SlideShare a Scribd company logo
1 of 6
จัดทำโดย ด . ญ .  ชนิษฐา  แก้วศักดานุรักษ์ ม .1/8  เลขที่  11 ด . ญ .  ธนัญญา  ไชยแสง  ม .1/8  เลขที่  20 ด . ญ .  เบญญาภา อัศวเลิศกมล  ม .1/8  เลขที่  24 ด . ญ .  มาติกา  รอดแผ้วพาล  ม .1/8  เลขที่  34 ด . ญ .  ศุภลักษณ์  บุญประเสริฐ  ม .1/8  เลขที่  42 เสนอ  ดร . สุมน คณานิตย์ ความดันโลหิตสูง
โรคความดันโลหิตสูง   ( อังกฤษ :  Hypertension )  เป็นภาวะทางการแพทย์อย่างหนึ่ง โดยจะตรวจพบ ความดันโลหิต  อยู่ในระดับที่สูงกว่าปรกติเรื้อรังอยู่เป็นเวลานาน ทั้งนี้องค์การอนามัยโลก กำหนดไว้ในปี  1999   ว่า ผู้ใดก็ตามที่มีความดันโลหิตวัดได้มากกว่า  140  / 90   มม . ปรอทถือว่าเป็นโรคความดันโลหิตสูง และ การที่ความดันโลหิตสูงอยู่เป็นเวลานาน เพิ่มความเสี่ยงต่อการเกิดโรคต่างๆ เช่น   โรคหลอดเลือดในสมองตีบ   โรคหัวใจ  เส้นเลือดแดง ฯลฯ โรคความดันโลหิตสูง เป็นโรคที่พบได้บ่อยในปัจจุบัน คนส่วนใหญ่ที่มีความดันโลหิตสูงเมื่อรู้ตัวว่าเป็นส่วนมากจะไม่ได้รับการดูแลรักษา ส่วนหนึ่งอาจจะเนื่องจากไม่มีอาการทำให้คนส่วนใหญ่ ไม่ได้ให้ความสนใจ เมื่อเริ่มมีอาการหรือภาวะแทรกซ้อนแล้วจึงจะเริ่มสนใจและรักษา ซึ่งบางครั้งก็อาจจะทำให้ผลการรักษาไม่ดีเท่าที่ควร การควบคุมความดันโลหิตให้ปกติอย่างสม่ำเสมอ สามารถลดโอกาสเกิดโรคอัมพฤกษ์ อัมพาต หรือโรคกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด ได้
สาเหตุของโรค     ร้อยละ  85-90  ไม่ทราบสาเหตุ ที่เหลือเท่านั้นจึงทราบสาเหตุ อาจเกิดจาก    -  โรคไต จะเป็นทั้งโรคไตอักเสบเฉียบพลัน หรือไตวายเรื้อรัง    -  โรคเนื้องอกของต่อมหมวกไตบางชนิด    -  โรคครรภ์เป็นพิษ แต่เมื่อคลอดบุตรแล้ว ความดันโลหิตจะลดลง    -  การใช้ยาสเตียรอยด์หรือสตรีที่ใช้ยาคุมกำเนิด เมื่องดยาคุมกำเนิดแล้วก็จะเป็นปกติ    -  โรคกล้ามเนื้อหัวใจบางชนิด หรือโรคลิ้นหัวใจเออร์ติกรั่ว   อาการของผู้ป่วย ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงอาจจะไม่มีอาการใดๆ เลย หรืออาจจะพบว่ามี อาการปวดศีรษะ  มึนงง เวียนศีรษะ และเหนื่อยง่ายผิดปกติ อาจมีอาการแน่นหน้าอกหรือนอนไม่หลับ ความดันโลหิตสูงอาจทำให้เกิดภาวะแทรกซ้อนได้  2   กรณีด้วยกันคือ กรณีที่  1   ภาวะแทรกซ้อนจากความดันโลหิตสูงโดยตรง ได้แก่ภาวะหัวใจวายหรือหลอดเลือดในสมองแตก  กรณีที่  2   ภาวะแทรกซ้อนจากหลอดเลือดแดงตีบหรือตัน เช่น กล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน หรือเรื้อรัง ทำให้หัวใจเต้นผิดจังหวะ อาจจะทำให้ถึงแก่ชีวิตได้ หลอดเลือดสมองตีบ เกิดอัมพฤกษ์ อัมพาต หรือหลอดเลือดแดงในไตตีบมากถึงขั้นไตวายเรื้อรังได้
โรคความดันโลหิตสูง ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ได้รับรายงานมีจำนวน  79,298   ราย อัตราป่วย  2,855.51   ต่อแสนประชากร พบในเพศหญิงมากว่าเพศชาย จำแนกรายจังหวัดพบอัตราป่วยสูงสุดที่ จังหวัดอ่างทอง  4,151.43   ต่อแสนประชากรรองลงมา ได้แก่ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา นนทบุรี และ ปทุมธานี อัตราป่วย  3,705.43 , 3,438.37   และ  891.51   ต่อแสนประชากร ตามลำดับ จำแนกการป่วยตามกลุ่มอายุ พบว่าผู้ป่วยกลุ่มอายุเท่ากับหรือมากกว่า 60   