารถตั้งค่ารู ปแบบลิขสิ ทธิ์งานของคุณได้ที่ My Slidespace > คลิก Edit แต่ละ
ไฟล์ > Choose a license > เลือกแบบลิขสิ ทธิ์ที่คุณต้องการ

    อ่านเพิ่มเติมได้ที่นี่ และคลิกที่นี่เพื่อดูรายละเอียดเกี่ยวกับ ครี เอทีฟ คอมมอนส์ ประเทศไทย

    ข้ อควรรู้เกี่ยวกับการใช้ งานสไลด์ แชร์



    * ไม่ ต้องสมัครสมาชิกก็สามารถอัปโหลดไฟล์ ได้ที่นี่ โดยจะได้ชื่อสมาชิกทดลองชัวคราวเช่น
                                                                                ่
guest123abb2 เป็ นต้น แต่จะใช้งานฟี เจอร์ ได้ไม่ครบเหมือนการสมัครสมาชิก

    * มิใช่ว่าเมื่อคุณตั้งค่าสไลด์แบบดูคนเดียวแล้วจะไม่สามารถแบ่งปันสไลด์น้ ให้คนรู้จกทราบ คุณยัง
                                                                               ี         ั
สามารถแบ่ งสไลด์ ให้ คนอื่นดูได้ เพราะทุกไฟล์ จะมีลิงก์ ลับส่ วนตัว (Secret URL) ที่ถาคุณไม่ส่งไปบอกใคร
                                                                                     ้
ก็จะไม่มีใครสามารถเข้าถึงสไลด์น้ ีได้

    หรื ออีกวิธีคือการสร้างรายชื่อเพื่อนในกลุ่มที่จะแบ่งปันสไลด์ใดสไลด์หนึ่งได้กบหลายๆ คนพร้อมกัน
                                                                                   ั
โดยการเข้าไปที่ My Slidespace > กดที่ My Contact > สร้ าง Contact List โดยการเลือก Create Lists of
Friends > ตั้งชื่อกลุ่ม > ค้นหาชื่อเพือนที่เป็ นสมาชิกสไลด์แชร์ และกดเพิ่มชื่อเขาลงในกลุ่ม
                                      ่

     * ควรเลือกใช้ แบบตัวอักษรปกติที่มีมาจากในเครื่องคอมพิวเตอร์ จะลดปัญหาการอ่านบางข้อความไม่ได้
หรื อถ้าหากต้องการความสวยงามเหมือนต้นฉบับเวลาแสดงผลบนเว็บก็ควรส่งเป็ นไฟล์ PDF เพื่อทาการ
อัปโหลด

   * ไม่ ควรตั้งชื่อไฟล์ เป็ นภาษาไทย (Title) ทั้งตอนก่อนที่จะอัปโหลด และตอนที่อปโหลดเสร็ จแล้ว แต่
                                                                                ั
สามารถใช้คาอธิบายสไลด์ (Description) และ ป้ ายกากับ (Tags) เป็ นภาษาไทยได้

     * เมื่อนาโค้ดของแต่ละสไลด์ไปติดที่บล็อก คุณสามารถปรับแต่งขนาดของแต่ละสไลด์ได้ที่โค้ด โดย
สังเกตตรงเลขหลังคาว่า width และ height แล้วแก้ตวเลขตามที่ตองการ
                                                ั         ้
* สาหรับผู้ใช้ คอมพิวเตอร์ ระบบแมค สามารถส่งไฟล์คียโน้ตขึ้นเว็บได้ โดยการ คลิกขวาที่ไฟล์คียโน้ต
                                                        ์                                      ์
เลือก Compress “ชื่อไฟล์” จะได้เป็ นนามสกุล .zip อัปโหลดไฟล์ .zip นี้ไปยังสไลด์แชร์ ได้เลย

    ข้ อดี

   * มีการเก็บสถิติผอ่านสไลด์ของเรา โดยบอกอย่างละเอียดว่ามีคนมาดูสไลด์น้ ีกี่คน ทั้งจากทางหน้าเว็บ
                    ู้
สไลด์แชร์ เอง และจากที่เรานาโค้ดไปติด (embeds) ที่เว็บ หรื อบล็อกต่างๆ

    * เลือกรู ปแบบลิขสิ ทธิ์สาหรับแต่ละสไลด์ได้

      * ถ้าอัปโหลดไฟล์นามสกุลพาวเวอร์ พอยต์ข้ ึนไป จะมีการแสดงรายละเอียดของเนื้อหาทั้งหมดในสไลด์
ที่ดานล่างของหน้าเว็บสไลด์ นั้นๆ ในหมวดของ “Presentation Transcript” แต่ถาอัปโหลดเป็ น PDF ก็จะไม่
    ้                                                                    ้
มีการแสดงในส่วนนี้

    * โน้ตที่เราใส่ไว้ทายของแต่ละสไลด์ เมื่ออัปโหลดไปสไลด์แชร์ แล้วยังสามารถแสดงโชว์บนเว็บได้ใน
                       ้
ด้านล่างของแต่ละ สไลด์ ที่เขียนว่า “Note on Slide”

    ข้ อเสี ย

    * การโหลดสไลด์ที่มีหลายหน้าอาจจะใช้เวลานานสักหน่อย

    * ใช้งานกับภาษาไทยได้ แต่อาจจะไม่สมบูรณ์ 100% มีปัญหาเรื่ องการตัดคา และบางสระตกหล่น แต่ก็
                                                                         ่
ถือว่าอ่านได้เข้าใจ (เพื่อป้ องกันปัญหานี้ควรแปลงไฟล์พาวเวอร์ พอยต์ให้อยูในรู ปของไฟล์ PDF เสี ยก่อน)

    เกร็ดเล็กเกร็ดน้ อยเกี่ยวกับสไลด์ แชร์

    เว็บไซต์ที่มีผใช้ทวโลกนี้ มีสมาชิกกว่า 1 ล้านคน มีการเปิ ดชมเว็บไซต์กว่า 10 ล้านครั้ง/เดือน และกว่า
                  ู้ ั่
150 บริ ษทยักษ์ใหญ่แห่งยุโรป และอเมริ กาเลือกใช้บริ การของที่นี่
         ั
สไลด์แชร์ มีผอยูเ่ บื้องหลังรั้งตาแหน่งซี อีโอ คือ ดร.หญิงชาวอินเดีย ชื่อ “รัศมี” โดยเธอดูแลหน้าที่ของ
                ู้
การออกแบบเว็บและชุมชน ส่วนตัวเธอชื่นชอบอาหารไทยมาก

