จิตวิทยาการเรียนรู้

จิตวิทยาการเรียนรู้
จัดทาโดย
นิสิตหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตวิชาชีพครู รุ่นที่ 2
ปีการศึกษา 2/2558 ห้องที่ 5 รุ่นที่ 2
อาจารย์ที่ปรึกษา รศ.มัณฑรา ธรรมบุศย์
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
การเรียนรู้ เป็นกระบวนการที่มีความสาคัญและจาเป็นในการดารงชีวิต
สิ่งมีชีวิตไม่ว่ามนุษย์หรือสัตว์เริ่มเรียนรู้ตั้งแต่แรกเกิดจนตาย สาหรับมนุษย์
การเรียนรู้เป็นสิ่งที่ช่วยพัฒนาให้มนุษย์แตกต่างไปจากสัตว์โลก อื่น ๆ ดังพระ
ราชนิพนธ์บทความของสมเด็จพระเทพรัตน์ราชสุดา ฯ ที่ว่า "สิ่งที่ทาให้
คนเราแตกต่างจากสัตว์อื่น ๆ ก็เพราะว่า คนย่อมมีปัญญา ที่จะนึกคิดและ
ปฏิบัติสิ่งดีมีประโยชน์และถูกต้องได้ "
คิมเบิล ( Kimble , 1964 ) "การเรียนรู้ เป็นการเปลี่ยนแปลงค่อนข้างถาวรใน
พฤติกรรม อันเป็นผลมาจากการฝึกที่ได้รับการเสริมแรง"
ฮิลการ์ด และ เบาเวอร์ (Hilgard & Bower, 1981) "การเรียนรู้ เป็นกระบวนการ
เปลี่ยนแปลงพฤติกรรม อันเป็นผลมาจากประสบการณ์และการฝึก ทั้งนี้ไม่รวมถึงการ
เปลี่ยนแปลงของพฤติกรรมที่เกิดจากการตอบสนองตามสัญชาตญาณ ฤทธิ์ของยา หรือ
สารเคมี หรือปฏิกิริยาสะท้อนตามธรรมชาติของมนุษย์"
คอนบาค ( Cronbach ) "การเรียนรู้ เป็นการแสดงให้เห็นถึงพฤติกรรม
ที่มีการเปลี่ยนแปลง อันเป็นผลเนื่องมาจากประสบการณ์ที่แต่ละบุคคล
ประสบมา "
พจนานุกรมของเวบสเตอร์ (Webster 's Third New International
Dictionary) "การเรียนรู้ คือ กระบวนการเพิ่มพูนและปรุงแต่งระบบความรู้
ทักษะ นิสัย หรือการแสดงออกต่างๆ อันมีผลมาจากสิ่งกระตุ้นอินทรีย์โดย
ผ่านประสบการณ์ การปฏิบัติ หรือการฝึกฝน"
จะเห็นว่าจากคาจากัดความที่กล่าวมาทั้งหมด สรุปได้ว่า การเรียนรู้ หมายถึง
การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมอย่างถาวรของบุคคลอันเป็นผลมาจากประสบการณ์ใน
อดีต ทั้งจากการฝึกฝนและการที่มนุษย์ได้มีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมรอบตัว และมี
ปริมาณของความรู้ที่เพิ่มขึ้น โดยการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมดังกล่าวนั้นไม่ได้ เกิดขึ้น
จากการกินยา ความเหน็ดเหนื่อย หรือเป็นผลเนื่องมาจากวุฒิภาวะ
บลูม และคณะ (Bloom and Others ) มุ่งพัฒนาผู้เรียนใน 3 ด้าน ดังนี้
1. ด้านพุทธิพิสัย (Cognitive Domain) คือ ผลของการเรียนรู้ที่เป็นความสามารถทาง
สมอง ครอบคลุมพฤติกรรมประเภท ความจา ความเข้าใจ การนาไปใช้การวิเคราะห์ การ
สังเคราะห์และประเมินผล
2. ด้านเจตพิสัย (Affective Domain ) คือ ผลของการเรียนรู้ที่เปลี่ยนแปลงด้าน
ความรู้สึก ครอบคลุมพฤติกรรมประเภท ความรู้สึก ความสนใจ ทัศนคติ การประเมินค่าและ
ค่านิยม
3. ด้านทักษะพิสัย (Psychomotor Domain) คือ ผลของการเรียนรู้ที่เป็นความสามารถ
ด้านการปฏิบัติ ครอบคลุมพฤติกรรมประเภท การเคลื่อนไหว การกระทา การปฏิบัติงาน การมี
ทักษะและความชานาญองค์ประกอบสาคัญของการเรียนรู้
ดอลลาร์ด และมิลเลอร์ (Dallard and Miller) เสนอว่าการเรียนรู้ มีองค์ประกอบการเรียนรู้
สาคัญ 4 ประการ คือ
1.แรงขับ (Drive) เป็นความต้องการที่เกิดขึ้นภายในตัวบุคคล เป็นความพร้อมที่จะเรียนรู้
ของบุคคลทั้งสมอง ระบบประสาทสัมผัสและกล้ามเนื้อ แรงขับและความพร้อมเหล่านี้จะก่อให้เกิด
ปฏิกิริยา หรือพฤติกรรมที่จะชักนาไปสู่การเรียนรู้ต่อไป
องค์ประกอบการเรียนรู้
2. สิ่งเร้า (Stimulus) เป็นสิ่งแวดล้อมที่เกิดขึ้นในสถานการณ์ต่างๆ ซึ่งเป็น
ตัวการที่ทาให้บุคคลมีปฏิกิริยา หรือพฤติกรรมตอบสนองออกมา ในสภาพการเรียน
การสอน สิ่งเร้าจะหมายถึงครู กิจกรรมการสอน และอุปกรณ์การสอนต่างๆ ที่ครู
นามาใช้
3. การตอบสนอง (Response) เป็นปฏิกิริยา หรือพฤติกรรมต่างๆ ที่แสดง
ออกมาเมื่อบุคคลได้รับการกระตุ้นจากสิ่งเร้า ทั้งส่วนที่สังเกตเห็นได้และส่วนที่ไม่
สามารถสังเกตเห็นได้เช่น การเคลื่อนไหว ท่าทาง คาพูด การคิด การรับรู้ ความสนใจ
และความรู้สึก เป็นต้น
องค์ประกอบการเรียนรู้(ต่อ)
4. การเสริมแรง (Reinforcement) เป็นการให้สิ่งที่มีอิทธิพลต่อบุคคลอันมีผล
ในการเพิ่มพลังให้เกิดการเชื่อมโยง ระหว่างสิ่งเร้ากับการตอบสนองเพิ่มขึ้น การ
เสริมแรงมีทั้งทางบวกและทางลบ ซึ่งมีผลต่อการเรียนรู้ของบุคคลเป็นอันมาก
องค์ประกอบการเรียนรู้(ต่อ)
การเรียนรู้มีลักษณะสาคัญดังต่อไปนี้
การเรียนรู้เป็นกระบวนการ การเกิดการ
เรียนรู้ของบุคคลจะมีกระบวนการของการเรียนรู้
จากการไม่รู้ไปสู่การเรียนรู้ 5 ขั้นตอน คือ
1. มีสิ่งเร้ามากระตุ้นบุคคล
2. บุคคลสัมผัสสิ่งเร้าด้วยประสาททั้ง 5
3. บุคคลแปลความหมายหรือรับรู้สิ่งเร้า
4. บุคคลมีปฏิกิริยาตอบสนองอย่างใด
อย่างหนึ่งต่อสิ่งเร้าตามที่รับรู้
5. บุคคลประเมินผลที่เกิดจากการ
ตอบสนองต่อสิ่งเร้า
การถ่ายโยงการเรียนรู้เกิดขึ้นได้2 ลักษณะ คือ
1. การถ่ายโยงการเรียนรู้ทางบวก (Positive Transfer) คือ การถ่ายโยงการเรียนรู้ชนิดที่ผลของ
การเรียนรู้งานหนึ่งช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้อีกงานหนึ่งได้เร็วขึ้น ง่ายขึ้น หรือดีขึ้น การถ่ายโยงการ
เรียนรู้ทางบวกมักเกิดจาก
- เมื่องานหนึ่ง มีความคล้ายคลึงกับอีกงานหนึ่ง และผู้เรียนเกิดการเรียนรู้งานแรกอย่างแจ่มแจ้ง
แล้ว
- เมื่อผู้เรียนมองเห็นความสัมพันธ์ระหว่างงานหนึ่งกับอีกงานหนึ่ง
- เมื่อผู้เรียนมีความตั้งใจที่จะนาผลการเรียนรู้จากงานหนึ่งไปใช้ให้เป็นประโยชน์กับการเรียนรู้อีก
