SlideShare a Scribd company logo
1 of 59
การพัฒนาตนเพื่อความก้าวหน้าสู่อนาคต
self-development for the future
จัดทาโดย
นางสาวอัญชลีพร ชมภูราช ม.6/13 เลขที่ 33
นางสาวอรกานต์ ศิริรัตน์ ม.6/13 เลขที่ 37
MENU
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน
วัตถุประสงค์
ความหมายของการพัฒนาตน
แนวคิดพื้นฐานในการพัฒนาตน
ความสาคัญของการพัฒนาตน
การพัฒนาตนเอง
วิธีในการพัฒนาตัวเองให้ดีขึ้นแบบง่ายๆ
แนวทางการพัฒนาตนเอง
การพัฒนาตนตามหลักพุทธศาสตร์
การพัฒนาตนตามแนวทางพระพุทธศาสนา
บทความ ดร.โสภณ ขาทัพ
บุคคลที่ปฏิบัติตามหลักไตรสิกขา
พระเทพเวที
ไม่มีความยากจนในหมู่คนขยัน
บรรณานุกรม
แหล่งที่มารูปภาพ
เทคนิควิธีในการพัฒนาตนเอง
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน
คนในสังคมปัจจุบันนี้ส่วนใหญ่แล้วทุกคนต่างมุ่งเน้นเพื่อการทางานเป็นหลัก
มักจะมีความคิดเห็นตามแบบที่ตัวเองเป็นโดยการไม่ยอมรับหรือรับฟังความ
คิดเห็นของคนอื่นเพราะมีความเชื่อที่ว่าความคิดเห็นของตนเองดีกว่าคนอื่น ซึ่ง
การเป็นสมาชิกในสังคมที่ดีนั้นควรมีการแสดงความคิดเห็นและรับฟังความ
คิดเห็นของผู้อื่นเพื่อใช้ประกอบในการตัดสินใจด้วย ควรส่งเสริมการพัฒนา
ปรับปรุงข้อบกพร่องของตนเองและผู้อื่น ทั้งกาย อารมณ์ คาพูด สติปัญญา
เพื่อให้เกิดความเข้าใจกันในสังคมมากขึ้น เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมตัวเองให้
เหมาะสมกับที่สังคมต้องการ ไม่เอาตัวเองเป็นหลักอยู่ฝ่ายเดียว พร้อมทั้งควร
พัฒนาศักยภาพของตนเองให้เป็นคนที่มีคุณภาพชีวิตที่ดี จึงทาให้ต้องมีการ
พัฒนาตนเองเพื่อจะได้เป็นสมาชิกในสังคมที่ดีและมีคุณภาพและการพัฒนา
ตนเองในทางที่ดีขึ้นนั้นยังส่งผลให้ตัวผู้ปฏิบัติเองมีบทบาทที่ดีในสังคมอีกด้วย
วัตถุประสงค์
1.เพื่อศึกษาพฤติกรรมและการปฏิบัติตนของคนในสังคม
2.เพื่อศึกษาและนาความรู้ที่ได้รับจากการศึกษามาใช้ในการพัฒนาตน
ความหมายของการพัฒนาตน
การพัฒนาตน ตรงกับภาษาอังกฤษว่า self-development แต่ยังมี
คาที่มีความหมายใกล้เคียงกับคาว่าการพัฒนาตน และมักใช้แทนกัน
บ่อยๆ ได้แก่ การปรับปรุงตน (self-improvement) การบริหารตน
(self-management) และการปรับตน (self-modification)
หมายถึงการเปลี่ยนแปลงตัวเองให้เหมาะสมเพื่อสนองความต้องการและ
เป้ าหมายของตนเอง หรือเพื่อให้สอดคล้องกับ สิ่งที่สังคมคาดหวัง
ความหมายที่ 1 การพัฒนาตนคือการที่บุคคลพยายามที่จะปรับปรุง
เปลี่ยนแปลงตนด้วยตนเองให้ดีขึ้นกว่าเดิม เหมาะสมกว่าเดิม ทาให้
สามารถดาเนินกิจกรรม แสดงพฤติกรรม เพื่อสนองความต้องการ แรงจูงใจ
หรือเป้ าหมายที่ตนตั้งไว้
ความหมายที่ 2 การพัฒนาตนคือการพัฒนาศักยภาพของตนด้วยตนเอง
ให้ดีขึ้นทั้งร่างกาย จิตใจ อารมณ์ และสังคม เพื่อให้ตนเป็นสมาชิกที่มี
ประสิทธิภาพของสังคม เป็นประโยชน์ต่อผู้อื่น ตลอดจนเพื่อการดารงชีวิต
อย่างสันติสุขของตน
แนวคิดพื้นฐานในการพัฒนาตน
บุคคลที่จะพัฒนาตนเองได้ จะต้องเป็นผู้มุ่งมั่นที่จะเปลี่ยนแปลงหรือ
ปรับปรุงตัวเอง โดยมีความเชื่อหรือแนวคิดพื้นฐานในการพัฒนาตนที่
ถูกต้อง ซึ่งจะเป็นสิ่งที่ช่วยส่งเสริมให้การพัฒนาตนเองประสบความสาเร็จ
แนวคิดที่สาคัญมีดังนี้
1. มนุษย์ทุกคนมีศักยภาพที่มีคุณค่าอยู่ในตัวเอง ทาให้สามารถฝึกหัด
และพัฒนาตนได้ในเกือบทุกเรื่อง
2. ไม่มีบุคคลใดที่มีความสมบูรณ์พร้อมทุกด้าน จนไม่จาเป็นต้องพัฒนา
ในเรื่องใดๆ อีก
3. แม้บุคคลจะเป็นผู้ที่รู้จักตนเองได้ดีที่สุด แต่ก็ไม่สามารถปรับเปลี่ยน
ตนเองได้ในบางเรื่อง ยังต้องอาศัยความช่วยเหลือจากผู้อื่นในการพัฒนา
ตน การควบคุมความคิด ความรู้สึก และการกระทาของตนเอง มี
ความสาคัญเท่ากับการควบคุมสิ่งแวดล้อมภายนอก
4. อุปสรรคสาคัญของการปรับปรุงและพัฒนาตนเอง คือ การที่บุคคลมี
ความคิดติดยึด ไม่ยอมปรับเปลี่ยนวิธีคิด และการกระทา จึงไม่ยอมสร้าง
นิสัยใหม่ หรือฝึกทักษะใหม่ๆที่จาเป็นต่อตนเอง
5. การปรับปรุงและพัฒนาตนเองสามารถดาเนินการได้ทุกเวลาและอย่าง
ต่อเนื่อง เมื่อพบปัญหาหรือข้อบกพร่องเกี่ยวกับตนเอง
ความสาคัญของการพัฒนาตน
บุคคลล้วนต้องการเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ หรืออย่างน้อยก็ต้องการมีชีวิตที่เป็นสุขในสังคม
ประสบความสาเร็จตามเป้ าหมายและความต้องการของตนเอง พัฒนาตนเองได้ทันต่อ
การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในสังคมโลก การพัฒนาตนจึงมีความสาคัญดังนี้
ก. ความสาคัญต่อตนเอง จาแนกได้ดังนี้
1. เป็นการเตรียมตนให้พร้อมในด้านต่างๆ เพื่อรับกับสถานการณ์ทั้งหลายได้ด้วย
ความรู้สึกที่ดีต่อตนเอง
2. เป็นการปรับปรุงสิ่งที่บกพร่อง และพัฒนาพฤติกรรมให้เหมาะสม ขจัดคุณลักษณะที่
ไม่ต้องการออกจากตัวเอง และเสริมสร้างคุณลักษณะที่สังคมต้องการ
3. เป็นการวางแนวทางให้ตนเองสามารถพัฒนาไปสู่เป้ าหมายในชีวิตได้อย่างมั่นใจ
4. ส่งเสริมความรู้สึกในคุณค่าแห่งตนสูงให้ขึ้น มีความเข้าใจตนเอง สามารถทาหน้าที่
ตามบทบาทของตนได้เต็มศักยภาพ
ข. ความสาคัญต่อบุคคลอื่น เนื่องจากบุคคลย่อมต้องเกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน
การพัฒนาในบุคคลหนึ่งย่อมส่งผลต่อบุคคลอื่นด้วย การปรับปรุงและพัฒนา
ตนเองจึงเป็นการเตรียมตนให้เป็นสิ่งแวดล้อมที่ดีของผู้อื่น ทั้งบุคคลใน
ครอบครัวและเพื่อนในที่ทางาน สามารถเป็นตัวอย่างหรือเป็นที่อ้างอิงให้เกิด
การพัฒนาในคนอื่นๆ ต่อไป เป็นประโยชน์ร่วมกันทั้งชีวิตส่วนตัวและการทางาน
และการอยู่ร่วมกันอย่างเป็นสุขในชุมชน ที่จะส่งผลให้ชุมชนมีความเข้มแข็งและ
พัฒนาอย่างต่อเนื่อง
ค. ความสาคัญต่อสังคมโดยรวม ภารกิจที่แต่ละหน่วยงานในสังคมต้อง
รับผิดชอบ ล้วนต้องอาศัยทรัพยากรบุคคลเป็นผู้ปฏิบัติงาน การที่ผู้ปฏิบัติงาน
แต่ละคนได้พัฒนาและปรับปรุงตนเองให้ทันต่อพัฒนาการของรูปแบบการ
ทางานหรือเทคโนโลยี การพัฒนาเทคนิควิธี หรือวิธีคิดและทักษะใหม่ๆ ที่จาเป็น
ต่อการเพิ่มประสิทธิภาพการทางานและคุณภาพของผลผลิต ทาให้หน่วยงาน
นั้นสามารถแข่งขันในเชิงคุณภาพและประสิทธิภาพกับสังคมอื่นได้สูงขึ้น ส่งผล
ให้เกิดความมั่นคงทางเศรษฐกิจของประเทศโดยรวมได้
การพัฒนาตนเอง (SELF DEVELOPMENT)
คนเราถ้าจะเก่งต้องประกอบด้วย 3 เก่งคือ
• เก่งตน (Self Ability) หมายถึง เป็นผู้ที่ชอบศึกษาหาความรู้อยู่
ตลอดเวลา เพื่อให้ทันโลกทันคน โดยเริ่มจากการพัฒนาตนเองก่อน การ
พัฒนาตนเองนั้นพัฒนาได้ ๓ ทางคือ
ทางกาย องค์ประกอบที่สาคัญคือ รูปร่าง พัฒนาให้ดีขึ้นโดยใช้การแต่งกาย
ช่วยลดจุดด้อยหรือเสริมจุดเด่น หน้าตาสดชื่นแจ่มใส สะอาดหมดจด
อากัปกิริยา การแสดงออกเข้มแข็งแต่ไม่แข็งกระด้าง อ่อนโยนแต่ไม่อ่อนแอ การ
ยืน การเดิน การนั่ง ต้องมั่นคง เรียบร้อย การแต่งกายต้องสะอาดเหมาะสมกับ
กาลเทศะ เหมาะสมกับรูปร่างและผิวพรรณ
ทางวาจา การพูดดีต้องมีองค์ประกอบ ๔ ประการคือ พูดแต่ดี มี
ประโยชน์ ผู้ฟังชอบ และทุกคนปลอดภัย ก่อนพูดทุกครั้งต้องคิดก่อนพูด
คนที่พูดดี มีปิยะวาจา เป็นลมปากที่หวานหูไม่รู้หาย เป็นที่รักใคร่ชอบพอ
แก่ทุก ๆ ฝ่ายที่ได้ยินได้ฟัง
ทางใจ การพัฒนาทางใจก็มีองค์ประกอบหลายประการ เช่น ความ
มั่นใจ ถ้ามีความมั่นใจในตนเอง จะทาอะไรก็สาเร็จ ความจริงใจ คือ เป็น
คนปากกับใจตรงกัน ความกระตือรือร้น กระฉับกระเฉง แจ่มใส มี
ชีวิตชีวา ความมานะพยายามไม่ยอมแพ้ต่ออุปสรรค ความซื่อสัตย์สุจริต
ความสุขใจ ความอดกลั้น ความมีเหตุผล การมีสมรรถภาพในการจาและมี
ความคิดสร้างสรรค์
• เก่งคน (Self Ability) หมายถึง มีความสามารถที่จะทาตัวให้เข้าไหน
เข้าได้ เป็นที่รักใคร่ชอบพอแก่ทุกฝ่าย มีมนุษยสัมพันธ์ในครอบครัว พ่อ
แม่ควรรู้หลักจิตวิทยาในการปกครองลูก ให้ความรัก ความอบอุ่นแก่ลูก ลูกก็
ไม่ทาตนให้เป็นปัญหาให้พ่อแม่ และมีมนุษยสัมพันธ์ในการทางาน สามารถ
ทาตนให้เข้ากับคนได้กับทุกคน หากมีผู้บังคับบัญชา ผู้บังคับบัญชาก็รัก หาก
มีลูกน้อง ลูกน้องก็รัก เพื่อนร่วมงานก็รัก บุคคลภายนอกหรือลูกค้าก็รัก ซึ่ง
จะก่อให้เกิดประโยชน์กับตนเองและธุรกิจเป็นอย่างยิ่ง
• เก่งงาน (Task Ability) หมายถึง ผู้ที่รักงาน ขยันทางาน และรู้วิธี
ทางาน มีความขยันหมั่นเพียร มานะ อดทน ไม่ยอมแพ้ต่ออุปสรรค
เทคนิควิธีการพัฒนาตน
1. การควบคุมตน
การควบคุมตน [Self-control] เป็นเทคนิควิธีการพัฒนาตนอย่างหนึ่ง เป็น
การควบคุมภายใน สาหรับการควบคุมตน มีผู้ให้ความหมายไว้ว่า หมายถึง
พฤติกรรมที่บุคคลกระทาเพื่อให้ได้สิ่งที่ตนต้องการ โดยสิ่งนั้น เป็นสิ่งที่ตนเอง
พิจารณาตัดสินใจเลือกด้วยตนเอง หรือ การควบคุมตน คือ กระบวนการที่
บุคคล ใช้วิธีการหนึ่งวิธีการใด หรือ หลายวิธีรวมกัน เพื่อเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม
ของตนเอง จากพฤติกรรมที่ไม่พึง ประสงค์ ไปสู่พฤติกรรมที่พึงประสงค์ โดยที่
บุคคลนั้นเป็นผู้กาหนดพฤติกรรมเป้ าหมาย และกระบวนการที่นาไปสู่เป้ าหมาย
นั้นด้วยตนเอง การควบคุมตนเอง เป็นทักษะที่เกิดจากการเรียนรู้
2. การดาเนินการเพื่อการควบคุมตน เพื่อให้การควบคุมตน บรรลุเป้ าหมาย
และเกิดประสิทธิผล การดาเนินการเพื่อการควบคุมตน มีวิธีดาเนินการดังนี้
• 1. กาหนดเป้ าหมาย (Set a goal) การควบคุมตนจะสาเร็จได้ด้วยดี
จะต้องเริ่มด้วยการกาหนดเป้ าหมายสาหรับตน เป้ าหมายปกติจะกาหนดเป็น
พฤติกรรมเป้ า (target behavior)
• 2. ระบุพฤติกรรมเป้ า (Defining your target behavior) การ
ควบคุมตน มีความจาเป็นอย่างมากที่จะต้องกาหนดพฤติกรรมเป้ า ในรูปของ
เป้ าเชิงพฤติกรรม เช่น "เลิกบุหรี่" ในการกาหนดพฤติกรรมเป้ าควรมีลักษณะ
เป็นบวก ถ้าต้องการจะลดน้าหนักลง อ่าเขียนว่า "เพื่อไม่ให้อ้วน" ซึ่งมี
ลักษณะเป็นลบ แต่ควรเขียนว่า"เพื่อให้ผอมลง" ซึ่งมีลักษณะเป็นบวก คือ
เน้นสิ่งที่ท่านต้องการจะเป็น ไม่ใช่สิ่งที่ท่านเป็นอยู่
• 3. เลือกเป้ าหมายที่บรรลุได้ (Selecting and attainable goal)
พฤติกรรมเป้ าจะต้องบรรลุได้ ความผิดพลาดของการปรับปรุงตนเองให้ดีขึ้น
ก็คือการเลือกเป้ าหมายที่เป็นไปไม่ได้หรือสูงเกินไป
• 4. บันทึกพฤติกรรม (Recording your behavior) ครั้งแรกที่
กาหนดเป้ าหมาย จาเป็นจะต้องสังเกตพฤติกรรมในปัจจุบัน เพื่อใช้เป็นฐาน
ในการประเมินความก้าวหน้าและเพื่อการเปรียบเทียบต่อไป วิธีการบันทึกให้
ใช้วิธีการที่ปฏิบัติได้ไม่ยาก และสามารถเคลื่อนที่ได้ (Portable) ปกติ
ควรบันทึกอย่างน้อยสัปดาห์ละครั้ง แต่ไม่ควรนานกว่า 3-4 สัปดาห์ ต่อครั้ง
• 5. การทาสัญญากับตน (Marking a self-contract) เพื่อให้ได้
ข้อตกลงกับตัวเองที่ชัดเจน เกี่ยวกับสิ่งที่จะต้องทาให้เสร็จ วิธีที่ดีที่สุด คือ
การทาสัญญากับตนเอง สัญญาดังกล่าวจะต้องเขียนเป็นลายลักษณ์อักษร
ชัดเจน ยุติธรรม และมีข้อความในเชิงบวก
• 6. การเสริมแรงตน(Self-reinforcing) ในอุดมคติ การเสริมแรงที่ดี
ที่สุดก็คือ การเสริมแรงทันทีที่มีพฤติกรรมตามเป้ าหมาย
วิธีในการพัฒนาตัวเองให้ดีขึ้นแบบง่ายๆ
1. ยินดีและยอมรับการเปลี่ยนแปลง
การพัฒนาตัวเองให้ดีขึ้น คุณจาเป็นจะต้องมีความต้องการอย่าง
มากที่จะเปลี่ยนแปลงตัวเอง การเปลี่ยนแปลงตัวเองคือทางเดียวที่จะพาสิ่ง
ที่คุณเป็นในทุกวันนี้ไปสู่ตัวคุณที่คุณต้องการจะเป็น
คนส่วนใหญ่ไม่ชอบและต่อต้านการเปลี่ยนแปลงซึ่งจะเป็นแรงฉุด
ที่ทาให้คุณอยู่กับที่ พยายามเปิดใจ ยินดีและยอมรับกับความเปลี่ยนแปลง
ที่คุณตัดสินใจทา คิดถึงความสุขและความสาเร็จที่คุณได้รับเสมือนหนึ่งว่า
คุณสามารถพัฒนาตัวเองสาเร็จแล้ว
2. หยุดหาข้อแก้ตัวให้กับตัวเอง
เมื่อเกิดปัญหาก่อนหน้านี้บ่อยครั้งที่ผมมักจะโทษว่าเป็นความผิด
ของคนหรือสิ่งต่างๆที่อยู่รอบตัว ไม่ว่าจะเป็น เจ้านาย เพื่อนร่วมงาน ลูกค้า
จราจร หรือดินฟ้ าอากาศ
หลังจากผมได้เรียนรู้หลักในการรับผิดชอบ 100% เพื่อชีวิตที่
