SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 10
Turing machine เสนอ คุณครู ณัฐพล บัวอุไร จัดทำโดย นายเมธัส  มุ่งตุลารักษ์ ม .4/1  เลขที่ 9 งานนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยี ภาคเรียนที่ 1  ปีการศึกษา  2553 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ลำลูกกา
Turing machine เครื่องจักรทัวริง เครื่องจักรทัวริง   คือเครื่องจักรนามธรรมที่แอลัน ทัวริงได้คิดค้นขึ้นใน ค . ศ . 1936 ( พ . ศ . 2479)  เพื่อการนิยามอัลกอริทึมหรือ  ' กระบวนการเชิงกล '  อย่างชัดเจนแบบคณิตศาสตร์ เครื่องจักรทัวริงได้ถูกใช้อย่างแพร่หลายในการศึกษาวิทยาการคอมพิวเตอร์เชิงทฤษฎี โดยเฉพาะในทฤษฎีความซับซ้อนในการคำนวณและทฤษฎีการคำนวณ ข้อปัญหา  ( thesis)   ที่ว่าโมเดลของเครื่องจักรทัวริงนั้นครอบคลุมกระบวนการเชิงกลทั้งหมด ในการคำนวณทางตรรกศาสตร์และคณิตศาสตร์ เป็นที่รู้จักกันในชื่อข้อปัญหาของเชิร์ช - ทัวริง แนวคิดของเครื่องจักรทัวริงนั้นต้องการจะอธิบายการทำงานของคนที่ปฏิบัติตามขั้นตอนที่ระบุไว้อย่างชัดเจน เพื่อแก้ไขข้อมูลที่ถูกบันทึกไว้ในกระดาษที่เรียงต่อกันความยาวไม่จำกัด โดยที่กระดาษแผ่นหนึ่งจะสามารถเก็บสัญลักษณ์ได้หนึ่งตัวจากสัญลักษณ์ที่เป็นไปได้จำนวนจำกัด ผู้ปฏิบัติงานนั้นจะต้องจดจำสถานะหนึ่งจากสถานะที่เป็นไปได้ที่มีจำนวนจำกัด และขั้นตอนที่ระบุให้เขาทำงานนั้นจะอยู่ในลักษณะเช่น  " ถ้าสถานะของคุณคือ  42  และสัญลักษณ์บนกระดาษที่คุณเห็นคือ  ' 0 ',  ให้เปลี่ยนสัญลักษณ์นี้เป็น  ' 1 ',   จดจำว่าสถานะใหม่เป็น  17  และไปทำงานต่อกับกระดาษแผ่นถัดไป " เครื่องจักรทัวริงนั้นไม่เกี่ยวข้องกับการทดสอบของทัวริง ซึ่งถูกใช้เพื่ออธิบายความหมายของปัญญาประดิษฐ์โดยทัวริง เครื่องจักรทัวริงที่สามารถจำลองการทำงานของเครื่องจักรทัวริงเครื่องใด ๆ ก็ได้เรียกว่า  เครื่องจักรทัวริงสากล   ( universal Turing machine)   หรือเรียกสั้นๆ ว่า  เครื่องจักรสากล  ทัวริงอธิบายไว้ใน ค . ศ . 1947 ( พ . ศ . 2490)  ว่า สามารถแสดงได้ว่ามีเครื่องจักรพิเศษในรูปแบบนี้ ที่สามารถทำงานของเครื่องจักรอื่น ๆ ในรูปแบบดังกล่าวได้ทั้งหมด นอกจากนี้เครื่องจักรนี้ยังสามารถใช้เป็นโมเดลสำหรับเครื่องจักรในแบบอื่น ๆ เครื่องจักรพิเศษนี้สามารถเรียกได้ว่าเป็นเครื่องจักรสากล
แอลัน แมททิสัน ทัวริง  ( Alan Mathison Turing)  เป็นชาวอังกฤษ เขาได้เข้า เรียนคณิตศาสตร์ ที่มหาวิทยาลัยแคมบริดจ์ ในปีพ . ศ . 2474  ซึ่งระหว่างนั้น เขาทำกิจกรรมหลายอย่าง โดยเฉพาะวิ่งแข่ง จนสามารถชนะเลิศ การแข่งขัน ของสมาคมนักกรีฑาสมัครเล่น และในปี พ . ศ . 2491  เขาได้เหรียญทอง วิ่งมาราธอนโอลิกปิก ด้วยความเร็ว  11  นาที   หลังจากเรียนจบ เขาได้รับเชิญ ให้อยู่เป็น  Fellow  ด้านคณิตศาสตร์ต่อ ซึ่งส่วนใหญ่  Fellow  ของเคมบริดจ์ จะเป็นพวกที่จบปริญญาเอก แต่เขาจบเพียงปริญญาตรี ต่อมาวันที่  28  พฤษภาคม พ . ศ . 2479  ทัวริงได้ออก บทความวิชาการ เรื่อง  " On Computable Numbers with an application to the Entscheidungsproblem”  เพื่อตีพิมพ์ โดยก่อนหน้านั้น มีผลงานของ  Church  ออกมา ซึ่งมีหัวข้อเหมือนๆ กัน เลยจำเป็นต้องเขียนอิงงานของ  Church  ด้วย แต่เมื่อบทความเผยแพร่ออกมา กลับแสดงให้เห็นว่า   เป็นคนละทฤษฏีกัน ทำให้หลายๆ คนยกย่อง ให้เขาเป็น  " The Founder of Computer Science”  หรือผู้ริเริ่ม ศาสตร์คอมพิวเตอร์ รวมทั้งยัง ได้รับรางวัล  " Smith's prize”  ด้วย
  แอลัน แมททิสัน ทัวริง  ( Alan Mathison Turing)  เป็นชาวอังกฤษ เขาได้เข้า เรียนคณิตศาสตร์ ที่มหาวิทยาลัยแคมบริดจ์ ในปีพ . ศ . 2474  ซึ่งระหว่างนั้น เขาทำกิจกรรมหลายอย่าง โดยเฉพาะวิ่งแข่ง จนสามารถชนะเลิศ การแข่งขัน ของสมาคมนักกรีฑาสมัครเล่น และในปี พ . ศ . 2491  เขาได้เหรียญทอง วิ่งมาราธอนโอลิกปิก ด้วยความเร็ว  11  นาที   หลังจากเรียนจบ เขาได้รับเชิญ ให้อยู่เป็น  Fellow  ด้านคณิตศาสตร์ต่อ ซึ่งส่วนใหญ่  Fellow  ของเคมบริดจ์ จะเป็นพวกที่จบปริญญาเอก แต่เขาจบเพียงปริญญาตรี ต่อมาวันที่  28  พฤษภาคม พ . ศ . 2479  ทัวริงได้ออก บทความวิชาการ เรื่อง  " On Computable Numbers with an application to the Entscheidungsproblem”  เพื่อตีพิมพ์ โดยก่อนหน้านั้น มีผลงานของ  Church  ออกมา ซึ่งมีหัวข้อเหมือนๆ กัน เลยจำเป็นต้องเขียนอิงงานของ  Church  ด้วย แต่เมื่อบทความเผยแพร่ออกมา กลับแสดงให้เห็นว่า   เป็นคนละทฤษฏีกัน ทำให้หลายๆ คนยกย่อง ให้เขาเป็น  " The Founder of Computer Science”  หรือผู้ริเริ่ม ศาสตร์คอมพิวเตอร์ รวมทั้งยัง ได้รับรางวัล  " Smith's prize”  ด้วย   ต่อมาทัวริง ทำปริญญาโท และปริญญาเอก ที่ศูนย์วิจัย มหาวิทยาลัย ปรินซ์ตัน แล้วเสนอความคิด ออกแบบเครื่องจักรทัวริง  ( Universal Turing Machine)  โดยในยุคนั้น ไม่ได้เรียกว่า คอมพิวเตอร์ แต่เรียกว่าเป็น เครื่องคำนวณ ที่สามารถป้อนข้อมูลได้ และเขาได้สร้าง เครื่องเข้ารหัส  ( cipher machine)  โดยใช้รีเลย์แม่เหล็กไฟฟ้า สำหรับคูณเลขฐานสอง   ทัวริงทำงาน ให้กับ  " British Cryptanalytic department”  รวมทั้ง ทำงานด้าน   "ordinal logic”  เพราะเชื่อว่า คนสามารถตอบโต้ ต่อเหตุการณ์ได้ โดยไม่ต้องคำนวน ในระหว่าง สงครามโลกครั้งที่สอง เขามีส่วนสำคัญ ในการแกะรหัสลับ ของฝ่ายเยอรมัน โดยเป็นหัวหน้ากลุ่ม  Hut 8  เพื่อทำหน้าที่ แกะรหัสเครื่องอีนิกมา  ( Enigma Cipher Machine)  ที่ใช้ในฝ่ายทหารเรือ      