ปี มีอัตราป่วยสูงสุด  14,127.20   ต่อแสนประชากร  ( 44,408   ราย )  รองลงมา คือ กลุ่มอายุ  50-59   ปี อัตราป่วย  7,427.55   ต่อแสนประชากร  ( 20,799   ราย )  กลุ่มอายุ  40-49   ปี อัตราป่วย  2,388.02   ต่อแสนประชากร  ( 11,223   ราย )  และกลุ่มอายุต่ำกว่า  40   ปี อัตราป่วย 167.46   ต่อแสนประชากร  ( 2,868   ราย )  วิเคราะห์รายจังหวัด พบว่า ทุกจังหวัดกลุ่มอายุเท่ากับหรือมากกว่า 60   ปี มีอัตราป่วยสูงสุด และ กลุ่มอายุต่ำกว่า  40   ปี อัตราป่วยต่ำสุดเช่นกัน  จำแนกตามภาวะแทรกซ้อน ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ได้รับรายงานทั้งหมด  79,298   ราย จำแนกเป็นผู้ป่วยเก่าที่ไม่มีภาวะแทรกซ้อน  64,242   ราย ผู้ป่วยใหม่ที่ไม่มีภาวะแทรกซ้อน  6,316   ราย และ ผู้ป่วยเก่าและใหม่ที่มีภาวะแทรกซ้อน  8,740   ราย คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ  81 , 8 , 11   ของผู้ป่วยความดันโลหิตสูงทั้งหมด ในการวิเคราะห์ผู้ป่วยที่มีภาวะแทรกซ้อน จำนวน  8,740   ราย พบภาวะแทรกซ้อนอื่น ๆ มากที่สุด ร้อยละ  54.5  ( 4,760 ราย )  อัตราป่วย  171.41   ต่อแสนประชากร รองลงมา คือ ภาวะแทรกซ้อนหลายอย่าง ร้อยละ  28.6  ( 2,498   ราย )  อัตราป่วย  89.95   ต่อแสนประชากร ภาวะแทรกซ้อนทางหัวใจ ร้อยละ  11.4  ( 996   ราย )  อัตราป่วย  35.87   ต่อแสนประชากร ภาวะแทรกซ้อนทางอัมพาต ร้อยละ  3.7  ( 324   ราย )  อัตราป่วย  11.67   ต่อแสนประชากร และ ภาวะแทรกซ้อนทางไต ร้อยละ  1.9  ( 162   ราย )  อัตราป่วย  5.83   ต่อแสนประชากร ตามลำดับวิเคราะห์รายจังหวัด พบว่า จังหวัดนนทบุรี มีผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่มีภาวะแทรกซ้อนสูงสุด อัตราป่วย  657.48 ต่อแสนประชากร  ( 6,294   ราย )  โดยพบภาวะแทรกซ้อนอื่น ๆ มากที่สุด ร้อยละ  56  ( 3,526   ราย )  อัตราป่วย  368.33 ต่อแสนประชากร รองลงมา ได้แก่ จังหวัดอ่างทอง ปทุมธานี และ พระนครศรีอยุธยา มีอัตราป่วย  591.10  ( 1,675   ราย )  , 80.11  ( 635 ราย )  และ  18.29  ( 136   ราย )  ต่อแสนประชากร ตามลำดับ  ภาวะแทรกซ้อนที่พบสูงสุดแต่ละจังหวัด คือ อ่างทอง พบภาวะแทรกซ้อนอื่น ๆ ร้อยละ  67.6  ( 1,133   ราย )  อัตราป่วย 399.83   ต่อแสประชากร ปทุมธานี พบภาวะแทรกซ้อนทางหัวใจสูงสุด ร้อยละ  70.4  ( 447   ราย )  อัตราป่วย  56.39 ต่อแสนประชากร และ พระนครศรีอยุธยา พบภาวะแทรกซ้อนทางหัวใจสูงสุด ร้อยละ  52.9  ( 72   ราย )  อัตรา  9.68   ต่อแสนประชากร
ข้อควรปฏิบัติเมื่อมีความดันโลหิตสูง ออกกำลังกายสม่ำเสมอ ตัวอย่างเช่น การเดินเร็วๆ วิ่งเหยาะ หรือ ว่ายน้ำ  ปั่น จักรยาน  ควรออกกำลังกายประมาณ  15-20   นาที อย่างน้อย  3-6   ครั้ง / สัปดาห์  ควรหลีกเลี่ยงอาหารที่มีรสเค็มจัด เพื่อลดปริมาณเกลือซึ่งจะทำให้ความดันโลหิตสูงได้  ลด เครื่องดื่มแอลกอฮอล์  และงดสูบ บุหรี่   ลดความเครียดของงานและภาวะแวดล้อม  ลดน้ำหนักตัว โดยเฉพาะในรายที่น้ำหนักเกินมาตรฐาน ความอ้วนถือเป็นปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของโรคความดันโลหิตสูง  รับประทาน ยา และพบแพทย์สม่ำเสมอ เพื่อตรวจวัดความดันโลหิตและปรับยาให้เหมาะสม
บรรณานุกรม http :// th . wikipedia . org