     เหตุการณ์ที่จุดประกายให้เธอมาสร้างเว็บศูนย์รวมพาวเวอร์ พอยต์ ก็คือตอนที่เธอไปพรี เซ็นต์งาน แล้ว
ใคร ๆ ก็อยากได้สไลด์จากเธอ จึงพากันเอาธัมป์ ไดรฟ์ หรื อสื่ อบันทึกข้อมูลขนาดพกพามาให้เธอ เธอจึงคิด
ว่าถึงเวลาแล้วที่ควรจะมีสกที่ในโลกออนไลน์ที่ทาตัวเป็ นศูนย์กลาง ให้ทุกคนเข้าถึงสไลด์ดีๆ ได้ เธอและ
                           ั
                                                           ่
พรรคพวกจึงสร้างสรรค์ www.slideshare.net ขึ้นมา เมื่อปี ที่ผานมาทางทีมงานได้ทาการสรุ ปภาพรวมของ
การใช้เว็บไซต์น้ ี พบว่า โดยเฉลี่ยสไลด์ทวไปจะมี 21 หน้า แต่ก็มีคนทาสูงสุดถึง 1162 หน้า
                                        ่ั

     นอกเหนือจากการใช้สไลด์แชร์ เป็ นอีกหนึ่งห้องสมุดสุดอินเทรนด์แล้ว ถือเป็ นการช่วยลดภาวะโลกร้อน
ได้อีกด้วย เพราะทุกครั้งที่มีการบรรยายใดๆ ผูชมทัวโลกสามารถเข้าร่ วมฟังได้ตลอดเวลา โดยไม่ตองปริ้ นท์
                                                  ้ ่                                            ้
เอกสารใดๆ ออกมาอีก เหมาะมากสาหรับอาจารย์ที่นาไปประกอบเล็กเชอร์ ของตัวเอง ที่ใช้ได้ท้งก่อนเรี ยน
                                                                                             ั
(ได้ทราบภาพรวมเนื้อหา) และหลังเรี ยน (ทบทวนบทเรี ยน) ที่สาคัญหากคุณกาลังมองหาโปรแกรมสร้างพรี
เซ็นเทชันดีๆ ฟี เจอร์ หรู ๆ แบบไม่มีลิขสิ ทธิ์ ก็สามารถใช้ 280slides ที่เราเคยแนะนาไปก่อนหน้านี้ได้

     ร่ วมสร้างองค์ความรู้ภาษาไทยได้ ได้โดยการเลือกเพียงคนละ 1 สไลด์จากเครื่ องคอมพิวเตอร์ ของคุณ
เพื่อมาแบ่งปันไว้ที่สไลด์แชร์ ต้งแต่วนนี้
                                ั ั

นามาจากผูจดการออนไลน์ 9 มค. 2552
         ้ั



                                                                                   ่
พักหลังๆผมมักจะใช้เวลาทาสไลด์เพื่อการนาเสนอ แต่ออกจะเบื่อกับรู ปแบบเดิมๆที่เป็ นอยูมากมาย พูดง่ายๆ
ว่าเซ็งกับสไลด์

จนมาวันหนึ่งพบเว็บที่ว่าเข้าให้ โดยมีคนกล่าวอ้างไว้อย่างน่าสนใจเลยทีเดียวว่า หาก Youtube คือเว็บเพื่อ
การแบ่งปันวิดีโอ www.slideshare.net ก็คือ Youtube ของ Powerpoint นันเองครับ
                                                                   ่
ที่ เว็บแห่งนี้เปิ ดโอกาสให้ท่านทั้งหลายเริ่ มดาวน์โหลด Powerpoint ของสมาชิกที่ตองการจะมาแบ่งปันหรื อ
                                                                                ้
แม้กระทังหลายๆท่านที่ไปบรรยายมา แล้วอยากให้ลกศิษย์ตามอ่านหรื อดาวน์โหลดไปใช้งานก็ยงไหว แถม
          ่                                          ู                                    ั
ยังสามารถ Embed มาฝากไว้ในบล็อกก็ได้

มาเรามาดูวิธีการใช้งานกันครับ

๑.สมัครสมาชิกตามระเบียบครับ




๒.เลือก ไฟล์ที่ท่านสนใจโดยอาจพิมพ์คาค้นหน้า ให้จดเรี ยงหน้าใหม่โดยดูว่าสไลด์ไหนคนดูมากที่สุด
                                                ั
สไลด์ไหนคนดาวน์โหลดมากที่สุด ก็ตามแต่ใจท่านครับ
๓.ผมลองเลือกมาอันหนึ่ง ที่คนนิยมดู ท่านเห็นปุ่ ม Play หรื อเปล่าหากกดไปเรื่ อยๆสไลด์ก็จะเปลี่ยนหน้าไป
ครับ




                          ่
๔.กด ที่ Get file เท่านน้ทานก็จะได้สไลด์มาใช้งานต่อ บางรู ปก็สวยมากเราแค่ปรับเปลี่ยนเล็กน้อยหรื อว่าจะ
เอารู ปไปตัดแปะในสไลด์เรา เองก็ได้ บางครั้งผมอยากบรรยายเรื่ อง Presentation Skill ผมก็คนหาและนามา
                                                                                       ้
ปรับเปลี่ยนให้เหมาะกับผมมากที่สุดครับ
๕. อันนี้ผมลองกดปุ่ มเพลย์ดู




๗.ที่ นี้พอเราเริ่ มได้ของคนอื่นมาใช้ เราต้องรู้จกแบ่งปันครับ เรามาดุวิธีอพโหลดไฟล์เราให้คนอื่นชมบ้าง
                                                 ั                        ั
ดีกว่านะครับ คลิ๊กที่ My slideshare>Upload yourfirst presentation now>brows
ง่าย ไหมครับ ให้เราระมัดระวังเรื่ องลิขสิ ทธิ์บางก็นแต่สไลด์ส่วนใหญ่ คนแชร์ ก็ตองการให้เราไปใช้งานอยู่
                                               ้                               ้
                                                                 ่
แล้ว ยกเว้นบางท่านที่ไม่อนุญาตเราก็จะดาวน์โหลดมาใช้ไม่ได้ ดูผานเว็บได้อย่างเดียวครับ