งานหนึ่ง และสามารถจาวิธีเรียนหรือผลของการเรียนรู้งานแรกได้อย่างแม่นยา
เมื่อผู้เรียนเป็นผู้ที่มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์โดยชอบที่จะนาความรู้ต่างๆ ที่เคยเรียนรู้มาก่อนมา
ลองคิดทดลองจนเกิดความรู้ใหม่ๆ
2. การถ่ายโยงการเรียนรู้ทางลบ (Negative Transfer) คือการถ่ายโยงการเรียนรู้ชนิดที่ผล
การเรียนรู้งานหนึ่งไปขัดขวางทาให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้อีกงานหนึ่งได้ช้าลง หรือยากขึ้นและ
ไม่ได้ดีเท่าที่ควร การถ่ายโยงการเรียนรู้ทางลบ อาจเกิดขึ้นได้2 แบบ คือ
1. แบบตามรบกวน (Proactive Inhibition) ผลของการเรียนรู้งานแรกไปขัดขวางการ
เรียนรู้งานที่ 2
2. แบบย้อนรบกวน (Retroactive Inhibition) ผลการเรียนรู้งานที่ 2 ทาให้การเรียนรู้งาน
แรกน้อยลงการเกิดการเรียนรู้ทางลบมักเกิดจาก
ทฤษฎีของการเรียนรู้มีหลายทฤษฎีแต่จะขอนามากล่าวเพียง 3 ทฤษฎี คือ
1. ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยม
2. ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มปัญญานิยม
3. ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มมนุษยนิยม
การเรียนรู้( Learning Ecology)
การเรียนรู้ คือ กระบวนการที่ทาให้มนุษย์เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมทาง
ความคิด มนุษย์เราสามารถเรียนรู้ได้จาก การได้ยิน การสัมผัส การอ่าน การ
เห็น รวมถึงผ่านการใช้สื่อ อุปกรณ์ เครื่องมือ เป็นส่วนส่งผ่านทฤษฎีการ
เรียนรู้ ( Learning theory)
กล่าวถึงการเชื่อมโยงระหว่างสิ่งเร้า (Stimulus - S) กับการตอบสนอง (Response - R)
โดยมีหลักเบื้องต้นว่า “การเรียนรู้เกิดจากการเชื่อมโยงระหว่างสิ่งเร้ากับการตอบสนอง
โดยที่การตอบสนองมักจะออกมาเป็นรูปแบบต่าง ๆ หลายรูปแบบ จนกว่าจะพบ
รูปแบบที่ดี หรือเหมาะสมที่สุด เราเรียกการตอบสนองเช่นนี้ว่าการลองถูกลองผิด
(Trial and error)
กฎการเรียนรู้
1. กฎแห่งความพร้อม (Law of Readiness) การเรียนรู้จะเกิดขึ้นได้ดี ถ้าผู้เรียนมีความ
พร้อมทั้งทางร่างกายและจิตใจ กฎแห่งความพร้อม กฎข้อนี้มีใจความสรุปว่า
- เมื่อบุคคลพร้อมที่จะทาแล้วได้ทา เขาย่อมเกิดความพอใจ
- เมื่อบุคคลพร้อมที่จะทาแล้วไม่ได้ทา เขาย่อมเกิดความไม่พอใจ
- เมื่อบุคคลไม่พร้อมที่จะทาแต่เขาต้องทา เขาย่อมเกิดความไม่พอใจ
2. กฎแห่งการฝึกหัด (Law of Exercise) การฝึกหัดหรือกระทาบ่อย ๆ ด้วยความเข้าใจจะทาให้การ
เรียนรู้นั้นคงทนถาวร ถ้าไม่ได้กระทาซ้าบ่อย ๆ การเรียนรู้นั้นจะไม่คงทนถาวร และในที่สุดอาจ
ลืมได้
กฎแห่งการฝึกหัด แบ่งเป็น 2 กฎย่อย คือ
- กฎแห่งการได้ใช้(Law of Use) มีใจความว่าพันธะหรือตัวเชื่อมระหว่างสิ่งเร้าและการ
ตอบสนองจะเข้มแข็งขึ้นเมื่อได้ทาบ่อย ๆ
- กฎแห่งการไม่ได้ใช้(Law of Disuse) มีใจความว่าพันธะหรือตัวเชื่อมระหว่าง สิ่งเร้า
และการตอบสนองจะอ่อนกาลังลง เมื่อไม่ได้กระทาอย่างต่อเนื่องมีการขาดตอนหรือ ไม่ได้ทา
บ่อย ๆ
3. กฎแห่งผลที่พึงพอใจ (Law of Effect) เมื่อบุคคลได้รับผลที่พึงพอใจย่อม
อยากจะเรียนรู้ต่อไป แต่ถ้าได้รับผลที่ไม่พึงพอใจ จะไม่อยากเรียนรู้ ดังนั้นการได้รับ
ผลที่พึงพอใจ กฎข้อนี้นับว่าเป็นกฎที่สาคัญและได้รับความสนใจจาก ธอร์นไดด์ มาก
ที่สุด กฎนี้มีใจความว่า พันธะหรือตัวเชื่อมระหว่างสิ่งเร้าและการตอบสนองจะเข้มแข็ง
หรืออ่อนกาลัง ย่อมขึ้นอยู่กับผลต่อเนื่องหลังจากที่ได้ตอบสนองไปแล้วรางวัล จะมีผล
ให้พันธะสิ่งเร้าและการตอบสนองเข้มแข็งขึ้น ส่วนการทาโทษนั้นจะไม่มีผลใด ๆ ต่อ
ความเข้มแข็งหรือการอ่อนกาลังของพันธะระหว่างสิ่งเร้าและการตอบสนอง
1. การเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ลองผิดลองถูกด้วยตนเองบาง จะเป็นการช่วยให้
ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ในการแก้ไขปัญหา โดยสามารถจดจาผลจากการเรียนรู้ได้ดี
รวมทั้งเกิดความภาคภูมิใจในการทาสิ่งต่าง ๆ ด้วยตนเอง
2. การสารวจความพร้อมหรือการสร้างความพร้อมทางการเรียนให้แก่ผู้เรียน
เป็นสิ่งจาเป็นที่ต้องดาเนินการก่อนการเรียนเสมอ
3. หากต้องการให้ผู้เรียนเกิดทักษะในเรื่องใดแล้ว ต้องให้ผู้เรียนมี
ความรู้และความเข้าใจในเรื่องนั้น ๆ อย่างถ่องแท้และให้ผู้เรียนฝึกฝนอย่าง
ต่อเนื่องและสม่าเสมอ
4. เมื่อผู้เรียนเกิดการเรียนรู้แล้ว ควรให้ผู้เรียนฝึกนาการเรียนรู้นั้นไปใช้
5. การให้ผู้เรียนได้รับผลที่น่าพึงพอใจ จะช่วยให้การเรียนการสอน
ประสบความสาเร็จ
หลักการเรียนรู้ของทฤษฎี
ทฤษฎีนี้ชื่อว่าการวางเงื่อนไขแบบอาการกระทาดังนั้นจึงเน้นการกระทาของผู้รับ
การทดลอง หรือผู้ที่เรียนรู้มากกว่าสิ่งเร้าที่ผู้ทดลองหรือผู้สอนกาหนดกล่าวคือเมื่อ
ต้องการให้อินทรีย์เกิดการเรียนรู้จากสิ่งเร้าใดสิ่งเร้าหนึ่งเราจะปล่อยให้ผู้เรียนรู้เลือก
แสดงพฤติกรรมเองโดยเราไม่บังคับหรือไม่บอกแนวทางการเรียนรู้แต่ครั้นเมื่อผู้เรียนรู้
แสดงพฤติกรรม การเรียนรู้เองแล้ว เราจึง “เสริมแรง”พฤติกรรมนั้น ๆ ทันทีเพื่อให้
เรียนรู้ว่าพฤติกรรมที่เขาแสดงนั้นเป็นพฤติกรรมการเรียนรู้ที่ถูกต้องหรือเป็นการ
แก้ปัญหาที่ถูกต้องนั่นเอง
ขั้นที่ 1 เตรียมการทดลอง
ทาให้หนูหิวมาก ๆ เพื่อสร้างแรงขับ (Drive) ให้เกิดขึ้นซึ่งจะเป็นแนวทางที่จะผลักดันให้
แสดงพฤติกรรมการเรียนรู้ได้เร็วขึ้นอย่างไรก็ตามก็ต้องให้หนูคุ้นเคยกับกล่องของสกินเนอร์
ขั้นที่ 2 ขั้นการทดลอง