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
อัลกอริทึม   เป็นส่วนประกอบที่สำคัญในการสร้างโปรแกรมหรือการประมวลผลใด ๆ เพื่อใช้เป็นแนวทางที่ชัดเจนในการสร้างโปรแกรมและแก้ปัญหาต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น ความหมายและลักษณะของอัลกอริทึม อัลกอริทึม   (Algorithm )  เป็นส่วนหนึ่งในขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์   เกิดจากแนวคิดอย่างเป็นระบบเพื่อนำไปสู่ผลลัพธ์ที่ต้องการ   และเพื่อให้คอมพิวเตอร์ทำงานตามความต้องการหรือแก้ปัญหาใด ๆ   ประกอบด้วยชุดของการทำงานที่ชัดเจน   ดังนั้นหากออกแบบอัลกอริทึมได้ดี   เมื่อนำไปเขียนโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ใด ๆ ก็จะได้ผลลัพธ์ตามความต้องการ   โดยทั่วไปแล้วในชีวิตประจำวันของมนุษย์   ทั้งในการทำงานและการแก้ปัญหาต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับคอมพิวเตอร์หรือไม่ก็ตามมักจะเกี่ยวข้องกับอัลกอริทึมอยู่แล้ว   ยกตัวอย่างเช่น   วิธีการปฐมพยาบาล   ตำราประกอบอาหาร   เป็นต้น   ซึ่งอธิบายขั้นตอนต่าง ๆ ด้วยภาษาที่อ่านแล้วเข้าใจง่าย   แต่ในด้านคอมพิวเตอร์นั้นจำเป็นที่จะต้องเรียนรู้คำสั่งต่างๆ เพิ่มเติมเพื่อให้คอมพิวเตอร์ สามารถเข้าใจได้  อัลกอริทึมการทำปูม้าสองเกลอ 1.  เรียงรากผักชีลงในถาดสี่เหลี่ยม 2.  นำปูม้า  2  ตัว   วางลงบนรากผักชี 3.  นำเกลือป่น  1  ช้อนชา   และ เนย  1  ช้อนโต๊ะ โรยบนตัวปูม้า   4.  นำถาดปูม้าใส่ลังถึง   แล้วนึ่ง ประมาณ  15 – 20  นาที
ความรู้พื้นฐานสำหรับเขียนการอัลกอริทึม ในการออกแบบอัลกอริทึม   ต้องคำนึงถึงระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์   3  ด้าน คือ 1.  ด้านหน่วยความจำ   ในการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์จะต้องมีการใช้งานพื้นที่ในหน่วยความจำของคอมพิวเตอร์   เช่น   การกำหนดค่าข้อมูล   การรับข้อมูลจากผู้ใช้   และการคำนวณที่มีผลลัพธ์เกิดขึ้น   เป็นต้น   ข้อมูลเหล่านี้จะถูกเก็บไว้ที่หน่วยความจำของคอมพิวเตอร์   ดังนั้นจะต้องมีการกำหนดตัวแปร   (Variable)  ขึ้นมา   เพื่อเป็นตัวแทนสำหรับใช้อ้างอิงถึงข้อมูลที่ถูกเก็บไว้ในหน่วยความจำนั่นเอง   ตารางที่   2.1  ตัวอย่างการกำหนดค่าให้กับตัวแปร         ตัวอย่าง ความหมาย Price  = 100 ตัวแปร   Price  อ้างอิงถึงข้อมูล  100  ในหน่วยความจำ Vat = Price * 0.07 ตัวแปร   Vat  อ้างอิงถึงผลลัพธ์ที่ได้จากการคำนวณค่าที่เก็บไว้ในตัวแปร   Price  คูณด้วย  0.07  เพราะฉะนั้นตัวแปร  Vat  จึงอ้างอิงถึงข้อมูล  7.00 ( เกิดจาก   100 * 0.07 ) N = 10 ตัวแปร   N  อ้างอิงถึงข้อมูล  10  ที่เก็บไว้ในหน่วยความจำ N = N + 1 ตัวแปร   N  อ้างอิงถึงผลลัพธ์ที่ได้จากการคำนวณค่าที่เก็บไว้ใน   ตัวแปร  N  บวกด้วย  1  เพราะฉะนั้นตัวแปร  N  จึงอ้างอิงถึงข้อมูล  11  ( เกิดจาก  10 + 1) หมายเหตุ   การใช้เครื่องหมายเท่ากับ  (  =  )  แทนการกำหนดค่าให้กับตัวแปร   โดยจะทำการประมวลผลค่าที่อยู่ด้านขวาของเครื่องหมายเท่ากับก่อน   แล้วผลลัพธ์ที่ได้จึงเก็บไว้   ด้วยตัวแปรที่อยู่ด้านซ้ายของเครื่องหมายเท่ากับ
2.  ด้านการคำนวณ   ในการประมวลผลที่เกี่ยวข้องกับการคำนวณด้วยคอมพิวเตอร์แตกต่างจากการคำนวณของมนุษย์   เพราะมีการพิจารณาจากลำดับความสำคัญของสัญลักษณ์หรือเครื่องหมายการคำนวณก่อน   ไม่ได้คำนวณจากซ้ายไปขวาเสมอไป   ตารางที่   2.2   ลำดับความสำคัญของสัญลักษณ์หรือเครื่องหมายการคำนวณ   ลำดับความสำคัญ สัญลักษณ์หรือเครื่องหมาย ความหมาย 1     วงเล็บ   สำหรับจัดกลุ่มการคำนวณ 2  คูณ   หาร 3  บวก    ลบ หมายเหตุ   การคำนวณจะทำจากลำดับความสำคัญสูงกว่าก่อน   ส่วนกรณีที่มีลำดับ ความสำคัญเท่ากันจะทำการคำนวณจากซ้ายไปขวา
ตารางที่   2.3  ตัวอย่างวิธีการคำนวณด้วยคอมพิวเตอร์   กำหนดให้   X = 10  และ  Y = 5 คำสั่ง ลำดับการทำงาน ผลลัพธ์ Z  =  ( X + Y ) * 2 ( X + Y ) 15 ทำในวงเล็บก่อน ( X + Y )  * 2 30 Z  =  X + Y  * 2 Y   * 2 10    เครื่องหมาย  *  มีลำดับความสำคัญสูงกว่า   เครื่องหมาย   + X +  Y  * 2 20 Z  =  X /2 * Y  X /2 5    เครื่องหมาย  /   มีลำดับความสำคัญเท่ากับ   เครื่องหมาย  *  จึงทำจากซ้ายไปขวา X /2  * Y 25
ที่มา http://www.pakxe.com/home/modules.php?name=Content&pa=showpage&pid= 881 http://gotoknow.org/blog/nopmee-b 01/269999 th.wikipedia.org/wiki/ เครื่อ ง จักร ทัวริง

