SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 18
Baixar para ler offline
ภารกิจในการเข้าถึงเอกสารแบบเปิด : ระดับมหาวิทยาลัยและแหล่งทุน
วัลยา ภู่สว่าง
การจัดทาเอกสาร OA นับว่าเป็นที่นิยมมากในปัจจุบัน หน่วยงานต่างๆ ทั้งภาครัฐและเอกชน
ได้มีการจัดทาเอกสาร OA เพื่อให้นักวิชาการหรือผู้ที่ทาวิจัยได้นาผลงานหรือบทความทางวิชาการมา
เผยแพร่ โดยขั้นตอนการนาบทความวิจัยหรือบทความทางวิชาการมาเผยแพร่จะขึ้นอยู่กับภารกิจที่
หน่วยงานต่างๆ ได้มีการกาหนดไว้ซึ่งภารกิจในการจัดทาเอกสาร OA นั้นหมายถึง ภารกิจที่สนับสนุน
การจัดทาเอกสาร OA โดยองค์กรทั้งภาครัฐ และเอกชนหลายแห่งได้จัดทาภารกิจสาหรับการจัดทา
เอกสาร OA ขึ้น เพื่อต้องการให้ผู้ที่ทาการวิจัยสามารถนาบทความทางวิชาการ และงานวิจัยมาเผยแพร่
ในการเข้าถึงบทความที่เป็นเอกสาร OA ผู้อ่านสามารถเข้าถึงบทความได้ในรูปแบบดิจิทัลโดย
ไม่เสียค่าใช้จ่าย ซึ่งภารกิจในการทาคลังเอกสารนี้เกิดจากการลงมติของสถาบันการวิจัย และฝ่ายงาน
วิชาการของมหาวิทยาลัยที่เห็นความสาคัญและประโยชน์ของการจัดทาคลังเอกสาร จะเห็นได้ว่า
เอกสาร OA มีความสาคัญและเป็นประโยชน์ต่อวงการการศึกษาและวงการการวิจัยมาก เพราะมีองค์กร
ผู้ให้ทุนมากมายทั้งภาครัฐและเอกชน เสนอให้ทุนแก่ผู้ที่ต้องการจะทาวิจัยเนื่องจากองค์กรผู้ให้ทุนนั้น
ต้องการที่จะให้นักวิจัยเผยแพร่บทความทางวิชาการที่ได้รับการตรวจสอบแล้ว เช่น วารสารและเอกสาร
การประชุมให้สามารถเข้าถึงได้อย่างเสรี การเผยแพร่บทความและงานวิจัยดังกล่าวนั้นจะช่วยให้วงการ
การศึกษามีการพัฒนามากขึ้นเนื่องจากความรู้ต่างๆ สามารถเข้าถึงได้ง่ายขึ้น
ทั้งนี้หน่วยงานที่มีความสาคัญในการออกภารกิจการจัดทาเอกสาร OA ได้แก่ มหาวิทยาลัย
กรม หน่วยงานของรัฐบาล และองค์กรต่างๆ ซึ่งมหาวิทยาลัยต่างๆ ทั่วโลกได้มีการออกภารกิจการ
จัดทาเอกสาร OA ขึ้นรวม 116 แห่ง กรม หน่วยงานของรัฐบาล จานวน 30 หน่วยงาน องค์กรผู้ให้ทุน
อื่นๆ 46 แห่ง และองค์กรการวิจัย 75 แห่ง รวมทั้งสิ้น 267 แห่ง ซึ่งมหาวิทยาลัยที่มีการจัดทาคลังเอกสาร
OA และออกภารกิจการจัดทาเอกสาร OA แห่งแรกคือ มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด นอกจากมหาวิทยาลัย
ฮาร์วาร์ด แล้วยังมีมหาวิทยาลัยอื่นๆอีกทั่วโลก เช่น มหาวิทยาลัยออกซ์ฟอร์ด มหาวิทยาลัยเซาว์แทมตัน
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีควีนส์แลนด์ เป็นต้น บทความนี้จะแบ่งเนื้อหาออกเป็นสองส่วน ซึ่งก็คือ ภารกิจ
ของมหาวิทยาลัยและ ภารกิจขององค์กรผู้ให้ทุนในการทาคลังจัดเก็บเอกสาร (ROARMAP, 2010)
2-D2
ภารกิจในการจัดทาเอกสาร OA ของมหาวิทยาลัย
การกาหนดภารกิจในการจัดทาเอกสาร OA นับว่ามีความสาคัญเป็นอย่างมาก มหาวิทยาลัย
หลายแห่งต่างให้ความสนใจกับการจัดทาเอกสาร OA เนื่องจากการจัดทาเอกสาร OA เป็นการเปิด
ความคิด เปิดทัศนะคติ และยังช่วยให้เกิดองค์ความรู้ใหม่ๆ มหาวิทยาลัยหลายๆแห่งจึงมีการกาหนด
นโยบายในการจัดทาเอกสาร OA ขึ้น เพื่อให้การจัดทาเอกสาร OA มีมาตรฐานและมีคุณภาพ โดย
องค์กรที่มีการกาหนดภารกิจในการจัดทาเอกสาร OA โดยมีทั้งสิ้น 264 องค์กร (Roarmap, 2010)
แบ่งเป็นมหาวิทยาลัย 208 แห่ง ซึ่งในบทความนี้จะยกตัวอย่างภารกิจของมหาวิทยาลัย 4 สถาบันด้วยกัน
คือ Harvard University, Oxford University, Queensland University of Technology and Hong Kong
University
1. Harvard University
มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด (Harvard University) เป็นมหาวิทยาลัยเอกชนในเมืองเคมบริดจ์ รัฐ
แมสซาชูเซตส์ สหรัฐอเมริกา เป็นหนึ่งมหาวิทยาลัยที่เก่าแก่ที่สุดของสหรัฐอเมริกา โดยก่อตั้งเมื่อปี 8
กันยายน ค.ศ. 1636 มีอายุครบ 370 ปีใน ค.ศ. 2006 (Wiki, 2009)
Suber (2008) ได้ให้ข้อมูลเกี่ยวกับที่มาของการเข้าถึงเอกสารเปิ ดสาธารณะในประเทศ
สหรัฐอเมริกาว่า มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ดได้มีภารกิจในการจัดทาเอกสาร OA ขึ้นตั้งแต่วันที่
12 กุมภาพันธ์ 2008 ซึ่งนับว่าเป็นสถาบันแห่งแรกของสหรัฐอเมริกาที่ได้นาเอกสาร OA มาใช้ ซึ่งคณะ
ที่ริเริ่มทาเอกสาร OA คือ คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ เนื่องจากมีความเห็นว่าบทความที่ค้นหาได้
จากทางอินเทอร์เน็ตในปัจจุบันอาจจะไม่มีความถูกต้อง และไม่สามารถเชื่อถือได้ทั้งหมด ต่อมาเมื่อ
คณะต่างๆ เริ่มใช้เอกสาร OA ในระยะแรกคณบดีของคณะต่างๆ ได้มีการจัดตั้งคณะผู้ดาเนินงานและ
วางแผนโครงการว่าจะใช้อินเทอร์เน็ตในการเผยแพร่เอกสาร OA ซึ่งการนางานของผู้เขียนมาจัดทาเป็น
เอกสารเปิดสาธารณะที่ผู้ใช้สามารถเข้าถึงได้โดยไม่เสียค่าใช้จ่ายนั้น โดยผู้เขียนที่จะต้องนาผลงานของ
ตนมาทาเป็นวารสารแบบเสรี ซึ่งผู้เขียนเองก็มีความคาดหวังว่าบทความของตนจะถูกนาไปดัดแปลง
หรือต่อยอดความรู้ให้กับผู้อื่นได้อีกทั้งบทความที่ผู้เขียนมอบให้นามาทาเป็นเอกสาร OA จะไม่ถูกเรียก
เก็บค่าธรรมเนียม ในการจัดทาเอกสาร OA นั้นทางมหาวิทยาลัยฮาวาร์ดคาดหวังว่าจะทาให้การ
ค้นคว้าวิจัยมีขอบเขตที่กว้างมากยิ่งขึ้น
2-D3
ภารกิจในการจัดทาเอกสาร OA ของคณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ มีทั้งหมด 9 ข้อดังนี้
1. มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ดได้กาหนดให้คณะต่างๆในมหาวิทยาลัยจัดทาเอกสาร OA
ขึ้นโดยใช้สัญญาอนุญาตโดยใช้ครีเอทีฟคอมมอนที่เป็นสัญลักษณ์ผู้สร้างสรรค์ผลงาน
2. เอกสารหรือบทความที่นามาจัดทาเป็นเอกสาร OA จะไม่สามารถนาไปจาหน่าย
เพื่อหวังผลกาไรได้เนื่องจากบทความทุกบทความมีสัญญาอนุญาตของผู้แต่งหรือเจ้าของผลงานนั้น
3. มีการจัดทาคลังจัดเก็บเอกสารที่บุคคลทั่วไปสามารถสืบค้น และเข้าใช้ได้
4. เจ้าของผลงานหรือนักวิจัยสามารถส่งสาเนาให้กับทางคณะได้โดยตรง จากนั้นทาง
คณะจะนาเอกสารหรือผลงานไปจัดทาให้เอกสารฉบับนั้นเป็นเอกสาร OA
5. เอกสารที่เป็นเอกสาร OA จะผ่านการรับรองโดย Faculty of Art and Science-FAS
6. เอกสารหรือผลงานทางวิชาการต่างๆ ทางคณะจะทาการพิจารณาถึงความเหมาะสม
ในการเผยแพร่ โดยเอกสารบางอย่างอาจถูกคัดออกเนื่องจากความไม่เหมาะสมบางประการ
7. เมื่อเจ้าของผลงานมีความต้องการที่จะเผยแพร่เอกสาร ทางคณะสามารถนา
บทความหรือผลงานทางวิชาการไปเผยแพร่ยังวารสารที่เจ้าของผลงานต้องการนาผลงานของตนไป
เผยแพร่ได้นอกจากนั้นยังให้การรับรองในการรักษาสิทธิของเจ้าของผลงาน
8. เมื่อนาผลงานทางวิชาการมาเผยแพร่เป็นเอกสาร OA แล้ว ทางคณะจะทาการรักษา
สัญญาอนุญาตหรือสิทธิให้เจ้าของผลงานโดยไม่มีการกาหนดระยะเวลา
9. เมื่อเกิดปัญหาเกี่ยวกับผลงานต่างๆ ในด้านสิทธิ เจ้าของผลงานสามารถมาทาคา
ร้องที่มหาวิทยาลัยได้ และทางคณบดีของคณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์จะจัดการแก้ไขปัญหา
ดังกล่าวให้ (Eastman, G., 2008)
2. Oxford University
มหาวิทยาลัยอ๊อกซ์ฟอร์ด (University of Oxford) ตั้งอยู่ที่เมืองอ๊อกซ์ฟอร์ด สหราชอาณาจักร
เป็นมหาวิทยาลัยที่เก่าแก่ที่สุดในประเทศอังกฤษ มหาวิทยาลัยอ๊อกซ์ฟอร์ดได้เริ่มเปิดตั้งแต่ พ.ศ. 1639
และในปี พ.ศ. 1710 มหาวิทยาลัยอ๊อกซ์ฟอร์ดเกิดขึ้นและเติบโตอย่างรวดเร็วภายใต้พระบรมราชูปถัมภ์
และการสนับสนุนการเงินจากคหบดีต่างๆ มหาวิทยาลัยอ๊อกซ์ฟอร์ดได้มีภารกิจในการจัดทาเอกสาร
OA ขึ้นในปี 2008 เพื่อเผยแพร่ความรู้ผ่านทางบทความ และวารสารทางวิชาการของมหาวิทยาลัยสู่
สาธารณะชน ซึ่งมหาวิทยาลัยออกซ์ฟอร์ดจะเป็นการทา OAJ ซึ่งเป็นวารสารออนไลน์ ชื่อว่า “Oxford
Journals” โดยการทาวารสารออนไลน์ของมหาวิทยาลัยออกซ์ฟอร์ดจะเป็นการนาเอาบทความที่อยู่บน
2-D4
เว็บไซต์ส่วนบุคคล บล็อก เป็นต้น มาทาเป็นวารสารออนไลน์ ซึ่งวารสารออนไลน์จะมี 2 ส่วน คือส่วน
ที่เปิดให้เข้าถึงได้และส่วนที่ต้องเป็นสมาชิกจึงจะสามารถเข้าถึงวารสารได้
ภารกิจในการวารสารออนไลน์ของมหาวิทยาลัยออกซ์ฟอร์ด มีรายละเอียดดังนี้
1. เจ้าของผลงานสามารถอัพโหลดไฟล์เอกสารลงในคลังจัดเก็บเอกสารของสถาบัน
ได้
2. ทางมหาวิทยาลัยจะทาการประเมินคุณภาพของบทความ (peer-reviewed)
3. เมื่อผลงานได้รับการยอมรับจากนักวิชาการแล้ว เจ้าของผลงานต้องเขียนสัญญา
อนุญาตเพื่อแสดงสิทธิให้ผู้ที่นาไปใช้มีการอ้างอิงถึง
4. บทความฉบับสมบูรณ์จะถูกจัดเก็บในรูปแบบ pdf ไฟล์
5. มหาวิทยาลัยออกซ์ฟอร์ดจะนาบทความลงวารสารออกซ์ฟอร์ด หลังจากผลงาน
ได้รับการยอมรับให้ลงในวารสารออกซ์ฟอร์ด เจ้าของผลงานจะไม่มีสิทธิ์นาบทความ หรือผลงานต่างๆ
ไปเผยแพร่ยังที่ใดได้อีก
6. สาหรับการทาบทความหรือผลงานทางวิชาการเป็นวารสารออนไลน์ บทความ
อาจจะไม่ได้เผยแพร่ในทันที แต่จะได้รับการเผยแพร่บทความภายในช่วงระยะเวลาไม่เกิน 12 เดือน
7. ผลงานต้นฉบับที่เจ้าของผลงานทาการเผยแพร่ก่อนหน้าที่จะมีการตีพิมพ์ลงใน
วารสารจะไม่สามารถทาการแก้ไขหรือเปลี่ยนแปลงใดๆได้อีก
3. University of Southampton : School of Electronics and Computer Science
มหาวิทยาลัยเซาท์แทมตันเป็นมหาวิทยาลัยที่เชี่ยวชาญทางด้านอิเล็กทรอนิกส์ และ
วิทยาการคอมพิวเตอร์ แห่งประเทศอังกฤษ ซึ่งมหาวิทยาลัยมีนโยบายในการเป็นมหาวิทยาลัยเพื่อการ
วิจัยระดับโลก และเป็นมหาวิทยาลัยชั้นนาทางด้านวิศวกรรมไฟฟ้ าและวิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์
เนื่องจากมหาวิทยาลัยเซาท์แทมตัน มีนโยบายที่จะเป็นมหาวิทยาลัยเพื่อการวิจัยระดับโลก ทาง
มหาวิทยาลัยจึงสนับสนุนการวิจัยแก่นักศึกษาทั้งระดับปริญญาตรีและปริญญาโท ส่งผลให้มีการ
สนับสนุนการทาเอกสาร OA ขึ้น (University of Southampton, n.d.)
ภารกิจในการทาเอกสาร OA ของมหาวิทยาลัยเซาท์แทมตันมีรายละเอียดดังนี้
1. มหาวิทยาลัยมีภารกิจในการส่งเสริมการทาวิจัยให้เป็นรูปแบบเอกสาร OA และ
เพื่อให้ผู้ใช้ทั่วโลกสามารถเข้าใช้งานได้
2-D5
2. ทางมหาวิทยาลัยได้จัดทาคลังจัดเก็บเอกสารหรือคลังความรู้ (Eprint) โดยก่อนนา
เอกสารเข้ามาเผยแพร่ในคลังจัดเก็บเอกสารทั้งหมดจะได้รับการตรวจสอบอย่างละเอียดโดยนักวิชาการ
ผู้เชี่ยวชาญ
3. ภารกิจของมหาวิทยาลัยจะสอดคล้องกับข้อตกลงทางด้านลิขสิทธิ์กับสานักพิมพ์
หรือผู้จัดพิมพ์ดังต่อไป
3.1 ผู้เขียนมีสิทธิที่จะนาเอกสารต้นฉบับ (Preprint) ของตนไปเผยแพร่ หรือ
นาไปใช้งานด้านต่างๆ แต่หลังจากได้รับการตรวจสอบ (peer-reviewed) จากผู้เชี่ยวชาญแล้ว ผู้เขียน
หรือเจ้าของผลงานจะไม่สามารถกระทาการใดๆกับผลงานของตน
3.2 หากเจ้าของผลงานต้องการนาผลงานไปตีพิมพ์ ลิขสิทธิ์ของเอกสารฉบับ
สมบูรณ์ที่ได้รับการประเมินคุณภาพแล้วจะขึ้นอยู่กับข้อตกลงของเจ้าของผลงานกับสานักพิมพ์
3.3 สานักพิมพ์บางแห่งจะอนุญาตให้เอกสารฉบับสมบูรณ์ (Postprint)
สามารถนาไปจัดเก็บเป็น Self-archiving ได้
3.4 ในกรณีที่สานักพิมพ์ไม่อนุญาตให้นาผลงานฉบับสมบูรณ์ไปทาเป็น
self-archiving เจ้าของผลงานก็สามารถนาเอกสารต้นฉบับ (Preprint) มาทาแทนได้
3.5 ในสัญญาอนุญาต บางกรณีก็จะอนุญาตให้นาเอกสารต้นฉบับและผลงาน
ฉบับสมบูรณ์ มาเผยแพร่ลงเว็บเพจของตนเองได้
4. Queensland University of Technology
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีควีนส์แลนด์เป็นมหาวิทยาลัยของประเทศออสเตรเลีย ที่มีการจัดทา
คลังจัดเก็บเอกสาร เริ่มจัดทาตั้งแต่เดือน พฤศจิกายน ค.ศ. 2003 โดยได้มีการกาหนดภารกิจในการจัดทา
คลังจัดเก็บเอกสาร ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม ค.ศ. 2004 คณะแรกที่ยอมรับและปฏิบัติตามภารกิจการจัดทา
คลังจัดเก็บเอกสารของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีควีนส์แลนด์ คือคณะวิทยาการคอมพิวเตอร์ ซึ่งเริ่มทา
คลังจัดเก็บเอกสาร ในปี ค.ศ. 2006 หลังจากนั้นไม่นานคณะอื่นๆ ในสถาบันก็ได้มีการจัดทาคลังจัดเก็บ
เอกสารในเวลาต่อมา