เมื่อหนูหิวมาก ๆ สกินเนอร์ปล่อยหนูเข้าไปในกล่องหนูจะวิ่งเปะปะและแสดงอาการต่าง
ๆ เช่น การวิ่งไปรอบ ๆ กล่องการกัดแทะสิ่งต่าง ๆ ที่อยู่ในกล่อง ซึ่งหนูอาจจะไปแตะลงบน
คานที่มีอาหารซ่อนไว้หนูก็จะได้อาหารกินจนอิ่มสกินเนอร์สังเกตเห็นว่า ทุกครั้งที่หนูหิวจะ
ใช้เท้าหน้ากดลงไปบนคานเสมอ
ขั้นที่ 3 ขั้นทดสอบการเรียนรู้
สกินเนอร์จะจับหนูเข้าไปในกล่องอีก หนูจะกดคานทันทีแสดงว่าหนูเกิดการเรียนรู้แล้วว่า
การกดคานจะทาให้ได้กินอาหารสรุปจากการทดลองนี้แสดงว่าการเรียนรู้ที่ดีจะต้องมีการ
เสริมแรง
การจูงใจ(Motivation)คือการช่วยทาให้เกิดพฤติกรรมการเรียนรู้ขึ้นหรือพูดง่าย
ๆ คือสิ่งล่อให้เกิดพฤติกรรมจึงต้องใช้ก่อนที่จะเกิดพฤติกรรมเช่นผงเนื้อบดในการ
ทดลองของพาฟลอฟ เป็นต้น
การเสริมแรง (Reinforcement) คือ การทาให้พฤติกรรมการเรียนรู้ที่เกิดขึ้นแล้ว
มีคงทนถาวรต่อไปเรื่อย ๆ เช่น ข้าวเปลือกในการทดลองของ สกินเนอร์ เป็น
ต้น จึงต้องใช้หลังจากเกิดพฤติกรรมการเรียนรู้นั้นแล้ว
1)การเสริมแรงทางบวก (Positive reinforcement) คือการที่อินทรีย์ได้รับสิ่งเร้า
แล้วเกิดความพอใจ เช่นรางวัล คาชมเชย ฯลฯ
2) การเกิดแรงทางลบ (Negative reinforcement) คือการที่อินทรีย์ถูกนาสิ่งที่ไม่
พอใจออกไป เช่นการนาเสียงดังหนวกหู เครื่องพันธนาการต่าง ๆ ฯลฯ ออกไปจาก
อินทรีย์แล้วเกิดความพอใจ
การลงโทษ (Punishment)
สกินเนอร์กล่าวว่า การลงโทษเป็นการหยุดยั้งพฤติกรรมเพียงชั่วคราว แต่ไม่ทา
ให้เกิดการเรียนรู้ ในทฤษฎีของสกินเนอร์จึงไม่นิยมใช้การลงโทษใช้เพียงแต่การ
เพิกเฉย (Ignor-ance) เมื่อเกิดพฤติกรรมที่ไม่พึงปรารถนา
การลงโทษ (Punishment)
สกินเนอร์กล่าวว่า การลงโทษเป็นการหยุดยั้งพฤติกรรมเพียงชั่วคราว แต่ไม่ทาให้เกิดการ
เรียนรู้ ในทฤษฎีของสกินเนอร์จึงไม่นิยมใช้การลงโทษใช้เพียงแต่การเพิกเฉย (Ignor-ance) เมื่อ
เกิดพฤติกรรมที่ไม่พึงปรารถนา
การลงโทษแบ่งออกเป็น 2 ประการคือ
1)การลงโทษที่เกิดจากการได้รับสิ่งที่ไม่พอใจ เช่น คาตาหนิ ฯลฯ
2)การลงโทษที่เกิดจากการนาสิ่งที่พอใจออกไปจากอินทรีย์เช่น การนาเกรด เอ.ออกไป การ
เอาขนมออกไปจากปากเด็ก ฯลฯ
กฎการเรียนรู้ของสกินเนอร์คือกฎการเสริมแรงนั่นเองสิ่งที่กล่าวถึงในกฎการเสริมแรง คือ
1 ตารางกาหนดการเสริมแรง (Schedules of reinforcement) เป็นการใช้กฎเกณฑ์บางอย่าง
เช่น เวลาหรือพฤติกรรม เป็นตัวกาหนดในการเสริมแรง
2 อัตราการตอบสนอง (Response rate)เป็นการตอบสนองที่เกิดจากการเสริมแรงต่าง ๆ ซึ่ง
เกิดขึ้นมากน้อย นานคงทนถาวรเท่าใด ย่อมแล้วแต่ตารางการเสริมแรงนั้น ๆ เช่น ตาราง
กาหนดการเสริมแรงบางอย่างทาให้มีอัตราการตอบสนองมาก, บางอย่างมีอัตราการตอบสนอง
น้อย เป็นต้น
ทฤษฎีการวางเงื่อนไขของสกินเนอร์สามารถนาไปใช้ในการจัดการศึกษาและการเรียนการสอนได้
ดังนี้
1. ใช้เสริมแรงให้ผู้เรียนเกิดพฤติกรรมความกล้าแสดงออก เช่น กล่าว ยกย่องชมเชย เมื่อ
ผู้เรียนกล้าตอบคาถาม เป็นการเสริมแรงโดยใช้คาพูด จะช่วยปลูกฝังนิสัยที่ดีแก่ผู้เรียนได้โดยการ
เสริมแรงต้องทาบ่อยๆเสมอๆ จนผู้เรียนติดเป็นนิสัยและมีพฤติกรรมที่ดีติดตัวตลอดไป
2. ใช้ในการแก้ปัญหาพฤติกรรมเด็กที่ขี้อายขาดความมั่นใจ ไม่ค่อยชอบเข้าสังคมโดย โดยให้ความ
สนใจ พูดคุยด้วย เมื่อผู้เรียนเข้าร่วมกิจกรรมในชั้นเรียน แต่หากผู้เรียนไม่เข้ากลุ่มหรือไม่ร่วมกิจกรรมกับเพื่อน
ในชั้นเรียน ครูจะไม่สนใจไม่พูดคุยด้วย ครูทาเช่นนี้ไปเรื่อยๆ พร้อมกับสังเกตพฤติกรรมของผู้เรียน ช่วง
ระยะเวลาหนึ่ง ผู้เรียนมีพฤติกรรมดีขึ้นตามที่ผู้สอนต้องการสามารถแก้ไขพฤติกรรมการขาดความมั่นใจไม่
ชอบเข้าสังคมของผู้เรียนได้
พาฟลอฟเชื่อว่า การเรียนรู้ของสิ่งมีชีวิตเกิดจากการวางเงื่อนไข (Conditioning) กล่าวคือ การ
ตอบสนองหรือการเรียนรู้ที่เกิดขึ้นต่อสิ่งเร้านั้น ๆ ต้องมีเงื่อนไขหรือมีการสร้างสถานการณ์ให้เกิดขึ้น ซึ่งใน
ธรรมชาติหรือในชีวิตประจาวันจะไม่ตอบสนองเช่นนั้นเลย เช่น สุนัขได้ยินเสียงกระดิ่งน้าลายจะไหล หรือคน
ได้ยินเสียงไซเรนจะคิดถึงไฟไหม้เป็นต้น เสียงกระดิ่งหรือเสียงไซเรนเป็นสิ่งเร้า ที่ต้องการให้เกิดการเรียนรู้
จากการวางเงื่อนไข
ดังนั้นอาจกล่าวโดยสรุปได้ว่า การเรียนรู้ของสิ่งมีชีวิตในแง่ของพาฟลอฟ คือการวางเงื่อนไขแบบ
คลาสสิก ซึ่งหมายถึงการใช้สิ่งเร้า 2 สิ่งคู่กัน คือสิ่งเร้าที่วางเงื่อนไข และสิ่งเร้าที่ไม่ได้วางเงื่อนไขเพื่อให้เกิด
การเรียนรู้ คือการตอนสนองที่เกิดจากการวางเงื่อนไข ซึ่งถ้าสิ่งมีชีวิตเรียนรู้จริงแล้วจะมีการตอบสนองต่อสิ่ง
เร้า 2สิ่ง ในลักษณะเดียวกัน และไม่ว่าจะตัดสิ่งเร้าชนิดใดชนิดหนึ่งออก การตอบสนองก็ยังคงเป็นเช่นเดิม
เพราะว่าผู้เรียนรู้สามารถเชื่อมยางระหว่างสิ่งเร้าที่วางเงื่อนไขกับสิ่งเร้าที่ไม่วางเงื่อนไขกับการตอบสนองได้
นั่นเอง
= + +
การวางเงื่อนไขแบบ
คลาสสิก
สิ่งเร้าที่วาง
เงื่อนไข
สิ่งเร้าที่ไม่วาง
เงื่อนไข
การเรียนรู้
สุนัขที่เขาเลี้ยงมักมีอาการน้าลายไหลเกิดขึ้นทุกครั้งที่เขา
ได้นาเอาผงเนื้อไปให้กินและบางครั้งที่เขาเดินมา สุนัขได้ยินก็มี
อาการ
น้าลายไหล ทั้ง ๆ ที่ยังไม่ได้อาหาร ทาให้เขาคิดว่าอาการน้าลาย
ไหล
ของสุนัขนั้นน่าจะเป็นพฤติกรรมการเรียนรู้อย่างหนึ่งที่ต่อเนื่องกัน
ระหว่างผงเนื้อบด กับเสียงคนเดิน และเนื่องจากพาลอฟเป็นนัก
สรีรวิทยา เขาจึงเห็นว่าอาการน้าลายไหลซึ่งเป็นปฏิกิริยาสะท้อนที่
เกิดจากการทางานของระบบประสารทอัตโนมัติ นั้นก็เกิดเป็น