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

งานคอมพิวเตอร์
งานคอมพิวเตอร์งานคอมพิวเตอร์
งานคอมพิวเตอร์khwanjai
 
Turing machine2
Turing machine2Turing machine2
Turing machine2ninewyuya
 
Turing machine
Turing machineTuring machine
Turing machineair
 
การบ้านคอม
การบ้านคอมการบ้านคอม
การบ้านคอมNucharee
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงานjamiezaa123
 
ข้อสอบ5 เม.ย. การใช้เทคโนโลยีอินเตอร์เนต ปวส 2558มี80ข้อ
ข้อสอบ5 เม.ย. การใช้เทคโนโลยีอินเตอร์เนต ปวส 2558มี80ข้อข้อสอบ5 เม.ย. การใช้เทคโนโลยีอินเตอร์เนต ปวส 2558มี80ข้อ
ข้อสอบ5 เม.ย. การใช้เทคโนโลยีอินเตอร์เนต ปวส 2558มี80ข้อpeter dontoom
 
พื้นฐานการสร้าง Java
พื้นฐานการสร้าง Javaพื้นฐานการสร้าง Java
พื้นฐานการสร้าง JavaJanë Janejira
 
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
ใบงานที่ 4
ใบงานที่ 4ใบงานที่ 4
ใบงานที่ 4Soldic Kalayanee
 
งานกลุ่มมคอม
งานกลุ่มมคอมงานกลุ่มมคอม
งานกลุ่มมคอมEdz Chatchawan
 
Von neumann architecture
Von neumann architectureVon neumann architecture
Von neumann architectureair
 
Von neumann architecture
Von neumann architectureVon neumann architecture
Von neumann architectureair
 
Von neumann architecture
Von neumann architectureVon neumann architecture
Von neumann architectureair
 
ข้อสอบคอมพิวเตอร์ไร้พรมแดนเฉลย
ข้อสอบคอมพิวเตอร์ไร้พรมแดนเฉลยข้อสอบคอมพิวเตอร์ไร้พรมแดนเฉลย
ข้อสอบคอมพิวเตอร์ไร้พรมแดนเฉลยpeter dontoom
 

Mais procurados (14)

งานคอมพิวเตอร์
งานคอมพิวเตอร์งานคอมพิวเตอร์
งานคอมพิวเตอร์
 
Turing machine2
Turing machine2Turing machine2
Turing machine2
 
Turing machine
Turing machineTuring machine
Turing machine
 
การบ้านคอม
การบ้านคอมการบ้านคอม
การบ้านคอม
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
ข้อสอบ5 เม.ย. การใช้เทคโนโลยีอินเตอร์เนต ปวส 2558มี80ข้อ
ข้อสอบ5 เม.ย. การใช้เทคโนโลยีอินเตอร์เนต ปวส 2558มี80ข้อข้อสอบ5 เม.ย. การใช้เทคโนโลยีอินเตอร์เนต ปวส 2558มี80ข้อ
ข้อสอบ5 เม.ย. การใช้เทคโนโลยีอินเตอร์เนต ปวส 2558มี80ข้อ
 
พื้นฐานการสร้าง Java
พื้นฐานการสร้าง Javaพื้นฐานการสร้าง Java
พื้นฐานการสร้าง Java
 