More Related Content

Similar to งานสุขะ เรื่อง ความดันโลหิตสูง

tapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdf
tapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdftapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdf
tapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdf60941
 
การป้องกันโรคไตแบบบูรณาการ “งานของหมอและประชาชน”
การป้องกันโรคไตแบบบูรณาการ “งานของหมอและประชาชน”การป้องกันโรคไตแบบบูรณาการ “งานของหมอและประชาชน”
การป้องกันโรคไตแบบบูรณาการ “งานของหมอและประชาชน”เทพไซเบอร์ฯ ร้านค้าดอทคอม
 
การใช้กระบวนการพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้าย โดย ชัชวาล วงค์สารี
การใช้กระบวนการพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้าย โดย ชัชวาล  วงค์สารีการใช้กระบวนการพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้าย โดย ชัชวาล  วงค์สารี
การใช้กระบวนการพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้าย โดย ชัชวาล วงค์สารีChutchavarn Wongsaree
 
Emergency prevention
Emergency preventionEmergency prevention
Emergency preventiontaem
 
สุขศึกษา
สุขศึกษาสุขศึกษา
สุขศึกษาdragon2477
 
CPG Thai Stroke infarct retrieved since 2555
CPG Thai Stroke infarct retrieved since 2555CPG Thai Stroke infarct retrieved since 2555
CPG Thai Stroke infarct retrieved since 2555Thorsang Chayovan
 