จากการศึกษาของ Suber (2008) ได้ให้ข้อมูลเกี่ยวกับนโยบายการทาคลังจัดเก็บเอกสารของ
สถาบันของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีควีนส์แลนด์ โดยมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีควีนส์แลนด์ได้มีการ
จัดทาคลังจัดเก็บเอกสารของสถาบัน สาหรับเก็บและเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ และผลงานวิจัยของ
อาจารย์และนักวิจัย โดยใช้ชื่อ “ePrint” การจัดทาคลังจัดเก็บเอกสารของสถาบันดังกล่าวเพื่อสนับสนุน
2-D6
ให้มีผู้เชี่ยวชาญเฉพาะสาขาวิชาเพิ่มมากยิ่งขึ้นในระดับสากล ซึ่งนโยบายในการทาคลังเอกสาร OA มี
รายละเอียดดังนี้
1. มหาวิทยาลัยควีนส์แลนด์จะมีผู้เชี่ยวชาญและผู้สนับสนุนทางด้านการวิจัย ทา
หน้าที่ในการประเมินบทความ
1.1 ผู้เชี่ยวชาญและผู้สนับสนุนทางด้านการวิจัย จะตรวจสอบบทความฉบับ
สมบูรณ์ (Postprint) เพื่อให้บทความดังกล่าวเป็นบทความที่ถูกต้องและสามารถนาไปเผยแพร่ในคลัง
เอกสารได้ทันที
1.2 ผู้เชี่ยวชาญและผู้สนับสนุนทางด้านการวิจัย จะตรวจสอบบทความ
ต้นฉบับ (Preprint) เช่น ตรวจสอบความถูกต้องในการพิมพ์ และตรวจสอบสานวนภาษา เพื่อให้
บทความมีความถูกต้องก่อนจะนาไปเขียนบทความฉบับสมบูรณ์
2. การนาเอกสารทางวิชาการเข้าไปยังคลังจัดเก็บเอกสาร เอกสารเหล่านี้สามารถ
นาเข้าคลังจัดเก็บเอกสารของสถาบันได้โดยไม่จาเป็นต้องผ่านการตรวจสอบ ซึ่งประกอบด้วยเอกสาร
ดังนี้
2.1 รายงานการประชุม
2.2 ตาราเรียน
2.3 เอกสารที่เป็นบท
3. เอกสารที่เป็นผลงานการวิจัยระดับสูง ที่จัดทาขึ้นโดยผู้เชี่ยวชาญ อาจารย์หรือ
นักศึกษาระดับปริญญาโท จะต้องนาไปเก็บไว้ในคลังจัดเก็บเอกสารของประเทศออสเตรเลีย (Australia
Digital Theses- ADT)
4. บทความหรือเอกสารทางวิชาการที่จะนาเข้าคลังจัดเก็บเอกสาร ePrint จะต้องเป็น
ผลงานการวิจัยที่ถูกคิดค้นขึ้นมาใหม่
5. จะต้องระบุรายละเอียดของผลงานก่อนนาผลงานมาตรวจสอบความถูกต้อง โดย
นักวิชาการ หรือผู้เชี่ยวชาญในสถาบัน
6. สาหรับเจ้าของผลงานที่ได้นาผลงานไปเผยแพร่ยังหน้าเว็บไซต์ของตนจะต้องทา
การเชื่อมโยงข้อมูลไปยังคลังข้อมูล ePrint ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีควีนส์แลนด์
5. การจัดทาเอกสาร OA ในฮ่องกง
แนวคิดในการจัดทาเอกสาร OA ของฮ่องกงเริ่มขึ้นในปี ค.ศ.1957 โดยมีการจัดการประชุมขึ้น
ในหัวข้อ "Promoting 21st Century Scholarly Communication: The Role of Institutional Repositories
2-D7
in the Open Access Movement" มีหลายประเทศเข้าร่วมประชุมในครั้งนี้ ผู้เข้าร่วมประชุมโดยส่วนมาก
จะเป็นนักวิชาการ ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะในด้านต่างๆ ต่างลงความเห็นว่า ฮ่องกงควรจะมีการจัดทาคลัง
เอกสาร OA เพื่อที่จะช่วยให้การศึกษาพัฒนายิ่งขึ้นไป ซึ่งการให้ทุนในการทาวิจัยของฮ่องกงนั้นจะมี
องค์กร 2 องค์กรที่ให้ทุนในการทาวิจัยซึ่งก็คือ
5.1 University Grant Committee-UGC
University Grant Committee ฮ่องกง คือ องค์กรที่ทาหน้าที่ให้คาปรึกษา และให้
เงินทุนแก่ประชาชนในเขตการปกครองพิเศษ (SAR) หรือฮ่องกงแห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน ใน
ระดับอุดมศึกษาเพื่อการพัฒนาและต่อยอดทางการศึกษาในประเทศจีน (UGC, 2007)
University Grant Committee ก่อตั้งขึ้นตั้งแต่ ค.ศ.1965 มีหน้าที่ให้คาปรึกษาแก่คณะ
รัฐบาลในส่วนของการพัฒนาประเทศและให้เงินทุนแก่ มหาวิทยาลัยฮ่องกง และมหาวิทยาลัยจีนใน
ฮ่องกง ซึ่งองค์กรนี้เกิดขึ้นจากการให้คาแนะนาในการจัดตั้งของสภานิติบัญญัติ ในปี ค.ศ.1964 โดย
คณะกรรมการสภานิติบัญญัติของประเทศอังกฤษได้มีการแนะนาให้ฮ่องกงจัดตั้งองค์กรที่มีหน้าที่ให้
คาปรึกษา ในเรื่องการพัฒนาประเทศ ยกตัวอย่างเช่น เรื่องสาธารณูปโภค และมีหน้าที่ให้เงินทุนแก่
มหาวิทยาลัย ดังนั้นองค์กรดังกล่าวจึงทาการก่อตั้งขึ้นในปี ค.ศ.1422 โดยมีการวางโครงสร้างตาม
รูปแบบของประเทศอังกฤษ ในปัจจุบันมีสถาบันการศึกษาอยู่แปดแห่งที่ได้รับเงินทุนจาก UGC คือ
City University of Hong Kong (CityU), Hong Kong Baptist University (HKBU), Lingnan University
(LU), The Chinese University of Hong Kong (CUHK), The Hong Kong Institute of Education
(HKIEd), The Hong Kong Polytechnic University (PolyU), The Hong Kong University of Science
and Technology (HKUST) และ The University of Hong Kong (HKU) (UGC, 2007)
5.2 The Research Grants Council-RGC
The Research Grants Council เป็นองค์กรที่ให้คาปรึกษาทางด้านการวิจัยแก่
ประชาชนในฮ่องกง โดยเฉพาะอย่างยิ่งการทาวิจัยในระบบมหาวิทยาลัย รวมไปถึงให้เงินทุนในการทา
วิจัยสาหรับนักวิจัย และนักศึกษาปริญญาโท เพื่อที่จะนาบทความวิชาการ หรือบทความวิจัยมาจัดทา
เป็นเอกสาร OA โดย RGC ทางานภายใต้University Grant Committee (RGC, 2007)
The Research Grants Council มีหน้าที่ความรับผิดชอบอยู่สองประการได้แก่ ให้
คาแนะนาแก่ รัฐบาล ผู้บริหาร SAR (The Special Administrative Region) หรือเขตการปกครองพิเศษ
ในการจัดทาคลังจัดเก็บเอกสารทางด้านงานวิจัยในระดับอุดมศึกษา เพื่อให้งานวิจัยและผลงานทาง
วิชาการ ได้ให้ความรู้และเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาประเทศ ประการต่อมา คือเป็นแหล่งเงินทุนและ
2-D8
ให้เงินทุนสาหรับการวิจัยแก่ นักวิชาการ นักศึกษาปริญญาโท และนักศึกษาปริญญาเอก หรืออาจจะให้
เงินทุนเพื่อเป็นรางวัลแก่นักศึกษาหรือนักวิชาการในการสร้างผลงาน รางวัลดังกล่าวจะเป็นรางวัลที่ทาง
UGC เป็นผู้ตัดสิน สาหรับการขอทุนไปสร้างผลงานนั้น ผู้ขอรับทุนจะต้องเขียนรายงาน รายงานความ
คืบหน้าในงานวิจัยของตนเพื่อแสดงความก้าวหน้าของงานวิจัยให้แก่ UGC (RGC, 2007)
6. Hong Kong University Multi-Institution
มหาวิทยาลัยฮ่องกง เป็นสถาบันการศึกษาที่เก่าแก่ บนเกาะฮ่องกง ซึ่งเป็นเขตบริหารพิเศษของ
สาธารณรัฐประชาชนจีน คณะแรกที่เปิดสอน คือแพทยศาสตร์ ซึ่งศิษย์เก่าที่มีชื่อเสียงโด่งดังคือ ซุนยัด
เซน ประธานาธิบดีคนแรกของสาธารณรัฐประชาชนจีน คาขวัญของมหาวิทยาลัยคือ "Sapientia et
Virtus" อันเป็นภาษาละติน แปลว่า "ปัญญาและคุณธรรม" ดาเนินการสอนด้วยภาษาอังกฤษ
(ผู้จัดการออนไลน์, 2010)
Harnard, S. (2008) ได้ให้ข้อมูลเกี่ยวกับภารกิจในการจัดทาคลังจัดเก็บเอกสาร ของ
มหาวิทยาลัยฮ่องกงว่า แหล่งเงินทุนที่ให้ทุนในการวิจัยในฮ่องกงได้แก่ UGC และ RGC ซึ่งเป็นแหล่ง
เงินทุนขนาดใหญ่ที่ให้ทุนแก่นักวิชาการ นักศึกษาปริญญาโทและผู้ที่สนใจทาวิจัย ซึ่ง UGC และ RGC
นี้จะเป็นผู้ที่ให้ทุนในการทาวิจัยโดยผ่านทางมหาวิทยาลัย ซึ่งทางมหาวิทยาลัยก็ได้ออกภารกิจในการ
จัดทาคลังจัดเก็บเอกสาร ขึ้นเพื่อให้เป็นมาตรฐานและเพื่อให้ผลงานของบุคคลในประเทศได้ใช้
ประโยชน์สูงสุด
ภารกิจในการจัดทาเอกสาร OA ของ Hong Kong University Multi-Institution มีรายละเอียด
ดังนี้
1. สนับสนุนให้นักวิจัยนาผลงานของตนไปเผยแพร่เป็น OA อาจจะนาไปตีพิมพ์กับ
สานักพิมพ์ที่รับทาผลงานให้เป็น OA หรือเผยแพร่ในคลังจัดเก็บเอกสารของตนหรือสถาบัน เพื่อให้มี
จานวนการอ้างถึงสูงขึ้น เนื่องจากสามารถเข้าถึงและนาไปใช้ได้สะดวกและรวดเร็ว ทาให้ ค่า H-index
หรือ G-index สูงขึ้นตามไปด้วย ซึ่งเป็นหน่วยวัดที่สามารถแสดงถึงคุณภาพของผู้เขียนบทความได้
2. หากผลงานวิจัยหรือเอกสารทางการวิจัยดังกล่าวยังไม่สมบูรณ์หรือยังไม่สามารถ
นามาทาเป็นเอกสาร OA ได้ เนื่องจากต้องการเงินทุนเพิ่มเติมให้เจ้าของผลงานนารายละเอียดเพิ่มเติม
ของผลงานมาส่งให้มหาวิทยาลัย เพราะมหาวิทยาลัยจะยอมรับทั้งเอกสารฉบับต้น (Preprint) หรือ
เอกสารฉบับสมบูรณ์ (Postprint) สาหรับการขอเงินทุน นักวิจัยหรือผู้ที่ต้องการทาวิจัยสามารถขอ
เงินทุนได้จาก RGC ซึ่งเป็นผู้ให้ทุนสนับสนุนผู้ทาวิจัย โดยมีวงเงินจากัด 3,000 US$ ตามที่ Wellcome
Trust ได้กาหนดวงเงินสูงสุดในการให้ทุนไว้
2-D9
3. สาหรับหนังสือ หรือตาราที่ไม่มีลิขสิทธิ์ ให้เจ้าของผลงานนารายละเอียดส่วน
เพิ่มเติมของเนื้อหาภายใน และรายละเอียดของเจ้าของผลงานนาไปให้ทางมหาวิทยาลัย เพื่อให้ทาง
มหาวิทยาลัยนาผลงานไปเผยแพร่ในคลังเอกสาร OA ของมหาวิทยาลัย ซึ่งผลงานดังกล่าวจะถูกจัด
ประเภท และหมวดหมู่ที่เหมาะสม เพื่อความสะดวกในการค้นหาหรือเข้าใช้ของผู้ใช้
4. งานวิจัยหรือผลงานทางวิชาการที่เจ้าของผลงานจะนามาเผยแพร่ในคลังจัดเก็บ
เอกสาร จะต้องเป็นผลงานที่เป็นดิจิทัลแล้วเท่านั้น ไม่ว่าจะเป็นเอกสารฉบับต้นหรือเอกสารฉบับ
สมบูรณ์ เพราะทางผู้จัดทาคลังจัดเก็บเอกสาร จะไม่รับเอกสารที่เป็นฉบับปรับปรุง และระหว่างที่
เจ้าของผลงานทางานวิจัย จะต้องมีการรายงานความคืบหน้าของผลงานเป็นระยะต่อ RGC องค์กรผู้ให้
ทุน
ตารางที่ 1 แสดงการเปรียบเทียบภารกิจในการจัดทาเอกสาร OA ของมหาวิทยาลัย
มหาวิทยาลัย
(University)
คลังจัดเก็บ
เอกสาร
(Institutional
Repositories)
การประเมิน
คุณภาพ
(peer-reviewed)
การเผยแพร่ วิธีการส่ง
เอกสาร OA
สิทธิในการ
เผยแพร่เอกสาร
OA
Harvard
University
Digital Access
to Scholarship
at Harvard-
DASH
มหาวิทยาลัยเป็นผู้
ประเมินคุณภาพ
บุคคลทั่วไป
สามารถ
สืบค้น และ
เข้าใช้ได้
สามารถส่ง
สาเนาให้กับ
ทางคณะได้
โดยตรง
สามารถนา
บทความหรือ
ผลงานทาง
วิชาการไป
เผยแพร่ได้
Oxford
University
Oxford Journal มหาวิทยาลัยเป็นผู้
ประเมินคุณภาพ
สามารถเข้า
ใช้ได้ส่วน
หนึ่ง
อัพโหลดไฟล์
เอกสารลงใน
คลังจัดเก็บ
เอกสารด้วย
ตนเอง
เจ้าของผลงานจะ
ไม่มีสิทธิ์นา
บทความ หรือ
ผลงานต่างๆไป
เผยแพร่
2-D10
มหาวิทยาลัย
(University)
คลังจัดเก็บ
เอกสาร
(Institutional
Repositories)
การประเมิน
คุณภาพ
(peer-reviewed)
การเผยแพร่ วิธีการส่ง
เอกสาร OA
สิทธิในการ
เผยแพร่เอกสาร
OA
University of
Southampton :
School of
Electronics and
Computer
Science
ECS Eprints
Repository
นักวิชาการ และ
ผู้เชี่ยวชาญ
บุคคลทั่วไป
สามารถ
สืบค้น และ
เข้าใช้ได้
ส่งให้กับทาง
มหาวิทยาลัย
ได้โดยตรง
ในบางกรณี
สานักพิมพ์จะ
อนุญาตให้นางาน
ฉบับสมบูรณ์และ
ต้นฉบับ มาจัดเก็บ
เป็น Self-
Archiving ได้
Queensland
University of
Technology
QUT ePrints ผู้เชี่ยวชาญและ
ผู้สนับสนุน
ทางด้านการวิจัย
บุคคลทั่วไป
สามารถ
สืบค้น และ
เข้าใช้ได้
ส่งให้กับทาง
มหาวิทยาลัย
ได้โดยตรง
สามารถนาไป
เผยแพร่เป็น Self-
Archiving ได้แต่
ต้องเชื่อมโยงมาที่
คลัง QUT ePrints
Hong Kong
University
Multi-Institution
Hong Kong
Institutional
Repositories
มหาวิทยาลัยเป็นผู้
ประเมินคุณภาพ
เสียค่าใช้จ่าย
ในการ
สมัคร
สมาชิก
ส่งให้กับทาง
มหาวิทยาลัย
ได้โดยตรง
ไม่สามารถนาไป
เผยแพร่ได้
2-D11
ภารกิจในการจัดทาเอกสารเปิดสาธารณะขององค์กรผู้ให้ทุนในการทาคลังเอกสาร
องค์กรผู้ให้ทุนเป็นองค์กรที่มีความสาคัญต่อการจัดทาเอกสาร OA เป็นอย่างมาก เนื่องจากเป็น
ผู้สนับสนุน และให้ทุนแก่ผู้ที่ทาวิจัยหรือต้องการมีผลงานทางวิชาการ โดยในการให้ทุนนั้นในปัจจุบัน
ผู้ให้ทุนจะมีการจัดทานโยบายในการจัดทาเอกสาร OA เช่นกัน เพื่อกาหนดเงื่อนไขและข้อกาหนดใน
การให้ทุน โดยในบทความนี้จะยกตัวอย่างองค์กรผู้ให้ทุน 2 แห่ง ได้แก่ National Institutes of Health
และ Wellcome Trust ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้
1. National Institutes of Health-NIH
ภาพที่ 1 หน้าโฮมเพจของ NIH
NIH เป็นองค์กรขนาดใหญ่ที่ให้ทุนในการทาวิจัยทางด้านวิทยาศาสตร์ ในการให้ทุนนั้น เป็น
การให้ทุนเพื่อให้งานวิจัยดังกล่าวมาเผยแพร่เป็นเอกสาร OA ในรูปแบบดิจิทัล ฐานข้อมูลของสถาบัน
สุขภาพแห่งชาติที่ทาการจัดเก็บข้อมูลหรืองานวิจัย คือ PubMed ซึ่งเป็นฐานข้อมูลทางด้านการแพทย์
ให้บริการวารสาร และเอกสารฉบับเต็มทางการแพทย์ออนไลน์โดยไม่เสียค่าธรรมเนียม นอกจากนั้น