ปฏิกิริยาการเรียนรู้อย่างหนึ่งได้
1. ถ้าให้สิ่งเร้าที่มีเงื่อนไขควบคู่กับสิ่งเร้าที่ไม่มีเงื่อนไข ในช่วงระยะเวลาหนึ่งสิ่งเร้าที่มีเงื่อนไขจะ
แสดงผลเหมือนกับสิ่งเร้าที่ไม่มีเงื่อนไข
2. การวางเงื่อนไขจะเกิดผลดี ก็ต่อเมื่อผู้ทดลองเร้าผู้ถูกทดลองด้วยสิ่งเร้าไม่มีเงื่อนไขเสียก่อน แล้วจึง
ตามด้วยสิ่งเร้าที่มีเงื่อนไข ระยะเวลาที่จะเร้าสิ่งเร้าไม่มีเงื่อนไขและสิ่งเร้าที่มีเงื่อนไขนั้น จะต้องไม่มากเกินไป
และไม่เร็วเกินไป แต่ต้องอยู่ในจังหวะเวลาที่เหมาะสมเพื่อให้ผู้ถูกทดลองมีโอกาสได้สัมพันธ์เหตุการณ์ทั้งสอง
อย่างเข้าด้วยกันได้เป็นอย่างดี (ไม่ใช่เคาะส้อมก่อนแล้วทิ้งระยะไว้1 ชั่วโมง จึงจะให้อาหาร การกระทาห่าง
เกินไปจะไม่ได้ผลตามที่ต้องการ ทั้งนี้เพราะสุนัขหรือผู้ถูกทดลองไม่มีโอกาสได้สัมพันธ์เหตุการณ์ทั้งสองนั้น
เข้าด้วยกัน)
3. คนและสัตว์ไม่จาเป็นต้องทาปฏิกิริยาการตอบสนองต่อสิ่งเร้าแท้ (สิ่งเร้าที่ไม่ได้วางเงื่อนไข) อย่าง
เดียวกันตลอดไปเหมือนกันหมด แต่ถ้าได้มีการวางเงื่อนไขติดต่อกันไปเป็นเวลานานพอสมควรคนและสัตว์
ย่อมทาปฏิกิริยาการตอบสนองต่อสิ่งเร้าเทียม (สิ่งเร้าที่ได้วางเงื่อนไข) เช่นเดียวกันกับการตอบสนองต่อสิ่งเร้า
แท้ถ้าเราพิจารณาถึงพฤติกรรมต่างๆ ของคนเราที่แสดงออกมาแล้วจะพบว่า มีอยู่เป็นอันมากที่เป็นไปตาม
หลักเกณฑ์ของการวางเงื่อนไข ตัวอย่างเช่น ความกลัว ไม่ใช่เป็นสิ่งที่ติดตัวมาแต่กาเนิด การที่คนเรากลัว
อะไรๆ นั้นเป็นเพราะคนเราสร้างความกลัวขึ้นมาจากการที่ได้ไปวางเงื่อนไขกับสิ่งหนึ่งสิ่งใดเข้า
4. ในการวางเงื่อนไขกับอะไรนั้น คนเราต้องพยายามจับหลักให้ได้ว่า อะไรเป็นเงื่อนไขกับอะไร
พฤติกรรมของอินทรีย์ที่เกิดจากการวางเงื่อนไขแบบนี้นั้น เป็นพฤติกรรมที่เรามองเห็นสาเหตุได้ว่าอะไรเป็น
ตัวการหรือตัวเร้าให้พฤติกรรมแสดงออกมาในรูปนั้นๆ
อย่างไรก็ตามพฤติกรรมของคนเรานั้นซับซ้อนมาก จึงไม่เป็นที่มองเห็น หรือแยกแยะออกให้เห็นชัด
แจ้งได้โดยง่าย ในการแสดงพฤติกรรมแต่ละอย่างของคนเราส่วนมากนั้น มักจะเกิดจากสิ่งเร้าประกอบ
(หมายถึงสิ่งเร้าหลายๆอย่างๆ) แทนที่จะเป็นสิ่งเร้าเดี่ยว (หมายถึงสิ่งเร้าอันเดียว) ในกรณีเช่นนี้ จึงเป็นการยาก
จะบอกว่า สิ่งเร้าอันไหนที่เป็นตัวเร้าที่แท้ อันไหนที่เป็นตัวเร้าประกอบ
5. การวางเงื่อนไข หมายถึงการวางเงื่อนไขที่มีระดับสูงขึ้น หรือการวางเงื่อนไขซ้อนจากการวาง
เงื่อนไขต่อเป็นขั้นที่สอง ที่สาม และที่สี่เรื่อยๆไป ผลก็คือ “ยิ่งมีการวางเงื่อนไขซ้อนการวางเงื่อนไขมากครั้ง
ขึ้นเป็นลาดับ การตอนสนองก็จะมีกาลังอ่อนลงด้วยตามลาดับ”
พฤติกรรมของคนเรานั้นซับซ้อน ถ้ามีการวางเงื่อนไขซ้อนการวางเงื่อนไขกันเป็นลาดับ การเรียนรู้
ของคนเราที่เกิดจากการวางเงื่อนไขซ้อนการวางเงื่อนไข การตอนสนองของร่างกายจะหย่อนความเข้มข้นลงไป
นั้นหมายความว่า การเรียนรู้จะหย่อนสมรรถภาพตามลงไปด้วย
1. การจัดกระบวนการเรียนการสอนแบบการใช้บทเรียนโปรแกรม หรือบทเรียนสาเร็จรูป เป็นการทา
ให้ผู้เรียนเรียนรู้ด้วยตนเอง โดยมีคาตอบที่ถูกต้องไว้เป็นการเสริมแรง สามารถเสริมแรงได้ทันทีเมื่อผู้เรียน
ตอบคาถามได้ถูกต้อง ทาให้ผู้เรียนเกิดความภาคภูมิใจและอยากเรียนรู้มากขึ้น
2. การใช้พฤติกรรมบาบัด เช่น การสอนให้เด็กขยันทาการบ้าน โดยเขียนรายชื่อผู้ส่งการบ้านไว้บน
บอร์ดให้บุคคลอื่นมองเห็นเพื่อเป็นการยกย่องชมเชย การให้ดาวเมื่อผู้เรียนทางานเสร็จทันเวลา หรือส่งการบ้าน
ตาม เวลา เมื่อได้ดาวครบตามจานวน มีการมอบรางวัล กระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดความกระตือรือร้น เป็นต้น
3. การใช้กฎการเรียนรู้ทั้ง 2 กฎ คือ การเสริมแรงทันทีทันใด เช่น เมื่อผู้เรียนตอบคาถามถูกให้กล่าว
ชมยกย่อง ชมเชย ให้รางวัล ในทันที และการเสริมแรงเป็นครั้งคราว เช่นการสะสมแต้ม เพื่อแลกของรางวัล
หรือ ให้ รางวัลสาหรับผู้ที่ตั้งใจเรียน ส่งงานสม่าเสมอตลอดระยะเวลา 1 เดือน เป็นต้น
ทฤษฎีการเรียนรู้ในกลุ่มพุทธิปัญญานิยมนี้ให้ความสาคัญกับความสามารถในการตั้งวัตถุประสงค์
การวางแผน ความตั้งใจ ความคิด ความจา การคัดเลือก การให้ความหมายกับสิ่งเร้าต่าง ๆ ที่ได้จาก
ประสบการณ์ ซึ่งเมื่อเปรียบเทียบกับกลุ่มพฤติกรรมนิยมแล้วจะเห็นว่ามีความแตกต่างกัน
กลุ่มพฤติกรรมนิยม : อินทรีย์สร้างความสัมพันธ์เชื่อมโยงระหว่างสิ่งเร้าและการตอบสนองอัน
ก่อให้เกิดความพึงพอใจ
กลุ่มพุทธิปัญญานิยม : อินทรีย์ต้องนาสิ่งเร้ามาคิด วิเคราะห์ และให้ ความหมายได้อย่างถูกต้อง
เหมาะสม
นักจิตวิทยาที่อยู่ในกลุ่มนี้ เช่น
1. ทฤษฎีพัฒนาการเชาว์ปัญญาของเพียเจต์
2. ทฤษฏีการเรียนรู้ในพื้นที่รอยต่อพัฒนาการของไวก็อตสกี้
3. ทฤษฎีการเรียนรู้โดยการค้นพบของบรุนเนอร์
ทฤษฏีการเรียนรู้พุทธิปัญญานิยม เน้นความสาคัญของผู้เรียนจะต้องเป็นผู้ลงมือกระทา (Active) การ
เปลี่ยนแปลงทางพุทธิปัญญาจะเกิดขึ้นก็ต่อเมื่อผู้เรียนอยู่ในสภาพไม่สมดุลทางด้านพุทธิปัญญา
(Disequilibration) เนื่องจากได้รับข้อมูลข่าวสารใหม่ ผู้เรียนจะเกิดการปรับและควบคุมพฤติกรรมของตนเอง
เพื่อจะทาให้เกิดกระบวนการพัฒนาสมดุล (Equilibration) ขึ้น นอกจากนี้เพียเจต์และวิก๊อทสกี้ต่างก็เห็นว่าการ
เรียนรู้มีคุณลักษณะทางสังคม คือ เกิดขึ้นเพราะมีการปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม ในเรื่องนี้มีการเสนอให้ใช้การ
เรียนรู้แบบร่วมมือ (Cooperative Learning) ในห้องเรียน