ดีกว่า ทาให้พบว่าการกล่าวโทษหรือบ่นให้กับสิ่งต่างๆ นอกจากจะไม่ทาให้
อะไรดีขึ้น แล้วยังทาให้ตัวเรามีความสุขน้อยลงด้วย
เมื่อทาสิ่งใดแล้วไม่ได้ผลลัพธ์ตามที่เราต้องการ ยืดอกแล้วยอมรับ
เถอะครับ ว่าเป็นเพราะตัวของเราเอง ใช้มันเป็นบทเรียนเพื่อพัฒนาตัวเอง
ให้ดีขึ้นจะดีกว่า
3. ทาตัวเองให้เป็นแบบอย่างที่ดี
การทาตัวเองให้เป็นแบบอย่างที่ดี ช่วยให้เราพัฒนาตัวเองอยู่เสมอ
ซึ่งยิ่งช่วยทาให้ชีวิตเราดียิ่งขึ้น เราอาจเริ่มจากจุดเล็กๆ เช่น การเป็นพี่ที่ดี
ให้กับน้องๆ การเป็นโค้ชให้กับเด็กๆ และการเป็นแบบอย่างที่ดีให้กับเด็ก
ไม่ว่าคุณทาอะไร มันจะช่วยทาให้คุณรู้สึกว่ามีคนที่นับถือคุณอยู่ คอยดูคุณ
เป็นแบบอย่างที่ดีของพวกเขา
4. รู้จักการให้อภัย
ทุกคนรู้ว่าเป็นเรื่องดีแต่เป็นเรื่องยากที่จะให้อภัยกับคนที่ทาให้เรา
เสียใจหรือผิดหวัง แต่หากคุณสังเกตดูตัวเอง ความโกรธที่คุณมี เหมือนกับ
การกาถ่านร้อนๆ ที่คุณพร้อมจะโยนใส่คนอื่น แต่คนที่เจ็บปวดที่สุดก็คือตัว
เราเองที่ถูกเผาอยู่คนเดียว คิดว่าคนเราทาผิดพลาดกันได้ เรียนรู้ที่จะปล่อย
วางและให้อภัยแล้วคุณจะพบว่าตัวเราเองที่รู้สึกมีความสุขที่สุด
5. รู้จักการรับฟังที่ดี
ผู้คนในทุกวันนี้รีบเร่ง ยุ่งอยู่ตลอดเวลา ในการทางาน ครอบครัว
และใช้ชีวิต ไม่มีเวลาฟังในสิ่งที่สาคัญจนกระทั่งเราพลาดโอกาสสาคัญและ
ความสุขในชีวิตไปอีกหลายอย่าง ทาชีวิตของเราให้ช้าลงบ้าง เลือกใส่ใจ
และรับฟัง แล้วคุณจะพบความต้องการและโอกาสอีกมากมายที่ยังไม่มีใคร
ได้ยิน
6. เรียนรู้ที่จะสร้างรอยยิ้มให้ผู้อื่น
สร้างนิสัยให้ตัวเอง คิดดี พูดดี และหาโอกาสสร้างรอยยิ้มให้กับคน
ที่เรารัก และคนที่อยู่รอบๆตัวเรา ช่วยเพิ่มความสุขในแต่และวันให้กับคน
อื่น แล้วคุณจะพบว่าตัวคุณเองจะรู้สึกถึงความสุขนั้นมากกว่าใครๆ
แนวทางการพัฒนาตนเอง
1.มีวินัย เป็นหลักปฏิบัติที่ช่วยให้ทางานสาเร็จ เอาชนะอุปสรรคต่าง ๆ ได้
ด้วยเวลาอันสั้น เป็นตัวกาหนดการเรียนรู้ที่จะรับผิดชอบหน้าที่ที่ได้รับ และ
ช่วยควบคุมตนเองได้ดี
2.รับฟังความคิดเห็น และคานึงถึงความรู้สึกของผู้อื่นอย่างมีเหตุผล
ขณะเดียวกันเมื่อพบกับปัญหา ควรหาทางออกที่เหมาะสม เพื่อสร้างความ
ร่วมมือที่ดีในการทางาน
3.มองโลกในแง่ดี มีความคิดเชิงบวก จะส่งผลให้สุขภาพจิต สุขภาพกายดี
ความคิดโปร่งใส สุดท้ายจะตามมาด้วยความสุขและความสาเร็จ
4.ใช้ชีวิตให้สมดุล ด้วยการเดินสายกลาง อย่าทุ่มเทชีวิตให้ด้านใดด้านหนึ่ง
จนด้านอื่น ๆ ขาดการดูแล รู้จักใช้ชีวิตให้สมดุล เพื่อกระตุ้นให้ชีวิตมี
ความสุข มีความคิดสร้างสรรค์ และมีพลังในการเรียน การทางานต่อไป
การพัฒนาด้านอารมณ์และจิตใจ ควบคู่ไปกับ IQ นั้น ถือเป็น
กุญแจสาคัญที่จะนาไปสู่การใช้ชีวิตอย่างมีประสิทธิภาพ และนาไปสู่
ความสาเร็จอย่างแท้จริง
การพัฒนาตนตามหลักพุทธศาสตร์มุ่งการกระทาให้ตนมี
ความสุขด้วยตนเองมากกว่าการพึ่งพาวัตถุ
1. รู้จักเลือกหาแหล่งความรู้และแบบอย่างที่ดี ได้แก่ การรู้จักใช้สติปัญญา
ในการวิเคราะห์ พิจารณาและเลือกแหล่งความรู้ที่ดี เริ่มจากการเลือกคบ
คนดี เลือกแบบอย่างที่ดี เลือกบริโภคสื่อและข่าวสารข้อมูลต่าง ๆ ที่มี
คุณค่า การพัฒนาชีวิตเช่นนี้เรียกว่าความมีกัลป์ ยานมิตร
2. รู้จักจัดระเบียบชีวิต และอยู่ร่วมกันในสังคมอย่างเรียบร้อย มีการ
วางแผนและจัดการกิจการงานต่าง ๆ อย่างมีระบบ ระเบียบ เรียกว่า ถึง
พร้อมด้วยศีล
3. ความมุ่งมั่นพัฒนาตนให้เต็มศักยภาพ มนุษย์มองภาพไม่ดีของตนว่า
สามารถพัฒนาได้ ก็จะมีความงอกงามจนที่ที่สุดแห่งความสามารถของตน
เรียกว่า ทาตนให้ถึงพร้อม
4. ปรับทัศนคติและค่านิยมให้เหมาะสมกับการดาเนินชีวิตที่ดีงาม เอื้อต่อ
การเรียนรู้ และทาให้สติปัญญางอกงามขึ้น เรียกว่า กระทาความเห็นความ
เข้าใจให้ถึงพร้อม
5. การมีสติ กระตือรือร้น ตื่นตัวทุกเวลา หมายถึง การมีจิตสานึกแห่งความ
ไม่ประมาท เข้าใจการเปลี่ยนแปลงของชีวิตและสภาพแวดล้อม เห็นคุณค่า
ของเวลา และใช้เวลาอย่างคุ้มค่า เรียกว่า ถึงพร้อมด้วยความไม่ประมาท
6. การรู้จักแก้ปัญหาและพึ่งตนเอง จัดการแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบด้วย
ความคิดวิจารณญาณญาณตามเหตุปัจจัยด้วยตัวเอง
การพัฒนาตนเองตามแนวทางพระพุทธศาสนา
ตามแนวคิดทางพุทธศาสตร์ การพัฒนาตนเป็นการเรียนรู้และการปฏิบัติ
เพื่อไปสู่ความพอดี หรือการมีดุลยภาพของชีวิต มีความสัมพันธ์อัน
กลมกลืนระหว่างการดาเนินชีวิตของบุคคล กับสภาพแวดล้อมและมุ่งการ
กระทาตนให้มีความสุขด้วยตนเอง รู้เท่าทันตนเอง เข้าใจตนเองมากกว่า
การพึ่งพาอาศัยวัตถุ จึงเป็นแนวทางการพัฒนาชีวิตที่ยั่งยืน หลักการ
พัฒนาตนตามแนวพุทธศาสตร์ประกอบด้วยสาระสาคัญ 3 ประการ คือ
ทมะ สิกขา และภาวนา
• ทมะ คือการฝึกนิสัยดั้งเดิมที่ยังไม่ได้ขัดเกลาให้เหมาะสม มีขั้นตอน
สาคัญ ได้แก่
1) การรู้จักข่มใจ ข่มระงับความเคยชินที่ไม่ดีทั้งหลายได้ ไม่ยอมให้กิเลสรบ
เร้า หลอกล่อ ชักนาไปสู่ความเลวร้ายได้
2) การฝึกปรับปรุงตนเอง โดยทาคุณความดี ให้เจริญก้าวหน้าต่อไป
• สิกขา คือการศึกษา เพื่อให้รู้แจ้ง รู้จักประโยชน์ มองทุกอย่างเป็นการ
เรียนรู้เพื่อปรับปรุงและพัฒนาตัวเอง เป็นกระบวนการฝึกฝนตนเองใน
การดาเนินชีวิต เรียกว่า ไตรสิกขา มี 3 ประการ คือ
1. ศีลสิกขา หมายถึงการฝึกความประพฤติสุจริตทางกาย ทางวาจาและ
การประกอบอาชีพ ดารงตนในสังคมแบบสาธุชน เป็นคนดีของสังคม เป็น
คนมีระเบียบ มีวินัย ปฏิบัติหน้าที่ตามปทัสถานของสังคมสามารถดาเนิน
ชีวิตได้อย่างดีงามโดยมีความรับผิดชอบเกื้อกูลต่อสังคม
2. จิตสิกขา หมายถึงการฝึกจิต สร้างคุณภาพและสมรรถภาพทางจิตให้
เข้มแข็งมั่นคง แน่วแน่ ควบคุมตนเองได้ดี มีสมาธิ มีจิตที่สงบ บริสุทธิ์
ปราศจากสิ่งที่ทาให้เศร้าหมอง อยู่ในสภาพพร้อมที่จะใช้ปัญญาอย่าง
ลึกซึ้งและตรงตามสัจธรรม
3. ปัญญาสิกขา หมายถึงการฝึกปัญญาให้เกิดความรู้ความเข้าใจสรรพสิ่ง
รู้แจ้งตามความเป็นจริง มีจิตใจเป็นอิสระและมีปัญญาบริสุทธิ์
• ภาวนา คือ คานี้ตรงกับคาว่าพัฒนา ซึ่งประกอบด้วย กายภาวนา ศีล
ภาวนา และปัญญาภาวนา เทียบได้กับการพัฒนาทางกาย พัฒนาทาง
สังคม พัฒนาอารมณ์ และพัฒนาสติปัญญา
1. กายภาวนา หมายถึงการพัฒนาทางกายเพื่อให้เกิดการเจริญงอกงามใน
อินทรีย์ 5 หรือ ทวาร 5 ได้แก่ช่องทางการติดต่อสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมทาง
กายภาพ คือ ตา หู จมูก ลิ้น และผิวกาย การพัฒนากายเป็นการส่งเสริมให้
ความสัมพันธ์ทั้ง 5 ทางเป็นไปอย่างปกติ ไม่เป็นโทษ ไม่มีพิษภัยอันตราย
เช่น รู้จักสัมพันธ์ทางตา เลือกรับเอาสิ่งดีมีประโยชน์จากการเห็นทางตามา
ใช้ รู้จักสัมพันธ์ทางหู เลือกรับฟังสิ่งดีมีประโยชน์ ไม่รับฟังสิ่งเลวร้ายเข้ามา
เป็นต้น
2. ศีลภาวนา หมายถึงการพัฒนาการกระทา ได้แก่การสร้างความสัมพันธ์
ทางกายและวาจากับบุคคลอื่นโดยไม่เบียดเบียนกัน ไม่กล่าวร้ายทาลาย
ผู้อื่น ไม่กระทาการใดๆ ที่จะก่อความเดือดร้อนให้แก่ผู้อื่น แต่จะใช้วาจา
และการกระทาที่ดี ให้ความช่วยเหลือเกื้อกูลและเสริมสร้างความสัมพันธ์ที่
ดี
3. จิตตภาวนา หมายถึง พัฒนาจิตใจ เพื่อให้จิตมีคุณภาพดี สมรรถภาพ
ทางจิตดี และสุขภาพจิตดี คุณภาพจิตดี คือจิตใจที่มีคุณธรรม ได้แก่ มี
เมตตา กรุณา มุทิตา มีศรัทธา และมีความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ เป็นต้น
สมรรถภาพทางจิตดี คือการมีความพร้อมในการทางาน ได้แก่ ขันติคือมี
ความอดทน สมาธิคือความมีใจตั้งมั่น อธิษฐานคือมีความเด็ดเดี่ยว วิริยะ
คือมีความเพียร สติคือมีความระลึกเท่าทัน เป็นต้น ส่วนสุขภาพจิตดีเป็น
สภาพจิตที่มีความสบายใจ อิ่มเอิบใจ แช่มชื่น เบิกบาน เกิดความสบายใจ
ได้เสมอเมื่อดารงชีวิตหรือทากิจกรรมร่วมกับผู้อื่น
4. ปัญญาภาวนา หมายถึงการพัฒนาปัญญา ได้แก่การรู้เข้าใจสิ่งต่างๆ
ตามความเป็นจริง รู้เท่าทันสภาวะของโลกและชีวิต ทาให้จิตใจเป็นอิสระ
ได้จนถึงขั้นสูงสุด ส่งผลให้อยู่ในโลกได้โดยไม่ติดโลก มีอิสระที่จะ
เจริญเติบโตงอกงามต่อไป
ดร.โสภณ ขาทัพ อาจารย์คณะศึกษาศาสตร์มหาวิทยาลัยมหามกุฏ
ราชวิทยาลัย ได้ส่งบทความเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงตามหลักแห่งไตรสิกขา
มาให้อ่านนานมาแล้ว แต่ติดขัดที่แผนภูมิที่ให้มานั้นนาเสนอไม่ได้ จึงไม่ได้
นาเผยแผ่ เกรงว่าบทความจะไม่สมบูรณ์ แต่เมื่อพบหน้ากันอีกครั้งเขาบอก
ว่านาเสนอได้สามารถอ่านแล้วเข้าใจได้แม้จะไม่มีแผนภูมิก็ตาม ลองอ่านดู
แม้จะอ่านแล้วเข้าใจยาก แต่หากอ่านโดยพิเคราะห์จะทาให้เข้าใจคาว่า
เศรษฐกิจพอเพียงตามหลักไตรสิกขาได้ ตามมุมมองของผู้เรียบเรียงบอกว่า
เศรษฐกิจและธรรมไปด้วยกันได้ ไม่ได้ขัดแย้งกันเลย
โดยความหมายของคาว่า “พัฒนา” แปลว่า เจริญหรือทาให้เจริญ ใน
พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒ คาศัพท์ในภาษาบาลีเดิม
ทางพระพุทธศาสนานั้นไม่ได้ใช้คาว่า “พัฒนา” แต่ปัจจุบันนี้ใช้กันมาก
โดยมีคาว่า “ภาวนา” แปลเป็นภาษาไทยง่ายๆ ว่า เจริญ เช่น สามารถ
ภาวนา แปลว่า เจริญสมถะ ดังนั้นคาว่า“พัฒนา” ในภาษาไทยปัจจุบันมี
ความหมายตรงกับคาภาษาบาลีว่า “ภาวนา” การจะพัฒนาตนของบุคคล
ตามหลักธรรมในพระพุทธศาสนานั้น จะต้องตั้งอยู่บนหลักภาวนา ๓ คือ
กายภาวนา จิตภาวนา และปัญญาภาวนา ซึ่งถือว่าเป็นระบบการศึกษาที่
ทาให้บุคคลได้พัฒนาอย่างมีบูรณาการและพัฒนาอย่างมีดุลยภาพ ดังนี้
1. ศีลเป็นเรื่องของการฝึกในด้านพฤติกรรม โดยเฉพาะกับพฤติกรรมที่เคย
ชิน ซึ่งเครื่องมือที่ใช้ในการฝึกศีล คือ วินัย อันเป็นจุดเริ่มต้นที่ต้องเข้าใจใน
กระบวนการศึกษาและพัฒนาตน เพราะวินัยเป็นตัวการจัดเตรียมชีวิตให้
อยู่ในสภาพที่เอื้อต่อการพัฒนา โดยจัดระเบียบการเป็นอยู่ การดาเนินชีวิต
และการอยู่ร่วมกันในสังคมให้เหมาะกับการพัฒนาและเอื้อโอกาสที่จะ
พัฒนา และเมื่อฝึกได้ผลจนผู้ฝึกมีพฤติกรรมที่ดีตามวินัยนั้นแล้วจะเกิดเป็น
ศีล จึงกล่าวได้ว่าวินัยจะจัดสภาพแวดล้อมที่ป้ องกันไม่ให้มีพฤติกรรมที่ไม่
ดี และเอื้อต่อการมีพฤติกรรมที่ดีให้เกิดขึ้น
2. สมาธิเป็นเรื่องของการฝึกในด้านจิตหรือระดับจิตใจได้แก่การพัฒนา
คุณสมบัติต่างๆ ของจิตทั้งในด้านคุณธรรม เช่น ความเมตตากรุณา ความ
เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ในด้านความสามารถของจิต เช่น ความเข้มแข็งมั่นคง ความ
พากเพียรพยายาม ความรับผิดชอบ ความมีสติสมาธิ และในด้านความสุข
เช่น ความอิ่มใจสดชื่น ความร่าเริงเบิกบานใจ ความรู้สึกพอใจ หรืออาจ
เรียกได้ว่าเมื่อเข้าถึงระดับจิตใจที่มีสันโดษธรรมเป็นที่ตั้งแล้ว ย่อมเป็นการ
พัฒนาคุณภาพ สมรรถภาพและสุขภาพจิต
3. ปัญญาเป็นเรื่องของการฝึกหรือพัฒนาในด้านการรู้ความจริง เริ่มตั้งแต่
ความเชื่อ ความเห็น ความรู้ ความเข้าใจ ความหยั่งรู้เหตุผล การรู้จัก
วินิจฉัย ไตร่ตรอง และคิดการต่างๆ อย่างสร้างสรรค์ เฉพาะอย่างยิ่งเน้น
การรู้ตรงตามความเป็นจริง ตลอดจนรู้แจ้งความจริงที่เป็นสากลของสิ่งทั้ง
ปวง จนถึงขั้นรู้เท่าทันธรรมดาของโลก และชีวิตที่ทาให้มีจิตใจเป็นอิสระ
ปลอดปัญหา ไร้ทุกข์ และเข้าถึงอิสรภาพโดยสมบูรณ์
สาหรับบุคคลที่ปฏิบัติตามหลักไตรสิกขานั้นย่อมก่อให้เกิดประโยนน์
๓ ประการ คือ
1. ทาให้บุคคลเป็นคนดีของสังคม เป็นผู้ที่มีระเบียบวินัย เคารพกฎหมาย
และอยู่ในกรอบวัฒนธรรมประเพณีที่ดีงามของสังคม พระพุทธเจ้าทรง
สอนให้บุคคลงดเว้นกายทุจริต วจีทุจริต และประพฤติแต่กายสุจริต วจี
สุจริต อันเป็นไปตามหลักของศีล เรียกว่า กายภาวนา เป็นวิธีการพัฒนา
บุคคลด้านพฤติกรรมที่แสดงออกมาทางกายและวาจา เป็นเรื่องที่
เกี่ยวข้องกับสังคมเฉพาะพฤติกรรมในด้านดี
2. ทาให้บุคคลมีจิตใจและอารมณ์มั่นคง เป็นผู้มีความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่แก่คน