PubMed ยังสามารถเชื่อมโยงไปยังฐานข้อมูลทางวิทยาศาสตร์อื่นๆ ได้เช่น GenBank ซึ่งเป็นฐานขอมูล
ที่เก็บรวบรวมขอมูลทางพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิตตางๆ ทั้งพืช สัตว และจุลินทรีย ในการนาผลงาน
ทางการวิจัยเข้าสู่ฐานข้อมูล PubMed มีวัตถุประสงค์ คือทาให้งานวิจัยนั้นเป็นที่รู้จักมากขึ้น เพราะ
สามารถเข้าถึงข้อมูลได้ง่าย เนื่องจากฐานข้อมูลดังกล่าวไม่มีการจากัดกลุ่มผู้ใช้ และไม่คิดค่า
ค่าธรรมเนียม โดย NIH ได้ประกาศนโยบายในการสนับสนุนการทาบทความที่เกิดจากการวิจัยในวันที่
2-D12
2 พฤษภาคม 2005 ซึ่งนโยบายจะนาไปใช้กับสื่อสิ่งพิมพ์ที่ได้รับการตรวจสอบจากผู้ทรงคุณวุฒิแล้ว
(peer-reviewed) (NIH, 2009)
ภารกิจในการจัดทาเอกสาร OA ของ NIH มีรายละเอียดดังนี้
1. บทความที่ทาง NIH จะนามาทาเป็นเอกสาร OA ได้มีข้อกาหนดดังนี้
1.1 เป็นบทความที่ได้รับการประเมินคุณภาพจากนักวิชาการ (peer-reviewed)
1.2 เป็นบทความที่ได้รับการเผยแพร่ลงในวารสาร
1.3 บทความจะต้องเป็นบทความที่ใช้ภาษาสากล ไม่รวมถึงภาษาละติน เช่น
ภาษารัสเซียและภาษาญี่ปุ่น
2. นโยบายนี้ไม่รองรับเอกสารประเภทวิทยานิพนธ์ หนังสือเรียน และรายงานการ
ประชุม
3. บทความที่จะสามารถนามาฝากไว้ที่ฐานข้อมูลของ NIH ได้นั้นจะต้องเป็นบทความ
ที่ได้รับการตรวจสอบแล้ว ซึ่งบทความที่จะนามาลงฐานข้อมูลมีอยู่ 2 ประเภทคือ
3.1 บทความต้นฉบับที่ได้รับการประเมินคุณภาพแล้ว (Final peer-reviewed
manuscript) บทความประเภทนี้จะได้รับการตรวจสอบ และเป็นบทความได้รับการยอมรับให้ตีพิมพ์ใน
วารสาร
3.2 บทความฉบับสมบูรณ์ (Final published article) เป็นบทความที่ได้รับการ
ประเมินคุณภาพ หรือได้รับการแก้ไข ปรับเปลี่ยนสานวนภาษาให้มีความสมบูรณ์ ถูกต้องตามความเห็น
ของผู้ทรงคุณวุฒิพร้อมเผยแพร่ได้ทันที สาหรับ NIH จะรับเฉพาะบทความประเภทนี้เท่านั้น
4. สาหรับผู้ที่ขอทุนของ NIH ไปเพื่อทาการวิจัยหรือเพื่อสร้างผลงานทางวิชาการ
จะต้องนาผลงานมาลงในฐานข้อมูลเพื่อเผยแพร่เป็นเอกสาร OA
5. บทความหรือผลงานทางวิชาการจะถูกเผยแพร่ยังฐานข้อมูล Pub Med Central
(PMC) ออนไลน์ ซึ่งได้รับการดูแลโดย NIH สาหรับการให้บริการของฐานข้อมูล PMC ผู้ใช้บริการ
สามารถเข้าถึงฐานข้อมูลหรือทาสาเนาบทความทางวิชาการโดยไม่เสียค่าใช้จ่าย
6. หลังจากนาบทความหรือผลงานวิชาการมาฝากไว้ที่ NIH ผลงานจะถูกเผยแพร่เป็น
เอกสาร OA ในทันทีหรือถูกนาออกเผยแพร่ไม่เกิน 12 เดือนหลังจากผลงานถูกนามาลงในฐานข้อมูล
(NIH, 2009)
2. Wellcome Trust
2-D13
ภาพที่ 2 หน้าโฮมเพจของ Wellcome Trust
Wellcome Trust เป็นองค์กรเอกชนที่ให้การสนับสนุนและให้เงินทุนในทาเอกสาร OA ซึ่ง
Wellcome Trust นับว่าเป็นองค์กรผู้ให้ทุนที่ใหญ่ที่สุดในประเทศอังกฤษที่ให้ทุนสาหรับงานวิจัย
ทางด้านการแพทย์โดยการจัดทาเอกสาร OA นั้นมีวัตถุประสงค์เพื่อเผยแพร่งานวิจัย ตามพันธกิจของ
องค์กรที่จะช่วยให้เกิดผู้เชี่ยวชาญการวิจัยทางด้านการแพทย์และชีววิทยา ผลงานวิจัยนี้เป็นความคิดและ
ความรู้ใหม่ที่มีความน่าเชื่อถือและได้รับการตรวจสอบจากนักวิชาการแล้ว ซึ่ง Wellcome Trust เชื่อว่า
การนาบทความมาเผยแพร่ให้บุคคลทั่วไปได้อ่านโดยไม่เสียค่าใช้จ่ายบนอินเทอร์เน็ต จะเป็นวิธีที่ดีที่สุด
ที่จะทาให้ผู้ใช้สามารถข้าถึงบทความได้อย่างสะดวก อีกทั้งองค์กรยังมีนโยบายในการให้เงินทุน
สนับสนุนผู้ทาการวิจัยทุกประเภท ซึ่งเป็นประโยชน์ต่อผู้ที่ต้องการทุนในการทางานวิจัย แต่การรับ
เอกสารเพื่อนาเข้าในฐานข้อมูลของ Wellcome Trust จะเปิดรับเฉพาะเอกสารทางด้านการวิจัยหรือ
งานวิจัยเท่านั้น โดยจะสามารถเข้าถึงข้อมูลการวิจัยได้จากฐานข้อมูล PMC ซึ่งเป็นฐานข้อมูลทางด้าน
การแพทย์ที่น่าเชื่อถือและเป็นที่ยอมรับในสากล (Wellcome trust, n.d.)
พันธกิจ
สนับสนุนการทาวิจัยทางการแพทย์เพื่อนามาซึ่งแนวคิดใหม่และก่อให้เกิดวัฒนธรรมการวิจัย
ภารกิจในการจัดทาเอกสาร OA ของ Wellcome Trust มีรายละเอียดดังนี้
2-D14
1. ผู้ที่ได้รับทุนในการทาวิจัยจะต้องนาผลงานวิจัยกลับมาให้ทาง Wellcome Trust
เผยแพร่เป็นเอกสาร OA
2. บทความของผู้ได้รับทุนจะถูกเผยแพร่ในฐานข้อมูล PMC และ UK PubMed
Central (UK PMC) การนาเอกสารต้นฉบับต้องอยู่ในรูปแบบดิจิทัลและให้ Wellcome Trust ตรวจสอบ
ก่อน และจะนาไปเผยแพร่ยังฐานข้อมูลที่กล่าวมาภายในเวลา 6 เดือน หลังจากเจ้าของผลงานส่งผลงาน
ฉบับสมบูรณ์ (Postprint) กลับมา
3. ผู้ขอรับทุนสามารถขอรับทุนเพิ่มเติมได้ โดยทาง Wellcome Trust จะให้เงินทุน
เพิ่มเติมผ่านสถาบันของผู้รับทุน เพื่อประโยชน์ต่อการแสวงหาความรู้อันจะนามาซึ่งความรู้ที่มีคุณภาพ
และ ก่อให้เกิดความน่าเชื่อถือของสถาบัน
4. การเผยแพร่ข้อมูลจะเป็นการเผยแพร่เอกสารฉบับเต็มที่ผู้ใช้สามารถคัดลอกได้
อย่างอิสระภายใต้สัญญาอนุญาต ซึ่งจะต้องมีการอ้างถึงเมื่อนาบทความหรือข้อมูลทางวิชาการไปใช้
5. หากผลงานที่ผู้รับทุนนามาฝากเป็นผลงานที่มีคุณภาพ และมีผู้อ้างถึงมาก ทาง
องค์กรจะมีการพิจารณาให้ทุนแก่เจ้าของผลงานคนดังกล่าวในคราวต่อไป
ซึ่งนักวิจัยจะได้รับผลประโยชน์สองประการ ประการแรก คือ ผลงานของผู้เขียนจะได้รับการ
เผยแพร่ลงในฐานข้อมูลเอกสาร OA ออนไลน์ ซึ่งเป็นสื่อที่ผู้อ่านสามารถเข้าถึงได้ง่ายและไม่เสีย
ค่าใช้จ่าย ประการที่สอง เมื่อผลงานของผู้เขียนได้รับการอ้างถึงบ่อยครั้งจะทาให้บทความของผู้เขียนมี
ความน่าเชื่อถือมากยิ่งขึ้น และได้รับทุนต่อเนื่อง (Wellcome trust, n.d.)
ตารางที่ 1 แสดงการเปรียบเทียบข้อแตกต่างของภารกิจในการจัดทาเอกสาร OA ของ NIH และ
Wellcome Trust
NIH Wellcome Trust
1. ให้ทุนแก่ผู้วิจัย $ 500,000 เพียงครั้งเดียว 1. สามารถขอทุนเพิ่มได้และหากผลงานของ
ผู้วิจัยมีคุณภาพและมีผู้อ้างถึงมาก จะได้รับ
การพิจารณาให้รับทุนอย่างต่อเนื่อง
2. ผู้ที่ได้รับทุนจะต้องรายงานความคืบหน้าของ
ผลงานเป็นระยะต่อ NIH
2. บทความวิชาการ หรือบทความงานวิจัย ทาง
องค์กรเป็นผู้ประเมินและตรวจสอบบทความเอง
2-D15
NIH Wellcome Trust
3. บทความจะต้องได้รับการประเมินและ
ตรวจสอบก่อนที่นามาส่งให้กับ NIH
3. บทความจะได้รับการเผยแพร่ภายใน 6 เดือน
หลังจากผลงานหลังจากส่งผลงานให้กับ
Wellcome Trust แล้ว
4. หลังจากนาบทความหรือผลงานวิชาการมา
ฝากไว้ที่ NIH ผลงานจะถูกเผยแพร่เป็น
เอกสาร OA ในทันทีหรือถูกนาออกเผยแพร่
ไม่เกิน 12 เดือนหลังจากผลงานถูกนามาลงใน
ฐานข้อมูล
5. บทความจะต้องเป็นบทความที่ใช้ภาษาสากล
ไม่รวมถึงภาษาละติน เช่น ภาษารัสเซียและ
ภาษาญี่ปุ่น
ประเทศไทยยังไม่มีองค์กรผู้จัดทาเอกสาร OA จะมีก็แต่การจัดทาคลังความรู้หรือคลังเอกสาร
ยกตัวอย่างเช่น คลังปัญญาจุฬาฯเพื่อประเทศไทย และฐานข้อมูลวิจัยอิเล็กทรอนิกส์ของ
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ซึ่งการจัดทาคลังความรู้ของมหาวิทยาลัยในประเทศไทยนั้น บทความหรือ
เอกสารทางวิชาการไม่ได้เผยแพร่ต่อสาธารณะ เหมือนการจัดทาเอกสาร OA ของต่างประเทศ ซึ่งใน
การทาเอกสาร OA นั้นจะมีผลต่อลาดับของมหาวิทยาลัย จากการจัดลาดับของ Webometrics ซึ่งเป็น
เว็บไซต์สารวจข้อมูลด้านวิชาการที่มีบนเว็บไซต์ของมหาวิทยาลัย (รุจเรขา วิทยาวุฑฒิกุลุ, 2552)
โดยมหาวิทยาลัยที่มีข้อมูลทางวิชาการมากที่สุดของเอเชีย คือ ไต้หวัน พบว่ามหาวิทยาลัยเชียงใหม่อยู่
ลาดับที่ 75 ซึ่งถ้ามีการสนับสนุนให้ทาเอกสาร OA ก็จะทาให้เอกสารทางวิชาการได้ถูกนาไปไว้ใน
เว็บไซต์มากยิ่งขึ้น นอกจากนี้ทางมหาวิทยาลัยก็ควรจะมีระบบ Interoperability ซึ่งเป็นวิธี หรือแนวทาง
ที่จะทาให้ข้อมูลในระบบ หรือคอมโพเนนท์ต่าง ๆ สามารถพูดคุยกันได้ เพราะในโลกปัจจุบัน ระบบ
ขององค์กรหนึ่ง ๆ อาจซื้อมาจากหลายบริษัทแล้วมาต่อเชื่อมเข้าด้วยกัน แนวทางของ Interoperability
คือระบบไม่จาเป็นต้องมาจากที่เดียวกัน แต่ต้องสามารถคุยกันได้ติดต่อสื่อสารกันได้ แลกเปลี่ยนข้อมูล
กันได้ (ผู้จัดการออนไลน์, 2549) ซึ่ง Interoperability ในทางของการใช้เอกสาร OA เครื่องมือนี้มีส่วน
สาคัญ เพราะจะช่วยให้คลังเอกสารของมหาวิทยาลัยเป็นคลังจัดเก็บเอกสาร OA อย่างแท้จริง เนื่องจาก
Interoperability ช่วยให้ผู้ใช้สามารถดึงข้อมูลทางบรรณานุกรม จากบทความไปได้ อาจเป็นส่วนที่ช่วย
2-D16
ให้การจัดอันดับของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่สูงขึ้นตามไปด้วย อีกทั้งยังเป็นการส่งเสริมการศึกษา และ
พัฒนาความรู้ของคนในประเทศ จึงควรมีการจัดทาเอกสาร OA ซึ่งองค์กรหรือหน่วยงานที่ควรมีการ
จัดทาเอกสาร OA คือ มหาวิทยาลัย เพราะนอกจากเป็นการส่งเสริมการศึกษาแล้ว การจัดทาเอกสาร OA
ยังจะช่วยให้ค่า Impact Factors ของอาจารย์หรือนักวิชาการสูงขึ้นอีกด้วย (Ranking Web of World
Universities, 2011)
2-D17
บรรณานุกรม
ผู้จัดการออนไลน์. (2549). เจาะใจยักษ์ใหญ่เมื่อต้องการ “ทางานร่วมกัน” ไมโครซอฟท์กับ
แนวคิด Interoperability. ค้นจาก http://www.ee-part.com/news/4340
ผู้จัดการออนไลน์. (2010). ม.ฮ่องกง สุดยอดมหาวิทยาลัยในเอเชีย จีน เจ๋ง ติดมากสุด 4 ใน 10. ค้นจาก
http://community.momypedia.com/webboard_topic.aspx?tid=549883
มหาวิทยาลัยออกซฟอร์ด. (ม.ป.ป.) ค้นจาก http://th.wikipedia.org/
มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด. (ม.ป.ป.). ค้นจาก http://th.wikipedia.org/
รุจเรขา วิทยาวุฑฒิกุลุ. (2552). การจัดอันดับมหาวิทยาลัยด้วย Webometrics : ข้อเท็จจริงที่ควรทราบ.
ค้นจาก http://www.iqraforum.com/forum/index.php?topic=2509.0
Eastman, G. (2008). Open access and the Harvard FAS deposit mandate. Retrieved from
http://www.rowland.harvard.edu/resources/library/images/annual_08.pdf
Harnard, S. (2008). China's first OA mandate proposal: Hong Kong, Multi-Institutional.
Retrieved from http://openaccess.eprints.org/index.php?/archives/477-Chinas-First-OA-
Mandate-Proposal-Hong-Kong,-Multi-Institutional.html
National Institutes of Health Public Access. (n.d.). Determine applicability. Retrieved from
http://publicaccess.nih.gov/determine_applicability.htm
National Institutes of Health Public Access. (2009). Frequently asked questions about the NIH
Public Access Policy. Retrieved from http://publicaccess.nih.gov/FAQ.htm#c6
Open access for Hong Kong: The HK Open access committee. (n.d.). Retrieved from
http://openaccess.hk/index.html
Oxford University Press. (2010). Author self-archiving policy. Retrieved from
http://www.oxfordjournals.org/access_purchase/self-archiving_policya.html
Suber, P. (2008). What is open access. Retrieved from www.ip.qut.edu.au/files/
ROARMAP. (2010). ROARMAP (Registry of Open access repository material archiving policies).
Retrieved from http://www.eprints.org/openaccess/policysignup/
The Regents of the University of California. (2010). NIH mandate. Retrieved from
http://www.lib.berkeley.edu/scholarlycommunication/nih_mandate.html
2-D18
The Research Grants Council. (2007). About the RGC. Retrieved from
http://www.ugc.edu.hk/eng/rgc/about/about.htm
Queensland University of Technology. (2010). QUT ePrints repository for research output.
Retrieved from http://www.mopp.qut.edu.au/F/F_01_03.jsp
University Grant Committee. (2007). About the UGC. Retrieved from
http://www.ugc.edu.hk/eng/ugc/about/about.htm
Wellcome Trust. (n.d.) Open access policy. Retrieved from http://www.wellcome.ac.uk