เพียเจต์ (Piaget) ได้ศึกษาเกี่ยวกับพัฒนาการทางด้านความคิดของเด็กว่ามีขั้นตอนหรือกระบวนการ
อย่างไร ทฤษฎีของเพียเจต์ตั้งอยู่บนรากฐานของทั้งองค์ประกอบที่เป็นพันธุกรรม และสิ่งแวดล้อม เขาอธิบายว่า
การเรียนรู้ของเด็กเป็นไปตามพัฒนาการทางสติปัญญา ซึ่งจะมีพัฒนาการไปตามวัยต่าง ๆ เป็นลาดับขั้น
พัฒนาการเป็นสิ่งที่เป็นไปตามธรรมชาติ ไม่ควรที่จะเร่งเด็กให้ข้ามจากพัฒนาการจากขั้นหนึ่งไปสู่อีกขั้นหนึ่ง
เพราะจะทาให้เกิดผลเสียแก่เด็ก แต่การจัดประสบการณ์ส่งเสริมพัฒนาการของเด็กในช่วงที่เด็กกาลังจะพัฒนา
ไปสู่ขั้นที่สูงกว่า สามารถช่วยให้เด็กพัฒนาไปอย่างรวดเร็ว อย่างไรก็ตาม เพียเจต์เน้นความสาคัญของการเข้าใจ
ธรรมชาติและพัฒนาการของเด็กมากกว่าการกระตุ้นเด็กให้มีพัฒนาการเร็วขึ้น เพียเจต์สรุปว่า พัฒนาการของ
เด็กสามารถอธิบายได้โดยลาดับระยะพัฒนาทางชีววิทยาที่คงที่ แสดงให้ปรากฏโดยปฏิสัมพันธ์ของเด็กกับ
สิ่งแวดล้อม
เพียเจท์ได้แบ่งขั้นตอนการพัฒนาชีวิตเป็น 4 ขั้นตอน ดังนี้
ขั้นที่ 1 Sensori-Motor Stage (แรกเกิด – 2 ปี)
ขั้นที่ 2 Preoperational Stage (2 – 7 ปี)
ขั้นที่ 3 Concrete Operation Stage (7–11 ปี)
ขั้นที่ 4 Formal Operational Stage (11–15 ปี)
ขั้นนี้เริ่มตั้งแต่แรกเกิดจนถึง 2 ปี พฤติกรรมของเด็กในวัยนี้ขึ้นอยู่กับการเคลื่อนไหวเป็นส่วนใหญ่
เช่น การไขว่คว้า การเคลื่อนไหว การมอง การดู ในวัยนี้เด็กแสดงออกทางด้านร่างกายให้เห็นว่ามีสติปัญญาด้วย
การกระทา เด็กสามารถแก้ปัญหาได้ แม้ว่าจะไม่สามารถอธิบายได้ด้วยคาพูด เด็กจะต้องมีโอกาสที่จะปะทะกับ
สิ่งแวดล้อมด้วยตนเอง ซึ่งถือว่าเป็นสิ่งจาเป็นสาหรับพัฒนาการด้านสติปัญญาและความคิดในขั้นนี้ มีความคิด
ความเข้าใจของเด็กจะก้าวหน้าอย่างรวดเร็ว เช่น สามารถประสานงานระหว่างกล้ามเนื้อมือ และสายตา เด็กใน
วัยนี้มักจะทาอะไรซ้าบ่อยๆ เป็นการเลียนแบบ พยายามแก้ปัญหาแบบลองผิดลองถูก เมื่อสิ้นสุดระยะนี้เด็กจะมี
การแสดงออกของพฤติกรรมอย่างมีจุดมุ่งหมายและสามารถแก้ปัญหาโดยการเปลี่ยนวิธีการต่าง ๆ เพื่อให้ได้สิ่ง
ที่ต้องการแต่กิจกรรมการคิดของเด็กวัยนี้ส่วนใหญ่ยังคงอยู่เฉพาะสิ่งที่สามารถสัมผัสได้เท่านั้น
ขั้นที่ 1 Sensori-Motor Stage (แรกเกิด – 2 ปี)
ขั้นนี้เริ่มตั้งแต่อายุ 2-7 ปี แบ่งออกเป็นขั้นย่อยอีก 2 ขั้น คือ
1.ขั้นก่อนเกิดสังกัป (Preconceptual Thought) เป็นขั้นพัฒนาการของเด็กอายุ 2-4 ปี เป็นช่วงที่เด็กเริ่ม
มีเหตุผลเบื้องต้น สามารถจะโยงความสัมพันธ์ระหว่างเหตุการณ์ 2 เหตุการณ์ หรือมากกว่ามาเป็นเหตุผลเกี่ยว
โยงซึ่งกันและกัน แต่เหตุผลของเด็กวัยนี้ยังมีขอบเขตจากัดอยู่ เพราะเด็กยังคงยึดตนเองเป็นศูนย์กลาง คือถือ
ความคิดตนเองเป็นใหญ่ และมองไม่เห็นเหตุผลของผู้อื่น ความคิดและเหตุผลของเด็กวัยนี้ จึงไม่ค่อยถูกต้อง
ตามความเป็นจริงนัก นอกจากนี้ความเข้าใจต่อสิ่งต่างๆ ยังคงอยู่ในระดับเบื้องต้น เช่น เข้าใจว่าเด็กหญิง 2 คน
ชื่อเหมือนกัน จะมีทุกอย่างเหมือนกันหมด แสดงว่าความคิดรวบยอดของเด็กวัยนี้ยังไม่พัฒนาเต็มที่ แต่
พัฒนาการทางภาษาของเด็กเจริญรวดเร็วมาก
ขั้นที่ 2 Preoperational Stage (2 – 7 ปี)
2.ขั้นการคิดแบบญาณหยั่งรู้ นึกออกเองโดยไม่ใช้เหตุผล (Intuitive Thought) เป็นขั้นพัฒนาการของ
เด็ก อายุ 4-7 ปี ขั้นนี้เด็กจะเกิดความคิดรวบยอดเกี่ยวกับสิ่งต่างๆ รวมตัวดีขึ้น รู้จักแยกประเภทและแยกชิ้นส่วน
ของวัตถุ เข้าใจความหมายของจานวนเลข เริ่มมีพัฒนาการเกี่ยวกับการอนุรักษ์ แต่ไม่แจ่มชัดนัก สามารถ
แก้ปัญหาเฉพาะหน้าได้โดยไม่คิดเตรียมล่วงหน้าไว้ก่อน รู้จักนาความรู้ในสิ่งหนึ่งไปอธิบายหรือแก้ปัญหาอื่น
และสามารถนาเหตุผลทั่วๆ ไปมาสรุปแก้ปัญหา โดยไม่วิเคราะห์อย่างถี่ถ้วนเสียก่อนการคิดหาเหตุผลของเด็ก
ยังขึ้นอยู่กับสิ่งที่ตนรับรู้ หรือสัมผัสจากภายนอก
ขั้นที่ 2 Preoperational Stage (2 – 7 ปี)
ขั้นนี้จะเริ่มจากอายุ 7-11 ปี พัฒนาการทางด้านสติปัญญาและความคิดของเด็กวัยนี้สามารถสร้าง
กฎเกณฑ์และตั้งเกณฑ์ในการแบ่งสิ่งแวดล้อมออกเป็นหมวดหมู่ได้เด็กวัยนี้สามารถที่จะเข้าใจเหตุผล รู้จักการ
แก้ปัญหาสิ่งต่างๆ ที่เป็นรูปธรรมได้สามารถที่จะเข้าใจเกี่ยวกับเรื่องความคงตัวของสิ่งต่างๆ โดยที่เด็กเข้าใจว่า
ของแข็งหรือของเหลวจานวนหนึ่งแม้ว่าจะเปลี่ยนรูปร่างไปก็ยังมีน้าหนัก หรือปริมาตรเท่าเดิม สามารถที่จะ
เข้าใจความสัมพันธ์ของส่วนย่อย ส่วนรวม ลักษณะเด่นของเด็กวัยนี้คือ ความสามารถในการคิดย้อนกลับ
นอกจากนั้นความสามารถในการจาของเด็กในช่วงนี้มีประสิทธิภาพขึ้น สามารถจัดกลุ่มหรือจัดการได้อย่าง
สมบูรณ์ สามารถสนทนากับบุคคลอื่นและเข้าใจความคิดของผู้อื่นได้ดี
ขั้นที่ 3 Concrete Operation Stage (7–11 ปี)
พัฒนาการทางการรู้คิดของเด็กในช่วงอายุ 6 ปีแรกของชีวิต ซึ่งเพียเจต์ ได้ศึกษาไว้เป็นประสบการณ์ สาคัญที่
เด็กควรได้รับการส่งเสริม มี 6 ขั้น ได้แก่
1. ขั้นความรู้แตกต่าง (Absolute Differences) เด็กเริ่มรับรู้ในความแตกต่างของสิ่งของที่มองเห็น
2. ขั้นรู้สิ่งตรงกันข้าม (Opposition) ขั้นนี้เด็กรู้ว่าของต่างๆ มีลักษณะตรงกันข้ามเป็น 2 ด้าน เช่น มี-
ไม่มี หรือ เล็ก-ใหญ่
3. ขั้นรู้หลายระดับ (Discrete Degree) เด็กเริ่มรู้จักคิดสิ่งที่เกี่ยวกับลักษณะที่อยู่ตรงกลางระหว่างปลาย
สุดสองปลาย เช่น ปานกลาง น้อย
4. ขั้นความเปลี่ยนแปลงต่อเนื่อง (Variation) เด็กสามารถเข้าใจเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงของสิ่งต่างๆ