อื่น และเห็นแก่ประโยชน์ส่วนรวม ซึ่งพระพุทธองค์ทรงสอนให้บุคคลงดเว้น
จากความโลภ ความพยาบาท แล้วให้ประพฤติในมโนสุจริต ไม่โลภ ไม่
พยาบาท มีจิตใจเสียสละและยินดีให้อภัย เป็นการพัฒนาจิตใจตามหลัก
ของสมาธิที่เรียกว่า จิตภาวนา
3. ทาให้บุคคลรู้และเข้าใจในสิ่งต่างๆ อย่างถูกต้อง ตรงตามความเป็นจริง
อันเป็นสัมมาทิฏฐิ เป็นการพัฒนาบุคคล ตามหลักของปัญญา เรียกว่า
ปัญญาภาวนา การปฏิบัติข้อนี้เป็นการพัฒนาบุคคลให้เข้าใจชีวิตอย่าง
แจ่มแจ้ง จนถึงสัมมาญาณและบรรลุสัมมาวิมุตติ คือหลุดพ้นจากกิเลสได้
โดยสิ้นเชิง (บรรลุนิพพาน)
ในการพัฒนาจิตของบุคคลตามแนวทางของพระพุทธศาสนานี้สามารถใช้วิธีการ
ปฏิบัติตนตามหลักไตรสิกขาและมรรคมีองค์ ๘ ได้เป็นอย่างดี เพราะหากบุคคล
ใดปราศจากไตรสิกขาและอริยมรรคแล้ว จิตใจของบุคคลนั้นก็ไม่อาจจะพัฒนา
หรือยกระดับให้สูงขึ้นได้ หลักไตรสิกขาและอริยมรรคนี้จึงถือได้ว่ามีความสาคัญ
อย่างยิ่งต่อการพัฒนาจิตใจของบุคคลตามแนวทางในพระพุทธศาสนา ซึ่ง
สามารถแสดงเป็นแผนภูมิให้เข้าใจได้ง่าย และสะดวกในการพิจารณาได้ดังนี้
๑.อธิศีลสิกขา ๒.อธิจิตตสิกขา ๓.อปัญญาสิกขา
-สัมมาวาจา -สัมมาวายามะ -สัมมาทิฎฐิ
-สัมมากัมมันตะ -สัมมาสติ - สัมสังกัปปะ
-สัมมาอาชีวะ -สัมมาสมาธิ
อย่างไรก็ตามการที่จะปลูกฝังให้คนในสังคมเข้าถึงปัญญา หรือปรัชญา
เศรษฐกิจพอเพียงได้นั้น จาต้องมีกระบวนการของการเรียนรู้เป็นเครื่องมือใน
การสั่งสมภูมิปัญญาเพื่อไปสู่เป้ าหมายที่เป็นปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง และใช้
เป็นแนวทางในการนาไปปฏิบัติโดยอาศัยหลักคุณธรรม ๔ ประการ ตามพระ
บรมราโชวาทของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ ที่มีพระราชดารัสในพระราช
พิธีบวงสรวงสมเด็จพระบูรพมหากษัตริยาธิราชเจ้า เมื่อวันที่ ๕ เมษายน พ.ศ.
๒๕๒๕ ให้เป็นเครื่องมือที่ทรงพลัง ในการสร้างกระบวนการเรียนรู้ เพื่อนาไปสู่
เป้ าหมายทางปัญญาได้ด้วยคุณธรรม ๔ ประการ ได้แก่
1. การรักษาความสัจ ความจริงใจต่อตนเองที่จะประพฤติปฏิบัติแต่ในสิ่งที่เป็น
ประโยชน์และเป็นธรรม
2. การรู้จักข่มใจตนเอง ฝึกใจตนเอง ให้ประพฤติปฏิบัติอยู่ในความสัจ
ความดีนั้น
3. การอดทนอดกลั้น และอดออมที่จะไม่ประพฤติล่วงความสัจสุจริตไม่ว่า
ด้วยเหตุประการใด
4. การรู้จักละวางความชั่ว ความทุจริต และรู้จักสละประโยชน์ส่วนน้อย
ของตนเพื่อประโยชน์ส่วนใหญ่ของบ้านเมือง
พระเทพเวที (ป.อ.ปยุตโต, 2532) เสนอวิธีการที่จะพัฒนาตนไปสู่วิถี
ชีวิตที่ดีงาม เรียกว่า "รุ่งอรุณแห่งการพัฒนาตน" ไว้ 7 ประการ ดังนี้
1. รู้จักเลือกหาแหล่งความรู้และแบบอย่างที่ดี ได้แก่ การรู้จักใช้สติปัญญา
ในการวิเคราะห์ พิจารณาในการเลือก เริ่มจากการเลือกคบคนดี เลือกตัว
แบบที่ดี เลือกบริโภคสื่อและข่าวสารข้อมูลที่มีคุณค่า เรียกว่า ความมีกัล
ยานมิตร (กัลยานมิตตา)
2. รู้จักจัดระเบียบชีวิต มีการวางแผนและจัดการกิจการงานต่างๆ อย่างมี
ระบบระเบียบ เรียกว่า ถึงพร้อมด้วยศีล (ศีลสัมปทา)
3. ถึงพร้อมด้วยแรงจูงใจให้สร้างสรรค์ มีความสนใจ มีความพึงพอใจ มี
ความต้องการจะสร้างสรรค์กิจการงานใหม่ๆ ที่เป็นความดีงามและมี
ประโยชน์ เรียกว่า ถึงพร้อมด้วยฉันทะ (ฉันทสัมปทา)
4. มีความมุ่งมั่นพัฒนาตนให้เต็มศักยภาพ ผู้มีความเชื่อในตนว่าสามารถ
จะพัฒนาได้ จะมีความงอกงามถึงที่สุดแห่งความสามารถของตน เรียกว่า
ทาให้ตนให้ถึงพร้อม (อัตตสัมปทา)
5. ปรับเจตคติและค่านิยมให้เหมาะสมกับการดาเนินชีวิตที่ดีงาม เอื้อต่อ
การเรียนรู้ ทาให้สติปัญญางอกงามขึ้น เรียกว่า กระทาความเห็นความ
เข้าใจให้ถึงพร้อม (ทิฎฐิสัมปทา)
6. การมีสติ กระตือรือร้น ตื่นตัวทุกเวลา หมายถึง การมีจิตสานึกแห่งความ
ไม่ประมาท เข้าใจการเปลี่ยนแปลงของชีวิตและสภาพแวดล้อม เห็นคุณค่า
ของเวลาและใช้เวลาอย่างคุ้มค่า เรียกว่า ถึงพร้อมด้วยความไม่ประมาท
(อัปปมาทสัมปทา)
7. รู้จักแก้ปัญหาและพึ่งตนเอง จัดการแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ มี
ความคิดวิจารณญาณตามเหตุปัจจัยด้วยตนเอง เรียกการคิดแบบนี้ว่า
โยนิสโสมนสิการ (โยนิโสมนสิการสัมปทา)
“ไม่มีความยากจนในหมู่คนขยัน”
ประโยคนี้เป็นคาพูดที่ฮิต ติดปาก ของคนทางานหลายคน เพื่อใช้เป็นกาลังใจ หรือคาพูด
ปลอบใจให้กับตัวเอง เพื่อนร่วมงาน และบุคคลรอบข้าง แน่นอน ความขยัน ไม่ทาให้
คนเราอดตาย โดยเฉพาะในยุคสมัยของ”ไอ้ขวัญ อีเรียม” ที่ไม่จาเป็นต้องมีความรู้ หรือ
การศึกษามากมาย หาปู ปลา ผัก ตามห้วยหนองคลองบึง เลี้ยงปากท้องได้ เนื่องจาก
ธรรมชาติ สภาพแวดล้อม และยุคสมัยเอื้ออานวยอยู่ แต่ปัจจุบันยุคสมัยได้เปลี่ยนไป
เข้าสู่โลกแห่งการพัฒนาทั้งทางด้านเทคโนโลยี และด้านทรัพยากรมนุษย์ ที่มีการแข่งขัน
กันตลอดเวลา ประโยคที่ว่า "ไม่มีความยากจนในหมู่คนขยัน" อาจจะใช้ได้อยู่กับบาง
สถานการณ์ สังคม หรือประเทศเท่านั้น และต้องถูกที่ ถูกกาลเทศะ บริบทต่างๆ ด้วย จึง
จะเห็นได้ว่าในวัยทางานยุคปัจจุบัน หลายคน ขยันมากมาย ทางานตัวเป็นเกลียว หัว
เป็นน๊อต อุทิศตนเองให้กับองค์กร ที่ตนเองทางานอยู่ ก็ไม่ประสบความสาเร็จสักที ซึ่ง
แน่นอนแต่ละคนย่อมมีความคาดหวังให้ตนเอง มีหน้าที่การงานทาที่ดี และ
นอกเหนือจากนั้น ยังต้องการให้ตนเองประสบความสาเร็จ ก้าวไปกับองค์กรที่ตนเอง
ทางานอยู่
ทั้งนี้มีเทคนิคหนึ่ง ที่อยากจะนามาเสนอ และแนะนา ให้กับทุกท่าน เพื่อ
สามารถประสบความสาเร็จในหน้าที่การงาน นั่นคือการ “พลอดรัก” ซึ่ง
ไม่ใช่เป็นการขอความรักระหว่างชายหนุ่มหญิงสาว แต่เป็นเทคนิคการ
ทางานให้ประสบความสาเร็จ อีกแนวทางหนึ่ง ดังนี้
1. พ-พัฒนาตนเอง
ศึกษา จุดด้อย ข้อบกพร่อง จุดแข็ง ของตนเองอย่างสม่าเสมอ ไม่
ว่าจะเป็นเรื่องบุคลิกลักษณะ พฤติกรรม หรือแม้แต่วิธีการทางานของ
ตนเอง สิ่งไหนที่มีดีอยู่แล้ว ต้องหมั่นต่อยอด พัฒนา ให้ดียิ่งขึ้น สิ่งไหนที่
เป็นจุดอ่อน จุดบกพร่องปรับปรุง ศึกษาหาความรู้ต่อเติมให้ดีกว่าเดิม วัย
ทางานจะต้องเป็นนักสารวจ หรือมีหัวใจเป็นนักพัฒนาอยู่เสมอในทุกด้าน
2. ล-หลากหลายทักษะ
ทุกองค์กร หรือบริษัทในปัจจุบัน ต้องการพนักงานที่มีความ
หลากหลายในทักษะการทางาน (Multi-skills) เพื่อเข้ามาพัฒนา
ปรับปรุงองค์กรให้ดีขึ้น เนื่องจากพนักงานที่มีความสามารถหลายอย่าง
ย่อมไม่ปฏิเสธ หรือลีกเลี่ยงการทางานที่มอบหมายให้ เพราะเป็นบุคคลที่
สามารถ พัฒนาตนเอง เพื่อนร่วมงานอย่างต่อเนื่อง บุคคลเหล่านี้จะไม่
ปฏิเสธการเรียนรู้สิ่งใหม่ๆ ทาตนเป็นเหมือนแก้วน้าที่ไม่เต็ม รับฟังความ
คิดเห็น ปรับปรุง เปลี่ยนแปลงตัวเองในทางที่ดีตลอดเวลา
3. อ-อดทน
พลังแห่งความสาเร็จในการทางาน คือ การอดทน ต่อสถานการณ์
ต่างๆ ในสถานที่ทางาน ไม่ว่าจะเป็นเรื่องของงานที่ได้รับมอบหมาย
พฤติกรรมอันไม่พึงประสงค์ของหัวหน้างาน หรือเพื่อนร่วมงาน หลายคน
ทนไม่ได้กับการได้รับการพูดจา ดูถูก สบประมาท ลาออกจากที่ทางาน
ทันที โดยหารู้ไม่ว่า สิ่งนั้นอาจจะเป็นยาพิษ ที่ทาร้ายตนเอง ทาให้คุณไม่
สามารถได้งานใหม่ เพราะประวัติการทางานของคุณเสีย ไม่สามารถเผชิญ
กับสถานการณ์ตึงเครียด หรือสถานการณ์อันเลวร้ายในที่ทางานได้ จงมี
ความอดทนและอดกลั้นเข้าไว้ แล้วคุณจะสามารถเผชิญกับปัญหาต่าง ๆ
ได้สาเร็จ
4. ด-ดึงดูด
พนักงานที่มีความกระตือรือร้น ชอบเรียนรู้สิ่งใหม่ๆ ลองผิด ลองถูก อย่าง
สม่าเสมอ คอยดึงดูด เอาความรู้จาก หนังสือ ผู้คนรอบข้าง อินเตอร์เน็ต มา
ประยุกต์ใช้ในการทางาน จนทาให้งานสาเร็จลุล่วงไปด้วยดี ย่อมสามารถดึงดูด ความ
สนใจจากหัวหน้างาน ทีมงาน ให้เห็นศักยภาพของพนักงานคนนั้นได้ บุคคลที่มีทักษะ
ในการดึงดูดนั้นจะสามารถทางานเป็นทีม และทางานคนเดียวอย่างอิสระได้อย่างไม่มี
ปัญหาใดๆ และโดยส่วนใหญ่คนที่มีทักษะดึงดูด มักจะมีความกระตือรือร้นจะเป็นคน
ที่ชอบลองผิดลองถูก มาทางานก่อนเวลาเสมอเพื่อหาโอกาสค้นคว้าข้อมูลและหา
ความรู้เพิ่มเติม พยายามที่จะให้งานเสร็จก่อนหรือตรงตามเวลาที่กาหนด ซึ่งแตกต่าง
จากคนที่ขาดความกระตือรือร้น และความดึงดูด โดยส่วนใหญ่จะเป็นคนที่ไม่อยากให้
วันทางานมาถึง รอคอยเวลาเลิกงานหรือเสร็จสิ้นสัปดาห์การทางาน ทางานเฉื่อย ไม่
สนใจรับฟังข้อมูลข่าวสารใด ๆ เลย บุคคลเหล่านี้ไม่ประสบความสาเร็จในการทางาน
แน่นอน
5. ร-รักงานที่ทา
เราไม่สามารถให้งานมารักได้ แต่เราสามารถรักงานที่ทาได้ ใตร่
ตรอง และพิจารณาดูเสมอ ว่างานที่เราทาอยู่นั้น มีคุณค่ากับเรามากมาย
เพียงใด ให้อะไรกับเราบ้าง ทาใจให้รักงาน เพราะคาว่ารัก เป็นพื้นฐานของ
ความสาเร็จทุกอย่าง และทาให้คุณมีความสุขกับมัน เมื่อคุณมีความรักใน
ตัวงาน หรือแม้แต่รักองค์กร คุณจะมีความสุขกับงานที่ทา ซึ่งจะทาให้คุณ
พยายามหาวิธีการต่าง ๆ เพื่อเพิ่มมูลค่าของงานที่ทาอยู่ตลอดเวลา และ
นั่นจะส่งผลให้คุณรู้จักวางแผนชีวิตและเป้ าหมายความสาเร็จในการ
ทางานของคุณ ถ้าคุณไม่สามารถรักงานที่คุณทาอยู่ได้ ความเบื่อหน่าย
ความท้อแท้จะเกิดกับคุณ และในที่สุดคุณก็จะจากมันไป และเสาะ
แสวงหางานที่คุณรักอยู่เรื่อยๆ จะทาให้คุณ ไม่ประสบความสาเร็จสักที
เพราะมัวแต่ไปนับหนึ่งเริ่มต้นใหม่
6. ก-การจัดการเป็นเลิศ
คนที่มีทักษะในการจัดการเป็นเลิศนั้น จะเป็นผู้ที่ประสบความสาเร็จ
ทั้งในเรื่องครอบครัว และ หน้าที่การงาน เพราะเขาจะเป็นคนที่รู้จักวางแผน
ทางานเป็นขั้นตอน รู้จักความเสี่ยง และหามาตรการมาป้ องกัน พร้อมกันนั้นยังมี
ความสามารถในการพลิกวิกฤตให้เป็นโอกาสได้ เพราะทุกสิ่งทุกอย่างได้ถูก
วางแผน จัดการ วางไว้เป็นขั้นเป็นตอนเรียบร้อยแล้ว พอถึงเวลาที่จะนามาใช้นั้น
มันช่างง่ายเหลือเกิน ปราศจากความสับสนและวุ่นวาย ประหยัดทั้งเวลา และ
ทรัพยกรต่างๆ ลองสารวจตัวเองดูว่า การที่คุณจะทาการอย่างใด อย่างหนึ่ง คุณ
ทาได้ง่ายไหม หรือมีแต่ความสับสนวุ่นวาย ไม่รู้จะเริ่มยังไงดี นั่นแสดงว่าถึงเวลา
แล้ว ที่คุณจะต้องมาพัฒนาการทักษะการจัดการของคุณ
บุคคล ในวัยทางาน จะประสบความสาเร็จในการทางานได้ นอกจากจะ
เป็นผู้ที่มีความรู้ อันกอปร ด้วยวัยวุฒิ และคุณวุฒิแล้ว ควรต้องนาทักษะ
อื่นๆ เข้ามาเสริม เข้ามาปรับปรุง และจัดการในการทางานของตน โดย
ทักษะเหล่านั้นจะเกิดขึ้นได้ก็จากการสังเกต การเรียนรู้ การศึกษา ค้นคว้า
และการนาประยุกต์ใช้ เทคนิค “พลอดรัก” (พ-ล-อ-ด-รั-ก) พ-พัฒนา
ตนเอง,ล-หลากหลายทักษะ,อ-อดทน,ด-ดึงดูด,ร-รักงานที่ทา,ก-การจัดการ
เป็นเลิศ ก็อาจจะเป็นวิธีหนึ่ง ที่สามารถทาให้ผู้ที่นาไปฝึกฝน ปฏิบัติ
ปรับเปลี่ยน พัฒนา ตนเองในสถานที่ทางาน หรือในชีวิตประจาวัน ประสบ
ความสาเร็จในสายอาชีพการงาน และตาแหน่งงานที่ตนเองทาอยู่ได้
บรรณานุกรม
• http://www.novabizz.com/NovaAce/Learning/
Self_Development.htm
• http://www.novabizz.com/NovaAce/Learning/
Self_Development_Technique.htm
• https://www.gotoknow.org/posts/364938
• http://www.succeedlifestyle.com/6-easy-
steps-self-improvement/
• http://www.manpowerthailand.com/know_d
etail.php?id=69
บรรณานุกรม (ต่อ)
• http://www.vcharkarn.com/vcafe/204100
• http://theirowndevelopment.blogspot.com/2
013/07/blog-post_8604.html
• http://www.cybervanaram.net/index.php/200
9-12-17-14-43-37-13/529-2011-04-28-16-32-
35
แหล่งที่มารูปภาพ
Background จาก deposit photos
รูปภาพนั่งสมาธิจาก
http://www.bloggang.com/viewdiary.php?id=nonglove&mont
h=05-2010&date=21&group=10&gblog=6
http://www.professional-
one.com/%E0%B8%9E%E0%B8%B1%E0%B8%92%E0%B8%99
%E0%B8%B2%E0%B8%95%E0%B8%99%E0%B9%80%E0%B8%
AD%E0%B8%87/
http://educazone.com/active/190
http://www.mcducation.org/study-education-in-scotland/
http://educazone.com/active/190
http://mblog.manager.co.th/kusoll/author/kusoll/page/2/