Mais conteúdo relacionado

Destaque

1 1 pedagogy (educ venue)
1 1 pedagogy (educ venue)1 1 pedagogy (educ venue)
1 1 pedagogy (educ venue)nelgiles
 
What can Open Access offer me as a teacher?: A guide to Open Access and to ed...
What can Open Access offer me as a teacher?: A guide to Open Access and to ed...What can Open Access offer me as a teacher?: A guide to Open Access and to ed...
What can Open Access offer me as a teacher?: A guide to Open Access and to ed...Stian Håklev
 
การประยุกต์เทคโนโลยีอุบัติใหม่เพื่อการศึกษา Emerging Technology for Education
การประยุกต์เทคโนโลยีอุบัติใหม่เพื่อการศึกษา Emerging Technology for Educationการประยุกต์เทคโนโลยีอุบัติใหม่เพื่อการศึกษา Emerging Technology for Education
การประยุกต์เทคโนโลยีอุบัติใหม่เพื่อการศึกษา Emerging Technology for EducationSurapon Boonlue
 
How the Land Tenure Project’s Participatory Mapping Manual Provides Land Open...
How the Land Tenure Project’s Participatory Mapping Manual Provides Land Open...How the Land Tenure Project’s Participatory Mapping Manual Provides Land Open...
How the Land Tenure Project’s Participatory Mapping Manual Provides Land Open...Neil Sorensen
 
Lao Open Data Experiences
Lao Open Data ExperiencesLao Open Data Experiences
Lao Open Data ExperiencesNeil Sorensen
 
การบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการบริหารการศึกษา
การบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการบริหารการศึกษาการบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการบริหารการศึกษา
การบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการบริหารการศึกษาSurapon Boonlue
 
Open Educational Resources and Open Access: Promise or Peril for Higher Educa...
Open Educational Resources and Open Access: Promise or Peril for Higher Educa...Open Educational Resources and Open Access: Promise or Peril for Higher Educa...
Open Educational Resources and Open Access: Promise or Peril for Higher Educa...Terry Anderson
 
การปรับเว็บให้แสดงผลสีเทา
การปรับเว็บให้แสดงผลสีเทาการปรับเว็บให้แสดงผลสีเทา
การปรับเว็บให้แสดงผลสีเทาBoonlert Aroonpiboon
 
Open Access and Open Data in Vietnam Current Status and Challenges
Open Access and Open Data in Vietnam Current Status and Challenges Open Access and Open Data in Vietnam Current Status and Challenges
Open Access and Open Data in Vietnam Current Status and Challenges Neil Sorensen
 
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อจัดเก็บฐานข้อมูลทรัพยากรจดหมายเหตุและพิพิธภัณฑ์
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อจัดเก็บฐานข้อมูลทรัพยากรจดหมายเหตุและพิพิธภัณฑ์การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อจัดเก็บฐานข้อมูลทรัพยากรจดหมายเหตุและพิพิธภัณฑ์
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อจัดเก็บฐานข้อมูลทรัพยากรจดหมายเหตุและพิพิธภัณฑ์Boonlert Aroonpiboon
 
Synectics Model
Synectics ModelSynectics Model
Synectics Modelstudentofb
 
Smart Learning มิติใหม่ในยุคการศึกษา 4.0
Smart Learning  มิติใหม่ในยุคการศึกษา 4.0Smart Learning  มิติใหม่ในยุคการศึกษา 4.0
Smart Learning มิติใหม่ในยุคการศึกษา 4.0Surapon Boonlue
 
Digital Economy Plan of Thailand : Slide
Digital Economy Plan of Thailand : SlideDigital Economy Plan of Thailand : Slide
Digital Economy Plan of Thailand : SlideBoonlert Aroonpiboon
 

Destaque (20)

1 1 pedagogy (educ venue)
1 1 pedagogy (educ venue)1 1 pedagogy (educ venue)
1 1 pedagogy (educ venue)
 
What can Open Access offer me as a teacher?: A guide to Open Access and to ed...
What can Open Access offer me as a teacher?: A guide to Open Access and to ed...What can Open Access offer me as a teacher?: A guide to Open Access and to ed...
What can Open Access offer me as a teacher?: A guide to Open Access and to ed...
 
การประยุกต์เทคโนโลยีอุบัติใหม่เพื่อการศึกษา Emerging Technology for Education
การประยุกต์เทคโนโลยีอุบัติใหม่เพื่อการศึกษา Emerging Technology for Educationการประยุกต์เทคโนโลยีอุบัติใหม่เพื่อการศึกษา Emerging Technology for Education
การประยุกต์เทคโนโลยีอุบัติใหม่เพื่อการศึกษา Emerging Technology for Education
 
How the Land Tenure Project’s Participatory Mapping Manual Provides Land Open...
How the Land Tenure Project’s Participatory Mapping Manual Provides Land Open...How the Land Tenure Project’s Participatory Mapping Manual Provides Land Open...
How the Land Tenure Project’s Participatory Mapping Manual Provides Land Open...
 
Lao Open Data Experiences
Lao Open Data ExperiencesLao Open Data Experiences
Lao Open Data Experiences
 
การบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการบริหารการศึกษา
การบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการบริหารการศึกษาการบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการบริหารการศึกษา
การบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการบริหารการศึกษา
 
Open Educational Resources and Open Access: Promise or Peril for Higher Educa...
Open Educational Resources and Open Access: Promise or Peril for Higher Educa...Open Educational Resources and Open Access: Promise or Peril for Higher Educa...
Open Educational Resources and Open Access: Promise or Peril for Higher Educa...
 