เช่น บอกถึงความเจริญเติบโตของต้นไม้
5. ขั้นรู้ผลของการกระทา (Function) ในขั้นนี้เด็กจะเข้าใจถึงความสัมพันธ์ของการเปลี่ยนแปลง
6. ขั้นการทดแทนอย่างลงตัว (Exact Compensation) เด็กจะรู้ว่าการกระทาให้ของสิ่งหนึ่ง
เปลี่ยนแปลงย่อมมีผลต่ออีกสิ่งหนึ่งอย่างทัดเทียมกัน ภาษาและกระบวนการคิดของเด็กแตกต่างจากผู้ใหญ่
ขั้นที่ 4 Formal Operational Stage (11–15 ปี)
1. นักเรียนที่มีอายุเท่ากันอาจมีขั้นพัฒนาการทางสติปัญญาที่แตกต่างกัน
2. ประสบการณ์ทางกายภาพ (physical experiences) จะเกิดขึ้นเมื่อนักเรียนแต่ละคนได้
ปฏิสัมพันธ์กับวัตถุต่าง ในสภาพแวดล้อมโดยตรง
3. ประสบการณ์ทางตรรกศาสตร์ (Logicomathematical experiences) จะเกิดขึ้นเมื่อ
นักเรียนได้พัฒนาโครงสร้างทางสติปัญญาให้ความคิดรวบยอดที่เป็นนามธรรม
4. หลักสูตรที่สร้างขึ้นบนพื้นฐานทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาของผู้เรียน
5. การสอนที่ส่งเสริมพัฒนาการทางสติปัญญาของผู้เรียน
6. ขั้นประเมินผล มีการทดสอบแบบการให้เหตุผลของนักเรียน
ไวก็อตสกี้(Vygotsky)เป็นนักจิตวิทยาชาวรัสเซีย เชื้อสายยิว เกิดในปี ค.ศ. 1896 ปีเดียวกันกับเพียเจต์
(Jean Piaget) นักจิตวิทยาชาวสวิส จากการมีประสบการณ์การทางานเป็นนักจิตวิทยาเพียงแค่ 10 ปี ในช่วงเวลา
นั้นนักพัฒนาการชาวรัสเซียท่านนี้ได้สร้างความตื่นตัวให้แก่วงการการศึกษาในช่วงปี ค.ศ. 1920 ถึง 1930 อัน
เป็นช่วงเดียวกันกับที่เพียเจต์กาลังสร้างทฤษฎีของเขาขึ้นมา ในช่วงบรรยากาศหลังการปฏิวัติสหภาพโซเวียต
เป้าหมายของไวก็อตสกี้คือการสร้างแนวคิดทางจิตวิทยาขึ้นมาใหม่ตามแนวทางมาร์กซิสต์ และประยุกต์ใช้
จิตวิทยาโดยเฉพาะในสาขาจิตวิทยาการศึกษา
ไวก็อตสกี้ อธิบายว่า การจัดการเรียนรู้จะต้องคานึงถึงระดับพัฒนาการ 2 ระดับ คือ ระดับพัฒนาการที่
เป็นจริง (Actual Development Level) และระดับพัฒนาการที่สามารถจะเป็นไปได้ (Potential Development
Level) ระยะห่างระหว่างระดับพัฒนาการที่เป็นจริงและระดับพัฒนาการที่สามารถจะเป็นไปได้ เรียกว่า พื้นที่
รอยต่อพัฒนาการ (Zone of Proximal Development) ซึ่งไวก็อตสกี้เปรียบเทียบการเรียนรู้
Past Learning : Actual Development Level
Present Learning : Zone of Proximal Development
Future Learning : Potential Development Level
การเรียนรู้ที่เกิดขึ้นในพื้นที่รอยต่อพัฒนาการจะเกิดขึ้นได้ต้องอาศัยเครื่องมือหรือสื่อกลาง เช่น
ปฏิสัมพันธ์ทางสังคม ภาษา วัฒนธรรม วิธีการเรียนรู้ การชี้แนะและให้ความช่วยเหลือ เป็นต้น จึงทาให้เกิดการ
ขยายแนวคิดไปสู่การคิดกลวิธีเสริมต่อการเรียนรู้
การเสริมต่อการเรียนรู้สามารถทาได้หลายประการ เช่น การให้แบบอย่าง การให้ข้อเสนอแนะ การ
สะท้อนผลการเรียนรู้ การตรวจสอบความรู้ของผู้เรียนโดยให้ผู้เรียนเล่าสิ่งที่ได้เรียนรู้ การลดความซับซ้อนใน
งานหรือกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อให้ผู้เรียนมีความง่ายต่อการทาความเข้าใจ และอื่นๆ ซึ่งการเสริมต่อการเรียนรู้
จะมีประสิทธิภาพได้ ต้องมาจากพื้นฐานความเข้าใจเรื่องพื้นที่รอยต่อพัฒนาการเป็นสาคัญ นับตั้งแต่ระดับ
พัฒนาการที่แท้จริงของผู้เรียนอันเป็นจุดเริ่มต้นในการเรียนรู้ ไปจนกระทั่งถึงพัฒนาการในระดับสูงสุดของ
ผู้เรียนซึ่งเป็นพัฒนาการที่ผู้เรียนสามารถที่จะเป็นไปได้ จึงจะทาให้ผู้สอนสามารถจัดกระบวนการเรียนรู้ได้
อย่างถูกต้องและวางแผนการสอนได้เหมาะสมกับศักยภาพของผู้เรียน
1. ผู้สอนจะต้องเน้นตัวอย่างและฝึกฝนกระบวนการเรียนรู้ให้ผู้เรียนเห็น
2. การเรียนรู้ทักษะต่างๆจะต้องมีประสิทธิภาพถึงขั้นทาได้และแก้ปัญหาได้จริง
3. ในการเรียนการสอนผู้เรียนจะเป็นผู้มีบทบาทในการเรียนรู้อย่างตื่นตัว
4. ในการจัดการเรียนรู้ผู้สอนจะต้องพยายามสร้างบรรยากาศทางสังคมจริยธรรมให้เกิดขึ้น
5. ผู้เรียนควรมีบทบาทในการเรียนรู้อย่างเต็มที่
6. ในการเรียนการสอนแบบสร้างความรู้ ผู้สอนจะมีบทบาทเป็นผู้ให้ความร่วมมืออานวยความสะดวก
7. การประเมินควรมีลักษณะที่ยืดหยุ่นในแต่ละบุคคล
บรูนเนอร์เชื่อว่า การเรียนรู้จะเกิดขึ้นได้ก็ต่อเมื่อผู้เรียนได้มีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม ซึ่งนาไปสู่การ
ค้นพบการแก้ปัญหา ผู้เรียนจะประมวลข้อมูลข่าวสาร จากการมีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม และจะรับรู้สิ่งที่
ตนเองเลือก หรือสิ่งที่ใส่ใจ การเรียนรู้แบบนี้จะช่วยให้เกิดการค้นพบ เนื่องจากผู้เรียนมีความอยากรู้อยากเห็น
ซึ่งจะเป็นแรงผลักดันที่ทาให้สารวจสิ่งแวดล้อม และทาให้เกิดการเรียนรู้โดยการค้นพบ โดยมีแนวคิดที่เป็น
พื้นฐาน ดังนี้
1. การเรียนรู้เป็นกระบวนการที่ผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมด้วยตนเอง
2. ผู้เรียนแต่ละคนจะมีประสบการณ์และพื้นฐานความรู้ที่แตกต่างกัน การเรียนรู้จะเกิดจากการที่
ผู้เรียนสร้างความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งที่พบใหม่กับความรู้เดิมแล้วนามาสร้างเป็นความหมายใหม่
3. พัฒนาการทางเชาว์ปัญญาจะเห็นได้ชัดโดยที่ผู้เรียนสามารถรับสิ่งเร้าที่ให้เลือกได้หลายอย่าง
พร้อมๆ กัน
1.เอนแอคทีฟ (Enactive mode) วิธีการเรียนรู้ในขั้นนี้จะเป็นวิธีที่มีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม โดยการ
สัมผัส จับต้องด้วยมือ ผลัก ดึง รวมถึงการใช้ปากกับวัตถุสิ่งของที่อยู่รอบๆตัว สิ่งที่สาคัญที่สุด คือ เด็กจะต้อง