Middle East Respiratory Syndrome Coronavirus : MERS-CoV Handbook
Middle East Respiratory Syndrome Coronavirus : MERS-CoV HandbookMiddle East Respiratory Syndrome Coronavirus : MERS-CoV Handbook
Middle East Respiratory Syndrome Coronavirus : MERS-CoV HandbookUtai Sukviwatsirikul
 
Guideline for ischemic heart disease 2104
Guideline for ischemic heart disease 2104Guideline for ischemic heart disease 2104
Guideline for ischemic heart disease 2104Utai Sukviwatsirikul
 
การป้องกันโรคหลอดเลือดสมองในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง
การป้องกันโรคหลอดเลือดสมองในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงการป้องกันโรคหลอดเลือดสมองในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง
การป้องกันโรคหลอดเลือดสมองในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงspchy
 
Update cardiac prevention rehabilitation 2014
Update cardiac prevention rehabilitation 2014Update cardiac prevention rehabilitation 2014
Update cardiac prevention rehabilitation 2014Utai Sukviwatsirikul
 
Tuberculosis in OPD case (Thai)
Tuberculosis in OPD case (Thai)Tuberculosis in OPD case (Thai)
Tuberculosis in OPD case (Thai)Patinya Yutchawit
 
Pharmacotherapy of gout, osteoarthritis and rheumatoid arthritis
Pharmacotherapy of gout, osteoarthritis and rheumatoid arthritisPharmacotherapy of gout, osteoarthritis and rheumatoid arthritis
Pharmacotherapy of gout, osteoarthritis and rheumatoid arthritisUtai Sukviwatsirikul
 

Similar to งานสุขะ เรื่อง ความดันโลหิตสูง (20)

Epidemiology of NCD
Epidemiology of NCDEpidemiology of NCD
Epidemiology of NCD
 
Clu1
Clu1Clu1
Clu1
 
tapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdf
tapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdftapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdf
tapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdf
 
การป้องกันโรคไตแบบบูรณาการ “งานของหมอและประชาชน”
การป้องกันโรคไตแบบบูรณาการ “งานของหมอและประชาชน”การป้องกันโรคไตแบบบูรณาการ “งานของหมอและประชาชน”
การป้องกันโรคไตแบบบูรณาการ “งานของหมอและประชาชน”
 
CPG Thai Tuberculosis 2543
CPG Thai Tuberculosis 2543CPG Thai Tuberculosis 2543
CPG Thai Tuberculosis 2543
 
การใช้กระบวนการพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้าย โดย ชัชวาล วงค์สารี
การใช้กระบวนการพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้าย โดย ชัชวาล  วงค์สารีการใช้กระบวนการพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้าย โดย ชัชวาล  วงค์สารี
การใช้กระบวนการพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้าย โดย ชัชวาล วงค์สารี
 
Triage
TriageTriage
Triage
 
Dementia in Thai
Dementia in ThaiDementia in Thai
Dementia in Thai
 
Emergency prevention
Emergency preventionEmergency prevention
Emergency prevention
 
สุขศึกษา
สุขศึกษาสุขศึกษา
สุขศึกษา
 
Management of tb ppt
Management of tb pptManagement of tb ppt
Management of tb ppt
 
Cpg obesity
Cpg obesityCpg obesity
Cpg obesity
 
CPG Thai Stroke infarct retrieved since 2555
CPG Thai Stroke infarct retrieved since 2555CPG Thai Stroke infarct retrieved since 2555
CPG Thai Stroke infarct retrieved since 2555
 
Middle East Respiratory Syndrome Coronavirus : MERS-CoV Handbook
Middle East Respiratory Syndrome Coronavirus : MERS-CoV HandbookMiddle East Respiratory Syndrome Coronavirus : MERS-CoV Handbook
Middle East Respiratory Syndrome Coronavirus : MERS-CoV Handbook
 