ลองเล่นดูแล้วอย่าลืมแบ่งปันกันนะครับ
่
สไลด์จานวนมากใน Slideshare อยูในฟอร์ แมตของ Flash Slide ซึ่ งสามารถนามาแสดงผ่านเว็บนี้ได้ โดย
สื บค้นเรื่ องที่ตองการจาก Slideshare.net เมื่อคลิกเลือกสไลด์ที่ตองการ สังเกตด้านขวาจะมารายการเลือก
                  ้                                              ้
Embed ดังนี้




คลิกเลือกคาสังทั้งหมด แล้วนาไปวางใน Add New Post ของเว็บโดยต้องวางในโหมด HTML ซึ่ งจะ
             ่
ปรากฏผลดังนี้




เพียงเท่านี้ก็พร้อมนาเสนอสไลด์จาก Shareshare.net

More Related Content

What's hot

02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องPongtep Treeone
 
กลไกการรักษาดุลยภาพ 54
กลไกการรักษาดุลยภาพ 54กลไกการรักษาดุลยภาพ 54
กลไกการรักษาดุลยภาพ 54Oui Nuchanart
 
โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์paifahnutya
 
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊สการคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊สThanyamon Chat.
 
เครื่องดนตรีพื้นบ้านในภาคใต้
เครื่องดนตรีพื้นบ้านในภาคใต้เครื่องดนตรีพื้นบ้านในภาคใต้
เครื่องดนตรีพื้นบ้านในภาคใต้Mint'moy Mimi
 
ถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ
ถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ
ถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการsupaporn2516mw
 
โวหารในการเขียน
โวหารในการเขียนโวหารในการเขียน
โวหารในการเขียนkrubuatoom
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)Thitaree Samphao
 
เนื้อเยื่อพืช
เนื้อเยื่อพืชเนื้อเยื่อพืช
เนื้อเยื่อพืชThanyamon Chat.
 
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560Thitaree Samphao
 
โครงงานภูมิปัญญาท้องถิ่น
โครงงานภูมิปัญญาท้องถิ่นโครงงานภูมิปัญญาท้องถิ่น
โครงงานภูมิปัญญาท้องถิ่นlek5899
 
เครื่องดักจับแมลงวันจากขวดพลาสติก 2
เครื่องดักจับแมลงวันจากขวดพลาสติก 2เครื่องดักจับแมลงวันจากขวดพลาสติก 2
เครื่องดักจับแมลงวันจากขวดพลาสติก 2Enormity_tung
 
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงานที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงานPhongsak Kongkham
 
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง แอปพลิเคชั่นตัดคะแนนนักเรียน
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง แอปพลิเคชั่นตัดคะแนนนักเรียนโครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง แอปพลิเคชั่นตัดคะแนนนักเรียน
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง แอปพลิเคชั่นตัดคะแนนนักเรียนyudohappyday
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)Nattakorn Sunkdon
 
โครงงานไอเอส1
โครงงานไอเอส1โครงงานไอเอส1
โครงงานไอเอส1Ocean'Funny Haha
 
ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.5
ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.5ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.5
ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.5Nattapong Boonpong
 

What's hot (20)

02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
กลไกการรักษาดุลยภาพ 54
กลไกการรักษาดุลยภาพ 54กลไกการรักษาดุลยภาพ 54
กลไกการรักษาดุลยภาพ 54
 
โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์
 
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊สการคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
 
เครื่องดนตรีพื้นบ้านในภาคใต้
เครื่องดนตรีพื้นบ้านในภาคใต้เครื่องดนตรีพื้นบ้านในภาคใต้
เครื่องดนตรีพื้นบ้านในภาคใต้
 
ถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ
ถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ
ถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ
 
ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)
ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)
ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)
 
โวหารในการเขียน
โวหารในการเขียนโวหารในการเขียน
โวหารในการเขียน
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
 
เนื้อเยื่อพืช
เนื้อเยื่อพืชเนื้อเยื่อพืช
เนื้อเยื่อพืช
 
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
 
บทที่1 บทนำ
บทที่1 บทนำบทที่1 บทนำ
บทที่1 บทนำ
 
โครงงานภูมิปัญญาท้องถิ่น
โครงงานภูมิปัญญาท้องถิ่นโครงงานภูมิปัญญาท้องถิ่น
โครงงานภูมิปัญญาท้องถิ่น
 
เพลงนันทนาการ
เพลงนันทนาการเพลงนันทนาการ
เพลงนันทนาการ
 
เครื่องดักจับแมลงวันจากขวดพลาสติก 2
เครื่องดักจับแมลงวันจากขวดพลาสติก 2เครื่องดักจับแมลงวันจากขวดพลาสติก 2
เครื่องดักจับแมลงวันจากขวดพลาสติก 2
 
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงานที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
 
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง แอปพลิเคชั่นตัดคะแนนนักเรียน
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง แอปพลิเคชั่นตัดคะแนนนักเรียนโครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง แอปพลิเคชั่นตัดคะแนนนักเรียน
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง แอปพลิเคชั่นตัดคะแนนนักเรียน
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)
 
โครงงานไอเอส1
โครงงานไอเอส1โครงงานไอเอส1
โครงงานไอเอส1
 
ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.5
ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.5ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.5
ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.5
 

Similar to Slideshare ภาษาไทย

Slideshare ครูวี2
Slideshare ครูวี2Slideshare ครูวี2
Slideshare ครูวี2kwang23
 
All about slide share
All about slide shareAll about slide share
All about slide shareJunior Lahtum
 
Dmarryme 100530064356-phpapp02-100530235228-phpapp02
Dmarryme 100530064356-phpapp02-100530235228-phpapp02Dmarryme 100530064356-phpapp02-100530235228-phpapp02
Dmarryme 100530064356-phpapp02-100530235228-phpapp02Ekkachai Mokmued
 
Dmarryme 100530064356-phpapp02
Dmarryme 100530064356-phpapp02Dmarryme 100530064356-phpapp02
Dmarryme 100530064356-phpapp02Somchai Phaeumnart
 