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
 
ใบงานที่ 4
ใบงานที่ 4ใบงานที่ 4
ใบงานที่ 4
 
งานกลุ่มมคอม
งานกลุ่มมคอมงานกลุ่มมคอม
งานกลุ่มมคอม
 
Von neumann architecture
Von neumann architectureVon neumann architecture
Von neumann architecture
 
Von neumann architecture
Von neumann architectureVon neumann architecture
Von neumann architecture
 
Von neumann architecture
Von neumann architectureVon neumann architecture
Von neumann architecture
 
ข้อสอบคอมพิวเตอร์ไร้พรมแดนเฉลย
ข้อสอบคอมพิวเตอร์ไร้พรมแดนเฉลยข้อสอบคอมพิวเตอร์ไร้พรมแดนเฉลย
ข้อสอบคอมพิวเตอร์ไร้พรมแดนเฉลย
 

Destaque

투이컨설팅 제23회 Y세미나 : 설문결과
투이컨설팅 제23회 Y세미나 : 설문결과투이컨설팅 제23회 Y세미나 : 설문결과
투이컨설팅 제23회 Y세미나 : 설문결과2econsulting
 
Resumen de señalización
Resumen de señalizaciónResumen de señalización
Resumen de señalizaciónFredys Mercado
 
CETS 2011, Jeff Graunke, slides for Creating Studio-Quality Audio on a Budget
CETS 2011, Jeff Graunke, slides for Creating Studio-Quality Audio on a BudgetCETS 2011, Jeff Graunke, slides for Creating Studio-Quality Audio on a Budget
CETS 2011, Jeff Graunke, slides for Creating Studio-Quality Audio on a BudgetChicago eLearning & Technology Showcase
 
Análisis exploratorio SPSS
Análisis exploratorio SPSSAnálisis exploratorio SPSS
Análisis exploratorio SPSSAl Cougar
 
투이컨설팅 제38회 Y세미나 : 설문결과
투이컨설팅 제38회 Y세미나 : 설문결과투이컨설팅 제38회 Y세미나 : 설문결과
투이컨설팅 제38회 Y세미나 : 설문결과2econsulting
 
투이컨설팅 제40회 Y세미나 : 설문결과
투이컨설팅 제40회 Y세미나 : 설문결과투이컨설팅 제40회 Y세미나 : 설문결과
투이컨설팅 제40회 Y세미나 : 설문결과2econsulting
 
투이컨설팅 제32회 Y세미나 : 설문결과
투이컨설팅 제32회 Y세미나 : 설문결과투이컨설팅 제32회 Y세미나 : 설문결과
투이컨설팅 제32회 Y세미나 : 설문결과2econsulting
 
Mediterranean trade
Mediterranean tradeMediterranean trade
Mediterranean trade.
 
투이컨설팅 제27회 Y세미나 : 설문결과
투이컨설팅 제27회 Y세미나 : 설문결과투이컨설팅 제27회 Y세미나 : 설문결과
투이컨설팅 제27회 Y세미나 : 설문결과2econsulting
 
투이컨설팅 제39회 Y세미나 : 설문결과
투이컨설팅 제39회 Y세미나 : 설문결과투이컨설팅 제39회 Y세미나 : 설문결과
투이컨설팅 제39회 Y세미나 : 설문결과2econsulting
 
CETS 2010, Amanda Schulze & Paul Dahl, Creating Winning Webinar Experiences
CETS 2010, Amanda Schulze & Paul Dahl, Creating Winning Webinar ExperiencesCETS 2010, Amanda Schulze & Paul Dahl, Creating Winning Webinar Experiences
CETS 2010, Amanda Schulze & Paul Dahl, Creating Winning Webinar ExperiencesChicago eLearning & Technology Showcase
 
Droga rowerowa w ciągu ulic: Pionierów i Perseusza
Droga rowerowa w ciągu ulic: Pionierów i PerseuszaDroga rowerowa w ciągu ulic: Pionierów i Perseusza
Droga rowerowa w ciągu ulic: Pionierów i PerseuszaRobert
 
CETS 2012, Larry Straining, slides for Learning Technology with Today's Tech ...
CETS 2012, Larry Straining, slides for Learning Technology with Today's Tech ...CETS 2012, Larry Straining, slides for Learning Technology with Today's Tech ...
CETS 2012, Larry Straining, slides for Learning Technology with Today's Tech ...Chicago eLearning & Technology Showcase
 
Linkedin Steps To Success
Linkedin Steps To SuccessLinkedin Steps To Success
Linkedin Steps To SuccessKatiebackagain
 
Dress The Drink Wholesale Distribution Preso 4 21 11
Dress The Drink Wholesale Distribution Preso 4 21 11Dress The Drink Wholesale Distribution Preso 4 21 11
Dress The Drink Wholesale Distribution Preso 4 21 11dressthedrink
 

Destaque (20)

투이컨설팅 제23회 Y세미나 : 설문결과
투이컨설팅 제23회 Y세미나 : 설문결과투이컨설팅 제23회 Y세미나 : 설문결과
투이컨설팅 제23회 Y세미나 : 설문결과
 
CWorks case study
CWorks case studyCWorks case study
CWorks case study
 
Resumen de señalización
Resumen de señalizaciónResumen de señalización
Resumen de señalización
 
Two Studies of Consumer Reviews
Two Studies of Consumer ReviewsTwo Studies of Consumer Reviews
Two Studies of Consumer Reviews
 
CETS 2011, Jeff Graunke, slides for Creating Studio-Quality Audio on a Budget
CETS 2011, Jeff Graunke, slides for Creating Studio-Quality Audio on a BudgetCETS 2011, Jeff Graunke, slides for Creating Studio-Quality Audio on a Budget
CETS 2011, Jeff Graunke, slides for Creating Studio-Quality Audio on a Budget
 
CETS 2011, Sarah Remijan, handout for Webinars Made Easy
CETS 2011, Sarah Remijan, handout for Webinars Made EasyCETS 2011, Sarah Remijan, handout for Webinars Made Easy
CETS 2011, Sarah Remijan, handout for Webinars Made Easy
 
Análisis exploratorio SPSS
Análisis exploratorio SPSSAnálisis exploratorio SPSS
Análisis exploratorio SPSS
 
World Bloggers & Social Media Summit 2011 - Brochure
World Bloggers & Social Media Summit 2011 - BrochureWorld Bloggers & Social Media Summit 2011 - Brochure
World Bloggers & Social Media Summit 2011 - Brochure
 