Digital Economy Plan of Thailand
Digital Economy Plan of ThailandDigital Economy Plan of Thailand
Digital Economy Plan of Thailand
 
oss-freeware-isar
oss-freeware-isaross-freeware-isar
oss-freeware-isar
 
Greenstone for ISAR
Greenstone for ISARGreenstone for ISAR
Greenstone for ISAR
 
Greenstone
GreenstoneGreenstone
Greenstone
 
Digital Economy Plan of Thailand
Digital Economy Plan of ThailandDigital Economy Plan of Thailand
Digital Economy Plan of Thailand
 
การปรับเว็บให้แสดงผลสีเทา
การปรับเว็บให้แสดงผลสีเทาการปรับเว็บให้แสดงผลสีเทา
การปรับเว็บให้แสดงผลสีเทา
 
Research r4i
Research r4iResearch r4i
Research r4i
 
Open Access and Open Data in Vietnam Current Status and Challenges
Open Access and Open Data in Vietnam Current Status and Challenges Open Access and Open Data in Vietnam Current Status and Challenges
Open Access and Open Data in Vietnam Current Status and Challenges
 
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อจัดเก็บฐานข้อมูลทรัพยากรจดหมายเหตุและพิพิธภัณฑ์
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อจัดเก็บฐานข้อมูลทรัพยากรจดหมายเหตุและพิพิธภัณฑ์การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อจัดเก็บฐานข้อมูลทรัพยากรจดหมายเหตุและพิพิธภัณฑ์
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อจัดเก็บฐานข้อมูลทรัพยากรจดหมายเหตุและพิพิธภัณฑ์
 
Synectics Model
Synectics ModelSynectics Model
Synectics Model
 
Smart Learning มิติใหม่ในยุคการศึกษา 4.0
Smart Learning  มิติใหม่ในยุคการศึกษา 4.0Smart Learning  มิติใหม่ในยุคการศึกษา 4.0
Smart Learning มิติใหม่ในยุคการศึกษา 4.0
 
Digital Economy Plan of Thailand : Slide
Digital Economy Plan of Thailand : SlideDigital Economy Plan of Thailand : Slide
Digital Economy Plan of Thailand : Slide
 
20170213 digital-archives
20170213 digital-archives20170213 digital-archives
20170213 digital-archives
 

Semelhante a Open Access Article by CMU Students

การทำวิทยานิพนธ์ บทที่ 1 03-thesis_manual.pdf
การทำวิทยานิพนธ์ บทที่ 1 03-thesis_manual.pdfการทำวิทยานิพนธ์ บทที่ 1 03-thesis_manual.pdf
การทำวิทยานิพนธ์ บทที่ 1 03-thesis_manual.pdfDadaPiggygirl
 
มาตรฐานการเผยแพร่ผลงานวิจัยและผลงานทางวิชาการ.pdf
มาตรฐานการเผยแพร่ผลงานวิจัยและผลงานทางวิชาการ.pdfมาตรฐานการเผยแพร่ผลงานวิจัยและผลงานทางวิชาการ.pdf
มาตรฐานการเผยแพร่ผลงานวิจัยและผลงานทางวิชาการ.pdfTassanee Lerksuthirat
 
ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ขอบข่ายและประเภทของโครงงานขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ขอบข่ายและประเภทของโครงงานwichaya222
 
G.14 (1.หนังสือ)
G.14 (1.หนังสือ)G.14 (1.หนังสือ)
G.14 (1.หนังสือ)Asmataa
 
G.14 (1.หนังสือ)
G.14 (1.หนังสือ)G.14 (1.หนังสือ)
G.14 (1.หนังสือ)Asmataa
 
ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์Mon Tanawat
 
ขั้นตอนการพัฒนาโครงงาน
ขั้นตอนการพัฒนาโครงงานขั้นตอนการพัฒนาโครงงาน
ขั้นตอนการพัฒนาโครงงานpharthid
 
Cแนะแนว
CแนะแนวCแนะแนว
Cแนะแนวyutict
 
วิเคราะห์เว็บ 5 เว็บ
วิเคราะห์เว็บ 5 เว็บวิเคราะห์เว็บ 5 เว็บ
วิเคราะห์เว็บ 5 เว็บAriaty KiKi Sang
 
วิเคราะห์เว็บ 5 เว็บ
วิเคราะห์เว็บ 5 เว็บวิเคราะห์เว็บ 5 เว็บ
วิเคราะห์เว็บ 5 เว็บAriaty KiKi Sang
 
9789740329374
97897403293749789740329374
9789740329374CUPress
 
กิจกรรมที่ 4
กิจกรรมที่ 4 กิจกรรมที่ 4
กิจกรรมที่ 4 Matee Chaisaowong
 

Semelhante a Open Access Article by CMU Students (20)

Open Access for Education
Open Access for EducationOpen Access for Education
Open Access for Education
 
การทำวิทยานิพนธ์ บทที่ 1 03-thesis_manual.pdf
การทำวิทยานิพนธ์ บทที่ 1 03-thesis_manual.pdfการทำวิทยานิพนธ์ บทที่ 1 03-thesis_manual.pdf
การทำวิทยานิพนธ์ บทที่ 1 03-thesis_manual.pdf
 
มาตรฐานการเผยแพร่ผลงานวิจัยและผลงานทางวิชาการ.pdf
มาตรฐานการเผยแพร่ผลงานวิจัยและผลงานทางวิชาการ.pdfมาตรฐานการเผยแพร่ผลงานวิจัยและผลงานทางวิชาการ.pdf
มาตรฐานการเผยแพร่ผลงานวิจัยและผลงานทางวิชาการ.pdf
 
ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ขอบข่ายและประเภทของโครงงานขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
 
About Open Access
About Open AccessAbout Open Access
About Open Access
 
ใบงาน 3
ใบงาน 3ใบงาน 3
ใบงาน 3
 
G.14 (1.หนังสือ)
G.14 (1.หนังสือ)G.14 (1.หนังสือ)
G.14 (1.หนังสือ)
 
K4
K4K4
K4
 
G.14 (1.หนังสือ)
G.14 (1.หนังสือ)G.14 (1.หนังสือ)
G.14 (1.หนังสือ)
 
ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
 
ขั้นตอนการพัฒนาโครงงาน
ขั้นตอนการพัฒนาโครงงานขั้นตอนการพัฒนาโครงงาน
ขั้นตอนการพัฒนาโครงงาน
 
Cแนะแนว
CแนะแนวCแนะแนว
Cแนะแนว
 
Com
ComCom
Com
 
V 267
V 267V 267
V 267
 
วิเคราะห์เว็บ 5 เว็บ
วิเคราะห์เว็บ 5 เว็บวิเคราะห์เว็บ 5 เว็บ
วิเคราะห์เว็บ 5 เว็บ
 
วิเคราะห์เว็บ 5 เว็บ
วิเคราะห์เว็บ 5 เว็บวิเคราะห์เว็บ 5 เว็บ
วิเคราะห์เว็บ 5 เว็บ
 
กิจกรรมที่ 4
กิจกรรมที่ 4กิจกรรมที่ 4
กิจกรรมที่ 4
 
Gor3
Gor3Gor3
Gor3
 
9789740329374
97897403293749789740329374
9789740329374
 
กิจกรรมที่ 4
กิจกรรมที่ 4 กิจกรรมที่ 4
กิจกรรมที่ 4
 

Mais de Boonlert Aroonpiboon (20)

Excel quiz
Excel quizExcel quiz
Excel quiz
 
Scival for Research Performance
Scival for Research PerformanceScival for Research Performance
Scival for Research Performance
 
20190726 icde-session-chularat-nstda-4
20190726 icde-session-chularat-nstda-420190726 icde-session-chularat-nstda-4
20190726 icde-session-chularat-nstda-4
 
20190409 social-media-backup
20190409 social-media-backup20190409 social-media-backup
20190409 social-media-backup
 
20190220 open-library
20190220 open-library20190220 open-library
20190220 open-library
 
20190220 digital-archives
20190220 digital-archives20190220 digital-archives
20190220 digital-archives
 
OER KKU Library
OER KKU LibraryOER KKU Library
OER KKU Library
 
Museum digital-code
Museum digital-codeMuseum digital-code
Museum digital-code
 
OER MOOC - Success Story
OER MOOC - Success StoryOER MOOC - Success Story
OER MOOC - Success Story
 
LAM Code of conduct
LAM Code of conductLAM Code of conduct
LAM Code of conduct
 
RLPD - OER MOOC
RLPD - OER MOOCRLPD - OER MOOC
RLPD - OER MOOC
 
New Technology for Information Services
New Technology for Information ServicesNew Technology for Information Services
New Technology for Information Services
 
New Technology for Information Services
New Technology for Information ServicesNew Technology for Information Services
New Technology for Information Services
 
digital law for GLAM
digital law for GLAMdigital law for GLAM
digital law for GLAM
 
20180919 digital-collections
20180919 digital-collections20180919 digital-collections
20180919 digital-collections
 
Field-Weighted Citation Impact (FWCI)
Field-Weighted Citation Impact (FWCI)Field-Weighted Citation Impact (FWCI)
Field-Weighted Citation Impact (FWCI)
 
20180828 digital-archives
20180828 digital-archives20180828 digital-archives
20180828 digital-archives
 
Local Wisdom Information : How to
Local Wisdom Information : How toLocal Wisdom Information : How to
Local Wisdom Information : How to
 
201403 etda-library-settup
201403 etda-library-settup201403 etda-library-settup
201403 etda-library-settup
 