Dmarryme 100530064356-phpapp02-100530235228-phpapp02
Dmarryme 100530064356-phpapp02-100530235228-phpapp02Dmarryme 100530064356-phpapp02-100530235228-phpapp02
Dmarryme 100530064356-phpapp02-100530235228-phpapp02Ekkachai Mokmued
 
Dmarryme 100530064356-phpapp02-100530235228-phpapp02
Dmarryme 100530064356-phpapp02-100530235228-phpapp02Dmarryme 100530064356-phpapp02-100530235228-phpapp02
Dmarryme 100530064356-phpapp02-100530235228-phpapp02Ekkachai Mokmued
 
Dmarryme 100530064356-phpapp02-100530235228-phpapp02
Dmarryme 100530064356-phpapp02-100530235228-phpapp02Dmarryme 100530064356-phpapp02-100530235228-phpapp02
Dmarryme 100530064356-phpapp02-100530235228-phpapp02Ekkachai Mokmued
 
Dmarryme 100530064356-phpapp02
Dmarryme 100530064356-phpapp02Dmarryme 100530064356-phpapp02
Dmarryme 100530064356-phpapp02bigjarunee
 
Dmarryme 100530064356-phpapp02-100530235228-phpapp02
Dmarryme 100530064356-phpapp02-100530235228-phpapp02Dmarryme 100530064356-phpapp02-100530235228-phpapp02
Dmarryme 100530064356-phpapp02-100530235228-phpapp02Ekkachai Mokmued
 
D:\Marry Me\เบสิกสไลด์แชร์
D:\Marry Me\เบสิกสไลด์แชร์D:\Marry Me\เบสิกสไลด์แชร์
D:\Marry Me\เบสิกสไลด์แชร์bigjarunee
 
slideshare เบื้องต้น
slideshare เบื้องต้นslideshare เบื้องต้น
slideshare เบื้องต้นratchadapron
 
การประยุกต์ใช้ SlideShare.net ในงานวิชาการ
การประยุกต์ใช้ SlideShare.net ในงานวิชาการการประยุกต์ใช้ SlideShare.net ในงานวิชาการ
การประยุกต์ใช้ SlideShare.net ในงานวิชาการSatapon Yosakonkun
 
20100313 slideshare-100314092144-phpapp01
20100313 slideshare-100314092144-phpapp0120100313 slideshare-100314092144-phpapp01
20100313 slideshare-100314092144-phpapp01Nong ton
 
ตัวช่วย upload ไฟล์.pdf
ตัวช่วย upload ไฟล์.pdfตัวช่วย upload ไฟล์.pdf
ตัวช่วย upload ไฟล์.pdfmeesubandmeesuk theemcle
 
เอกสารประกอบการอบรม wordpress
เอกสารประกอบการอบรม wordpressเอกสารประกอบการอบรม wordpress
เอกสารประกอบการอบรม wordpressprasitnb
 
นำเสนอSlideshare2
นำเสนอSlideshare2นำเสนอSlideshare2
นำเสนอSlideshare2edukuslide
 
นำเสนอSlideshare2
นำเสนอSlideshare2นำเสนอSlideshare2
นำเสนอSlideshare2edukuslide
 
ขั้นตอนการสมัครและโหลดงานลง Slideshare
ขั้นตอนการสมัครและโหลดงานลง Slideshare ขั้นตอนการสมัครและโหลดงานลง Slideshare
ขั้นตอนการสมัครและโหลดงานลง Slideshare Kruhy LoveOnly
 

Similar to Slideshare ภาษาไทย (20)

Slideshare ครูวี2
Slideshare ครูวี2Slideshare ครูวี2
Slideshare ครูวี2
 
All about slide share
All about slide shareAll about slide share
All about slide share
 
Slide shar
Slide sharSlide shar
Slide shar
 
Dmarryme 100530064356-phpapp02-100530235228-phpapp02
Dmarryme 100530064356-phpapp02-100530235228-phpapp02Dmarryme 100530064356-phpapp02-100530235228-phpapp02
Dmarryme 100530064356-phpapp02-100530235228-phpapp02
 
Dmarryme 100530064356-phpapp02
Dmarryme 100530064356-phpapp02Dmarryme 100530064356-phpapp02
Dmarryme 100530064356-phpapp02
 
Dmarryme 100530064356-phpapp02-100530235228-phpapp02
Dmarryme 100530064356-phpapp02-100530235228-phpapp02Dmarryme 100530064356-phpapp02-100530235228-phpapp02
Dmarryme 100530064356-phpapp02-100530235228-phpapp02
 
Dmarryme 100530064356-phpapp02-100530235228-phpapp02
Dmarryme 100530064356-phpapp02-100530235228-phpapp02Dmarryme 100530064356-phpapp02-100530235228-phpapp02
Dmarryme 100530064356-phpapp02-100530235228-phpapp02
 
Dmarryme 100530064356-phpapp02-100530235228-phpapp02
Dmarryme 100530064356-phpapp02-100530235228-phpapp02Dmarryme 100530064356-phpapp02-100530235228-phpapp02
Dmarryme 100530064356-phpapp02-100530235228-phpapp02
 
Dmarryme 100530064356-phpapp02
Dmarryme 100530064356-phpapp02Dmarryme 100530064356-phpapp02
Dmarryme 100530064356-phpapp02
 
Dmarryme 100530064356-phpapp02-100530235228-phpapp02
Dmarryme 100530064356-phpapp02-100530235228-phpapp02Dmarryme 100530064356-phpapp02-100530235228-phpapp02
Dmarryme 100530064356-phpapp02-100530235228-phpapp02
 
D:\Marry Me\เบสิกสไลด์แชร์
D:\Marry Me\เบสิกสไลด์แชร์D:\Marry Me\เบสิกสไลด์แชร์
D:\Marry Me\เบสิกสไลด์แชร์
 
slideshare เบื้องต้น
slideshare เบื้องต้นslideshare เบื้องต้น
slideshare เบื้องต้น
 
2.4 การสมัครและลักษณะ สมบูรณ์
2.4 การสมัครและลักษณะ สมบูรณ์2.4 การสมัครและลักษณะ สมบูรณ์
2.4 การสมัครและลักษณะ สมบูรณ์
 
การประยุกต์ใช้ SlideShare.net ในงานวิชาการ
การประยุกต์ใช้ SlideShare.net ในงานวิชาการการประยุกต์ใช้ SlideShare.net ในงานวิชาการ
การประยุกต์ใช้ SlideShare.net ในงานวิชาการ
 