More Related Content

Similar to การพัฒนาตนเพื่อความก้าวหน้าสู่อนาคต

พ่อแม่แบบอย่าง
พ่อแม่แบบอย่างพ่อแม่แบบอย่าง
พ่อแม่แบบอย่างdirectorcherdsak
 
Positive thinking enhacing lifestyle
Positive thinking enhacing lifestylePositive thinking enhacing lifestyle
Positive thinking enhacing lifestyleAtivitt Crystalbell
 
สรุปแบบย้อนกลับ แก้ไขด้วย
สรุปแบบย้อนกลับ แก้ไขด้วยสรุปแบบย้อนกลับ แก้ไขด้วย
สรุปแบบย้อนกลับ แก้ไขด้วยkrunakhonch
 
กลอนครูและคำคม
กลอนครูและคำคมกลอนครูและคำคม
กลอนครูและคำคมniralai
 
หลักสูตร
หลักสูตรหลักสูตร
หลักสูตรPat1803
 
บทความ2
บทความ2บทความ2
บทความ2duenka
 
ครูมิใช่ช่างปั้นอันวิจิตร
ครูมิใช่ช่างปั้นอันวิจิตรครูมิใช่ช่างปั้นอันวิจิตร
ครูมิใช่ช่างปั้นอันวิจิตรniralai
 
หลักสูตรท้องถิ่น
หลักสูตรท้องถิ่นหลักสูตรท้องถิ่น
หลักสูตรท้องถิ่นhoneylamon
 
Is โสรยา ประวัติส่วนตัว
Is โสรยา ประวัติส่วนตัวIs โสรยา ประวัติส่วนตัว
Is โสรยา ประวัติส่วนตัวKaembum Soraya
 
หลักสูตร51สู่ห้องเรียน
หลักสูตร51สู่ห้องเรียนหลักสูตร51สู่ห้องเรียน
หลักสูตร51สู่ห้องเรียนPitima Boonprasit
 
ผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบแรก
ผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบแรกผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบแรก
ผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบแรกsukanyalanla
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยNoppasorn Boonsena
 
ภารกิจครูผู้ช่วย
ภารกิจครูผู้ช่วยภารกิจครูผู้ช่วย
ภารกิจครูผู้ช่วยArm Watcharin
 
การปฏิบัติงานของครูในโรงเรียน
การปฏิบัติงานของครูในโรงเรียนการปฏิบัติงานของครูในโรงเรียน
การปฏิบัติงานของครูในโรงเรียนputjohn
 
การนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหาร
การนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหารการนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหาร
การนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหารpentanino
 