Dtd Presskit 2010
Dtd Presskit 2010Dtd Presskit 2010
Dtd Presskit 2010
 
투이컨설팅 제38회 Y세미나 : 설문결과
투이컨설팅 제38회 Y세미나 : 설문결과투이컨설팅 제38회 Y세미나 : 설문결과
투이컨설팅 제38회 Y세미나 : 설문결과
 
투이컨설팅 제40회 Y세미나 : 설문결과
투이컨설팅 제40회 Y세미나 : 설문결과투이컨설팅 제40회 Y세미나 : 설문결과
투이컨설팅 제40회 Y세미나 : 설문결과
 
투이컨설팅 제32회 Y세미나 : 설문결과
투이컨설팅 제32회 Y세미나 : 설문결과투이컨설팅 제32회 Y세미나 : 설문결과
투이컨설팅 제32회 Y세미나 : 설문결과
 
Mediterranean trade
Mediterranean tradeMediterranean trade
Mediterranean trade
 
투이컨설팅 제27회 Y세미나 : 설문결과
투이컨설팅 제27회 Y세미나 : 설문결과투이컨설팅 제27회 Y세미나 : 설문결과
투이컨설팅 제27회 Y세미나 : 설문결과
 
투이컨설팅 제39회 Y세미나 : 설문결과
투이컨설팅 제39회 Y세미나 : 설문결과투이컨설팅 제39회 Y세미나 : 설문결과
투이컨설팅 제39회 Y세미나 : 설문결과
 
CETS 2010, Amanda Schulze & Paul Dahl, Creating Winning Webinar Experiences
CETS 2010, Amanda Schulze & Paul Dahl, Creating Winning Webinar ExperiencesCETS 2010, Amanda Schulze & Paul Dahl, Creating Winning Webinar Experiences
CETS 2010, Amanda Schulze & Paul Dahl, Creating Winning Webinar Experiences
 
Droga rowerowa w ciągu ulic: Pionierów i Perseusza
Droga rowerowa w ciągu ulic: Pionierów i PerseuszaDroga rowerowa w ciągu ulic: Pionierów i Perseusza
Droga rowerowa w ciągu ulic: Pionierów i Perseusza
 
CETS 2012, Larry Straining, slides for Learning Technology with Today's Tech ...
CETS 2012, Larry Straining, slides for Learning Technology with Today's Tech ...CETS 2012, Larry Straining, slides for Learning Technology with Today's Tech ...
CETS 2012, Larry Straining, slides for Learning Technology with Today's Tech ...
 
Linkedin Steps To Success
Linkedin Steps To SuccessLinkedin Steps To Success
Linkedin Steps To Success
 
Dress The Drink Wholesale Distribution Preso 4 21 11
Dress The Drink Wholesale Distribution Preso 4 21 11Dress The Drink Wholesale Distribution Preso 4 21 11
Dress The Drink Wholesale Distribution Preso 4 21 11
 

Semelhante a Turing machine2

Copy of การบ้านคอม 3 แก้ไข.pdf
Copy of การบ้านคอม 3 แก้ไข.pdfCopy of การบ้านคอม 3 แก้ไข.pdf
Copy of การบ้านคอม 3 แก้ไข.pdfWanlika Tangsakha
 
Copy of การบ้านคอม 3 แก้ไข.pdf
Copy of การบ้านคอม 3 แก้ไข.pdfCopy of การบ้านคอม 3 แก้ไข.pdf
Copy of การบ้านคอม 3 แก้ไข.pdfWanlika Tangsakha
 
Copy of การบ้านคอม 3 แก้ไข.pdf
Copy of การบ้านคอม 3 แก้ไข.pdfCopy of การบ้านคอม 3 แก้ไข.pdf
Copy of การบ้านคอม 3 แก้ไข.pdfWanlika Tangsakha
 
Copy of การบ้านคอม 3 แก้ไข.pdf
Copy of การบ้านคอม 3 แก้ไข.pdfCopy of การบ้านคอม 3 แก้ไข.pdf
Copy of การบ้านคอม 3 แก้ไข.pdfWanlika Tangsakha
 
Copy of การบ้านคอม 3 แก้ไข.pdf
Copy of การบ้านคอม 3 แก้ไข.pdfCopy of การบ้านคอม 3 แก้ไข.pdf
Copy of การบ้านคอม 3 แก้ไข.pdfWanlika Tangsakha
 
Copy of การบ้านคอม 3 แก้ไข.pdf
Copy of การบ้านคอม 3 แก้ไข.pdfCopy of การบ้านคอม 3 แก้ไข.pdf
Copy of การบ้านคอม 3 แก้ไข.pdfWanlika Tangsakha
 
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ใน ปัจจุบัน
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ใน ปัจจุบันเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ใน ปัจจุบัน
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ใน ปัจจุบันkanit087
 
รู้จักวิวัฒนาการคอม
รู้จักวิวัฒนาการคอมรู้จักวิวัฒนาการคอม
รู้จักวิวัฒนาการคอมพัน พัน
 
ก่อนจะมาเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์
ก่อนจะมาเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ก่อนจะมาเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์
ก่อนจะมาเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์uthenmada
 
ใบงานที่ 11 แผ่นพับ
ใบงานที่ 11 แผ่นพับใบงานที่ 11 แผ่นพับ
ใบงานที่ 11 แผ่นพับkorkielove
 
ใบงานที่11แผ่นพับ
ใบงานที่11แผ่นพับใบงานที่11แผ่นพับ
ใบงานที่11แผ่นพับPongPang Indy
 
ใบงานที่11แผ่นพับ
ใบงานที่11แผ่นพับใบงานที่11แผ่นพับ
ใบงานที่11แผ่นพับMingjoo Mingjoo
 
ใบงานที่11แผ่นพับ
ใบงานที่11แผ่นพับใบงานที่11แผ่นพับ
ใบงานที่11แผ่นพับPongPang Indy
 
ใบงานที่ 11 แผ่นพับ (1)
ใบงานที่ 11 แผ่นพับ (1)ใบงานที่ 11 แผ่นพับ (1)
ใบงานที่ 11 แผ่นพับ (1)korkielove
 

Semelhante a Turing machine2 (20)

Copy of การบ้านคอม 3 แก้ไข.pdf
Copy of การบ้านคอม 3 แก้ไข.pdfCopy of การบ้านคอม 3 แก้ไข.pdf
Copy of การบ้านคอม 3 แก้ไข.pdf
 