20100313 slideshare-100314092144-phpapp01
20100313 slideshare-100314092144-phpapp0120100313 slideshare-100314092144-phpapp01
20100313 slideshare-100314092144-phpapp01
 
ตัวช่วย upload ไฟล์.pdf
ตัวช่วย upload ไฟล์.pdfตัวช่วย upload ไฟล์.pdf
ตัวช่วย upload ไฟล์.pdf
 
เอกสารประกอบการอบรม wordpress
เอกสารประกอบการอบรม wordpressเอกสารประกอบการอบรม wordpress
เอกสารประกอบการอบรม wordpress
 
นำเสนอSlideshare2
นำเสนอSlideshare2นำเสนอSlideshare2
นำเสนอSlideshare2
 
นำเสนอSlideshare2
นำเสนอSlideshare2นำเสนอSlideshare2
นำเสนอSlideshare2
 
ขั้นตอนการสมัครและโหลดงานลง Slideshare
ขั้นตอนการสมัครและโหลดงานลง Slideshare ขั้นตอนการสมัครและโหลดงานลง Slideshare
ขั้นตอนการสมัครและโหลดงานลง Slideshare
 

More from Suphol Sutthiyutthasenee

More from Suphol Sutthiyutthasenee (8)

การถ่ายภาพเบื้องต้น
การถ่ายภาพเบื้องต้นการถ่ายภาพเบื้องต้น
การถ่ายภาพเบื้องต้น
 
Multimedia Application
Multimedia ApplicationMultimedia Application
Multimedia Application
 
Multimedia for Education1
Multimedia for Education1Multimedia for Education1
Multimedia for Education1
 
หลักการนำเสนอ.pdf
หลักการนำเสนอ.pdfหลักการนำเสนอ.pdf
หลักการนำเสนอ.pdf
 
Presentations - การนำเสนอ
Presentations - การนำเสนอPresentations - การนำเสนอ
Presentations - การนำเสนอ
 
Presentation-การนำเสนอ
Presentation-การนำเสนอPresentation-การนำเสนอ
Presentation-การนำเสนอ
 