Similar to การพัฒนาตนเพื่อความก้าวหน้าสู่อนาคต (20)

พ่อแม่แบบอย่าง
พ่อแม่แบบอย่างพ่อแม่แบบอย่าง
พ่อแม่แบบอย่าง
 
Positive thinking enhacing lifestyle
Positive thinking enhacing lifestylePositive thinking enhacing lifestyle
Positive thinking enhacing lifestyle
 
สรุปแบบย้อนกลับ แก้ไขด้วย
สรุปแบบย้อนกลับ แก้ไขด้วยสรุปแบบย้อนกลับ แก้ไขด้วย
สรุปแบบย้อนกลับ แก้ไขด้วย
 
กลอนครูและคำคม
กลอนครูและคำคมกลอนครูและคำคม
กลอนครูและคำคม
 
หลักสูตร
หลักสูตรหลักสูตร
หลักสูตร
 
บทความ2
บทความ2บทความ2
บทความ2
 
หน่วยที่๘
หน่วยที่๘หน่วยที่๘
หน่วยที่๘
 
4 ปี สุเมธี
4 ปี สุเมธี4 ปี สุเมธี
4 ปี สุเมธี
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
 
ระดับครูผู้ช่วย
ระดับครูผู้ช่วยระดับครูผู้ช่วย
ระดับครูผู้ช่วย
 
ครูมิใช่ช่างปั้นอันวิจิตร
ครูมิใช่ช่างปั้นอันวิจิตรครูมิใช่ช่างปั้นอันวิจิตร
ครูมิใช่ช่างปั้นอันวิจิตร
 
หลักสูตรท้องถิ่น
หลักสูตรท้องถิ่นหลักสูตรท้องถิ่น
หลักสูตรท้องถิ่น
 
Is โสรยา ประวัติส่วนตัว
Is โสรยา ประวัติส่วนตัวIs โสรยา ประวัติส่วนตัว
Is โสรยา ประวัติส่วนตัว
 
หลักสูตร51สู่ห้องเรียน
หลักสูตร51สู่ห้องเรียนหลักสูตร51สู่ห้องเรียน
หลักสูตร51สู่ห้องเรียน
 
ผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบแรก
ผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบแรกผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบแรก
ผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบแรก
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วย
 
อาชีพครู
อาชีพครูอาชีพครู
อาชีพครู
 
ภารกิจครูผู้ช่วย
ภารกิจครูผู้ช่วยภารกิจครูผู้ช่วย
ภารกิจครูผู้ช่วย
 
การปฏิบัติงานของครูในโรงเรียน
การปฏิบัติงานของครูในโรงเรียนการปฏิบัติงานของครูในโรงเรียน
การปฏิบัติงานของครูในโรงเรียน
 
การนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหาร
การนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหารการนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหาร
การนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหาร
 