ลงมือกระทาด้วยตนเอง เช่น การเลียนแบบ หรือการลงมือกระทากับวัตถุสิ่งของ ส่วนผู้ใหญ่จะใช้ทักษะ
ทางการที่ซับซ้อน เช่น ทักษะการขี่จักรยาน เล่นเทนนิส
2.ไอคอนนิค (Iconic mode) เมื่อเด็กสามารถที่จะสร้างจินตนาการ หรือมโนภาพ (Imagery)ขึ้นในใจ
ได้เด็กจะสามารถเรียนรู้สิ่งต่างๆในโลกได้ด้วย Iconic mode ดังนั้นในการเรียนการสอนเด็กสามารถที่จะเรียนรู้
โดยการใช้ภาพแทนของการสัมผัสจากของจริง เพื่อที่จะช่วยขยายการเรียนรู้ที่เพิ่มมากขึ้น
3. วิธีการที่ใช้สัญลักษณ์ หรือ Symbolic mode วิธีการนี้ผู้เรียนจะใช้ในการเรียนได้ เมื่อผู้เรียนมี
ความสามารถที่จะเข้าใจในสิ่งที่เป็นนามธรรม หรือความคิดรวบยอดที่ซับซ้อน จึงสามารถที่จะสร้างสมมุติฐาน
และพิสูจน์ว่าสมมุติฐานถูกหรือผิดได้
1. กระบวนความคิดของเด็กแตกต่างกับผู้ใหญ่ เวลาเด็กทาผิดเกี่ยวกับความคิด ผู้ใหญ่ควรจะคิดถึง
พัฒนาการทางเชาวน์ปัญญา
2. เน้นความสาคัญของผู้เรียน ถือว่าผู้เรียนสามารถจะควบคุมกิจกรรมการเรียนรู้ของตนเองได้ (Self-
Regulation) และเป็นผู้ที่จะริเริ่มหรือลงมือกระทา
3. ในการสอนควรจะเริ่มจากประสบการณ์ที่ผู้เรียนคุ้นเคย หรือประสบการณ์ที่ใกล้ตัวไปหา
ประสบการณ์ที่ไกลตัว เพื่อผู้เรียนจะได้มีความเข้าใจ
กลุ่มมนุษยนิยมจะคานึงถึงความเป็นคนของบุคคล คุณค่าของคนเป็นหลัก โดยจะมองธรรมชาติของ
มนุษย์ในลักษณะที่ว่า มนุษย์เกิดมาพร้อมกับความดีที่ติดตัวมาแต่กาเนิด มนุษย์เป็นผู้ที่มีอิสระสามารถที่จะนา
ตนเอง และ พึ่งตนเองได้ เป็นผู้ที่มีความคิดสร้างสรรค์ที่จะทาประโยชน์ให้สังคม มีอิสรเสรีภาพที่จะเลือกทาสิ่ง
ต่างๆที่จะไม่ทา ให้ผู้ใดเดือดร้อน ซึ่งรวมทั้งตนเองด้วย มนุษย์เป็นผู้ที่มีความรับผิดชอบและเป็นผู้สร้างสรรค์
สังคม นักวิจัยกลุ่มมนุษยนิยมกลุ่มนี้ที่มีบทบาทสาคัญต่อการศึกษา
1. ทฤษฎีความต้องการของมนุษย์ของ Maslow
2. ทฤษฎี client centered ของโรเจอร์
มาสโลว์ได้กล่าวว่า มนุษย์ทุกคนล้วนมีความต้องการและจะสนองความต้องการให้กับตนเองทั้งสิ้น
ซึ่ง ความต้องการเรียงจากความต้องการขั้นต่าสุดขึ้นไปหาความต้องการขั้นสูงสุดดังนี้
1) ความต้องการทางด้านร่างกาย
2) ความต้องการความปลอดภัย
3) ความต้องการความรักและเป็นเจ้าของ
4) ความต้องการที่จะเป็นที่ยอมรับและ ได้รับการยกย่อง
5) ความต้องการที่จะตระหนักในความสามารถของตนเองหรือรู้จักตนเอง
6) ความต้องการที่จะรู้และที่จะเข้าใจ
7) ความต้องการทางด้านสุนทรียะ
จิตวิทยาการเรียนรู้
โรเจอร์ได้สรุปว่า ทฤษฎี client centered สามารถนามาประยุกต์ใช้ในด้านการเรียนการสอน โดยเน้น
จัดการเรียนการ สอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง พัฒนาผู้เรียนให้เต็มตามศักยภาพของตนเอง ครผู้สอนจะต้อง
เป็นผู้ที่มีความเชื่อ มี ศรัทธาในความเป็นคนของผู้เรียน การที่มีความเชื่อและไว้วางใจในความสามารถของ
บุคคล จะช่วยให้บุคคลนั้นๆ พัฒนาศักยภาพของตนเอง ดังนั้น การจัดการเรียนการสอนควรเปิดโอกาสให้เด็ก
ได้เลือกวิธีการที่จะเรียนเอง ให้ เกียรติผู้เรียนทั้งในแง่ความรู้สึกนึกคิด โรเจอร์ชี้ให้เห็นว่าการสอนโดยใช้
ผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง จะคล้ายคลึงกับ ผู้มา รับคาปรึกษาเป็นศูนย์กลาง เพราะช่วยให้ผู้เรียนรู้จักช่วยตนเองใน
เรื่องการเรียน โดยไม่ต้องขอความช่วยเหลือจาก ครูผู้สอน
การประยุกต์ใช้
ครูผู้สอน
1. ครูควรเป็นคนใจกว้าง ไม่ยึดติดกับความคิด หรือความเชื่อของตนเอง
2. ครูควรรับฟังผู้เรียนมากยิ่งขึ้น โดยเฉพาะเรื่องเกี่ยวกับความรู้สึก
3. ให้ความสาคัญกับผู้เรียนเท่ากับความสาคัญของเนื้อหาที่นามาสอน
4. ยินดีรับฟังข้อเสนอแนะทั้งทางบวกและทางลบ
5. กระตุ้นให้ผู้เรียนมีความรับผิดชอบต่อการเรียนรู้ของตนเอง
6. จัดการเรียน กิจกรรม สื่อการเรียนการสอนให้หลากหลาย
7. กระตุ้นให้ผู้เรียนเข้าใจว่าการประเมินผลที่มีคุณค่า คือการประเมินตนเองของผู้เรียน
จิตวิทยาการเรียนรู้
นางสาวเพชรสีฟ้า พีรนันทปัญญา นางสาวปุณยนุช นาคดิลก นางสาวรัตรวี เรียนพงศ์ชัย
นางกนกวรรณ แสนจาหน่าย นางสาวอาพันธ์ สุดใจ นายไพรัตน์ บัวศรี
นางสาวเพชรสีฟ้ า พีรนันทปัญญา
หัวข้อที่ค้นคว้าประกอบด้วย
1. ศึกษาเรื่อง ทฤษฏีของธอร์นไดด์
นางสาวปุณยนุช นาคดิลก
หัวข้อที่ค้นคว้าประกอบด้วย
1. ศึกษาเรื่อง ทฤษฏีของสกินเนอร์
นางสาวรัตรวี เรียนพงศ์ชัย
หัวข้อที่ค้นคว้าประกอบด้วย
1. ศึกษาเรื่อง ทฤษฏีของพาฟลอฟ
นายไพรัตน์ บัวศรี
หัวข้อที่ค้นคว้าประกอบด้วย
1. ศึกษาเรื่อง ทฤษฏีเพียเจท์
นางกนกวรรณ แสนจาหน่าย
หัวข้อที่ค้นคว้าประกอบด้วย
1. ศึกษาเรื่อง ทฤษฏีการเรียนรู้ไวก๊อตสกี้
นางสาวอาพันธ์ สุดใจ
หัวข้อที่ค้นคว้าประกอบด้วย
1. ศึกษาเรื่อง ทฤษฏีการเรียนรู้ของโรเจอร์
• Bernstein. D. A. (1999) Essentials of Psychology. Houghton Mifflin Company.
• Bernstein. D. A. (1988) Psychology. Houghton Mifflin Company.
• ทฤษฏีการเรียนรู้ (ออนไลน์) เข้าถึงได้จาก : http://www.kroobannok.com/article-35946-%
• ทฤษฏีพัฒนาการทางสติปัญญาของเพียเจท์ (ออนไลน์) เข้าถึงได้จาก :
http://www.baanjomyut.com/library_2/intellectual_development_theory/01.html
• ทฤษฏีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยม (ทฤษฏีของธอร์นไดค์) (ออนไลน์) เข้าถึงได้จาก :
https://www.gotoknow.org/posts/555423
เอกสารอ้างอิง
1 de 66