การนำเสนอ
การนำเสนอการนำเสนอ
การนำเสนอ
 
Objectives
ObjectivesObjectives
Objectives
 

Slideshare ภาษาไทย

  • 1. เราขอแนะนา slideshare.com (สไลด์แชร์ ) เว็บไซต์ที่เป็ นชุมชนออนไลน์ท่ีใหญ่ที่สุดในโลก สาหรับ ใครก็ได้ที่จะเข้ามาแบ่งปัน "ผลงานพรี เซ็นเทชัน" ของตัวเองให้โลกได้รับรู้ โดยไม่มีค่าใช้จ่ายใดๆ หรื ออธิบายให้เข้าใจง่ายๆ ได้ต่อไปอีกว่า "สไลด์แชร์ " ก็คือ "ยูทูบแห่งโลกพาวเวอร์ พอยต์" หรื อที่ เว็บไซต์แห่งนี้ใช้คาแทนว่า "สไลด์" นันเอง ่ slideshare (สไลด์แชร์ ) เว็บไซต์ที่เป็ นชุมชนออนไลน์ที่ใหญ่ที่สุดในโลก สาหรับใครก็ได้ที่จะเข้ามาแบ่งปัน “ผลงานพรี เซ็นเทชัน” ของตัวเองให้โลกได้รับรู้ โดยไม่มีค่าใช้จ่ายใดๆ หรื ออธิบายให้เข้าใจง่ายๆ ได้ต่อไป อีกว่า “สไลด์แชร์” ก็คือ “ยูทูบแห่งโลกพาวเวอร์ พอยต์” หรื อที่เว็บไซต์แห่งนี้ใช้คาแทนว่า “สไลด์” นันเอง ่ ประโยชน์ จากการใช้ งานเว็บสไลด์ แชร์ ผูที่จะได้ประโยชน์จากการใช้งานเว็บสไลด์แชร์ ก็คือทุกคนบนโลกนี้ โดยแบ่งอย่างกว้างๆ ได้ 2 กลุ่ม ้ ใหญ่ๆ คือ ผู้เผยแพร่ สไลด์ และ ผู้อ่านสไลด์ ผู้เผยแพร่ สไลด์: ยิ่งให้ ยิ่งได้
  • 2. * ชื่อเสี ยงโด่ งดัง : ถ้าสไลด์ของคุณมีเนื้อหาที่น่าสนใจก็จะมีคนเข้ามาอ่าน ให้ความเห็น และโหวตให้กบ ั สไลด์ของคุณมากมาย ซึ่ งก็จะทาให้คณดังได้ในชัวข้ามคืน ุ ่ * น่ าเชื่อถือ : ทุกคนที่เป็ นสมาชิกจะมีตวตนออนไลน์ และมีที่อยูส่วนตัวที่จะเข้าถึงประวัติการใช้งาน ั ่ ของเว็บสไลด์แชร์ ได้ เช่น http://www.slideshare.net/rashmi * สะดวกสบาย : หมดยุคการแนบไฟล์ใหญ่ๆ ผ่านอีเมลแล้ว แค่อปโหลดขึ้นไปเก็บไว้ที่นี่ อยากส่งให้ ั เพื่อนก็แค่ส่งเป็ นลิงก์สะดวกกว่า หรื อจะนาสไลด์ไปติดที่บล็อกของตัวเองเสี ยเลยก็ยอมได้ ่ * เก็บผลงานออนไลน์ : คุณสามารถสร้างให้สไลด์แชร์ ให้กลายเป็ นพื้นที่แห่งพอร์ ตโฟลิโอส่วนตัวของ คุณ ได้ เพราะไม่มีการจากัดพื้นที่ และสามารถเปิ ดให้ชมได้ตลอด 24 ชัวโมง 7 วัน ่ ผู้อ่านสไลด์: อ่ าน โหวต โหลด และเก็บความรู้ * หาความรู้ได้ ไม่ รู้จบ : แค่กดปุ่ มเมนู Browse คุณก็จะพบสไลด์นบแสนๆ เรื่ องในหมวดหมู่ต่างๆ กัน ยิง ั ่
  • 3. คลิกลงลึกมากเท่าไหร่ ความรู้ที่ได้ก็จะทวีคูณ * สมัครเป็ นส่ วนหนึ่งในชุมชนเพือรับสไลด์ ใหม่ ๆ จากคนที่คุณชื่นชอบได้ อัปเดตตัวเองในเรื่ องที่คุณ ่ สนใจเฉพาะได้ตลอดเวลาที่ Community * เก็บ โหวต และโหลดสไลด์ ที่เราชอบได้ จะเก็บไว้บนเว็บ หรื อดาวน์โหลดลงไปไว้ในเครื่ อง คอมพิวเตอร์ ก็ได้ * ค้นหาความรู้ใหม่ ได้ แค่คลิก: ลองเริ่ มต้นการค้นหาง่ายๆ แค่พิมพ์คาที่ตองการ ก็จะมีการดึงเอาสไลด์ที่ ้ มีป้ายกากับ (Tags) ที่เกี่ยวข้องกับคาค้นหาของเรามาโชว์ทนที ั
  • 4. เมื่อ ดูแต่ละสไลด์ จะมีการแสดงผลสไลด์ที่มีเนื้อหาเกี่ยวข้องกับสไลด์น้ ี คาที่เกี่ยวข้องกับสไลด์น้ ี ผูอ่านจะ ้ ่ ได้คลิกอ่านเพื่อเปิ ดโลกความรู้ตอได้ไม่รู้จบ เริ่มต้นใช้ งานเว็บสไลด์ แชร์ แค่ 4 ขั้นตอน 1. สาหรับผูที่ตองการจะเผยแพร่ สไลด์ ควรสมัครเป็ นสมาชิกของเว็บก่อน ที่นี่ (แต่จะไม่สมัครก็ได้) ้ ้ ส่วนผูที่อยากเข้าไปอ่านเนื้อหาก็เข้าไปอ่านได้ฟรี โดยไม่ตองสมัครสมาชิกก็ได้ แต่จะดาวน์โหลดไม่ได้ ้ ้ (อยากโหลดต้องสมัครสมาชิกก่อน)
  • 5. 2. อัปโหลดไฟล์ โดยนามสกุลของไฟล์ที่รองรับกับการอัปโหลดขึ้นไปที่เว็บสไลด์แชร์ มีดงนี้ ั * ไฟล์ พรีเซ็นเทชัน: PowerPoint- ppt, pps, pot; OpenOffice- odp, pdf; Apple Keynote- upload as zip or pdf. * ไฟล์ เอกสาร และตาราง: ไมโครซอฟท์ ออฟฟิ ศ- doc, rtf, xls; OpenOffice- odt, ods, pdf. โดยทุกไฟล์จะต้องขนาดใหญ่ไม่เกิน 100 เมกะไบต์ และสามารถอัปโหลดได้หลายไฟล์ในครั้งเดียว 3. ตั้งชื่อไฟล์ (Title) กาหนดป้ ายกากับ (Tags) ที่ใช้สาหรับการค้นหา เขียนคาอธิบายที่เกี่ยวข้องกับสไลด์ นี้ (Description) กาหนดได้ว่าจะให้สไลด์น้ ีดูได้เฉพาะเราเองหรื อทุกคนก็ดูได้ที่ Privacy ระบุภาษาของไฟล์ นั้นๆ และสุดท้ายคือเลือกหมวดหมู่ท่ีเกี่ยวข้องกับไฟล์ (Category) ่ 4. หลังจากอัปโหลดเสร็ จะมีลิงก์ให้ดูสถานะการแปลงไฟล์ของเรา ซึ่ งก็จะอยูที่หน้า My Slidespace