201403 etda-library
201403 etda-library201403 etda-library
201403 etda-library
 

Open Access Article by CMU Students

  • 1. ภารกิจในการเข้าถึงเอกสารแบบเปิด : ระดับมหาวิทยาลัยและแหล่งทุน วัลยา ภู่สว่าง การจัดทาเอกสาร OA นับว่าเป็นที่นิยมมากในปัจจุบัน หน่วยงานต่างๆ ทั้งภาครัฐและเอกชน ได้มีการจัดทาเอกสาร OA เพื่อให้นักวิชาการหรือผู้ที่ทาวิจัยได้นาผลงานหรือบทความทางวิชาการมา เผยแพร่ โดยขั้นตอนการนาบทความวิจัยหรือบทความทางวิชาการมาเผยแพร่จะขึ้นอยู่กับภารกิจที่ หน่วยงานต่างๆ ได้มีการกาหนดไว้ซึ่งภารกิจในการจัดทาเอกสาร OA นั้นหมายถึง ภารกิจที่สนับสนุน การจัดทาเอกสาร OA โดยองค์กรทั้งภาครัฐ และเอกชนหลายแห่งได้จัดทาภารกิจสาหรับการจัดทา เอกสาร OA ขึ้น เพื่อต้องการให้ผู้ที่ทาการวิจัยสามารถนาบทความทางวิชาการ และงานวิจัยมาเผยแพร่ ในการเข้าถึงบทความที่เป็นเอกสาร OA ผู้อ่านสามารถเข้าถึงบทความได้ในรูปแบบดิจิทัลโดย ไม่เสียค่าใช้จ่าย ซึ่งภารกิจในการทาคลังเอกสารนี้เกิดจากการลงมติของสถาบันการวิจัย และฝ่ายงาน วิชาการของมหาวิทยาลัยที่เห็นความสาคัญและประโยชน์ของการจัดทาคลังเอกสาร จะเห็นได้ว่า เอกสาร OA มีความสาคัญและเป็นประโยชน์ต่อวงการการศึกษาและวงการการวิจัยมาก เพราะมีองค์กร ผู้ให้ทุนมากมายทั้งภาครัฐและเอกชน เสนอให้ทุนแก่ผู้ที่ต้องการจะทาวิจัยเนื่องจากองค์กรผู้ให้ทุนนั้น ต้องการที่จะให้นักวิจัยเผยแพร่บทความทางวิชาการที่ได้รับการตรวจสอบแล้ว เช่น วารสารและเอกสาร การประชุมให้สามารถเข้าถึงได้อย่างเสรี การเผยแพร่บทความและงานวิจัยดังกล่าวนั้นจะช่วยให้วงการ การศึกษามีการพัฒนามากขึ้นเนื่องจากความรู้ต่างๆ สามารถเข้าถึงได้ง่ายขึ้น ทั้งนี้หน่วยงานที่มีความสาคัญในการออกภารกิจการจัดทาเอกสาร OA ได้แก่ มหาวิทยาลัย กรม หน่วยงานของรัฐบาล และองค์กรต่างๆ ซึ่งมหาวิทยาลัยต่างๆ ทั่วโลกได้มีการออกภารกิจการ จัดทาเอกสาร OA ขึ้นรวม 116 แห่ง กรม หน่วยงานของรัฐบาล จานวน 30 หน่วยงาน องค์กรผู้ให้ทุน อื่นๆ 46 แห่ง และองค์กรการวิจัย 75 แห่ง รวมทั้งสิ้น 267 แห่ง ซึ่งมหาวิทยาลัยที่มีการจัดทาคลังเอกสาร OA และออกภารกิจการจัดทาเอกสาร OA แห่งแรกคือ มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด นอกจากมหาวิทยาลัย ฮาร์วาร์ด แล้วยังมีมหาวิทยาลัยอื่นๆอีกทั่วโลก เช่น มหาวิทยาลัยออกซ์ฟอร์ด มหาวิทยาลัยเซาว์แทมตัน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีควีนส์แลนด์ เป็นต้น บทความนี้จะแบ่งเนื้อหาออกเป็นสองส่วน ซึ่งก็คือ ภารกิจ ของมหาวิทยาลัยและ ภารกิจขององค์กรผู้ให้ทุนในการทาคลังจัดเก็บเอกสาร (ROARMAP, 2010)
  • 2. 2-D2 ภารกิจในการจัดทาเอกสาร OA ของมหาวิทยาลัย การกาหนดภารกิจในการจัดทาเอกสาร OA นับว่ามีความสาคัญเป็นอย่างมาก มหาวิทยาลัย หลายแห่งต่างให้ความสนใจกับการจัดทาเอกสาร OA เนื่องจากการจัดทาเอกสาร OA เป็นการเปิด ความคิด เปิดทัศนะคติ และยังช่วยให้เกิดองค์ความรู้ใหม่ๆ มหาวิทยาลัยหลายๆแห่งจึงมีการกาหนด นโยบายในการจัดทาเอกสาร OA ขึ้น เพื่อให้การจัดทาเอกสาร OA มีมาตรฐานและมีคุณภาพ โดย องค์กรที่มีการกาหนดภารกิจในการจัดทาเอกสาร OA โดยมีทั้งสิ้น 264 องค์กร (Roarmap, 2010) แบ่งเป็นมหาวิทยาลัย 208 แห่ง ซึ่งในบทความนี้จะยกตัวอย่างภารกิจของมหาวิทยาลัย 4 สถาบันด้วยกัน คือ Harvard University, Oxford University, Queensland University of Technology and Hong Kong University 1. Harvard University มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด (Harvard University) เป็นมหาวิทยาลัยเอกชนในเมืองเคมบริดจ์ รัฐ แมสซาชูเซตส์ สหรัฐอเมริกา เป็นหนึ่งมหาวิทยาลัยที่เก่าแก่ที่สุดของสหรัฐอเมริกา โดยก่อตั้งเมื่อปี 8 กันยายน ค.ศ. 1636 มีอายุครบ 370 ปีใน ค.ศ. 2006 (Wiki, 2009) Suber (2008) ได้ให้ข้อมูลเกี่ยวกับที่มาของการเข้าถึงเอกสารเปิ ดสาธารณะในประเทศ สหรัฐอเมริกาว่า มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ดได้มีภารกิจในการจัดทาเอกสาร OA ขึ้นตั้งแต่วันที่ 12 กุมภาพันธ์ 2008 ซึ่งนับว่าเป็นสถาบันแห่งแรกของสหรัฐอเมริกาที่ได้นาเอกสาร OA มาใช้ ซึ่งคณะ ที่ริเริ่มทาเอกสาร OA คือ คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ เนื่องจากมีความเห็นว่าบทความที่ค้นหาได้ จากทางอินเทอร์เน็ตในปัจจุบันอาจจะไม่มีความถูกต้อง และไม่สามารถเชื่อถือได้ทั้งหมด ต่อมาเมื่อ คณะต่างๆ เริ่มใช้เอกสาร OA ในระยะแรกคณบดีของคณะต่างๆ ได้มีการจัดตั้งคณะผู้ดาเนินงานและ วางแผนโครงการว่าจะใช้อินเทอร์เน็ตในการเผยแพร่เอกสาร OA ซึ่งการนางานของผู้เขียนมาจัดทาเป็น เอกสารเปิดสาธารณะที่ผู้ใช้สามารถเข้าถึงได้โดยไม่เสียค่าใช้จ่ายนั้น โดยผู้เขียนที่จะต้องนาผลงานของ ตนมาทาเป็นวารสารแบบเสรี ซึ่งผู้เขียนเองก็มีความคาดหวังว่าบทความของตนจะถูกนาไปดัดแปลง หรือต่อยอดความรู้ให้กับผู้อื่นได้อีกทั้งบทความที่ผู้เขียนมอบให้นามาทาเป็นเอกสาร OA จะไม่ถูกเรียก เก็บค่าธรรมเนียม ในการจัดทาเอกสาร OA นั้นทางมหาวิทยาลัยฮาวาร์ดคาดหวังว่าจะทาให้การ ค้นคว้าวิจัยมีขอบเขตที่กว้างมากยิ่งขึ้น
  • 3. 2-D3 ภารกิจในการจัดทาเอกสาร OA ของคณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ มีทั้งหมด 9 ข้อดังนี้ 1. มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ดได้กาหนดให้คณะต่างๆในมหาวิทยาลัยจัดทาเอกสาร OA ขึ้นโดยใช้สัญญาอนุญาตโดยใช้ครีเอทีฟคอมมอนที่เป็นสัญลักษณ์ผู้สร้างสรรค์ผลงาน 2. เอกสารหรือบทความที่นามาจัดทาเป็นเอกสาร OA จะไม่สามารถนาไปจาหน่าย เพื่อหวังผลกาไรได้เนื่องจากบทความทุกบทความมีสัญญาอนุญาตของผู้แต่งหรือเจ้าของผลงานนั้น 3. มีการจัดทาคลังจัดเก็บเอกสารที่บุคคลทั่วไปสามารถสืบค้น และเข้าใช้ได้ 4. เจ้าของผลงานหรือนักวิจัยสามารถส่งสาเนาให้กับทางคณะได้โดยตรง จากนั้นทาง คณะจะนาเอกสารหรือผลงานไปจัดทาให้เอกสารฉบับนั้นเป็นเอกสาร OA 5. เอกสารที่เป็นเอกสาร OA จะผ่านการรับรองโดย Faculty of Art and Science-FAS 6. เอกสารหรือผลงานทางวิชาการต่างๆ ทางคณะจะทาการพิจารณาถึงความเหมาะสม ในการเผยแพร่ โดยเอกสารบางอย่างอาจถูกคัดออกเนื่องจากความไม่เหมาะสมบางประการ 7. เมื่อเจ้าของผลงานมีความต้องการที่จะเผยแพร่เอกสาร ทางคณะสามารถนา บทความหรือผลงานทางวิชาการไปเผยแพร่ยังวารสารที่เจ้าของผลงานต้องการนาผลงานของตนไป เผยแพร่ได้นอกจากนั้นยังให้การรับรองในการรักษาสิทธิของเจ้าของผลงาน 8. เมื่อนาผลงานทางวิชาการมาเผยแพร่เป็นเอกสาร OA แล้ว ทางคณะจะทาการรักษา สัญญาอนุญาตหรือสิทธิให้เจ้าของผลงานโดยไม่มีการกาหนดระยะเวลา 9. เมื่อเกิดปัญหาเกี่ยวกับผลงานต่างๆ ในด้านสิทธิ เจ้าของผลงานสามารถมาทาคา ร้องที่มหาวิทยาลัยได้ และทางคณบดีของคณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์จะจัดการแก้ไขปัญหา ดังกล่าวให้ (Eastman, G., 2008) 2. Oxford University มหาวิทยาลัยอ๊อกซ์ฟอร์ด (University of Oxford) ตั้งอยู่ที่เมืองอ๊อกซ์ฟอร์ด สหราชอาณาจักร เป็นมหาวิทยาลัยที่เก่าแก่ที่สุดในประเทศอังกฤษ มหาวิทยาลัยอ๊อกซ์ฟอร์ดได้เริ่มเปิดตั้งแต่ พ.ศ. 1639 และในปี พ.ศ. 1710 มหาวิทยาลัยอ๊อกซ์ฟอร์ดเกิดขึ้นและเติบโตอย่างรวดเร็วภายใต้พระบรมราชูปถัมภ์ และการสนับสนุนการเงินจากคหบดีต่างๆ มหาวิทยาลัยอ๊อกซ์ฟอร์ดได้มีภารกิจในการจัดทาเอกสาร OA ขึ้นในปี 2008 เพื่อเผยแพร่ความรู้ผ่านทางบทความ และวารสารทางวิชาการของมหาวิทยาลัยสู่ สาธารณะชน ซึ่งมหาวิทยาลัยออกซ์ฟอร์ดจะเป็นการทา OAJ ซึ่งเป็นวารสารออนไลน์ ชื่อว่า “Oxford Journals” โดยการทาวารสารออนไลน์ของมหาวิทยาลัยออกซ์ฟอร์ดจะเป็นการนาเอาบทความที่อยู่บน
  • 4. 2-D4 เว็บไซต์ส่วนบุคคล บล็อก เป็นต้น มาทาเป็นวารสารออนไลน์ ซึ่งวารสารออนไลน์จะมี 2 ส่วน คือส่วน ที่เปิดให้เข้าถึงได้และส่วนที่ต้องเป็นสมาชิกจึงจะสามารถเข้าถึงวารสารได้ ภารกิจในการวารสารออนไลน์ของมหาวิทยาลัยออกซ์ฟอร์ด มีรายละเอียดดังนี้ 1. เจ้าของผลงานสามารถอัพโหลดไฟล์เอกสารลงในคลังจัดเก็บเอกสารของสถาบัน ได้ 2. ทางมหาวิทยาลัยจะทาการประเมินคุณภาพของบทความ (peer-reviewed) 3. เมื่อผลงานได้รับการยอมรับจากนักวิชาการแล้ว เจ้าของผลงานต้องเขียนสัญญา อนุญาตเพื่อแสดงสิทธิให้ผู้ที่นาไปใช้มีการอ้างอิงถึง 4. บทความฉบับสมบูรณ์จะถูกจัดเก็บในรูปแบบ pdf ไฟล์ 5. มหาวิทยาลัยออกซ์ฟอร์ดจะนาบทความลงวารสารออกซ์ฟอร์ด หลังจากผลงาน ได้รับการยอมรับให้ลงในวารสารออกซ์ฟอร์ด เจ้าของผลงานจะไม่มีสิทธิ์นาบทความ หรือผลงานต่างๆ ไปเผยแพร่ยังที่ใดได้อีก 6. สาหรับการทาบทความหรือผลงานทางวิชาการเป็นวารสารออนไลน์ บทความ อาจจะไม่ได้เผยแพร่ในทันที แต่จะได้รับการเผยแพร่บทความภายในช่วงระยะเวลาไม่เกิน 12 เดือน 7. ผลงานต้นฉบับที่เจ้าของผลงานทาการเผยแพร่ก่อนหน้าที่จะมีการตีพิมพ์ลงใน วารสารจะไม่สามารถทาการแก้ไขหรือเปลี่ยนแปลงใดๆได้อีก 3. University of Southampton : School of Electronics and Computer Science มหาวิทยาลัยเซาท์แทมตันเป็นมหาวิทยาลัยที่เชี่ยวชาญทางด้านอิเล็กทรอนิกส์ และ วิทยาการคอมพิวเตอร์ แห่งประเทศอังกฤษ ซึ่งมหาวิทยาลัยมีนโยบายในการเป็นมหาวิทยาลัยเพื่อการ วิจัยระดับโลก และเป็นมหาวิทยาลัยชั้นนาทางด้านวิศวกรรมไฟฟ้ าและวิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์ เนื่องจากมหาวิทยาลัยเซาท์แทมตัน มีนโยบายที่จะเป็นมหาวิทยาลัยเพื่อการวิจัยระดับโลก ทาง มหาวิทยาลัยจึงสนับสนุนการวิจัยแก่นักศึกษาทั้งระดับปริญญาตรีและปริญญาโท ส่งผลให้มีการ สนับสนุนการทาเอกสาร OA ขึ้น (University of Southampton, n.d.) ภารกิจในการทาเอกสาร OA ของมหาวิทยาลัยเซาท์แทมตันมีรายละเอียดดังนี้ 1. มหาวิทยาลัยมีภารกิจในการส่งเสริมการทาวิจัยให้เป็นรูปแบบเอกสาร OA และ เพื่อให้ผู้ใช้ทั่วโลกสามารถเข้าใช้งานได้
  • 5. 2-D5 2. ทางมหาวิทยาลัยได้จัดทาคลังจัดเก็บเอกสารหรือคลังความรู้ (Eprint) โดยก่อนนา เอกสารเข้ามาเผยแพร่ในคลังจัดเก็บเอกสารทั้งหมดจะได้รับการตรวจสอบอย่างละเอียดโดยนักวิชาการ ผู้เชี่ยวชาญ 3. ภารกิจของมหาวิทยาลัยจะสอดคล้องกับข้อตกลงทางด้านลิขสิทธิ์กับสานักพิมพ์ หรือผู้จัดพิมพ์ดังต่อไป 3.1 ผู้เขียนมีสิทธิที่จะนาเอกสารต้นฉบับ (Preprint) ของตนไปเผยแพร่ หรือ นาไปใช้งานด้านต่างๆ แต่หลังจากได้รับการตรวจสอบ (peer-reviewed) จากผู้เชี่ยวชาญแล้ว ผู้เขียน หรือเจ้าของผลงานจะไม่สามารถกระทาการใดๆกับผลงานของตน 3.2 หากเจ้าของผลงานต้องการนาผลงานไปตีพิมพ์ ลิขสิทธิ์ของเอกสารฉบับ สมบูรณ์ที่ได้รับการประเมินคุณภาพแล้วจะขึ้นอยู่กับข้อตกลงของเจ้าของผลงานกับสานักพิมพ์ 3.3 สานักพิมพ์บางแห่งจะอนุญาตให้เอกสารฉบับสมบูรณ์ (Postprint) สามารถนาไปจัดเก็บเป็น Self-archiving ได้ 3.4 ในกรณีที่สานักพิมพ์ไม่อนุญาตให้นาผลงานฉบับสมบูรณ์ไปทาเป็น self-archiving เจ้าของผลงานก็สามารถนาเอกสารต้นฉบับ (Preprint) มาทาแทนได้ 3.5 ในสัญญาอนุญาต บางกรณีก็จะอนุญาตให้นาเอกสารต้นฉบับและผลงาน ฉบับสมบูรณ์ มาเผยแพร่ลงเว็บเพจของตนเองได้ 4. Queensland University of Technology มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีควีนส์แลนด์เป็นมหาวิทยาลัยของประเทศออสเตรเลีย ที่มีการจัดทา คลังจัดเก็บเอกสาร เริ่มจัดทาตั้งแต่เดือน พฤศจิกายน ค.ศ. 2003 โดยได้มีการกาหนดภารกิจในการจัดทา คลังจัดเก็บเอกสาร ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม ค.ศ. 2004 คณะแรกที่ยอมรับและปฏิบัติตามภารกิจการจัดทา คลังจัดเก็บเอกสารของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีควีนส์แลนด์ คือคณะวิทยาการคอมพิวเตอร์ ซึ่งเริ่มทา คลังจัดเก็บเอกสาร ในปี ค.ศ. 2006 หลังจากนั้นไม่นานคณะอื่นๆ ในสถาบันก็ได้มีการจัดทาคลังจัดเก็บ เอกสารในเวลาต่อมา จากการศึกษาของ Suber (2008) ได้ให้ข้อมูลเกี่ยวกับนโยบายการทาคลังจัดเก็บเอกสารของ สถาบันของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีควีนส์แลนด์ โดยมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีควีนส์แลนด์ได้มีการ จัดทาคลังจัดเก็บเอกสารของสถาบัน สาหรับเก็บและเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ และผลงานวิจัยของ อาจารย์และนักวิจัย โดยใช้ชื่อ “ePrint” การจัดทาคลังจัดเก็บเอกสารของสถาบันดังกล่าวเพื่อสนับสนุน