Guideline for ischemic heart disease 2104
Guideline for ischemic heart disease 2104Guideline for ischemic heart disease 2104
Guideline for ischemic heart disease 2104
 
การป้องกันโรคหลอดเลือดสมองในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง
การป้องกันโรคหลอดเลือดสมองในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงการป้องกันโรคหลอดเลือดสมองในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง
การป้องกันโรคหลอดเลือดสมองในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง
 
Update cardiac prevention rehabilitation 2014
Update cardiac prevention rehabilitation 2014Update cardiac prevention rehabilitation 2014
Update cardiac prevention rehabilitation 2014
 
Tuberculosis in OPD case (Thai)
Tuberculosis in OPD case (Thai)Tuberculosis in OPD case (Thai)
Tuberculosis in OPD case (Thai)
 
Pharmacotherapy of gout, osteoarthritis and rheumatoid arthritis
Pharmacotherapy of gout, osteoarthritis and rheumatoid arthritisPharmacotherapy of gout, osteoarthritis and rheumatoid arthritis
Pharmacotherapy of gout, osteoarthritis and rheumatoid arthritis
 
Rama Nurse Public Policy
Rama Nurse Public PolicyRama Nurse Public Policy
Rama Nurse Public Policy
 

งานสุขะ เรื่อง ความดันโลหิตสูง

  • 1. จัดทำโดย ด . ญ . ชนิษฐา แก้วศักดานุรักษ์ ม .1/8 เลขที่ 11 ด . ญ . ธนัญญา ไชยแสง ม .1/8 เลขที่ 20 ด . ญ . เบญญาภา อัศวเลิศกมล ม .1/8 เลขที่ 24 ด . ญ . มาติกา รอดแผ้วพาล ม .1/8 เลขที่ 34 ด . ญ . ศุภลักษณ์ บุญประเสริฐ ม .1/8 เลขที่ 42 เสนอ ดร . สุมน คณานิตย์ ความดันโลหิตสูง
  • 2. โรคความดันโลหิตสูง ( อังกฤษ : Hypertension ) เป็นภาวะทางการแพทย์อย่างหนึ่ง โดยจะตรวจพบ ความดันโลหิต อยู่ในระดับที่สูงกว่าปรกติเรื้อรังอยู่เป็นเวลานาน ทั้งนี้องค์การอนามัยโลก กำหนดไว้ในปี 1999 ว่า ผู้ใดก็ตามที่มีความดันโลหิตวัดได้มากกว่า 140 / 90 มม . ปรอทถือว่าเป็นโรคความดันโลหิตสูง และ การที่ความดันโลหิตสูงอยู่เป็นเวลานาน เพิ่มความเสี่ยงต่อการเกิดโรคต่างๆ เช่น โรคหลอดเลือดในสมองตีบ โรคหัวใจ เส้นเลือดแดง ฯลฯ โรคความดันโลหิตสูง เป็นโรคที่พบได้บ่อยในปัจจุบัน คนส่วนใหญ่ที่มีความดันโลหิตสูงเมื่อรู้ตัวว่าเป็นส่วนมากจะไม่ได้รับการดูแลรักษา ส่วนหนึ่งอาจจะเนื่องจากไม่มีอาการทำให้คนส่วนใหญ่ ไม่ได้ให้ความสนใจ เมื่อเริ่มมีอาการหรือภาวะแทรกซ้อนแล้วจึงจะเริ่มสนใจและรักษา ซึ่งบางครั้งก็อาจจะทำให้ผลการรักษาไม่ดีเท่าที่ควร การควบคุมความดันโลหิตให้ปกติอย่างสม่ำเสมอ สามารถลดโอกาสเกิดโรคอัมพฤกษ์ อัมพาต หรือโรคกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด ได้