  • 6. นอกจากสไลด์แสดงภาพธรรมดาๆ แล้ว คุณยังสามารถสร้างสไลด์พร้อมเสี ยง หรื อที่เรี ยกว่า “slidecast” ได้อีกด้วย เพื่อความชัดเจนในการนาเสนองานมากยิ่งขึ้น ดูวิธีการทางานอย่างละเอียดได้ที่นี่ และความสามารถล่าสุดของสไลด์แชร์ ที่ถือว่าเป็ นการย้อนเกล็ดโปรแกรมอมตะของค่ายไมโครซอฟท์ คือ การนาสไลด์ แชร์ ไปผสานกับการทางานของโปรแกรม ไมโครซอฟท์ พาวเวอร์ พอยต์ 2007 ด้วยการติดตั้ง ่ ปุ่ มเพื่ออัปโหลดไฟล์พรี เซ็นเทชันที่กาลังทางานอยูใน คอมพิวเตอร์ ข้ ึนไปแสดงบนเว็บของสไลด์แชร์ ได้ ทันที อีกทั้งยังสามารถเปิ ดดูไฟล์เก่าที่คุณเคยนาไปโพสไว้ที่สไลด์แชร์ และดาวน์โหลดลงมาเพื่อแก้ไข แล้ว อัปโหลดขึ้นไปใหม่ก็สามารถทาได้ อ่านรายละเอียด และดูวิธีการทางานได้ที่นี่ ลิขสิ ทธิ์ของแต่ละสไลด์ จะมีวธีจดการอย่ างไร? ิ ั เรื่ องทรัพย์สินทางปัญญาบนโลก Copy & Paste นั้นค่อนข้างจะปวดหัว แต่สาหรับสไลด์แชร์ ทาได้ดี ่ ระดับหนึ่งด้วยการนาเอาระบบดูแลลิขสิ ทธิ์สาหรับ สิ นค้า หรื อชิ้นงานที่เก็บไว้อยูบนโลกออนไลน์ หรื อ ครี ั เอทีฟ คอมมอนส์ (Creative Commons) มาใช้ ซึ่ งผูเ้ ผยแพร่ สไลด์สามารถเลือกลิขสิ ทธิ์แบบต่างๆ ให้กบแต่ ละสไลด์ของตนได้ โดยสามารถตั้งค่ารู ปแบบลิขสิ ทธิ์งานของคุณได้ที่ My Slidespace > คลิก Edit แต่ละ
  • 7. ไฟล์ > Choose a license > เลือกแบบลิขสิ ทธิ์ที่คุณต้องการ อ่านเพิ่มเติมได้ที่นี่ และคลิกที่นี่เพื่อดูรายละเอียดเกี่ยวกับ ครี เอทีฟ คอมมอนส์ ประเทศไทย ข้ อควรรู้เกี่ยวกับการใช้ งานสไลด์ แชร์ * ไม่ ต้องสมัครสมาชิกก็สามารถอัปโหลดไฟล์ ได้ที่นี่ โดยจะได้ชื่อสมาชิกทดลองชัวคราวเช่น ่ guest123abb2 เป็ นต้น แต่จะใช้งานฟี เจอร์ ได้ไม่ครบเหมือนการสมัครสมาชิก * มิใช่ว่าเมื่อคุณตั้งค่าสไลด์แบบดูคนเดียวแล้วจะไม่สามารถแบ่งปันสไลด์น้ ให้คนรู้จกทราบ คุณยัง ี ั สามารถแบ่ งสไลด์ ให้ คนอื่นดูได้ เพราะทุกไฟล์ จะมีลิงก์ ลับส่ วนตัว (Secret URL) ที่ถาคุณไม่ส่งไปบอกใคร ้ ก็จะไม่มีใครสามารถเข้าถึงสไลด์น้ ีได้ หรื ออีกวิธีคือการสร้างรายชื่อเพื่อนในกลุ่มที่จะแบ่งปันสไลด์ใดสไลด์หนึ่งได้กบหลายๆ คนพร้อมกัน ั โดยการเข้าไปที่ My Slidespace > กดที่ My Contact > สร้ าง Contact List โดยการเลือก Create Lists of Friends > ตั้งชื่อกลุ่ม > ค้นหาชื่อเพือนที่เป็ นสมาชิกสไลด์แชร์ และกดเพิ่มชื่อเขาลงในกลุ่ม ่ * ควรเลือกใช้ แบบตัวอักษรปกติที่มีมาจากในเครื่องคอมพิวเตอร์ จะลดปัญหาการอ่านบางข้อความไม่ได้ หรื อถ้าหากต้องการความสวยงามเหมือนต้นฉบับเวลาแสดงผลบนเว็บก็ควรส่งเป็ นไฟล์ PDF เพื่อทาการ อัปโหลด * ไม่ ควรตั้งชื่อไฟล์ เป็ นภาษาไทย (Title) ทั้งตอนก่อนที่จะอัปโหลด และตอนที่อปโหลดเสร็ จแล้ว แต่ ั สามารถใช้คาอธิบายสไลด์ (Description) และ ป้ ายกากับ (Tags) เป็ นภาษาไทยได้ * เมื่อนาโค้ดของแต่ละสไลด์ไปติดที่บล็อก คุณสามารถปรับแต่งขนาดของแต่ละสไลด์ได้ที่โค้ด โดย สังเกตตรงเลขหลังคาว่า width และ height แล้วแก้ตวเลขตามที่ตองการ ั ้
  • 8. * สาหรับผู้ใช้ คอมพิวเตอร์ ระบบแมค สามารถส่งไฟล์คียโน้ตขึ้นเว็บได้ โดยการ คลิกขวาที่ไฟล์คียโน้ต ์ ์ เลือก Compress “ชื่อไฟล์” จะได้เป็ นนามสกุล .zip อัปโหลดไฟล์ .zip นี้ไปยังสไลด์แชร์ ได้เลย ข้ อดี * มีการเก็บสถิติผอ่านสไลด์ของเรา โดยบอกอย่างละเอียดว่ามีคนมาดูสไลด์น้ ีกี่คน ทั้งจากทางหน้าเว็บ ู้ สไลด์แชร์ เอง และจากที่เรานาโค้ดไปติด (embeds) ที่เว็บ หรื อบล็อกต่างๆ * เลือกรู ปแบบลิขสิ ทธิ์สาหรับแต่ละสไลด์ได้ * ถ้าอัปโหลดไฟล์นามสกุลพาวเวอร์ พอยต์ข้ ึนไป จะมีการแสดงรายละเอียดของเนื้อหาทั้งหมดในสไลด์ ที่ดานล่างของหน้าเว็บสไลด์ นั้นๆ ในหมวดของ “Presentation Transcript” แต่ถาอัปโหลดเป็ น PDF ก็จะไม่ ้ ้ มีการแสดงในส่วนนี้ * โน้ตที่เราใส่ไว้ทายของแต่ละสไลด์ เมื่ออัปโหลดไปสไลด์แชร์ แล้วยังสามารถแสดงโชว์บนเว็บได้ใน ้ ด้านล่างของแต่ละ สไลด์ ที่เขียนว่า “Note on Slide” ข้ อเสี ย * การโหลดสไลด์ที่มีหลายหน้าอาจจะใช้เวลานานสักหน่อย * ใช้งานกับภาษาไทยได้ แต่อาจจะไม่สมบูรณ์ 100% มีปัญหาเรื่ องการตัดคา และบางสระตกหล่น แต่ก็ ่ ถือว่าอ่านได้เข้าใจ (เพื่อป้ องกันปัญหานี้ควรแปลงไฟล์พาวเวอร์ พอยต์ให้อยูในรู ปของไฟล์ PDF เสี ยก่อน) เกร็ดเล็กเกร็ดน้ อยเกี่ยวกับสไลด์ แชร์ เว็บไซต์ที่มีผใช้ทวโลกนี้ มีสมาชิกกว่า 1 ล้านคน มีการเปิ ดชมเว็บไซต์กว่า 10 ล้านครั้ง/เดือน และกว่า ู้ ั่ 150 บริ ษทยักษ์ใหญ่แห่งยุโรป และอเมริ กาเลือกใช้บริ การของที่นี่ ั