  • 6. 2-D6 ให้มีผู้เชี่ยวชาญเฉพาะสาขาวิชาเพิ่มมากยิ่งขึ้นในระดับสากล ซึ่งนโยบายในการทาคลังเอกสาร OA มี รายละเอียดดังนี้ 1. มหาวิทยาลัยควีนส์แลนด์จะมีผู้เชี่ยวชาญและผู้สนับสนุนทางด้านการวิจัย ทา หน้าที่ในการประเมินบทความ 1.1 ผู้เชี่ยวชาญและผู้สนับสนุนทางด้านการวิจัย จะตรวจสอบบทความฉบับ สมบูรณ์ (Postprint) เพื่อให้บทความดังกล่าวเป็นบทความที่ถูกต้องและสามารถนาไปเผยแพร่ในคลัง เอกสารได้ทันที 1.2 ผู้เชี่ยวชาญและผู้สนับสนุนทางด้านการวิจัย จะตรวจสอบบทความ ต้นฉบับ (Preprint) เช่น ตรวจสอบความถูกต้องในการพิมพ์ และตรวจสอบสานวนภาษา เพื่อให้ บทความมีความถูกต้องก่อนจะนาไปเขียนบทความฉบับสมบูรณ์ 2. การนาเอกสารทางวิชาการเข้าไปยังคลังจัดเก็บเอกสาร เอกสารเหล่านี้สามารถ นาเข้าคลังจัดเก็บเอกสารของสถาบันได้โดยไม่จาเป็นต้องผ่านการตรวจสอบ ซึ่งประกอบด้วยเอกสาร ดังนี้ 2.1 รายงานการประชุม 2.2 ตาราเรียน 2.3 เอกสารที่เป็นบท 3. เอกสารที่เป็นผลงานการวิจัยระดับสูง ที่จัดทาขึ้นโดยผู้เชี่ยวชาญ อาจารย์หรือ นักศึกษาระดับปริญญาโท จะต้องนาไปเก็บไว้ในคลังจัดเก็บเอกสารของประเทศออสเตรเลีย (Australia Digital Theses- ADT) 4. บทความหรือเอกสารทางวิชาการที่จะนาเข้าคลังจัดเก็บเอกสาร ePrint จะต้องเป็น ผลงานการวิจัยที่ถูกคิดค้นขึ้นมาใหม่ 5. จะต้องระบุรายละเอียดของผลงานก่อนนาผลงานมาตรวจสอบความถูกต้อง โดย นักวิชาการ หรือผู้เชี่ยวชาญในสถาบัน 6. สาหรับเจ้าของผลงานที่ได้นาผลงานไปเผยแพร่ยังหน้าเว็บไซต์ของตนจะต้องทา การเชื่อมโยงข้อมูลไปยังคลังข้อมูล ePrint ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีควีนส์แลนด์ 5. การจัดทาเอกสาร OA ในฮ่องกง แนวคิดในการจัดทาเอกสาร OA ของฮ่องกงเริ่มขึ้นในปี ค.ศ.1957 โดยมีการจัดการประชุมขึ้น ในหัวข้อ "Promoting 21st Century Scholarly Communication: The Role of Institutional Repositories
  • 7. 2-D7 in the Open Access Movement" มีหลายประเทศเข้าร่วมประชุมในครั้งนี้ ผู้เข้าร่วมประชุมโดยส่วนมาก จะเป็นนักวิชาการ ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะในด้านต่างๆ ต่างลงความเห็นว่า ฮ่องกงควรจะมีการจัดทาคลัง เอกสาร OA เพื่อที่จะช่วยให้การศึกษาพัฒนายิ่งขึ้นไป ซึ่งการให้ทุนในการทาวิจัยของฮ่องกงนั้นจะมี องค์กร 2 องค์กรที่ให้ทุนในการทาวิจัยซึ่งก็คือ 5.1 University Grant Committee-UGC University Grant Committee ฮ่องกง คือ องค์กรที่ทาหน้าที่ให้คาปรึกษา และให้ เงินทุนแก่ประชาชนในเขตการปกครองพิเศษ (SAR) หรือฮ่องกงแห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน ใน ระดับอุดมศึกษาเพื่อการพัฒนาและต่อยอดทางการศึกษาในประเทศจีน (UGC, 2007) University Grant Committee ก่อตั้งขึ้นตั้งแต่ ค.ศ.1965 มีหน้าที่ให้คาปรึกษาแก่คณะ รัฐบาลในส่วนของการพัฒนาประเทศและให้เงินทุนแก่ มหาวิทยาลัยฮ่องกง และมหาวิทยาลัยจีนใน ฮ่องกง ซึ่งองค์กรนี้เกิดขึ้นจากการให้คาแนะนาในการจัดตั้งของสภานิติบัญญัติ ในปี ค.ศ.1964 โดย คณะกรรมการสภานิติบัญญัติของประเทศอังกฤษได้มีการแนะนาให้ฮ่องกงจัดตั้งองค์กรที่มีหน้าที่ให้ คาปรึกษา ในเรื่องการพัฒนาประเทศ ยกตัวอย่างเช่น เรื่องสาธารณูปโภค และมีหน้าที่ให้เงินทุนแก่ มหาวิทยาลัย ดังนั้นองค์กรดังกล่าวจึงทาการก่อตั้งขึ้นในปี ค.ศ.1422 โดยมีการวางโครงสร้างตาม รูปแบบของประเทศอังกฤษ ในปัจจุบันมีสถาบันการศึกษาอยู่แปดแห่งที่ได้รับเงินทุนจาก UGC คือ City University of Hong Kong (CityU), Hong Kong Baptist University (HKBU), Lingnan University (LU), The Chinese University of Hong Kong (CUHK), The Hong Kong Institute of Education (HKIEd), The Hong Kong Polytechnic University (PolyU), The Hong Kong University of Science and Technology (HKUST) และ The University of Hong Kong (HKU) (UGC, 2007) 5.2 The Research Grants Council-RGC The Research Grants Council เป็นองค์กรที่ให้คาปรึกษาทางด้านการวิจัยแก่ ประชาชนในฮ่องกง โดยเฉพาะอย่างยิ่งการทาวิจัยในระบบมหาวิทยาลัย รวมไปถึงให้เงินทุนในการทา วิจัยสาหรับนักวิจัย และนักศึกษาปริญญาโท เพื่อที่จะนาบทความวิชาการ หรือบทความวิจัยมาจัดทา เป็นเอกสาร OA โดย RGC ทางานภายใต้University Grant Committee (RGC, 2007) The Research Grants Council มีหน้าที่ความรับผิดชอบอยู่สองประการได้แก่ ให้ คาแนะนาแก่ รัฐบาล ผู้บริหาร SAR (The Special Administrative Region) หรือเขตการปกครองพิเศษ ในการจัดทาคลังจัดเก็บเอกสารทางด้านงานวิจัยในระดับอุดมศึกษา เพื่อให้งานวิจัยและผลงานทาง วิชาการ ได้ให้ความรู้และเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาประเทศ ประการต่อมา คือเป็นแหล่งเงินทุนและ
  • 8. 2-D8 ให้เงินทุนสาหรับการวิจัยแก่ นักวิชาการ นักศึกษาปริญญาโท และนักศึกษาปริญญาเอก หรืออาจจะให้ เงินทุนเพื่อเป็นรางวัลแก่นักศึกษาหรือนักวิชาการในการสร้างผลงาน รางวัลดังกล่าวจะเป็นรางวัลที่ทาง UGC เป็นผู้ตัดสิน สาหรับการขอทุนไปสร้างผลงานนั้น ผู้ขอรับทุนจะต้องเขียนรายงาน รายงานความ คืบหน้าในงานวิจัยของตนเพื่อแสดงความก้าวหน้าของงานวิจัยให้แก่ UGC (RGC, 2007) 6. Hong Kong University Multi-Institution มหาวิทยาลัยฮ่องกง เป็นสถาบันการศึกษาที่เก่าแก่ บนเกาะฮ่องกง ซึ่งเป็นเขตบริหารพิเศษของ สาธารณรัฐประชาชนจีน คณะแรกที่เปิดสอน คือแพทยศาสตร์ ซึ่งศิษย์เก่าที่มีชื่อเสียงโด่งดังคือ ซุนยัด เซน ประธานาธิบดีคนแรกของสาธารณรัฐประชาชนจีน คาขวัญของมหาวิทยาลัยคือ "Sapientia et Virtus" อันเป็นภาษาละติน แปลว่า "ปัญญาและคุณธรรม" ดาเนินการสอนด้วยภาษาอังกฤษ (ผู้จัดการออนไลน์, 2010) Harnard, S. (2008) ได้ให้ข้อมูลเกี่ยวกับภารกิจในการจัดทาคลังจัดเก็บเอกสาร ของ มหาวิทยาลัยฮ่องกงว่า แหล่งเงินทุนที่ให้ทุนในการวิจัยในฮ่องกงได้แก่ UGC และ RGC ซึ่งเป็นแหล่ง เงินทุนขนาดใหญ่ที่ให้ทุนแก่นักวิชาการ นักศึกษาปริญญาโทและผู้ที่สนใจทาวิจัย ซึ่ง UGC และ RGC นี้จะเป็นผู้ที่ให้ทุนในการทาวิจัยโดยผ่านทางมหาวิทยาลัย ซึ่งทางมหาวิทยาลัยก็ได้ออกภารกิจในการ จัดทาคลังจัดเก็บเอกสาร ขึ้นเพื่อให้เป็นมาตรฐานและเพื่อให้ผลงานของบุคคลในประเทศได้ใช้ ประโยชน์สูงสุด ภารกิจในการจัดทาเอกสาร OA ของ Hong Kong University Multi-Institution มีรายละเอียด ดังนี้ 1. สนับสนุนให้นักวิจัยนาผลงานของตนไปเผยแพร่เป็น OA อาจจะนาไปตีพิมพ์กับ สานักพิมพ์ที่รับทาผลงานให้เป็น OA หรือเผยแพร่ในคลังจัดเก็บเอกสารของตนหรือสถาบัน เพื่อให้มี จานวนการอ้างถึงสูงขึ้น เนื่องจากสามารถเข้าถึงและนาไปใช้ได้สะดวกและรวดเร็ว ทาให้ ค่า H-index หรือ G-index สูงขึ้นตามไปด้วย ซึ่งเป็นหน่วยวัดที่สามารถแสดงถึงคุณภาพของผู้เขียนบทความได้ 2. หากผลงานวิจัยหรือเอกสารทางการวิจัยดังกล่าวยังไม่สมบูรณ์หรือยังไม่สามารถ นามาทาเป็นเอกสาร OA ได้ เนื่องจากต้องการเงินทุนเพิ่มเติมให้เจ้าของผลงานนารายละเอียดเพิ่มเติม ของผลงานมาส่งให้มหาวิทยาลัย เพราะมหาวิทยาลัยจะยอมรับทั้งเอกสารฉบับต้น (Preprint) หรือ เอกสารฉบับสมบูรณ์ (Postprint) สาหรับการขอเงินทุน นักวิจัยหรือผู้ที่ต้องการทาวิจัยสามารถขอ เงินทุนได้จาก RGC ซึ่งเป็นผู้ให้ทุนสนับสนุนผู้ทาวิจัย โดยมีวงเงินจากัด 3,000 US$ ตามที่ Wellcome Trust ได้กาหนดวงเงินสูงสุดในการให้ทุนไว้
  • 9. 2-D9 3. สาหรับหนังสือ หรือตาราที่ไม่มีลิขสิทธิ์ ให้เจ้าของผลงานนารายละเอียดส่วน เพิ่มเติมของเนื้อหาภายใน และรายละเอียดของเจ้าของผลงานนาไปให้ทางมหาวิทยาลัย เพื่อให้ทาง มหาวิทยาลัยนาผลงานไปเผยแพร่ในคลังเอกสาร OA ของมหาวิทยาลัย ซึ่งผลงานดังกล่าวจะถูกจัด ประเภท และหมวดหมู่ที่เหมาะสม เพื่อความสะดวกในการค้นหาหรือเข้าใช้ของผู้ใช้ 4. งานวิจัยหรือผลงานทางวิชาการที่เจ้าของผลงานจะนามาเผยแพร่ในคลังจัดเก็บ เอกสาร จะต้องเป็นผลงานที่เป็นดิจิทัลแล้วเท่านั้น ไม่ว่าจะเป็นเอกสารฉบับต้นหรือเอกสารฉบับ สมบูรณ์ เพราะทางผู้จัดทาคลังจัดเก็บเอกสาร จะไม่รับเอกสารที่เป็นฉบับปรับปรุง และระหว่างที่ เจ้าของผลงานทางานวิจัย จะต้องมีการรายงานความคืบหน้าของผลงานเป็นระยะต่อ RGC องค์กรผู้ให้ ทุน ตารางที่ 1 แสดงการเปรียบเทียบภารกิจในการจัดทาเอกสาร OA ของมหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัย (University) คลังจัดเก็บ เอกสาร (Institutional Repositories) การประเมิน คุณภาพ (peer-reviewed) การเผยแพร่ วิธีการส่ง เอกสาร OA สิทธิในการ เผยแพร่เอกสาร OA Harvard University Digital Access to Scholarship at Harvard- DASH มหาวิทยาลัยเป็นผู้ ประเมินคุณภาพ บุคคลทั่วไป สามารถ สืบค้น และ เข้าใช้ได้ สามารถส่ง สาเนาให้กับ ทางคณะได้ โดยตรง สามารถนา บทความหรือ ผลงานทาง วิชาการไป เผยแพร่ได้ Oxford University Oxford Journal มหาวิทยาลัยเป็นผู้ ประเมินคุณภาพ สามารถเข้า ใช้ได้ส่วน หนึ่ง อัพโหลดไฟล์ เอกสารลงใน คลังจัดเก็บ เอกสารด้วย ตนเอง เจ้าของผลงานจะ ไม่มีสิทธิ์นา บทความ หรือ ผลงานต่างๆไป เผยแพร่
  • 10. 2-D10 มหาวิทยาลัย (University) คลังจัดเก็บ เอกสาร (Institutional Repositories) การประเมิน คุณภาพ (peer-reviewed) การเผยแพร่ วิธีการส่ง เอกสาร OA สิทธิในการ เผยแพร่เอกสาร OA University of Southampton : School of Electronics and Computer Science ECS Eprints Repository นักวิชาการ และ ผู้เชี่ยวชาญ บุคคลทั่วไป สามารถ สืบค้น และ เข้าใช้ได้ ส่งให้กับทาง มหาวิทยาลัย ได้โดยตรง ในบางกรณี สานักพิมพ์จะ อนุญาตให้นางาน ฉบับสมบูรณ์และ ต้นฉบับ มาจัดเก็บ เป็น Self- Archiving ได้ Queensland University of Technology QUT ePrints ผู้เชี่ยวชาญและ ผู้สนับสนุน ทางด้านการวิจัย บุคคลทั่วไป สามารถ สืบค้น และ เข้าใช้ได้ ส่งให้กับทาง มหาวิทยาลัย ได้โดยตรง สามารถนาไป เผยแพร่เป็น Self- Archiving ได้แต่ ต้องเชื่อมโยงมาที่ คลัง QUT ePrints Hong Kong University Multi-Institution Hong Kong Institutional Repositories มหาวิทยาลัยเป็นผู้ ประเมินคุณภาพ เสียค่าใช้จ่าย ในการ สมัคร สมาชิก ส่งให้กับทาง มหาวิทยาลัย ได้โดยตรง ไม่สามารถนาไป เผยแพร่ได้
  • 11. 2-D11 ภารกิจในการจัดทาเอกสารเปิดสาธารณะขององค์กรผู้ให้ทุนในการทาคลังเอกสาร องค์กรผู้ให้ทุนเป็นองค์กรที่มีความสาคัญต่อการจัดทาเอกสาร OA เป็นอย่างมาก เนื่องจากเป็น ผู้สนับสนุน และให้ทุนแก่ผู้ที่ทาวิจัยหรือต้องการมีผลงานทางวิชาการ โดยในการให้ทุนนั้นในปัจจุบัน ผู้ให้ทุนจะมีการจัดทานโยบายในการจัดทาเอกสาร OA เช่นกัน เพื่อกาหนดเงื่อนไขและข้อกาหนดใน การให้ทุน โดยในบทความนี้จะยกตัวอย่างองค์กรผู้ให้ทุน 2 แห่ง ได้แก่ National Institutes of Health และ Wellcome Trust ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้ 1. National Institutes of Health-NIH ภาพที่ 1 หน้าโฮมเพจของ NIH NIH เป็นองค์กรขนาดใหญ่ที่ให้ทุนในการทาวิจัยทางด้านวิทยาศาสตร์ ในการให้ทุนนั้น เป็น การให้ทุนเพื่อให้งานวิจัยดังกล่าวมาเผยแพร่เป็นเอกสาร OA ในรูปแบบดิจิทัล ฐานข้อมูลของสถาบัน สุขภาพแห่งชาติที่ทาการจัดเก็บข้อมูลหรืองานวิจัย คือ PubMed ซึ่งเป็นฐานข้อมูลทางด้านการแพทย์ ให้บริการวารสาร และเอกสารฉบับเต็มทางการแพทย์ออนไลน์โดยไม่เสียค่าธรรมเนียม นอกจากนั้น PubMed ยังสามารถเชื่อมโยงไปยังฐานข้อมูลทางวิทยาศาสตร์อื่นๆ ได้เช่น GenBank ซึ่งเป็นฐานขอมูล ที่เก็บรวบรวมขอมูลทางพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิตตางๆ ทั้งพืช สัตว และจุลินทรีย ในการนาผลงาน ทางการวิจัยเข้าสู่ฐานข้อมูล PubMed มีวัตถุประสงค์ คือทาให้งานวิจัยนั้นเป็นที่รู้จักมากขึ้น เพราะ สามารถเข้าถึงข้อมูลได้ง่าย เนื่องจากฐานข้อมูลดังกล่าวไม่มีการจากัดกลุ่มผู้ใช้ และไม่คิดค่า ค่าธรรมเนียม โดย NIH ได้ประกาศนโยบายในการสนับสนุนการทาบทความที่เกิดจากการวิจัยในวันที่