  • 3. สาเหตุของโรค   ร้อยละ 85-90 ไม่ทราบสาเหตุ ที่เหลือเท่านั้นจึงทราบสาเหตุ อาจเกิดจาก   - โรคไต จะเป็นทั้งโรคไตอักเสบเฉียบพลัน หรือไตวายเรื้อรัง   - โรคเนื้องอกของต่อมหมวกไตบางชนิด   - โรคครรภ์เป็นพิษ แต่เมื่อคลอดบุตรแล้ว ความดันโลหิตจะลดลง   - การใช้ยาสเตียรอยด์หรือสตรีที่ใช้ยาคุมกำเนิด เมื่องดยาคุมกำเนิดแล้วก็จะเป็นปกติ   - โรคกล้ามเนื้อหัวใจบางชนิด หรือโรคลิ้นหัวใจเออร์ติกรั่ว   อาการของผู้ป่วย ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงอาจจะไม่มีอาการใดๆ เลย หรืออาจจะพบว่ามี อาการปวดศีรษะ มึนงง เวียนศีรษะ และเหนื่อยง่ายผิดปกติ อาจมีอาการแน่นหน้าอกหรือนอนไม่หลับ ความดันโลหิตสูงอาจทำให้เกิดภาวะแทรกซ้อนได้ 2 กรณีด้วยกันคือ กรณีที่ 1 ภาวะแทรกซ้อนจากความดันโลหิตสูงโดยตรง ได้แก่ภาวะหัวใจวายหรือหลอดเลือดในสมองแตก กรณีที่ 2 ภาวะแทรกซ้อนจากหลอดเลือดแดงตีบหรือตัน เช่น กล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน หรือเรื้อรัง ทำให้หัวใจเต้นผิดจังหวะ อาจจะทำให้ถึงแก่ชีวิตได้ หลอดเลือดสมองตีบ เกิดอัมพฤกษ์ อัมพาต หรือหลอดเลือดแดงในไตตีบมากถึงขั้นไตวายเรื้อรังได้
  • 4. โรคความดันโลหิตสูง ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ได้รับรายงานมีจำนวน 79,298 ราย อัตราป่วย 2,855.51 ต่อแสนประชากร พบในเพศหญิงมากว่าเพศชาย จำแนกรายจังหวัดพบอัตราป่วยสูงสุดที่ จังหวัดอ่างทอง 4,151.43 ต่อแสนประชากรรองลงมา ได้แก่ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา นนทบุรี และ ปทุมธานี อัตราป่วย 3,705.43 , 3,438.37 และ 891.51 ต่อแสนประชากร ตามลำดับ จำแนกการป่วยตามกลุ่มอายุ พบว่าผู้ป่วยกลุ่มอายุเท่ากับหรือมากกว่า 60 ปี มีอัตราป่วยสูงสุด 14,127.20 ต่อแสนประชากร ( 44,408 ราย ) รองลงมา คือ กลุ่มอายุ 50-59 ปี อัตราป่วย 7,427.55 ต่อแสนประชากร ( 20,799 ราย ) กลุ่มอายุ 40-49 ปี อัตราป่วย 2,388.02 ต่อแสนประชากร ( 11,223 ราย ) และกลุ่มอายุต่ำกว่า 40 ปี อัตราป่วย 167.46 ต่อแสนประชากร ( 2,868 ราย ) วิเคราะห์รายจังหวัด พบว่า ทุกจังหวัดกลุ่มอายุเท่ากับหรือมากกว่า 60 ปี มีอัตราป่วยสูงสุด และ กลุ่มอายุต่ำกว่า 40 ปี อัตราป่วยต่ำสุดเช่นกัน