การพัฒนาตนเพื่อความก้าวหน้าสู่อนาคต

  • 1. การพัฒนาตนเพื่อความก้าวหน้าสู่อนาคต self-development for the future จัดทาโดย นางสาวอัญชลีพร ชมภูราช ม.6/13 เลขที่ 33 นางสาวอรกานต์ ศิริรัตน์ ม.6/13 เลขที่ 37
  • 2. MENU ที่มาและความสาคัญของโครงงาน วัตถุประสงค์ ความหมายของการพัฒนาตน แนวคิดพื้นฐานในการพัฒนาตน ความสาคัญของการพัฒนาตน การพัฒนาตนเอง วิธีในการพัฒนาตัวเองให้ดีขึ้นแบบง่ายๆ แนวทางการพัฒนาตนเอง การพัฒนาตนตามหลักพุทธศาสตร์ การพัฒนาตนตามแนวทางพระพุทธศาสนา บทความ ดร.โสภณ ขาทัพ บุคคลที่ปฏิบัติตามหลักไตรสิกขา พระเทพเวที ไม่มีความยากจนในหมู่คนขยัน บรรณานุกรม แหล่งที่มารูปภาพ เทคนิควิธีในการพัฒนาตนเอง
  • 3. ที่มาและความสาคัญของโครงงาน คนในสังคมปัจจุบันนี้ส่วนใหญ่แล้วทุกคนต่างมุ่งเน้นเพื่อการทางานเป็นหลัก มักจะมีความคิดเห็นตามแบบที่ตัวเองเป็นโดยการไม่ยอมรับหรือรับฟังความ คิดเห็นของคนอื่นเพราะมีความเชื่อที่ว่าความคิดเห็นของตนเองดีกว่าคนอื่น ซึ่ง การเป็นสมาชิกในสังคมที่ดีนั้นควรมีการแสดงความคิดเห็นและรับฟังความ คิดเห็นของผู้อื่นเพื่อใช้ประกอบในการตัดสินใจด้วย ควรส่งเสริมการพัฒนา ปรับปรุงข้อบกพร่องของตนเองและผู้อื่น ทั้งกาย อารมณ์ คาพูด สติปัญญา เพื่อให้เกิดความเข้าใจกันในสังคมมากขึ้น เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมตัวเองให้ เหมาะสมกับที่สังคมต้องการ ไม่เอาตัวเองเป็นหลักอยู่ฝ่ายเดียว พร้อมทั้งควร พัฒนาศักยภาพของตนเองให้เป็นคนที่มีคุณภาพชีวิตที่ดี จึงทาให้ต้องมีการ พัฒนาตนเองเพื่อจะได้เป็นสมาชิกในสังคมที่ดีและมีคุณภาพและการพัฒนา ตนเองในทางที่ดีขึ้นนั้นยังส่งผลให้ตัวผู้ปฏิบัติเองมีบทบาทที่ดีในสังคมอีกด้วย
  • 5. ความหมายของการพัฒนาตน การพัฒนาตน ตรงกับภาษาอังกฤษว่า self-development แต่ยังมี คาที่มีความหมายใกล้เคียงกับคาว่าการพัฒนาตน และมักใช้แทนกัน บ่อยๆ ได้แก่ การปรับปรุงตน (self-improvement) การบริหารตน (self-management) และการปรับตน (self-modification) หมายถึงการเปลี่ยนแปลงตัวเองให้เหมาะสมเพื่อสนองความต้องการและ เป้ าหมายของตนเอง หรือเพื่อให้สอดคล้องกับ สิ่งที่สังคมคาดหวัง
  • 6. ความหมายที่ 1 การพัฒนาตนคือการที่บุคคลพยายามที่จะปรับปรุง เปลี่ยนแปลงตนด้วยตนเองให้ดีขึ้นกว่าเดิม เหมาะสมกว่าเดิม ทาให้ สามารถดาเนินกิจกรรม แสดงพฤติกรรม เพื่อสนองความต้องการ แรงจูงใจ หรือเป้ าหมายที่ตนตั้งไว้ ความหมายที่ 2 การพัฒนาตนคือการพัฒนาศักยภาพของตนด้วยตนเอง ให้ดีขึ้นทั้งร่างกาย จิตใจ อารมณ์ และสังคม เพื่อให้ตนเป็นสมาชิกที่มี ประสิทธิภาพของสังคม เป็นประโยชน์ต่อผู้อื่น ตลอดจนเพื่อการดารงชีวิต อย่างสันติสุขของตน
  • 7. แนวคิดพื้นฐานในการพัฒนาตน บุคคลที่จะพัฒนาตนเองได้ จะต้องเป็นผู้มุ่งมั่นที่จะเปลี่ยนแปลงหรือ ปรับปรุงตัวเอง โดยมีความเชื่อหรือแนวคิดพื้นฐานในการพัฒนาตนที่ ถูกต้อง ซึ่งจะเป็นสิ่งที่ช่วยส่งเสริมให้การพัฒนาตนเองประสบความสาเร็จ แนวคิดที่สาคัญมีดังนี้ 1. มนุษย์ทุกคนมีศักยภาพที่มีคุณค่าอยู่ในตัวเอง ทาให้สามารถฝึกหัด และพัฒนาตนได้ในเกือบทุกเรื่อง 2. ไม่มีบุคคลใดที่มีความสมบูรณ์พร้อมทุกด้าน จนไม่จาเป็นต้องพัฒนา ในเรื่องใดๆ อีก
  • 8. 3. แม้บุคคลจะเป็นผู้ที่รู้จักตนเองได้ดีที่สุด แต่ก็ไม่สามารถปรับเปลี่ยน ตนเองได้ในบางเรื่อง ยังต้องอาศัยความช่วยเหลือจากผู้อื่นในการพัฒนา ตน การควบคุมความคิด ความรู้สึก และการกระทาของตนเอง มี ความสาคัญเท่ากับการควบคุมสิ่งแวดล้อมภายนอก 4. อุปสรรคสาคัญของการปรับปรุงและพัฒนาตนเอง คือ การที่บุคคลมี ความคิดติดยึด ไม่ยอมปรับเปลี่ยนวิธีคิด และการกระทา จึงไม่ยอมสร้าง นิสัยใหม่ หรือฝึกทักษะใหม่ๆที่จาเป็นต่อตนเอง 5. การปรับปรุงและพัฒนาตนเองสามารถดาเนินการได้ทุกเวลาและอย่าง ต่อเนื่อง เมื่อพบปัญหาหรือข้อบกพร่องเกี่ยวกับตนเอง
  • 9. ความสาคัญของการพัฒนาตน บุคคลล้วนต้องการเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ หรืออย่างน้อยก็ต้องการมีชีวิตที่เป็นสุขในสังคม ประสบความสาเร็จตามเป้ าหมายและความต้องการของตนเอง พัฒนาตนเองได้ทันต่อ การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในสังคมโลก การพัฒนาตนจึงมีความสาคัญดังนี้ ก. ความสาคัญต่อตนเอง จาแนกได้ดังนี้ 1. เป็นการเตรียมตนให้พร้อมในด้านต่างๆ เพื่อรับกับสถานการณ์ทั้งหลายได้ด้วย ความรู้สึกที่ดีต่อตนเอง 2. เป็นการปรับปรุงสิ่งที่บกพร่อง และพัฒนาพฤติกรรมให้เหมาะสม ขจัดคุณลักษณะที่ ไม่ต้องการออกจากตัวเอง และเสริมสร้างคุณลักษณะที่สังคมต้องการ 3. เป็นการวางแนวทางให้ตนเองสามารถพัฒนาไปสู่เป้ าหมายในชีวิตได้อย่างมั่นใจ 4. ส่งเสริมความรู้สึกในคุณค่าแห่งตนสูงให้ขึ้น มีความเข้าใจตนเอง สามารถทาหน้าที่ ตามบทบาทของตนได้เต็มศักยภาพ
  • 10. ข. ความสาคัญต่อบุคคลอื่น เนื่องจากบุคคลย่อมต้องเกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน การพัฒนาในบุคคลหนึ่งย่อมส่งผลต่อบุคคลอื่นด้วย การปรับปรุงและพัฒนา ตนเองจึงเป็นการเตรียมตนให้เป็นสิ่งแวดล้อมที่ดีของผู้อื่น ทั้งบุคคลใน ครอบครัวและเพื่อนในที่ทางาน สามารถเป็นตัวอย่างหรือเป็นที่อ้างอิงให้เกิด การพัฒนาในคนอื่นๆ ต่อไป เป็นประโยชน์ร่วมกันทั้งชีวิตส่วนตัวและการทางาน และการอยู่ร่วมกันอย่างเป็นสุขในชุมชน ที่จะส่งผลให้ชุมชนมีความเข้มแข็งและ พัฒนาอย่างต่อเนื่อง ค. ความสาคัญต่อสังคมโดยรวม ภารกิจที่แต่ละหน่วยงานในสังคมต้อง รับผิดชอบ ล้วนต้องอาศัยทรัพยากรบุคคลเป็นผู้ปฏิบัติงาน การที่ผู้ปฏิบัติงาน แต่ละคนได้พัฒนาและปรับปรุงตนเองให้ทันต่อพัฒนาการของรูปแบบการ ทางานหรือเทคโนโลยี การพัฒนาเทคนิควิธี หรือวิธีคิดและทักษะใหม่ๆ ที่จาเป็น ต่อการเพิ่มประสิทธิภาพการทางานและคุณภาพของผลผลิต ทาให้หน่วยงาน นั้นสามารถแข่งขันในเชิงคุณภาพและประสิทธิภาพกับสังคมอื่นได้สูงขึ้น ส่งผล ให้เกิดความมั่นคงทางเศรษฐกิจของประเทศโดยรวมได้
  • 11. การพัฒนาตนเอง (SELF DEVELOPMENT) คนเราถ้าจะเก่งต้องประกอบด้วย 3 เก่งคือ • เก่งตน (Self Ability) หมายถึง เป็นผู้ที่ชอบศึกษาหาความรู้อยู่ ตลอดเวลา เพื่อให้ทันโลกทันคน โดยเริ่มจากการพัฒนาตนเองก่อน การ พัฒนาตนเองนั้นพัฒนาได้ ๓ ทางคือ ทางกาย องค์ประกอบที่สาคัญคือ รูปร่าง พัฒนาให้ดีขึ้นโดยใช้การแต่งกาย ช่วยลดจุดด้อยหรือเสริมจุดเด่น หน้าตาสดชื่นแจ่มใส สะอาดหมดจด อากัปกิริยา การแสดงออกเข้มแข็งแต่ไม่แข็งกระด้าง อ่อนโยนแต่ไม่อ่อนแอ การ ยืน การเดิน การนั่ง ต้องมั่นคง เรียบร้อย การแต่งกายต้องสะอาดเหมาะสมกับ กาลเทศะ เหมาะสมกับรูปร่างและผิวพรรณ
  • 12. ทางวาจา การพูดดีต้องมีองค์ประกอบ ๔ ประการคือ พูดแต่ดี มี ประโยชน์ ผู้ฟังชอบ และทุกคนปลอดภัย ก่อนพูดทุกครั้งต้องคิดก่อนพูด คนที่พูดดี มีปิยะวาจา เป็นลมปากที่หวานหูไม่รู้หาย เป็นที่รักใคร่ชอบพอ แก่ทุก ๆ ฝ่ายที่ได้ยินได้ฟัง ทางใจ การพัฒนาทางใจก็มีองค์ประกอบหลายประการ เช่น ความ มั่นใจ ถ้ามีความมั่นใจในตนเอง จะทาอะไรก็สาเร็จ ความจริงใจ คือ เป็น คนปากกับใจตรงกัน ความกระตือรือร้น กระฉับกระเฉง แจ่มใส มี ชีวิตชีวา ความมานะพยายามไม่ยอมแพ้ต่ออุปสรรค ความซื่อสัตย์สุจริต ความสุขใจ ความอดกลั้น ความมีเหตุผล การมีสมรรถภาพในการจาและมี ความคิดสร้างสรรค์
  • 13. • เก่งคน (Self Ability) หมายถึง มีความสามารถที่จะทาตัวให้เข้าไหน เข้าได้ เป็นที่รักใคร่ชอบพอแก่ทุกฝ่าย มีมนุษยสัมพันธ์ในครอบครัว พ่อ แม่ควรรู้หลักจิตวิทยาในการปกครองลูก ให้ความรัก ความอบอุ่นแก่ลูก ลูกก็ ไม่ทาตนให้เป็นปัญหาให้พ่อแม่ และมีมนุษยสัมพันธ์ในการทางาน สามารถ ทาตนให้เข้ากับคนได้กับทุกคน หากมีผู้บังคับบัญชา ผู้บังคับบัญชาก็รัก หาก มีลูกน้อง ลูกน้องก็รัก เพื่อนร่วมงานก็รัก บุคคลภายนอกหรือลูกค้าก็รัก ซึ่ง จะก่อให้เกิดประโยชน์กับตนเองและธุรกิจเป็นอย่างยิ่ง • เก่งงาน (Task Ability) หมายถึง ผู้ที่รักงาน ขยันทางาน และรู้วิธี ทางาน มีความขยันหมั่นเพียร มานะ อดทน ไม่ยอมแพ้ต่ออุปสรรค
  • 14. เทคนิควิธีการพัฒนาตน 1. การควบคุมตน การควบคุมตน [Self-control] เป็นเทคนิควิธีการพัฒนาตนอย่างหนึ่ง เป็น การควบคุมภายใน สาหรับการควบคุมตน มีผู้ให้ความหมายไว้ว่า หมายถึง พฤติกรรมที่บุคคลกระทาเพื่อให้ได้สิ่งที่ตนต้องการ โดยสิ่งนั้น เป็นสิ่งที่ตนเอง พิจารณาตัดสินใจเลือกด้วยตนเอง หรือ การควบคุมตน คือ กระบวนการที่ บุคคล ใช้วิธีการหนึ่งวิธีการใด หรือ หลายวิธีรวมกัน เพื่อเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม ของตนเอง จากพฤติกรรมที่ไม่พึง ประสงค์ ไปสู่พฤติกรรมที่พึงประสงค์ โดยที่ บุคคลนั้นเป็นผู้กาหนดพฤติกรรมเป้ าหมาย และกระบวนการที่นาไปสู่เป้ าหมาย นั้นด้วยตนเอง การควบคุมตนเอง เป็นทักษะที่เกิดจากการเรียนรู้
  • 15. 2. การดาเนินการเพื่อการควบคุมตน เพื่อให้การควบคุมตน บรรลุเป้ าหมาย และเกิดประสิทธิผล การดาเนินการเพื่อการควบคุมตน มีวิธีดาเนินการดังนี้ • 1. กาหนดเป้ าหมาย (Set a goal) การควบคุมตนจะสาเร็จได้ด้วยดี จะต้องเริ่มด้วยการกาหนดเป้ าหมายสาหรับตน เป้ าหมายปกติจะกาหนดเป็น พฤติกรรมเป้ า (target behavior) • 2. ระบุพฤติกรรมเป้ า (Defining your target behavior) การ ควบคุมตน มีความจาเป็นอย่างมากที่จะต้องกาหนดพฤติกรรมเป้ า ในรูปของ เป้ าเชิงพฤติกรรม เช่น "เลิกบุหรี่" ในการกาหนดพฤติกรรมเป้ าควรมีลักษณะ เป็นบวก ถ้าต้องการจะลดน้าหนักลง อ่าเขียนว่า "เพื่อไม่ให้อ้วน" ซึ่งมี ลักษณะเป็นลบ แต่ควรเขียนว่า"เพื่อให้ผอมลง" ซึ่งมีลักษณะเป็นบวก คือ เน้นสิ่งที่ท่านต้องการจะเป็น ไม่ใช่สิ่งที่ท่านเป็นอยู่ • 3. เลือกเป้ าหมายที่บรรลุได้ (Selecting and attainable goal) พฤติกรรมเป้ าจะต้องบรรลุได้ ความผิดพลาดของการปรับปรุงตนเองให้ดีขึ้น ก็คือการเลือกเป้ าหมายที่เป็นไปไม่ได้หรือสูงเกินไป
  • 16. • 4. บันทึกพฤติกรรม (Recording your behavior) ครั้งแรกที่ กาหนดเป้ าหมาย จาเป็นจะต้องสังเกตพฤติกรรมในปัจจุบัน เพื่อใช้เป็นฐาน ในการประเมินความก้าวหน้าและเพื่อการเปรียบเทียบต่อไป วิธีการบันทึกให้ ใช้วิธีการที่ปฏิบัติได้ไม่ยาก และสามารถเคลื่อนที่ได้ (Portable) ปกติ ควรบันทึกอย่างน้อยสัปดาห์ละครั้ง แต่ไม่ควรนานกว่า 3-4 สัปดาห์ ต่อครั้ง • 5. การทาสัญญากับตน (Marking a self-contract) เพื่อให้ได้ ข้อตกลงกับตัวเองที่ชัดเจน เกี่ยวกับสิ่งที่จะต้องทาให้เสร็จ วิธีที่ดีที่สุด คือ การทาสัญญากับตนเอง สัญญาดังกล่าวจะต้องเขียนเป็นลายลักษณ์อักษร ชัดเจน ยุติธรรม และมีข้อความในเชิงบวก • 6. การเสริมแรงตน(Self-reinforcing) ในอุดมคติ การเสริมแรงที่ดี ที่สุดก็คือ การเสริมแรงทันทีที่มีพฤติกรรมตามเป้ าหมาย
  • 17. วิธีในการพัฒนาตัวเองให้ดีขึ้นแบบง่ายๆ 1. ยินดีและยอมรับการเปลี่ยนแปลง การพัฒนาตัวเองให้ดีขึ้น คุณจาเป็นจะต้องมีความต้องการอย่าง มากที่จะเปลี่ยนแปลงตัวเอง การเปลี่ยนแปลงตัวเองคือทางเดียวที่จะพาสิ่ง ที่คุณเป็นในทุกวันนี้ไปสู่ตัวคุณที่คุณต้องการจะเป็น คนส่วนใหญ่ไม่ชอบและต่อต้านการเปลี่ยนแปลงซึ่งจะเป็นแรงฉุด ที่ทาให้คุณอยู่กับที่ พยายามเปิดใจ ยินดีและยอมรับกับความเปลี่ยนแปลง ที่คุณตัดสินใจทา คิดถึงความสุขและความสาเร็จที่คุณได้รับเสมือนหนึ่งว่า คุณสามารถพัฒนาตัวเองสาเร็จแล้ว
  • 18. 2. หยุดหาข้อแก้ตัวให้กับตัวเอง เมื่อเกิดปัญหาก่อนหน้านี้บ่อยครั้งที่ผมมักจะโทษว่าเป็นความผิด ของคนหรือสิ่งต่างๆที่อยู่รอบตัว ไม่ว่าจะเป็น เจ้านาย เพื่อนร่วมงาน ลูกค้า จราจร หรือดินฟ้ าอากาศ หลังจากผมได้เรียนรู้หลักในการรับผิดชอบ 100% เพื่อชีวิตที่ ดีกว่า ทาให้พบว่าการกล่าวโทษหรือบ่นให้กับสิ่งต่างๆ นอกจากจะไม่ทาให้ อะไรดีขึ้น แล้วยังทาให้ตัวเรามีความสุขน้อยลงด้วย เมื่อทาสิ่งใดแล้วไม่ได้ผลลัพธ์ตามที่เราต้องการ ยืดอกแล้วยอมรับ เถอะครับ ว่าเป็นเพราะตัวของเราเอง ใช้มันเป็นบทเรียนเพื่อพัฒนาตัวเอง ให้ดีขึ้นจะดีกว่า