  • 9. สไลด์แชร์ มีผอยูเ่ บื้องหลังรั้งตาแหน่งซี อีโอ คือ ดร.หญิงชาวอินเดีย ชื่อ “รัศมี” โดยเธอดูแลหน้าที่ของ ู้ การออกแบบเว็บและชุมชน ส่วนตัวเธอชื่นชอบอาหารไทยมาก เหตุการณ์ที่จุดประกายให้เธอมาสร้างเว็บศูนย์รวมพาวเวอร์ พอยต์ ก็คือตอนที่เธอไปพรี เซ็นต์งาน แล้ว ใคร ๆ ก็อยากได้สไลด์จากเธอ จึงพากันเอาธัมป์ ไดรฟ์ หรื อสื่ อบันทึกข้อมูลขนาดพกพามาให้เธอ เธอจึงคิด ว่าถึงเวลาแล้วที่ควรจะมีสกที่ในโลกออนไลน์ที่ทาตัวเป็ นศูนย์กลาง ให้ทุกคนเข้าถึงสไลด์ดีๆ ได้ เธอและ ั ่ พรรคพวกจึงสร้างสรรค์ www.slideshare.net ขึ้นมา เมื่อปี ที่ผานมาทางทีมงานได้ทาการสรุ ปภาพรวมของ การใช้เว็บไซต์น้ ี พบว่า โดยเฉลี่ยสไลด์ทวไปจะมี 21 หน้า แต่ก็มีคนทาสูงสุดถึง 1162 หน้า ่ั นอกเหนือจากการใช้สไลด์แชร์ เป็ นอีกหนึ่งห้องสมุดสุดอินเทรนด์แล้ว ถือเป็ นการช่วยลดภาวะโลกร้อน ได้อีกด้วย เพราะทุกครั้งที่มีการบรรยายใดๆ ผูชมทัวโลกสามารถเข้าร่ วมฟังได้ตลอดเวลา โดยไม่ตองปริ้ นท์ ้ ่ ้ เอกสารใดๆ ออกมาอีก เหมาะมากสาหรับอาจารย์ที่นาไปประกอบเล็กเชอร์ ของตัวเอง ที่ใช้ได้ท้งก่อนเรี ยน ั (ได้ทราบภาพรวมเนื้อหา) และหลังเรี ยน (ทบทวนบทเรี ยน) ที่สาคัญหากคุณกาลังมองหาโปรแกรมสร้างพรี เซ็นเทชันดีๆ ฟี เจอร์ หรู ๆ แบบไม่มีลิขสิ ทธิ์ ก็สามารถใช้ 280slides ที่เราเคยแนะนาไปก่อนหน้านี้ได้ ร่ วมสร้างองค์ความรู้ภาษาไทยได้ ได้โดยการเลือกเพียงคนละ 1 สไลด์จากเครื่ องคอมพิวเตอร์ ของคุณ เพื่อมาแบ่งปันไว้ที่สไลด์แชร์ ต้งแต่วนนี้ ั ั นามาจากผูจดการออนไลน์ 9 มค. 2552 ้ั ่ พักหลังๆผมมักจะใช้เวลาทาสไลด์เพื่อการนาเสนอ แต่ออกจะเบื่อกับรู ปแบบเดิมๆที่เป็ นอยูมากมาย พูดง่ายๆ ว่าเซ็งกับสไลด์ จนมาวันหนึ่งพบเว็บที่ว่าเข้าให้ โดยมีคนกล่าวอ้างไว้อย่างน่าสนใจเลยทีเดียวว่า หาก Youtube คือเว็บเพื่อ การแบ่งปันวิดีโอ www.slideshare.net ก็คือ Youtube ของ Powerpoint นันเองครับ ่
  • 10. ที่ เว็บแห่งนี้เปิ ดโอกาสให้ท่านทั้งหลายเริ่ มดาวน์โหลด Powerpoint ของสมาชิกที่ตองการจะมาแบ่งปันหรื อ ้ แม้กระทังหลายๆท่านที่ไปบรรยายมา แล้วอยากให้ลกศิษย์ตามอ่านหรื อดาวน์โหลดไปใช้งานก็ยงไหว แถม ่ ู ั ยังสามารถ Embed มาฝากไว้ในบล็อกก็ได้ มาเรามาดูวิธีการใช้งานกันครับ ๑.สมัครสมาชิกตามระเบียบครับ ๒.เลือก ไฟล์ที่ท่านสนใจโดยอาจพิมพ์คาค้นหน้า ให้จดเรี ยงหน้าใหม่โดยดูว่าสไลด์ไหนคนดูมากที่สุด ั สไลด์ไหนคนดาวน์โหลดมากที่สุด ก็ตามแต่ใจท่านครับ
  • 11. ๓.ผมลองเลือกมาอันหนึ่ง ที่คนนิยมดู ท่านเห็นปุ่ ม Play หรื อเปล่าหากกดไปเรื่ อยๆสไลด์ก็จะเปลี่ยนหน้าไป ครับ ่ ๔.กด ที่ Get file เท่านน้ทานก็จะได้สไลด์มาใช้งานต่อ บางรู ปก็สวยมากเราแค่ปรับเปลี่ยนเล็กน้อยหรื อว่าจะ เอารู ปไปตัดแปะในสไลด์เรา เองก็ได้ บางครั้งผมอยากบรรยายเรื่ อง Presentation Skill ผมก็คนหาและนามา ้ ปรับเปลี่ยนให้เหมาะกับผมมากที่สุดครับ
  • 12. ๕. อันนี้ผมลองกดปุ่ มเพลย์ดู ๗.ที่ นี้พอเราเริ่ มได้ของคนอื่นมาใช้ เราต้องรู้จกแบ่งปันครับ เรามาดุวิธีอพโหลดไฟล์เราให้คนอื่นชมบ้าง ั ั ดีกว่านะครับ คลิ๊กที่ My slideshare>Upload yourfirst presentation now>brows
  • 13. ง่าย ไหมครับ ให้เราระมัดระวังเรื่ องลิขสิ ทธิ์บางก็นแต่สไลด์ส่วนใหญ่ คนแชร์ ก็ตองการให้เราไปใช้งานอยู่ ้ ้ ่ แล้ว ยกเว้นบางท่านที่ไม่อนุญาตเราก็จะดาวน์โหลดมาใช้ไม่ได้ ดูผานเว็บได้อย่างเดียวครับ ลองเล่นดูแล้วอย่าลืมแบ่งปันกันนะครับ
  • 14. ่ สไลด์จานวนมากใน Slideshare อยูในฟอร์ แมตของ Flash Slide ซึ่ งสามารถนามาแสดงผ่านเว็บนี้ได้ โดย สื บค้นเรื่ องที่ตองการจาก Slideshare.net เมื่อคลิกเลือกสไลด์ที่ตองการ สังเกตด้านขวาจะมารายการเลือก ้ ้ Embed ดังนี้ คลิกเลือกคาสังทั้งหมด แล้วนาไปวางใน Add New Post ของเว็บโดยต้องวางในโหมด HTML ซึ่ งจะ ่ ปรากฏผลดังนี้ เพียงเท่านี้ก็พร้อมนาเสนอสไลด์จาก Shareshare.net