Copy of การบ้านคอม 3 แก้ไข.pdf
Copy of การบ้านคอม 3 แก้ไข.pdfCopy of การบ้านคอม 3 แก้ไข.pdf
Copy of การบ้านคอม 3 แก้ไข.pdf
 
Copy of การบ้านคอม 3 แก้ไข.pdf
Copy of การบ้านคอม 3 แก้ไข.pdfCopy of การบ้านคอม 3 แก้ไข.pdf
Copy of การบ้านคอม 3 แก้ไข.pdf
 
Copy of การบ้านคอม 3 แก้ไข.pdf
Copy of การบ้านคอม 3 แก้ไข.pdfCopy of การบ้านคอม 3 แก้ไข.pdf
Copy of การบ้านคอม 3 แก้ไข.pdf
 
Copy of การบ้านคอม 3 แก้ไข.pdf
Copy of การบ้านคอม 3 แก้ไข.pdfCopy of การบ้านคอม 3 แก้ไข.pdf
Copy of การบ้านคอม 3 แก้ไข.pdf
 
Copy of การบ้านคอม 3 แก้ไข.pdf
Copy of การบ้านคอม 3 แก้ไข.pdfCopy of การบ้านคอม 3 แก้ไข.pdf
Copy of การบ้านคอม 3 แก้ไข.pdf
 
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ใน ปัจจุบัน
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ใน ปัจจุบันเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ใน ปัจจุบัน
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ใน ปัจจุบัน
 
รู้จักวิวัฒนาการคอม
รู้จักวิวัฒนาการคอมรู้จักวิวัฒนาการคอม
รู้จักวิวัฒนาการคอม
 
รายงาน
รายงานรายงาน
รายงาน
 
ก่อนจะมาเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์
ก่อนจะมาเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ก่อนจะมาเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์
ก่อนจะมาเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์
 
ใบงานที่ 11 แผ่นพับ
ใบงานที่ 11 แผ่นพับใบงานที่ 11 แผ่นพับ
ใบงานที่ 11 แผ่นพับ
 
ใบงานที่11แผ่นพับ
ใบงานที่11แผ่นพับใบงานที่11แผ่นพับ
ใบงานที่11แผ่นพับ
 
11
1111
11
 
ใบงานที่11แผ่นพับ
ใบงานที่11แผ่นพับใบงานที่11แผ่นพับ
ใบงานที่11แผ่นพับ
 
ใบงานที่11 แผ่นพับ
ใบงานที่11 แผ่นพับใบงานที่11 แผ่นพับ
ใบงานที่11 แผ่นพับ
 
ใบความรู้ที่11 แบบพิมพ์
ใบความรู้ที่11 แบบพิมพ์ใบความรู้ที่11 แบบพิมพ์
ใบความรู้ที่11 แบบพิมพ์
 
ใบงานที่ 11 แผ่นพับ
ใบงานที่ 11 แผ่นพับใบงานที่ 11 แผ่นพับ
ใบงานที่ 11 แผ่นพับ
 
ใบงานที่11 แผ่นพับ
ใบงานที่11 แผ่นพับใบงานที่11 แผ่นพับ
ใบงานที่11 แผ่นพับ
 
ใบงานที่11แผ่นพับ
ใบงานที่11แผ่นพับใบงานที่11แผ่นพับ
ใบงานที่11แผ่นพับ
 
ใบงานที่ 11 แผ่นพับ (1)
ใบงานที่ 11 แผ่นพับ (1)ใบงานที่ 11 แผ่นพับ (1)
ใบงานที่ 11 แผ่นพับ (1)
 