  • 19. 3. ทาตัวเองให้เป็นแบบอย่างที่ดี การทาตัวเองให้เป็นแบบอย่างที่ดี ช่วยให้เราพัฒนาตัวเองอยู่เสมอ ซึ่งยิ่งช่วยทาให้ชีวิตเราดียิ่งขึ้น เราอาจเริ่มจากจุดเล็กๆ เช่น การเป็นพี่ที่ดี ให้กับน้องๆ การเป็นโค้ชให้กับเด็กๆ และการเป็นแบบอย่างที่ดีให้กับเด็ก ไม่ว่าคุณทาอะไร มันจะช่วยทาให้คุณรู้สึกว่ามีคนที่นับถือคุณอยู่ คอยดูคุณ เป็นแบบอย่างที่ดีของพวกเขา
  • 20. 4. รู้จักการให้อภัย ทุกคนรู้ว่าเป็นเรื่องดีแต่เป็นเรื่องยากที่จะให้อภัยกับคนที่ทาให้เรา เสียใจหรือผิดหวัง แต่หากคุณสังเกตดูตัวเอง ความโกรธที่คุณมี เหมือนกับ การกาถ่านร้อนๆ ที่คุณพร้อมจะโยนใส่คนอื่น แต่คนที่เจ็บปวดที่สุดก็คือตัว เราเองที่ถูกเผาอยู่คนเดียว คิดว่าคนเราทาผิดพลาดกันได้ เรียนรู้ที่จะปล่อย วางและให้อภัยแล้วคุณจะพบว่าตัวเราเองที่รู้สึกมีความสุขที่สุด
  • 21. 5. รู้จักการรับฟังที่ดี ผู้คนในทุกวันนี้รีบเร่ง ยุ่งอยู่ตลอดเวลา ในการทางาน ครอบครัว และใช้ชีวิต ไม่มีเวลาฟังในสิ่งที่สาคัญจนกระทั่งเราพลาดโอกาสสาคัญและ ความสุขในชีวิตไปอีกหลายอย่าง ทาชีวิตของเราให้ช้าลงบ้าง เลือกใส่ใจ และรับฟัง แล้วคุณจะพบความต้องการและโอกาสอีกมากมายที่ยังไม่มีใคร ได้ยิน
  • 22. 6. เรียนรู้ที่จะสร้างรอยยิ้มให้ผู้อื่น สร้างนิสัยให้ตัวเอง คิดดี พูดดี และหาโอกาสสร้างรอยยิ้มให้กับคน ที่เรารัก และคนที่อยู่รอบๆตัวเรา ช่วยเพิ่มความสุขในแต่และวันให้กับคน อื่น แล้วคุณจะพบว่าตัวคุณเองจะรู้สึกถึงความสุขนั้นมากกว่าใครๆ
  • 23. แนวทางการพัฒนาตนเอง 1.มีวินัย เป็นหลักปฏิบัติที่ช่วยให้ทางานสาเร็จ เอาชนะอุปสรรคต่าง ๆ ได้ ด้วยเวลาอันสั้น เป็นตัวกาหนดการเรียนรู้ที่จะรับผิดชอบหน้าที่ที่ได้รับ และ ช่วยควบคุมตนเองได้ดี 2.รับฟังความคิดเห็น และคานึงถึงความรู้สึกของผู้อื่นอย่างมีเหตุผล ขณะเดียวกันเมื่อพบกับปัญหา ควรหาทางออกที่เหมาะสม เพื่อสร้างความ ร่วมมือที่ดีในการทางาน 3.มองโลกในแง่ดี มีความคิดเชิงบวก จะส่งผลให้สุขภาพจิต สุขภาพกายดี ความคิดโปร่งใส สุดท้ายจะตามมาด้วยความสุขและความสาเร็จ
  • 24. 4.ใช้ชีวิตให้สมดุล ด้วยการเดินสายกลาง อย่าทุ่มเทชีวิตให้ด้านใดด้านหนึ่ง จนด้านอื่น ๆ ขาดการดูแล รู้จักใช้ชีวิตให้สมดุล เพื่อกระตุ้นให้ชีวิตมี ความสุข มีความคิดสร้างสรรค์ และมีพลังในการเรียน การทางานต่อไป การพัฒนาด้านอารมณ์และจิตใจ ควบคู่ไปกับ IQ นั้น ถือเป็น กุญแจสาคัญที่จะนาไปสู่การใช้ชีวิตอย่างมีประสิทธิภาพ และนาไปสู่ ความสาเร็จอย่างแท้จริง
  • 25. การพัฒนาตนตามหลักพุทธศาสตร์มุ่งการกระทาให้ตนมี ความสุขด้วยตนเองมากกว่าการพึ่งพาวัตถุ 1. รู้จักเลือกหาแหล่งความรู้และแบบอย่างที่ดี ได้แก่ การรู้จักใช้สติปัญญา ในการวิเคราะห์ พิจารณาและเลือกแหล่งความรู้ที่ดี เริ่มจากการเลือกคบ คนดี เลือกแบบอย่างที่ดี เลือกบริโภคสื่อและข่าวสารข้อมูลต่าง ๆ ที่มี คุณค่า การพัฒนาชีวิตเช่นนี้เรียกว่าความมีกัลป์ ยานมิตร 2. รู้จักจัดระเบียบชีวิต และอยู่ร่วมกันในสังคมอย่างเรียบร้อย มีการ วางแผนและจัดการกิจการงานต่าง ๆ อย่างมีระบบ ระเบียบ เรียกว่า ถึง พร้อมด้วยศีล
  • 26. 3. ความมุ่งมั่นพัฒนาตนให้เต็มศักยภาพ มนุษย์มองภาพไม่ดีของตนว่า สามารถพัฒนาได้ ก็จะมีความงอกงามจนที่ที่สุดแห่งความสามารถของตน เรียกว่า ทาตนให้ถึงพร้อม 4. ปรับทัศนคติและค่านิยมให้เหมาะสมกับการดาเนินชีวิตที่ดีงาม เอื้อต่อ การเรียนรู้ และทาให้สติปัญญางอกงามขึ้น เรียกว่า กระทาความเห็นความ เข้าใจให้ถึงพร้อม
  • 27. 5. การมีสติ กระตือรือร้น ตื่นตัวทุกเวลา หมายถึง การมีจิตสานึกแห่งความ ไม่ประมาท เข้าใจการเปลี่ยนแปลงของชีวิตและสภาพแวดล้อม เห็นคุณค่า ของเวลา และใช้เวลาอย่างคุ้มค่า เรียกว่า ถึงพร้อมด้วยความไม่ประมาท 6. การรู้จักแก้ปัญหาและพึ่งตนเอง จัดการแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบด้วย ความคิดวิจารณญาณญาณตามเหตุปัจจัยด้วยตัวเอง
  • 28. การพัฒนาตนเองตามแนวทางพระพุทธศาสนา ตามแนวคิดทางพุทธศาสตร์ การพัฒนาตนเป็นการเรียนรู้และการปฏิบัติ เพื่อไปสู่ความพอดี หรือการมีดุลยภาพของชีวิต มีความสัมพันธ์อัน กลมกลืนระหว่างการดาเนินชีวิตของบุคคล กับสภาพแวดล้อมและมุ่งการ กระทาตนให้มีความสุขด้วยตนเอง รู้เท่าทันตนเอง เข้าใจตนเองมากกว่า การพึ่งพาอาศัยวัตถุ จึงเป็นแนวทางการพัฒนาชีวิตที่ยั่งยืน หลักการ พัฒนาตนตามแนวพุทธศาสตร์ประกอบด้วยสาระสาคัญ 3 ประการ คือ ทมะ สิกขา และภาวนา
  • 29. • ทมะ คือการฝึกนิสัยดั้งเดิมที่ยังไม่ได้ขัดเกลาให้เหมาะสม มีขั้นตอน สาคัญ ได้แก่ 1) การรู้จักข่มใจ ข่มระงับความเคยชินที่ไม่ดีทั้งหลายได้ ไม่ยอมให้กิเลสรบ เร้า หลอกล่อ ชักนาไปสู่ความเลวร้ายได้ 2) การฝึกปรับปรุงตนเอง โดยทาคุณความดี ให้เจริญก้าวหน้าต่อไป
  • 30. • สิกขา คือการศึกษา เพื่อให้รู้แจ้ง รู้จักประโยชน์ มองทุกอย่างเป็นการ เรียนรู้เพื่อปรับปรุงและพัฒนาตัวเอง เป็นกระบวนการฝึกฝนตนเองใน การดาเนินชีวิต เรียกว่า ไตรสิกขา มี 3 ประการ คือ 1. ศีลสิกขา หมายถึงการฝึกความประพฤติสุจริตทางกาย ทางวาจาและ การประกอบอาชีพ ดารงตนในสังคมแบบสาธุชน เป็นคนดีของสังคม เป็น คนมีระเบียบ มีวินัย ปฏิบัติหน้าที่ตามปทัสถานของสังคมสามารถดาเนิน ชีวิตได้อย่างดีงามโดยมีความรับผิดชอบเกื้อกูลต่อสังคม
  • 31. 2. จิตสิกขา หมายถึงการฝึกจิต สร้างคุณภาพและสมรรถภาพทางจิตให้ เข้มแข็งมั่นคง แน่วแน่ ควบคุมตนเองได้ดี มีสมาธิ มีจิตที่สงบ บริสุทธิ์ ปราศจากสิ่งที่ทาให้เศร้าหมอง อยู่ในสภาพพร้อมที่จะใช้ปัญญาอย่าง ลึกซึ้งและตรงตามสัจธรรม 3. ปัญญาสิกขา หมายถึงการฝึกปัญญาให้เกิดความรู้ความเข้าใจสรรพสิ่ง รู้แจ้งตามความเป็นจริง มีจิตใจเป็นอิสระและมีปัญญาบริสุทธิ์
  • 32. • ภาวนา คือ คานี้ตรงกับคาว่าพัฒนา ซึ่งประกอบด้วย กายภาวนา ศีล ภาวนา และปัญญาภาวนา เทียบได้กับการพัฒนาทางกาย พัฒนาทาง สังคม พัฒนาอารมณ์ และพัฒนาสติปัญญา 1. กายภาวนา หมายถึงการพัฒนาทางกายเพื่อให้เกิดการเจริญงอกงามใน อินทรีย์ 5 หรือ ทวาร 5 ได้แก่ช่องทางการติดต่อสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมทาง กายภาพ คือ ตา หู จมูก ลิ้น และผิวกาย การพัฒนากายเป็นการส่งเสริมให้ ความสัมพันธ์ทั้ง 5 ทางเป็นไปอย่างปกติ ไม่เป็นโทษ ไม่มีพิษภัยอันตราย เช่น รู้จักสัมพันธ์ทางตา เลือกรับเอาสิ่งดีมีประโยชน์จากการเห็นทางตามา ใช้ รู้จักสัมพันธ์ทางหู เลือกรับฟังสิ่งดีมีประโยชน์ ไม่รับฟังสิ่งเลวร้ายเข้ามา เป็นต้น
  • 33. 2. ศีลภาวนา หมายถึงการพัฒนาการกระทา ได้แก่การสร้างความสัมพันธ์ ทางกายและวาจากับบุคคลอื่นโดยไม่เบียดเบียนกัน ไม่กล่าวร้ายทาลาย ผู้อื่น ไม่กระทาการใดๆ ที่จะก่อความเดือดร้อนให้แก่ผู้อื่น แต่จะใช้วาจา และการกระทาที่ดี ให้ความช่วยเหลือเกื้อกูลและเสริมสร้างความสัมพันธ์ที่ ดี
  • 34. 3. จิตตภาวนา หมายถึง พัฒนาจิตใจ เพื่อให้จิตมีคุณภาพดี สมรรถภาพ ทางจิตดี และสุขภาพจิตดี คุณภาพจิตดี คือจิตใจที่มีคุณธรรม ได้แก่ มี เมตตา กรุณา มุทิตา มีศรัทธา และมีความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ เป็นต้น สมรรถภาพทางจิตดี คือการมีความพร้อมในการทางาน ได้แก่ ขันติคือมี ความอดทน สมาธิคือความมีใจตั้งมั่น อธิษฐานคือมีความเด็ดเดี่ยว วิริยะ คือมีความเพียร สติคือมีความระลึกเท่าทัน เป็นต้น ส่วนสุขภาพจิตดีเป็น สภาพจิตที่มีความสบายใจ อิ่มเอิบใจ แช่มชื่น เบิกบาน เกิดความสบายใจ ได้เสมอเมื่อดารงชีวิตหรือทากิจกรรมร่วมกับผู้อื่น
  • 35. 4. ปัญญาภาวนา หมายถึงการพัฒนาปัญญา ได้แก่การรู้เข้าใจสิ่งต่างๆ ตามความเป็นจริง รู้เท่าทันสภาวะของโลกและชีวิต ทาให้จิตใจเป็นอิสระ ได้จนถึงขั้นสูงสุด ส่งผลให้อยู่ในโลกได้โดยไม่ติดโลก มีอิสระที่จะ เจริญเติบโตงอกงามต่อไป
  • 36. ดร.โสภณ ขาทัพ อาจารย์คณะศึกษาศาสตร์มหาวิทยาลัยมหามกุฏ ราชวิทยาลัย ได้ส่งบทความเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงตามหลักแห่งไตรสิกขา มาให้อ่านนานมาแล้ว แต่ติดขัดที่แผนภูมิที่ให้มานั้นนาเสนอไม่ได้ จึงไม่ได้ นาเผยแผ่ เกรงว่าบทความจะไม่สมบูรณ์ แต่เมื่อพบหน้ากันอีกครั้งเขาบอก ว่านาเสนอได้สามารถอ่านแล้วเข้าใจได้แม้จะไม่มีแผนภูมิก็ตาม ลองอ่านดู แม้จะอ่านแล้วเข้าใจยาก แต่หากอ่านโดยพิเคราะห์จะทาให้เข้าใจคาว่า เศรษฐกิจพอเพียงตามหลักไตรสิกขาได้ ตามมุมมองของผู้เรียบเรียงบอกว่า เศรษฐกิจและธรรมไปด้วยกันได้ ไม่ได้ขัดแย้งกันเลย
  • 37. โดยความหมายของคาว่า “พัฒนา” แปลว่า เจริญหรือทาให้เจริญ ใน พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒ คาศัพท์ในภาษาบาลีเดิม ทางพระพุทธศาสนานั้นไม่ได้ใช้คาว่า “พัฒนา” แต่ปัจจุบันนี้ใช้กันมาก โดยมีคาว่า “ภาวนา” แปลเป็นภาษาไทยง่ายๆ ว่า เจริญ เช่น สามารถ ภาวนา แปลว่า เจริญสมถะ ดังนั้นคาว่า“พัฒนา” ในภาษาไทยปัจจุบันมี ความหมายตรงกับคาภาษาบาลีว่า “ภาวนา” การจะพัฒนาตนของบุคคล ตามหลักธรรมในพระพุทธศาสนานั้น จะต้องตั้งอยู่บนหลักภาวนา ๓ คือ กายภาวนา จิตภาวนา และปัญญาภาวนา ซึ่งถือว่าเป็นระบบการศึกษาที่ ทาให้บุคคลได้พัฒนาอย่างมีบูรณาการและพัฒนาอย่างมีดุลยภาพ ดังนี้
  • 38. 1. ศีลเป็นเรื่องของการฝึกในด้านพฤติกรรม โดยเฉพาะกับพฤติกรรมที่เคย ชิน ซึ่งเครื่องมือที่ใช้ในการฝึกศีล คือ วินัย อันเป็นจุดเริ่มต้นที่ต้องเข้าใจใน กระบวนการศึกษาและพัฒนาตน เพราะวินัยเป็นตัวการจัดเตรียมชีวิตให้ อยู่ในสภาพที่เอื้อต่อการพัฒนา โดยจัดระเบียบการเป็นอยู่ การดาเนินชีวิต และการอยู่ร่วมกันในสังคมให้เหมาะกับการพัฒนาและเอื้อโอกาสที่จะ พัฒนา และเมื่อฝึกได้ผลจนผู้ฝึกมีพฤติกรรมที่ดีตามวินัยนั้นแล้วจะเกิดเป็น ศีล จึงกล่าวได้ว่าวินัยจะจัดสภาพแวดล้อมที่ป้ องกันไม่ให้มีพฤติกรรมที่ไม่ ดี และเอื้อต่อการมีพฤติกรรมที่ดีให้เกิดขึ้น
  • 39. 2. สมาธิเป็นเรื่องของการฝึกในด้านจิตหรือระดับจิตใจได้แก่การพัฒนา คุณสมบัติต่างๆ ของจิตทั้งในด้านคุณธรรม เช่น ความเมตตากรุณา ความ เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ในด้านความสามารถของจิต เช่น ความเข้มแข็งมั่นคง ความ พากเพียรพยายาม ความรับผิดชอบ ความมีสติสมาธิ และในด้านความสุข เช่น ความอิ่มใจสดชื่น ความร่าเริงเบิกบานใจ ความรู้สึกพอใจ หรืออาจ เรียกได้ว่าเมื่อเข้าถึงระดับจิตใจที่มีสันโดษธรรมเป็นที่ตั้งแล้ว ย่อมเป็นการ พัฒนาคุณภาพ สมรรถภาพและสุขภาพจิต
  • 40. 3. ปัญญาเป็นเรื่องของการฝึกหรือพัฒนาในด้านการรู้ความจริง เริ่มตั้งแต่ ความเชื่อ ความเห็น ความรู้ ความเข้าใจ ความหยั่งรู้เหตุผล การรู้จัก วินิจฉัย ไตร่ตรอง และคิดการต่างๆ อย่างสร้างสรรค์ เฉพาะอย่างยิ่งเน้น การรู้ตรงตามความเป็นจริง ตลอดจนรู้แจ้งความจริงที่เป็นสากลของสิ่งทั้ง ปวง จนถึงขั้นรู้เท่าทันธรรมดาของโลก และชีวิตที่ทาให้มีจิตใจเป็นอิสระ ปลอดปัญหา ไร้ทุกข์ และเข้าถึงอิสรภาพโดยสมบูรณ์
  • 41. สาหรับบุคคลที่ปฏิบัติตามหลักไตรสิกขานั้นย่อมก่อให้เกิดประโยนน์ ๓ ประการ คือ 1. ทาให้บุคคลเป็นคนดีของสังคม เป็นผู้ที่มีระเบียบวินัย เคารพกฎหมาย และอยู่ในกรอบวัฒนธรรมประเพณีที่ดีงามของสังคม พระพุทธเจ้าทรง สอนให้บุคคลงดเว้นกายทุจริต วจีทุจริต และประพฤติแต่กายสุจริต วจี สุจริต อันเป็นไปตามหลักของศีล เรียกว่า กายภาวนา เป็นวิธีการพัฒนา บุคคลด้านพฤติกรรมที่แสดงออกมาทางกายและวาจา เป็นเรื่องที่ เกี่ยวข้องกับสังคมเฉพาะพฤติกรรมในด้านดี