จำแนกตามภาวะแทรกซ้อน ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ได้รับรายงานทั้งหมด 79,298 ราย จำแนกเป็นผู้ป่วยเก่าที่ไม่มีภาวะแทรกซ้อน 64,242 ราย ผู้ป่วยใหม่ที่ไม่มีภาวะแทรกซ้อน 6,316 ราย และ ผู้ป่วยเก่าและใหม่ที่มีภาวะแทรกซ้อน 8,740 ราย คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 81 , 8 , 11 ของผู้ป่วยความดันโลหิตสูงทั้งหมด ในการวิเคราะห์ผู้ป่วยที่มีภาวะแทรกซ้อน จำนวน 8,740 ราย พบภาวะแทรกซ้อนอื่น ๆ มากที่สุด ร้อยละ 54.5 ( 4,760 ราย ) อัตราป่วย 171.41 ต่อแสนประชากร รองลงมา คือ ภาวะแทรกซ้อนหลายอย่าง ร้อยละ 28.6 ( 2,498 ราย ) อัตราป่วย 89.95 ต่อแสนประชากร ภาวะแทรกซ้อนทางหัวใจ ร้อยละ 11.4 ( 996 ราย ) อัตราป่วย 35.87 ต่อแสนประชากร ภาวะแทรกซ้อนทางอัมพาต ร้อยละ 3.7 ( 324 ราย ) อัตราป่วย 11.67 ต่อแสนประชากร และ ภาวะแทรกซ้อนทางไต ร้อยละ 1.9 ( 162 ราย ) อัตราป่วย 5.83 ต่อแสนประชากร ตามลำดับวิเคราะห์รายจังหวัด พบว่า จังหวัดนนทบุรี มีผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่มีภาวะแทรกซ้อนสูงสุด อัตราป่วย 657.48 ต่อแสนประชากร ( 6,294 ราย ) โดยพบภาวะแทรกซ้อนอื่น ๆ มากที่สุด ร้อยละ 56 ( 3,526 ราย ) อัตราป่วย 368.33 ต่อแสนประชากร รองลงมา ได้แก่ จังหวัดอ่างทอง ปทุมธานี และ พระนครศรีอยุธยา มีอัตราป่วย 591.10 ( 1,675 ราย ) , 80.11 ( 635 ราย ) และ 18.29 ( 136 ราย ) ต่อแสนประชากร ตามลำดับ ภาวะแทรกซ้อนที่พบสูงสุดแต่ละจังหวัด คือ อ่างทอง พบภาวะแทรกซ้อนอื่น ๆ ร้อยละ 67.6 ( 1,133 ราย ) อัตราป่วย 399.83 ต่อแสประชากร ปทุมธานี พบภาวะแทรกซ้อนทางหัวใจสูงสุด ร้อยละ 70.4 ( 447 ราย ) อัตราป่วย 56.39 ต่อแสนประชากร และ พระนครศรีอยุธยา พบภาวะแทรกซ้อนทางหัวใจสูงสุด ร้อยละ 52.9 ( 72 ราย ) อัตรา 9.68 ต่อแสนประชากร
  • 5. ข้อควรปฏิบัติเมื่อมีความดันโลหิตสูง ออกกำลังกายสม่ำเสมอ ตัวอย่างเช่น การเดินเร็วๆ วิ่งเหยาะ หรือ ว่ายน้ำ ปั่น จักรยาน ควรออกกำลังกายประมาณ 15-20 นาที อย่างน้อย 3-6 ครั้ง / สัปดาห์ ควรหลีกเลี่ยงอาหารที่มีรสเค็มจัด เพื่อลดปริมาณเกลือซึ่งจะทำให้ความดันโลหิตสูงได้ ลด เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ และงดสูบ บุหรี่ ลดความเครียดของงานและภาวะแวดล้อม ลดน้ำหนักตัว โดยเฉพาะในรายที่น้ำหนักเกินมาตรฐาน ความอ้วนถือเป็นปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญของโรคความดันโลหิตสูง รับประทาน ยา และพบแพทย์สม่ำเสมอ เพื่อตรวจวัดความดันโลหิตและปรับยาให้เหมาะสม