Turing machine2

  • 1. Turing machine เสนอ คุณครู ณัฐพล บัวอุไร จัดทำโดย นายเมธัส มุ่งตุลารักษ์ ม .4/1 เลขที่ 9 งานนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2553 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ลำลูกกา
  • 2. Turing machine เครื่องจักรทัวริง เครื่องจักรทัวริง คือเครื่องจักรนามธรรมที่แอลัน ทัวริงได้คิดค้นขึ้นใน ค . ศ . 1936 ( พ . ศ . 2479) เพื่อการนิยามอัลกอริทึมหรือ ' กระบวนการเชิงกล ' อย่างชัดเจนแบบคณิตศาสตร์ เครื่องจักรทัวริงได้ถูกใช้อย่างแพร่หลายในการศึกษาวิทยาการคอมพิวเตอร์เชิงทฤษฎี โดยเฉพาะในทฤษฎีความซับซ้อนในการคำนวณและทฤษฎีการคำนวณ ข้อปัญหา ( thesis) ที่ว่าโมเดลของเครื่องจักรทัวริงนั้นครอบคลุมกระบวนการเชิงกลทั้งหมด ในการคำนวณทางตรรกศาสตร์และคณิตศาสตร์ เป็นที่รู้จักกันในชื่อข้อปัญหาของเชิร์ช - ทัวริง แนวคิดของเครื่องจักรทัวริงนั้นต้องการจะอธิบายการทำงานของคนที่ปฏิบัติตามขั้นตอนที่ระบุไว้อย่างชัดเจน เพื่อแก้ไขข้อมูลที่ถูกบันทึกไว้ในกระดาษที่เรียงต่อกันความยาวไม่จำกัด โดยที่กระดาษแผ่นหนึ่งจะสามารถเก็บสัญลักษณ์ได้หนึ่งตัวจากสัญลักษณ์ที่เป็นไปได้จำนวนจำกัด ผู้ปฏิบัติงานนั้นจะต้องจดจำสถานะหนึ่งจากสถานะที่เป็นไปได้ที่มีจำนวนจำกัด และขั้นตอนที่ระบุให้เขาทำงานนั้นจะอยู่ในลักษณะเช่น " ถ้าสถานะของคุณคือ 42 และสัญลักษณ์บนกระดาษที่คุณเห็นคือ ' 0 ', ให้เปลี่ยนสัญลักษณ์นี้เป็น ' 1 ', จดจำว่าสถานะใหม่เป็น 17 และไปทำงานต่อกับกระดาษแผ่นถัดไป " เครื่องจักรทัวริงนั้นไม่เกี่ยวข้องกับการทดสอบของทัวริง ซึ่งถูกใช้เพื่ออธิบายความหมายของปัญญาประดิษฐ์โดยทัวริง เครื่องจักรทัวริงที่สามารถจำลองการทำงานของเครื่องจักรทัวริงเครื่องใด ๆ ก็ได้เรียกว่า เครื่องจักรทัวริงสากล ( universal Turing machine) หรือเรียกสั้นๆ ว่า เครื่องจักรสากล ทัวริงอธิบายไว้ใน ค . ศ . 1947 ( พ . ศ . 2490) ว่า สามารถแสดงได้ว่ามีเครื่องจักรพิเศษในรูปแบบนี้ ที่สามารถทำงานของเครื่องจักรอื่น ๆ ในรูปแบบดังกล่าวได้ทั้งหมด นอกจากนี้เครื่องจักรนี้ยังสามารถใช้เป็นโมเดลสำหรับเครื่องจักรในแบบอื่น ๆ เครื่องจักรพิเศษนี้สามารถเรียกได้ว่าเป็นเครื่องจักรสากล
  • 3. แอลัน แมททิสัน ทัวริง ( Alan Mathison Turing) เป็นชาวอังกฤษ เขาได้เข้า เรียนคณิตศาสตร์ ที่มหาวิทยาลัยแคมบริดจ์ ในปีพ . ศ . 2474 ซึ่งระหว่างนั้น เขาทำกิจกรรมหลายอย่าง โดยเฉพาะวิ่งแข่ง จนสามารถชนะเลิศ การแข่งขัน ของสมาคมนักกรีฑาสมัครเล่น และในปี พ . ศ . 2491 เขาได้เหรียญทอง วิ่งมาราธอนโอลิกปิก ด้วยความเร็ว 11 นาที หลังจากเรียนจบ เขาได้รับเชิญ ให้อยู่เป็น Fellow ด้านคณิตศาสตร์ต่อ ซึ่งส่วนใหญ่ Fellow ของเคมบริดจ์ จะเป็นพวกที่จบปริญญาเอก แต่เขาจบเพียงปริญญาตรี ต่อมาวันที่ 28 พฤษภาคม พ . ศ . 2479 ทัวริงได้ออก บทความวิชาการ เรื่อง " On Computable Numbers with an application to the Entscheidungsproblem” เพื่อตีพิมพ์ โดยก่อนหน้านั้น มีผลงานของ Church ออกมา ซึ่งมีหัวข้อเหมือนๆ กัน เลยจำเป็นต้องเขียนอิงงานของ Church ด้วย แต่เมื่อบทความเผยแพร่ออกมา กลับแสดงให้เห็นว่า เป็นคนละทฤษฏีกัน ทำให้หลายๆ คนยกย่อง ให้เขาเป็น " The Founder of Computer Science” หรือผู้ริเริ่ม ศาสตร์คอมพิวเตอร์ รวมทั้งยัง ได้รับรางวัล " Smith's prize” ด้วย
  • 4.   แอลัน แมททิสัน ทัวริง ( Alan Mathison Turing) เป็นชาวอังกฤษ เขาได้เข้า เรียนคณิตศาสตร์ ที่มหาวิทยาลัยแคมบริดจ์ ในปีพ . ศ . 2474 ซึ่งระหว่างนั้น เขาทำกิจกรรมหลายอย่าง โดยเฉพาะวิ่งแข่ง จนสามารถชนะเลิศ การแข่งขัน ของสมาคมนักกรีฑาสมัครเล่น และในปี พ . ศ . 2491 เขาได้เหรียญทอง วิ่งมาราธอนโอลิกปิก ด้วยความเร็ว 11 นาที หลังจากเรียนจบ เขาได้รับเชิญ ให้อยู่เป็น Fellow ด้านคณิตศาสตร์ต่อ ซึ่งส่วนใหญ่ Fellow ของเคมบริดจ์ จะเป็นพวกที่จบปริญญาเอก แต่เขาจบเพียงปริญญาตรี ต่อมาวันที่ 28 พฤษภาคม พ . ศ . 2479 ทัวริงได้ออก บทความวิชาการ เรื่อง " On Computable Numbers with an application to the Entscheidungsproblem” เพื่อตีพิมพ์ โดยก่อนหน้านั้น มีผลงานของ Church ออกมา ซึ่งมีหัวข้อเหมือนๆ กัน เลยจำเป็นต้องเขียนอิงงานของ Church ด้วย แต่เมื่อบทความเผยแพร่ออกมา กลับแสดงให้เห็นว่า เป็นคนละทฤษฏีกัน ทำให้หลายๆ คนยกย่อง ให้เขาเป็น " The Founder of Computer Science” หรือผู้ริเริ่ม ศาสตร์คอมพิวเตอร์ รวมทั้งยัง ได้รับรางวัล " Smith's prize” ด้วย ต่อมาทัวริง ทำปริญญาโท และปริญญาเอก ที่ศูนย์วิจัย มหาวิทยาลัย ปรินซ์ตัน แล้วเสนอความคิด ออกแบบเครื่องจักรทัวริง ( Universal Turing Machine) โดยในยุคนั้น ไม่ได้เรียกว่า คอมพิวเตอร์ แต่เรียกว่าเป็น เครื่องคำนวณ ที่สามารถป้อนข้อมูลได้ และเขาได้สร้าง เครื่องเข้ารหัส ( cipher machine) โดยใช้รีเลย์แม่เหล็กไฟฟ้า สำหรับคูณเลขฐานสอง ทัวริงทำงาน ให้กับ " British Cryptanalytic department” รวมทั้ง ทำงานด้าน "ordinal logic” เพราะเชื่อว่า คนสามารถตอบโต้ ต่อเหตุการณ์ได้ โดยไม่ต้องคำนวน ในระหว่าง สงครามโลกครั้งที่สอง เขามีส่วนสำคัญ ในการแกะรหัสลับ ของฝ่ายเยอรมัน โดยเป็นหัวหน้ากลุ่ม Hut 8 เพื่อทำหน้าที่ แกะรหัสเครื่องอีนิกมา ( Enigma Cipher Machine) ที่ใช้ในฝ่ายทหารเรือ    