  • 42. 2. ทาให้บุคคลมีจิตใจและอารมณ์มั่นคง เป็นผู้มีความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่แก่คน อื่น และเห็นแก่ประโยชน์ส่วนรวม ซึ่งพระพุทธองค์ทรงสอนให้บุคคลงดเว้น จากความโลภ ความพยาบาท แล้วให้ประพฤติในมโนสุจริต ไม่โลภ ไม่ พยาบาท มีจิตใจเสียสละและยินดีให้อภัย เป็นการพัฒนาจิตใจตามหลัก ของสมาธิที่เรียกว่า จิตภาวนา 3. ทาให้บุคคลรู้และเข้าใจในสิ่งต่างๆ อย่างถูกต้อง ตรงตามความเป็นจริง อันเป็นสัมมาทิฏฐิ เป็นการพัฒนาบุคคล ตามหลักของปัญญา เรียกว่า ปัญญาภาวนา การปฏิบัติข้อนี้เป็นการพัฒนาบุคคลให้เข้าใจชีวิตอย่าง แจ่มแจ้ง จนถึงสัมมาญาณและบรรลุสัมมาวิมุตติ คือหลุดพ้นจากกิเลสได้ โดยสิ้นเชิง (บรรลุนิพพาน)
  • 43. ในการพัฒนาจิตของบุคคลตามแนวทางของพระพุทธศาสนานี้สามารถใช้วิธีการ ปฏิบัติตนตามหลักไตรสิกขาและมรรคมีองค์ ๘ ได้เป็นอย่างดี เพราะหากบุคคล ใดปราศจากไตรสิกขาและอริยมรรคแล้ว จิตใจของบุคคลนั้นก็ไม่อาจจะพัฒนา หรือยกระดับให้สูงขึ้นได้ หลักไตรสิกขาและอริยมรรคนี้จึงถือได้ว่ามีความสาคัญ อย่างยิ่งต่อการพัฒนาจิตใจของบุคคลตามแนวทางในพระพุทธศาสนา ซึ่ง สามารถแสดงเป็นแผนภูมิให้เข้าใจได้ง่าย และสะดวกในการพิจารณาได้ดังนี้ ๑.อธิศีลสิกขา ๒.อธิจิตตสิกขา ๓.อปัญญาสิกขา -สัมมาวาจา -สัมมาวายามะ -สัมมาทิฎฐิ -สัมมากัมมันตะ -สัมมาสติ - สัมสังกัปปะ -สัมมาอาชีวะ -สัมมาสมาธิ
  • 44. อย่างไรก็ตามการที่จะปลูกฝังให้คนในสังคมเข้าถึงปัญญา หรือปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียงได้นั้น จาต้องมีกระบวนการของการเรียนรู้เป็นเครื่องมือใน การสั่งสมภูมิปัญญาเพื่อไปสู่เป้ าหมายที่เป็นปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง และใช้ เป็นแนวทางในการนาไปปฏิบัติโดยอาศัยหลักคุณธรรม ๔ ประการ ตามพระ บรมราโชวาทของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ ที่มีพระราชดารัสในพระราช พิธีบวงสรวงสมเด็จพระบูรพมหากษัตริยาธิราชเจ้า เมื่อวันที่ ๕ เมษายน พ.ศ. ๒๕๒๕ ให้เป็นเครื่องมือที่ทรงพลัง ในการสร้างกระบวนการเรียนรู้ เพื่อนาไปสู่ เป้ าหมายทางปัญญาได้ด้วยคุณธรรม ๔ ประการ ได้แก่ 1. การรักษาความสัจ ความจริงใจต่อตนเองที่จะประพฤติปฏิบัติแต่ในสิ่งที่เป็น ประโยชน์และเป็นธรรม
  • 45. 2. การรู้จักข่มใจตนเอง ฝึกใจตนเอง ให้ประพฤติปฏิบัติอยู่ในความสัจ ความดีนั้น 3. การอดทนอดกลั้น และอดออมที่จะไม่ประพฤติล่วงความสัจสุจริตไม่ว่า ด้วยเหตุประการใด 4. การรู้จักละวางความชั่ว ความทุจริต และรู้จักสละประโยชน์ส่วนน้อย ของตนเพื่อประโยชน์ส่วนใหญ่ของบ้านเมือง
  • 46. พระเทพเวที (ป.อ.ปยุตโต, 2532) เสนอวิธีการที่จะพัฒนาตนไปสู่วิถี ชีวิตที่ดีงาม เรียกว่า "รุ่งอรุณแห่งการพัฒนาตน" ไว้ 7 ประการ ดังนี้ 1. รู้จักเลือกหาแหล่งความรู้และแบบอย่างที่ดี ได้แก่ การรู้จักใช้สติปัญญา ในการวิเคราะห์ พิจารณาในการเลือก เริ่มจากการเลือกคบคนดี เลือกตัว แบบที่ดี เลือกบริโภคสื่อและข่าวสารข้อมูลที่มีคุณค่า เรียกว่า ความมีกัล ยานมิตร (กัลยานมิตตา) 2. รู้จักจัดระเบียบชีวิต มีการวางแผนและจัดการกิจการงานต่างๆ อย่างมี ระบบระเบียบ เรียกว่า ถึงพร้อมด้วยศีล (ศีลสัมปทา)
  • 47. 3. ถึงพร้อมด้วยแรงจูงใจให้สร้างสรรค์ มีความสนใจ มีความพึงพอใจ มี ความต้องการจะสร้างสรรค์กิจการงานใหม่ๆ ที่เป็นความดีงามและมี ประโยชน์ เรียกว่า ถึงพร้อมด้วยฉันทะ (ฉันทสัมปทา) 4. มีความมุ่งมั่นพัฒนาตนให้เต็มศักยภาพ ผู้มีความเชื่อในตนว่าสามารถ จะพัฒนาได้ จะมีความงอกงามถึงที่สุดแห่งความสามารถของตน เรียกว่า ทาให้ตนให้ถึงพร้อม (อัตตสัมปทา) 5. ปรับเจตคติและค่านิยมให้เหมาะสมกับการดาเนินชีวิตที่ดีงาม เอื้อต่อ การเรียนรู้ ทาให้สติปัญญางอกงามขึ้น เรียกว่า กระทาความเห็นความ เข้าใจให้ถึงพร้อม (ทิฎฐิสัมปทา)
  • 48. 6. การมีสติ กระตือรือร้น ตื่นตัวทุกเวลา หมายถึง การมีจิตสานึกแห่งความ ไม่ประมาท เข้าใจการเปลี่ยนแปลงของชีวิตและสภาพแวดล้อม เห็นคุณค่า ของเวลาและใช้เวลาอย่างคุ้มค่า เรียกว่า ถึงพร้อมด้วยความไม่ประมาท (อัปปมาทสัมปทา) 7. รู้จักแก้ปัญหาและพึ่งตนเอง จัดการแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ มี ความคิดวิจารณญาณตามเหตุปัจจัยด้วยตนเอง เรียกการคิดแบบนี้ว่า โยนิสโสมนสิการ (โยนิโสมนสิการสัมปทา)
  • 49. “ไม่มีความยากจนในหมู่คนขยัน” ประโยคนี้เป็นคาพูดที่ฮิต ติดปาก ของคนทางานหลายคน เพื่อใช้เป็นกาลังใจ หรือคาพูด ปลอบใจให้กับตัวเอง เพื่อนร่วมงาน และบุคคลรอบข้าง แน่นอน ความขยัน ไม่ทาให้ คนเราอดตาย โดยเฉพาะในยุคสมัยของ”ไอ้ขวัญ อีเรียม” ที่ไม่จาเป็นต้องมีความรู้ หรือ การศึกษามากมาย หาปู ปลา ผัก ตามห้วยหนองคลองบึง เลี้ยงปากท้องได้ เนื่องจาก ธรรมชาติ สภาพแวดล้อม และยุคสมัยเอื้ออานวยอยู่ แต่ปัจจุบันยุคสมัยได้เปลี่ยนไป เข้าสู่โลกแห่งการพัฒนาทั้งทางด้านเทคโนโลยี และด้านทรัพยากรมนุษย์ ที่มีการแข่งขัน กันตลอดเวลา ประโยคที่ว่า "ไม่มีความยากจนในหมู่คนขยัน" อาจจะใช้ได้อยู่กับบาง สถานการณ์ สังคม หรือประเทศเท่านั้น และต้องถูกที่ ถูกกาลเทศะ บริบทต่างๆ ด้วย จึง จะเห็นได้ว่าในวัยทางานยุคปัจจุบัน หลายคน ขยันมากมาย ทางานตัวเป็นเกลียว หัว เป็นน๊อต อุทิศตนเองให้กับองค์กร ที่ตนเองทางานอยู่ ก็ไม่ประสบความสาเร็จสักที ซึ่ง แน่นอนแต่ละคนย่อมมีความคาดหวังให้ตนเอง มีหน้าที่การงานทาที่ดี และ นอกเหนือจากนั้น ยังต้องการให้ตนเองประสบความสาเร็จ ก้าวไปกับองค์กรที่ตนเอง ทางานอยู่
  • 50. ทั้งนี้มีเทคนิคหนึ่ง ที่อยากจะนามาเสนอ และแนะนา ให้กับทุกท่าน เพื่อ สามารถประสบความสาเร็จในหน้าที่การงาน นั่นคือการ “พลอดรัก” ซึ่ง ไม่ใช่เป็นการขอความรักระหว่างชายหนุ่มหญิงสาว แต่เป็นเทคนิคการ ทางานให้ประสบความสาเร็จ อีกแนวทางหนึ่ง ดังนี้ 1. พ-พัฒนาตนเอง ศึกษา จุดด้อย ข้อบกพร่อง จุดแข็ง ของตนเองอย่างสม่าเสมอ ไม่ ว่าจะเป็นเรื่องบุคลิกลักษณะ พฤติกรรม หรือแม้แต่วิธีการทางานของ ตนเอง สิ่งไหนที่มีดีอยู่แล้ว ต้องหมั่นต่อยอด พัฒนา ให้ดียิ่งขึ้น สิ่งไหนที่ เป็นจุดอ่อน จุดบกพร่องปรับปรุง ศึกษาหาความรู้ต่อเติมให้ดีกว่าเดิม วัย ทางานจะต้องเป็นนักสารวจ หรือมีหัวใจเป็นนักพัฒนาอยู่เสมอในทุกด้าน
  • 51. 2. ล-หลากหลายทักษะ ทุกองค์กร หรือบริษัทในปัจจุบัน ต้องการพนักงานที่มีความ หลากหลายในทักษะการทางาน (Multi-skills) เพื่อเข้ามาพัฒนา ปรับปรุงองค์กรให้ดีขึ้น เนื่องจากพนักงานที่มีความสามารถหลายอย่าง ย่อมไม่ปฏิเสธ หรือลีกเลี่ยงการทางานที่มอบหมายให้ เพราะเป็นบุคคลที่ สามารถ พัฒนาตนเอง เพื่อนร่วมงานอย่างต่อเนื่อง บุคคลเหล่านี้จะไม่ ปฏิเสธการเรียนรู้สิ่งใหม่ๆ ทาตนเป็นเหมือนแก้วน้าที่ไม่เต็ม รับฟังความ คิดเห็น ปรับปรุง เปลี่ยนแปลงตัวเองในทางที่ดีตลอดเวลา
  • 52. 3. อ-อดทน พลังแห่งความสาเร็จในการทางาน คือ การอดทน ต่อสถานการณ์ ต่างๆ ในสถานที่ทางาน ไม่ว่าจะเป็นเรื่องของงานที่ได้รับมอบหมาย พฤติกรรมอันไม่พึงประสงค์ของหัวหน้างาน หรือเพื่อนร่วมงาน หลายคน ทนไม่ได้กับการได้รับการพูดจา ดูถูก สบประมาท ลาออกจากที่ทางาน ทันที โดยหารู้ไม่ว่า สิ่งนั้นอาจจะเป็นยาพิษ ที่ทาร้ายตนเอง ทาให้คุณไม่ สามารถได้งานใหม่ เพราะประวัติการทางานของคุณเสีย ไม่สามารถเผชิญ กับสถานการณ์ตึงเครียด หรือสถานการณ์อันเลวร้ายในที่ทางานได้ จงมี ความอดทนและอดกลั้นเข้าไว้ แล้วคุณจะสามารถเผชิญกับปัญหาต่าง ๆ ได้สาเร็จ
  • 53. 4. ด-ดึงดูด พนักงานที่มีความกระตือรือร้น ชอบเรียนรู้สิ่งใหม่ๆ ลองผิด ลองถูก อย่าง สม่าเสมอ คอยดึงดูด เอาความรู้จาก หนังสือ ผู้คนรอบข้าง อินเตอร์เน็ต มา ประยุกต์ใช้ในการทางาน จนทาให้งานสาเร็จลุล่วงไปด้วยดี ย่อมสามารถดึงดูด ความ สนใจจากหัวหน้างาน ทีมงาน ให้เห็นศักยภาพของพนักงานคนนั้นได้ บุคคลที่มีทักษะ ในการดึงดูดนั้นจะสามารถทางานเป็นทีม และทางานคนเดียวอย่างอิสระได้อย่างไม่มี ปัญหาใดๆ และโดยส่วนใหญ่คนที่มีทักษะดึงดูด มักจะมีความกระตือรือร้นจะเป็นคน ที่ชอบลองผิดลองถูก มาทางานก่อนเวลาเสมอเพื่อหาโอกาสค้นคว้าข้อมูลและหา ความรู้เพิ่มเติม พยายามที่จะให้งานเสร็จก่อนหรือตรงตามเวลาที่กาหนด ซึ่งแตกต่าง จากคนที่ขาดความกระตือรือร้น และความดึงดูด โดยส่วนใหญ่จะเป็นคนที่ไม่อยากให้ วันทางานมาถึง รอคอยเวลาเลิกงานหรือเสร็จสิ้นสัปดาห์การทางาน ทางานเฉื่อย ไม่ สนใจรับฟังข้อมูลข่าวสารใด ๆ เลย บุคคลเหล่านี้ไม่ประสบความสาเร็จในการทางาน แน่นอน
  • 54. 5. ร-รักงานที่ทา เราไม่สามารถให้งานมารักได้ แต่เราสามารถรักงานที่ทาได้ ใตร่ ตรอง และพิจารณาดูเสมอ ว่างานที่เราทาอยู่นั้น มีคุณค่ากับเรามากมาย เพียงใด ให้อะไรกับเราบ้าง ทาใจให้รักงาน เพราะคาว่ารัก เป็นพื้นฐานของ ความสาเร็จทุกอย่าง และทาให้คุณมีความสุขกับมัน เมื่อคุณมีความรักใน ตัวงาน หรือแม้แต่รักองค์กร คุณจะมีความสุขกับงานที่ทา ซึ่งจะทาให้คุณ พยายามหาวิธีการต่าง ๆ เพื่อเพิ่มมูลค่าของงานที่ทาอยู่ตลอดเวลา และ นั่นจะส่งผลให้คุณรู้จักวางแผนชีวิตและเป้ าหมายความสาเร็จในการ ทางานของคุณ ถ้าคุณไม่สามารถรักงานที่คุณทาอยู่ได้ ความเบื่อหน่าย ความท้อแท้จะเกิดกับคุณ และในที่สุดคุณก็จะจากมันไป และเสาะ แสวงหางานที่คุณรักอยู่เรื่อยๆ จะทาให้คุณ ไม่ประสบความสาเร็จสักที เพราะมัวแต่ไปนับหนึ่งเริ่มต้นใหม่
  • 55. 6. ก-การจัดการเป็นเลิศ คนที่มีทักษะในการจัดการเป็นเลิศนั้น จะเป็นผู้ที่ประสบความสาเร็จ ทั้งในเรื่องครอบครัว และ หน้าที่การงาน เพราะเขาจะเป็นคนที่รู้จักวางแผน ทางานเป็นขั้นตอน รู้จักความเสี่ยง และหามาตรการมาป้ องกัน พร้อมกันนั้นยังมี ความสามารถในการพลิกวิกฤตให้เป็นโอกาสได้ เพราะทุกสิ่งทุกอย่างได้ถูก วางแผน จัดการ วางไว้เป็นขั้นเป็นตอนเรียบร้อยแล้ว พอถึงเวลาที่จะนามาใช้นั้น มันช่างง่ายเหลือเกิน ปราศจากความสับสนและวุ่นวาย ประหยัดทั้งเวลา และ ทรัพยกรต่างๆ ลองสารวจตัวเองดูว่า การที่คุณจะทาการอย่างใด อย่างหนึ่ง คุณ ทาได้ง่ายไหม หรือมีแต่ความสับสนวุ่นวาย ไม่รู้จะเริ่มยังไงดี นั่นแสดงว่าถึงเวลา แล้ว ที่คุณจะต้องมาพัฒนาการทักษะการจัดการของคุณ
  • 56. บุคคล ในวัยทางาน จะประสบความสาเร็จในการทางานได้ นอกจากจะ เป็นผู้ที่มีความรู้ อันกอปร ด้วยวัยวุฒิ และคุณวุฒิแล้ว ควรต้องนาทักษะ อื่นๆ เข้ามาเสริม เข้ามาปรับปรุง และจัดการในการทางานของตน โดย ทักษะเหล่านั้นจะเกิดขึ้นได้ก็จากการสังเกต การเรียนรู้ การศึกษา ค้นคว้า และการนาประยุกต์ใช้ เทคนิค “พลอดรัก” (พ-ล-อ-ด-รั-ก) พ-พัฒนา ตนเอง,ล-หลากหลายทักษะ,อ-อดทน,ด-ดึงดูด,ร-รักงานที่ทา,ก-การจัดการ เป็นเลิศ ก็อาจจะเป็นวิธีหนึ่ง ที่สามารถทาให้ผู้ที่นาไปฝึกฝน ปฏิบัติ ปรับเปลี่ยน พัฒนา ตนเองในสถานที่ทางาน หรือในชีวิตประจาวัน ประสบ ความสาเร็จในสายอาชีพการงาน และตาแหน่งงานที่ตนเองทาอยู่ได้
  • 57. บรรณานุกรม • http://www.novabizz.com/NovaAce/Learning/ Self_Development.htm • http://www.novabizz.com/NovaAce/Learning/ Self_Development_Technique.htm • https://www.gotoknow.org/posts/364938 • http://www.succeedlifestyle.com/6-easy- steps-self-improvement/ • http://www.manpowerthailand.com/know_d etail.php?id=69
  • 58. บรรณานุกรม (ต่อ) • http://www.vcharkarn.com/vcafe/204100 • http://theirowndevelopment.blogspot.com/2 013/07/blog-post_8604.html • http://www.cybervanaram.net/index.php/200 9-12-17-14-43-37-13/529-2011-04-28-16-32- 35
  • 59. แหล่งที่มารูปภาพ Background จาก deposit photos รูปภาพนั่งสมาธิจาก http://www.bloggang.com/viewdiary.php?id=nonglove&mont h=05-2010&date=21&group=10&gblog=6 http://www.professional- one.com/%E0%B8%9E%E0%B8%B1%E0%B8%92%E0%B8%99 %E0%B8%B2%E0%B8%95%E0%B8%99%E0%B9%80%E0%B8% AD%E0%B8%87/ http://educazone.com/active/190 http://www.mcducation.org/study-education-in-scotland/ http://educazone.com/active/190 http://mblog.manager.co.th/kusoll/author/kusoll/page/2/