  • 12. 2-D12 2 พฤษภาคม 2005 ซึ่งนโยบายจะนาไปใช้กับสื่อสิ่งพิมพ์ที่ได้รับการตรวจสอบจากผู้ทรงคุณวุฒิแล้ว (peer-reviewed) (NIH, 2009) ภารกิจในการจัดทาเอกสาร OA ของ NIH มีรายละเอียดดังนี้ 1. บทความที่ทาง NIH จะนามาทาเป็นเอกสาร OA ได้มีข้อกาหนดดังนี้ 1.1 เป็นบทความที่ได้รับการประเมินคุณภาพจากนักวิชาการ (peer-reviewed) 1.2 เป็นบทความที่ได้รับการเผยแพร่ลงในวารสาร 1.3 บทความจะต้องเป็นบทความที่ใช้ภาษาสากล ไม่รวมถึงภาษาละติน เช่น ภาษารัสเซียและภาษาญี่ปุ่น 2. นโยบายนี้ไม่รองรับเอกสารประเภทวิทยานิพนธ์ หนังสือเรียน และรายงานการ ประชุม 3. บทความที่จะสามารถนามาฝากไว้ที่ฐานข้อมูลของ NIH ได้นั้นจะต้องเป็นบทความ ที่ได้รับการตรวจสอบแล้ว ซึ่งบทความที่จะนามาลงฐานข้อมูลมีอยู่ 2 ประเภทคือ 3.1 บทความต้นฉบับที่ได้รับการประเมินคุณภาพแล้ว (Final peer-reviewed manuscript) บทความประเภทนี้จะได้รับการตรวจสอบ และเป็นบทความได้รับการยอมรับให้ตีพิมพ์ใน วารสาร 3.2 บทความฉบับสมบูรณ์ (Final published article) เป็นบทความที่ได้รับการ ประเมินคุณภาพ หรือได้รับการแก้ไข ปรับเปลี่ยนสานวนภาษาให้มีความสมบูรณ์ ถูกต้องตามความเห็น ของผู้ทรงคุณวุฒิพร้อมเผยแพร่ได้ทันที สาหรับ NIH จะรับเฉพาะบทความประเภทนี้เท่านั้น 4. สาหรับผู้ที่ขอทุนของ NIH ไปเพื่อทาการวิจัยหรือเพื่อสร้างผลงานทางวิชาการ จะต้องนาผลงานมาลงในฐานข้อมูลเพื่อเผยแพร่เป็นเอกสาร OA 5. บทความหรือผลงานทางวิชาการจะถูกเผยแพร่ยังฐานข้อมูล Pub Med Central (PMC) ออนไลน์ ซึ่งได้รับการดูแลโดย NIH สาหรับการให้บริการของฐานข้อมูล PMC ผู้ใช้บริการ สามารถเข้าถึงฐานข้อมูลหรือทาสาเนาบทความทางวิชาการโดยไม่เสียค่าใช้จ่าย 6. หลังจากนาบทความหรือผลงานวิชาการมาฝากไว้ที่ NIH ผลงานจะถูกเผยแพร่เป็น เอกสาร OA ในทันทีหรือถูกนาออกเผยแพร่ไม่เกิน 12 เดือนหลังจากผลงานถูกนามาลงในฐานข้อมูล (NIH, 2009) 2. Wellcome Trust
  • 13. 2-D13 ภาพที่ 2 หน้าโฮมเพจของ Wellcome Trust Wellcome Trust เป็นองค์กรเอกชนที่ให้การสนับสนุนและให้เงินทุนในทาเอกสาร OA ซึ่ง Wellcome Trust นับว่าเป็นองค์กรผู้ให้ทุนที่ใหญ่ที่สุดในประเทศอังกฤษที่ให้ทุนสาหรับงานวิจัย ทางด้านการแพทย์โดยการจัดทาเอกสาร OA นั้นมีวัตถุประสงค์เพื่อเผยแพร่งานวิจัย ตามพันธกิจของ องค์กรที่จะช่วยให้เกิดผู้เชี่ยวชาญการวิจัยทางด้านการแพทย์และชีววิทยา ผลงานวิจัยนี้เป็นความคิดและ ความรู้ใหม่ที่มีความน่าเชื่อถือและได้รับการตรวจสอบจากนักวิชาการแล้ว ซึ่ง Wellcome Trust เชื่อว่า การนาบทความมาเผยแพร่ให้บุคคลทั่วไปได้อ่านโดยไม่เสียค่าใช้จ่ายบนอินเทอร์เน็ต จะเป็นวิธีที่ดีที่สุด ที่จะทาให้ผู้ใช้สามารถข้าถึงบทความได้อย่างสะดวก อีกทั้งองค์กรยังมีนโยบายในการให้เงินทุน สนับสนุนผู้ทาการวิจัยทุกประเภท ซึ่งเป็นประโยชน์ต่อผู้ที่ต้องการทุนในการทางานวิจัย แต่การรับ เอกสารเพื่อนาเข้าในฐานข้อมูลของ Wellcome Trust จะเปิดรับเฉพาะเอกสารทางด้านการวิจัยหรือ งานวิจัยเท่านั้น โดยจะสามารถเข้าถึงข้อมูลการวิจัยได้จากฐานข้อมูล PMC ซึ่งเป็นฐานข้อมูลทางด้าน การแพทย์ที่น่าเชื่อถือและเป็นที่ยอมรับในสากล (Wellcome trust, n.d.) พันธกิจ สนับสนุนการทาวิจัยทางการแพทย์เพื่อนามาซึ่งแนวคิดใหม่และก่อให้เกิดวัฒนธรรมการวิจัย ภารกิจในการจัดทาเอกสาร OA ของ Wellcome Trust มีรายละเอียดดังนี้
  • 14. 2-D14 1. ผู้ที่ได้รับทุนในการทาวิจัยจะต้องนาผลงานวิจัยกลับมาให้ทาง Wellcome Trust เผยแพร่เป็นเอกสาร OA 2. บทความของผู้ได้รับทุนจะถูกเผยแพร่ในฐานข้อมูล PMC และ UK PubMed Central (UK PMC) การนาเอกสารต้นฉบับต้องอยู่ในรูปแบบดิจิทัลและให้ Wellcome Trust ตรวจสอบ ก่อน และจะนาไปเผยแพร่ยังฐานข้อมูลที่กล่าวมาภายในเวลา 6 เดือน หลังจากเจ้าของผลงานส่งผลงาน ฉบับสมบูรณ์ (Postprint) กลับมา 3. ผู้ขอรับทุนสามารถขอรับทุนเพิ่มเติมได้ โดยทาง Wellcome Trust จะให้เงินทุน เพิ่มเติมผ่านสถาบันของผู้รับทุน เพื่อประโยชน์ต่อการแสวงหาความรู้อันจะนามาซึ่งความรู้ที่มีคุณภาพ และ ก่อให้เกิดความน่าเชื่อถือของสถาบัน 4. การเผยแพร่ข้อมูลจะเป็นการเผยแพร่เอกสารฉบับเต็มที่ผู้ใช้สามารถคัดลอกได้ อย่างอิสระภายใต้สัญญาอนุญาต ซึ่งจะต้องมีการอ้างถึงเมื่อนาบทความหรือข้อมูลทางวิชาการไปใช้ 5. หากผลงานที่ผู้รับทุนนามาฝากเป็นผลงานที่มีคุณภาพ และมีผู้อ้างถึงมาก ทาง องค์กรจะมีการพิจารณาให้ทุนแก่เจ้าของผลงานคนดังกล่าวในคราวต่อไป ซึ่งนักวิจัยจะได้รับผลประโยชน์สองประการ ประการแรก คือ ผลงานของผู้เขียนจะได้รับการ เผยแพร่ลงในฐานข้อมูลเอกสาร OA ออนไลน์ ซึ่งเป็นสื่อที่ผู้อ่านสามารถเข้าถึงได้ง่ายและไม่เสีย ค่าใช้จ่าย ประการที่สอง เมื่อผลงานของผู้เขียนได้รับการอ้างถึงบ่อยครั้งจะทาให้บทความของผู้เขียนมี ความน่าเชื่อถือมากยิ่งขึ้น และได้รับทุนต่อเนื่อง (Wellcome trust, n.d.) ตารางที่ 1 แสดงการเปรียบเทียบข้อแตกต่างของภารกิจในการจัดทาเอกสาร OA ของ NIH และ Wellcome Trust NIH Wellcome Trust 1. ให้ทุนแก่ผู้วิจัย $ 500,000 เพียงครั้งเดียว 1. สามารถขอทุนเพิ่มได้และหากผลงานของ ผู้วิจัยมีคุณภาพและมีผู้อ้างถึงมาก จะได้รับ การพิจารณาให้รับทุนอย่างต่อเนื่อง 2. ผู้ที่ได้รับทุนจะต้องรายงานความคืบหน้าของ ผลงานเป็นระยะต่อ NIH 2. บทความวิชาการ หรือบทความงานวิจัย ทาง องค์กรเป็นผู้ประเมินและตรวจสอบบทความเอง
  • 15. 2-D15 NIH Wellcome Trust 3. บทความจะต้องได้รับการประเมินและ ตรวจสอบก่อนที่นามาส่งให้กับ NIH 3. บทความจะได้รับการเผยแพร่ภายใน 6 เดือน หลังจากผลงานหลังจากส่งผลงานให้กับ Wellcome Trust แล้ว 4. หลังจากนาบทความหรือผลงานวิชาการมา ฝากไว้ที่ NIH ผลงานจะถูกเผยแพร่เป็น เอกสาร OA ในทันทีหรือถูกนาออกเผยแพร่ ไม่เกิน 12 เดือนหลังจากผลงานถูกนามาลงใน ฐานข้อมูล 5. บทความจะต้องเป็นบทความที่ใช้ภาษาสากล ไม่รวมถึงภาษาละติน เช่น ภาษารัสเซียและ ภาษาญี่ปุ่น ประเทศไทยยังไม่มีองค์กรผู้จัดทาเอกสาร OA จะมีก็แต่การจัดทาคลังความรู้หรือคลังเอกสาร ยกตัวอย่างเช่น คลังปัญญาจุฬาฯเพื่อประเทศไทย และฐานข้อมูลวิจัยอิเล็กทรอนิกส์ของ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ซึ่งการจัดทาคลังความรู้ของมหาวิทยาลัยในประเทศไทยนั้น บทความหรือ เอกสารทางวิชาการไม่ได้เผยแพร่ต่อสาธารณะ เหมือนการจัดทาเอกสาร OA ของต่างประเทศ ซึ่งใน การทาเอกสาร OA นั้นจะมีผลต่อลาดับของมหาวิทยาลัย จากการจัดลาดับของ Webometrics ซึ่งเป็น เว็บไซต์สารวจข้อมูลด้านวิชาการที่มีบนเว็บไซต์ของมหาวิทยาลัย (รุจเรขา วิทยาวุฑฒิกุลุ, 2552) โดยมหาวิทยาลัยที่มีข้อมูลทางวิชาการมากที่สุดของเอเชีย คือ ไต้หวัน พบว่ามหาวิทยาลัยเชียงใหม่อยู่ ลาดับที่ 75 ซึ่งถ้ามีการสนับสนุนให้ทาเอกสาร OA ก็จะทาให้เอกสารทางวิชาการได้ถูกนาไปไว้ใน เว็บไซต์มากยิ่งขึ้น นอกจากนี้ทางมหาวิทยาลัยก็ควรจะมีระบบ Interoperability ซึ่งเป็นวิธี หรือแนวทาง ที่จะทาให้ข้อมูลในระบบ หรือคอมโพเนนท์ต่าง ๆ สามารถพูดคุยกันได้ เพราะในโลกปัจจุบัน ระบบ ขององค์กรหนึ่ง ๆ อาจซื้อมาจากหลายบริษัทแล้วมาต่อเชื่อมเข้าด้วยกัน แนวทางของ Interoperability คือระบบไม่จาเป็นต้องมาจากที่เดียวกัน แต่ต้องสามารถคุยกันได้ติดต่อสื่อสารกันได้ แลกเปลี่ยนข้อมูล กันได้ (ผู้จัดการออนไลน์, 2549) ซึ่ง Interoperability ในทางของการใช้เอกสาร OA เครื่องมือนี้มีส่วน สาคัญ เพราะจะช่วยให้คลังเอกสารของมหาวิทยาลัยเป็นคลังจัดเก็บเอกสาร OA อย่างแท้จริง เนื่องจาก Interoperability ช่วยให้ผู้ใช้สามารถดึงข้อมูลทางบรรณานุกรม จากบทความไปได้ อาจเป็นส่วนที่ช่วย
  • 16. 2-D16 ให้การจัดอันดับของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่สูงขึ้นตามไปด้วย อีกทั้งยังเป็นการส่งเสริมการศึกษา และ พัฒนาความรู้ของคนในประเทศ จึงควรมีการจัดทาเอกสาร OA ซึ่งองค์กรหรือหน่วยงานที่ควรมีการ จัดทาเอกสาร OA คือ มหาวิทยาลัย เพราะนอกจากเป็นการส่งเสริมการศึกษาแล้ว การจัดทาเอกสาร OA ยังจะช่วยให้ค่า Impact Factors ของอาจารย์หรือนักวิชาการสูงขึ้นอีกด้วย (Ranking Web of World Universities, 2011)
  • 17. 2-D17 บรรณานุกรม ผู้จัดการออนไลน์. (2549). เจาะใจยักษ์ใหญ่เมื่อต้องการ “ทางานร่วมกัน” ไมโครซอฟท์กับ แนวคิด Interoperability. ค้นจาก http://www.ee-part.com/news/4340 ผู้จัดการออนไลน์. (2010). ม.ฮ่องกง สุดยอดมหาวิทยาลัยในเอเชีย จีน เจ๋ง ติดมากสุด 4 ใน 10. ค้นจาก http://community.momypedia.com/webboard_topic.aspx?tid=549883 มหาวิทยาลัยออกซฟอร์ด. (ม.ป.ป.) ค้นจาก http://th.wikipedia.org/ มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด. (ม.ป.ป.). ค้นจาก http://th.wikipedia.org/ รุจเรขา วิทยาวุฑฒิกุลุ. (2552). การจัดอันดับมหาวิทยาลัยด้วย Webometrics : ข้อเท็จจริงที่ควรทราบ. ค้นจาก http://www.iqraforum.com/forum/index.php?topic=2509.0 Eastman, G. (2008). Open access and the Harvard FAS deposit mandate. Retrieved from http://www.rowland.harvard.edu/resources/library/images/annual_08.pdf Harnard, S. (2008). China's first OA mandate proposal: Hong Kong, Multi-Institutional. Retrieved from http://openaccess.eprints.org/index.php?/archives/477-Chinas-First-OA- Mandate-Proposal-Hong-Kong,-Multi-Institutional.html National Institutes of Health Public Access. (n.d.). Determine applicability. Retrieved from http://publicaccess.nih.gov/determine_applicability.htm National Institutes of Health Public Access. (2009). Frequently asked questions about the NIH Public Access Policy. Retrieved from http://publicaccess.nih.gov/FAQ.htm#c6 Open access for Hong Kong: The HK Open access committee. (n.d.). Retrieved from http://openaccess.hk/index.html Oxford University Press. (2010). Author self-archiving policy. Retrieved from http://www.oxfordjournals.org/access_purchase/self-archiving_policya.html Suber, P. (2008). What is open access. Retrieved from www.ip.qut.edu.au/files/ ROARMAP. (2010). ROARMAP (Registry of Open access repository material archiving policies). Retrieved from http://www.eprints.org/openaccess/policysignup/ The Regents of the University of California. (2010). NIH mandate. Retrieved from http://www.lib.berkeley.edu/scholarlycommunication/nih_mandate.html
  • 18. 2-D18 The Research Grants Council. (2007). About the RGC. Retrieved from http://www.ugc.edu.hk/eng/rgc/about/about.htm Queensland University of Technology. (2010). QUT ePrints repository for research output. Retrieved from http://www.mopp.qut.edu.au/F/F_01_03.jsp University Grant Committee. (2007). About the UGC. Retrieved from http://www.ugc.edu.hk/eng/ugc/about/about.htm Wellcome Trust. (n.d.) Open access policy. Retrieved from http://www.wellcome.ac.uk