  • 5.
  • 6. อัลกอริทึม เป็นส่วนประกอบที่สำคัญในการสร้างโปรแกรมหรือการประมวลผลใด ๆ เพื่อใช้เป็นแนวทางที่ชัดเจนในการสร้างโปรแกรมและแก้ปัญหาต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น ความหมายและลักษณะของอัลกอริทึม อัลกอริทึม (Algorithm ) เป็นส่วนหนึ่งในขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ เกิดจากแนวคิดอย่างเป็นระบบเพื่อนำไปสู่ผลลัพธ์ที่ต้องการ และเพื่อให้คอมพิวเตอร์ทำงานตามความต้องการหรือแก้ปัญหาใด ๆ ประกอบด้วยชุดของการทำงานที่ชัดเจน ดังนั้นหากออกแบบอัลกอริทึมได้ดี เมื่อนำไปเขียนโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ใด ๆ ก็จะได้ผลลัพธ์ตามความต้องการ   โดยทั่วไปแล้วในชีวิตประจำวันของมนุษย์ ทั้งในการทำงานและการแก้ปัญหาต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับคอมพิวเตอร์หรือไม่ก็ตามมักจะเกี่ยวข้องกับอัลกอริทึมอยู่แล้ว ยกตัวอย่างเช่น วิธีการปฐมพยาบาล ตำราประกอบอาหาร เป็นต้น ซึ่งอธิบายขั้นตอนต่าง ๆ ด้วยภาษาที่อ่านแล้วเข้าใจง่าย แต่ในด้านคอมพิวเตอร์นั้นจำเป็นที่จะต้องเรียนรู้คำสั่งต่างๆ เพิ่มเติมเพื่อให้คอมพิวเตอร์ สามารถเข้าใจได้ อัลกอริทึมการทำปูม้าสองเกลอ 1. เรียงรากผักชีลงในถาดสี่เหลี่ยม 2. นำปูม้า 2 ตัว วางลงบนรากผักชี 3. นำเกลือป่น 1 ช้อนชา และ เนย 1 ช้อนโต๊ะ โรยบนตัวปูม้า 4. นำถาดปูม้าใส่ลังถึง แล้วนึ่ง ประมาณ 15 – 20 นาที
  • 7. ความรู้พื้นฐานสำหรับเขียนการอัลกอริทึม ในการออกแบบอัลกอริทึม ต้องคำนึงถึงระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์ 3 ด้าน คือ 1. ด้านหน่วยความจำ ในการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์จะต้องมีการใช้งานพื้นที่ในหน่วยความจำของคอมพิวเตอร์ เช่น การกำหนดค่าข้อมูล การรับข้อมูลจากผู้ใช้ และการคำนวณที่มีผลลัพธ์เกิดขึ้น เป็นต้น ข้อมูลเหล่านี้จะถูกเก็บไว้ที่หน่วยความจำของคอมพิวเตอร์ ดังนั้นจะต้องมีการกำหนดตัวแปร (Variable) ขึ้นมา เพื่อเป็นตัวแทนสำหรับใช้อ้างอิงถึงข้อมูลที่ถูกเก็บไว้ในหน่วยความจำนั่นเอง   ตารางที่ 2.1 ตัวอย่างการกำหนดค่าให้กับตัวแปร         ตัวอย่าง ความหมาย Price = 100 ตัวแปร Price อ้างอิงถึงข้อมูล 100 ในหน่วยความจำ Vat = Price * 0.07 ตัวแปร Vat อ้างอิงถึงผลลัพธ์ที่ได้จากการคำนวณค่าที่เก็บไว้ในตัวแปร Price คูณด้วย 0.07 เพราะฉะนั้นตัวแปร Vat จึงอ้างอิงถึงข้อมูล 7.00 ( เกิดจาก 100 * 0.07 ) N = 10 ตัวแปร N อ้างอิงถึงข้อมูล 10 ที่เก็บไว้ในหน่วยความจำ N = N + 1 ตัวแปร N อ้างอิงถึงผลลัพธ์ที่ได้จากการคำนวณค่าที่เก็บไว้ใน ตัวแปร N บวกด้วย 1 เพราะฉะนั้นตัวแปร N จึงอ้างอิงถึงข้อมูล 11 ( เกิดจาก 10 + 1) หมายเหตุ การใช้เครื่องหมายเท่ากับ ( = ) แทนการกำหนดค่าให้กับตัวแปร โดยจะทำการประมวลผลค่าที่อยู่ด้านขวาของเครื่องหมายเท่ากับก่อน แล้วผลลัพธ์ที่ได้จึงเก็บไว้ ด้วยตัวแปรที่อยู่ด้านซ้ายของเครื่องหมายเท่ากับ
  • 8. 2. ด้านการคำนวณ ในการประมวลผลที่เกี่ยวข้องกับการคำนวณด้วยคอมพิวเตอร์แตกต่างจากการคำนวณของมนุษย์ เพราะมีการพิจารณาจากลำดับความสำคัญของสัญลักษณ์หรือเครื่องหมายการคำนวณก่อน ไม่ได้คำนวณจากซ้ายไปขวาเสมอไป   ตารางที่ 2.2 ลำดับความสำคัญของสัญลักษณ์หรือเครื่องหมายการคำนวณ   ลำดับความสำคัญ สัญลักษณ์หรือเครื่องหมาย ความหมาย 1   วงเล็บ สำหรับจัดกลุ่มการคำนวณ 2  คูณ   หาร 3  บวก    ลบ หมายเหตุ การคำนวณจะทำจากลำดับความสำคัญสูงกว่าก่อน ส่วนกรณีที่มีลำดับ ความสำคัญเท่ากันจะทำการคำนวณจากซ้ายไปขวา
  • 9. ตารางที่ 2.3 ตัวอย่างวิธีการคำนวณด้วยคอมพิวเตอร์ กำหนดให้ X = 10 และ Y = 5 คำสั่ง ลำดับการทำงาน ผลลัพธ์ Z = ( X + Y ) * 2 ( X + Y ) 15 ทำในวงเล็บก่อน ( X + Y ) * 2 30 Z = X + Y * 2 Y * 2 10  เครื่องหมาย * มีลำดับความสำคัญสูงกว่า เครื่องหมาย + X + Y * 2 20 Z = X /2 * Y X /2 5  เครื่องหมาย / มีลำดับความสำคัญเท่ากับ เครื่องหมาย * จึงทำจากซ้ายไปขวา X /2 * Y 25
  • 10. ที่มา http://www.pakxe.com/home/modules.php?name=Content&pa=showpage&pid= 881 http://gotoknow.org/blog/nopmee-b 01/269999 th.wikipedia.org/wiki/ เครื่อ ง จักร ทัวริง