Recomendados

สื่อและแหล่งการเรียนรู้ por
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้poms0077
17.7K visualizações21 slides
แบบประเมินทักษะกระบวนการ por
แบบประเมินทักษะกระบวนการแบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการsomdetpittayakom school
60.7K visualizações4 slides
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้ por
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้Sutthiluck Kaewboonrurn
100.8K visualizações26 slides
Casestudy การศึกษารายกรณี por
Casestudy การศึกษารายกรณีCasestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณีrewat Chitthaing
135.9K visualizações37 slides
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก por
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลกวิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลกChainarong Maharak
55.1K visualizações31 slides
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต por
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิตแบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิตsripayom
119.5K visualizações13 slides

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

มาตรฐานการเรียนรู้ por
มาตรฐานการเรียนรู้มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้Bhayubhong
72.8K visualizações10 slides
แบบประเม น por
แบบประเม นแบบประเม น
แบบประเม นไชยา แก้วผาไล
12.9K visualizações5 slides
บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎีของนักการศึกษา 55 por
บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎีของนักการศึกษา 55บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎีของนักการศึกษา 55
บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎีของนักการศึกษา 55Decode Ac
51K visualizações30 slides
แบบทดสอบมัทนะพาธา por
แบบทดสอบมัทนะพาธาแบบทดสอบมัทนะพาธา
แบบทดสอบมัทนะพาธาkrudow14
94.2K visualizações5 slides
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา por
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาแผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาThongsawan Seeha
28.1K visualizações17 slides
องค์ประกอบของหลักสูตร por
องค์ประกอบของหลักสูตรองค์ประกอบของหลักสูตร
องค์ประกอบของหลักสูตรSunisa199444
57.2K visualizações20 slides

Mais procurados(20)

มาตรฐานการเรียนรู้ por Bhayubhong
มาตรฐานการเรียนรู้มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้
Bhayubhong72.8K visualizações
บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎีของนักการศึกษา 55 por Decode Ac
บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎีของนักการศึกษา 55บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎีของนักการศึกษา 55
บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎีของนักการศึกษา 55
Decode Ac51K visualizações
แบบทดสอบมัทนะพาธา por krudow14
แบบทดสอบมัทนะพาธาแบบทดสอบมัทนะพาธา
แบบทดสอบมัทนะพาธา
krudow1494.2K visualizações
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา por Thongsawan Seeha
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาแผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
Thongsawan Seeha28.1K visualizações
องค์ประกอบของหลักสูตร por Sunisa199444
องค์ประกอบของหลักสูตรองค์ประกอบของหลักสูตร
องค์ประกอบของหลักสูตร
Sunisa19944457.2K visualizações
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P... por Prachoom Rangkasikorn
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...
Prachoom Rangkasikorn30.2K visualizações
สมุดเล่มเล็ก por Ged Gis
สมุดเล่มเล็กสมุดเล่มเล็ก
สมุดเล่มเล็ก
Ged Gis65.9K visualizações
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ por ขนิษฐา ทวีศรี
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความหน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
แนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัย por khanidthakpt
แนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัยแนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัย
แนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัย
khanidthakpt2.6K visualizações
รายงานการประเมินค่ายบูรณาการ por Wichai Likitponrak
รายงานการประเมินค่ายบูรณาการรายงานการประเมินค่ายบูรณาการ
รายงานการประเมินค่ายบูรณาการ
Wichai Likitponrak25.5K visualizações
เด็กไม่ส่งการบ้าน por aapiaa
เด็กไม่ส่งการบ้านเด็กไม่ส่งการบ้าน
เด็กไม่ส่งการบ้าน
aapiaa30.2K visualizações
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี por Parichart Ampon
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณีรูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
Parichart Ampon73.2K visualizações
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ por ssuserf8d051
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
ssuserf8d05144.7K visualizações
บทที่ 8 การสังเกตพฤติกรรมเด็ก 55 por Decode Ac
บทที่ 8 การสังเกตพฤติกรรมเด็ก 55บทที่ 8 การสังเกตพฤติกรรมเด็ก 55
บทที่ 8 การสังเกตพฤติกรรมเด็ก 55
Decode Ac101.4K visualizações
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย por พัน พัน
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทยแบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
พัน พัน80K visualizações
งานธุรการโรงเรียน por Sukanya Polratanamonkol
งานธุรการโรงเรียนงานธุรการโรงเรียน
งานธุรการโรงเรียน
Sukanya Polratanamonkol70.9K visualizações

Destaque

ทฤษฎีงานพัฒนาการของโรเบิร์ต เจ ฮาร์วิกเฮิต por
ทฤษฎีงานพัฒนาการของโรเบิร์ต เจ ฮาร์วิกเฮิตทฤษฎีงานพัฒนาการของโรเบิร์ต เจ ฮาร์วิกเฮิต
ทฤษฎีงานพัฒนาการของโรเบิร์ต เจ ฮาร์วิกเฮิตhoossanee
2.3K visualizações11 slides
ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาของเพียเจต์ por
ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาของเพียเจต์ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาของเพียเจต์
ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาของเพียเจต์hoossanee
3.4K visualizações23 slides
ทฤษฎีการจริยธรรมของโคลเบิร์ก por
ทฤษฎีการจริยธรรมของโคลเบิร์กทฤษฎีการจริยธรรมของโคลเบิร์ก
ทฤษฎีการจริยธรรมของโคลเบิร์กhoossanee
2.6K visualizações18 slides
ทฤษฎีพัฒนาการของฟรอยด์ por
ทฤษฎีพัฒนาการของฟรอยด์ทฤษฎีพัฒนาการของฟรอยด์
ทฤษฎีพัฒนาการของฟรอยด์hoossanee
4.5K visualizações40 slides
ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาของบรูเนอร์ por
ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาของบรูเนอร์ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาของบรูเนอร์
ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาของบรูเนอร์hoossanee
2.7K visualizações27 slides
ทฤษฎีของอิริคสัน por
ทฤษฎีของอิริคสันทฤษฎีของอิริคสัน
ทฤษฎีของอิริคสันhoossanee
3.4K visualizações20 slides

Destaque(6)

ทฤษฎีงานพัฒนาการของโรเบิร์ต เจ ฮาร์วิกเฮิต por hoossanee
ทฤษฎีงานพัฒนาการของโรเบิร์ต เจ ฮาร์วิกเฮิตทฤษฎีงานพัฒนาการของโรเบิร์ต เจ ฮาร์วิกเฮิต
ทฤษฎีงานพัฒนาการของโรเบิร์ต เจ ฮาร์วิกเฮิต
hoossanee2.3K visualizações
ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาของเพียเจต์ por hoossanee
ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาของเพียเจต์ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาของเพียเจต์
ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาของเพียเจต์
hoossanee3.4K visualizações
ทฤษฎีการจริยธรรมของโคลเบิร์ก por hoossanee
ทฤษฎีการจริยธรรมของโคลเบิร์กทฤษฎีการจริยธรรมของโคลเบิร์ก
ทฤษฎีการจริยธรรมของโคลเบิร์ก
hoossanee2.6K visualizações
ทฤษฎีพัฒนาการของฟรอยด์ por hoossanee
ทฤษฎีพัฒนาการของฟรอยด์ทฤษฎีพัฒนาการของฟรอยด์
ทฤษฎีพัฒนาการของฟรอยด์
hoossanee4.5K visualizações
ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาของบรูเนอร์ por hoossanee
ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาของบรูเนอร์ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาของบรูเนอร์
ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาของบรูเนอร์
hoossanee2.7K visualizações
ทฤษฎีของอิริคสัน por hoossanee
ทฤษฎีของอิริคสันทฤษฎีของอิริคสัน
ทฤษฎีของอิริคสัน
hoossanee3.4K visualizações

Similar a จิตวิทยาการเรียนรู้

จิตวิทยาการเรียนรู้ por
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้maymymay
241 visualizações42 slides
งานซู por
งานซูงานซู
งานซูmaymymay
200 visualizações42 slides
งานซู por
งานซูงานซู
งานซูmaymymay
239 visualizações42 slides
จิตวิทยาการเรียนรู้ por
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้maymymay
652 visualizações43 slides
จิตวิทยาการเรียนรู้ por
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้maymymay
386 visualizações43 slides
จิตวิทยาการเรียนรู้ por
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้maymymay
266 visualizações43 slides

Similar a จิตวิทยาการเรียนรู้(20)

จิตวิทยาการเรียนรู้ por maymymay
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
maymymay241 visualizações
งานซู por maymymay
งานซูงานซู
งานซู
maymymay200 visualizações
งานซู por maymymay
งานซูงานซู
งานซู
maymymay239 visualizações
จิตวิทยาการเรียนรู้ por maymymay
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
maymymay652 visualizações
จิตวิทยาการเรียนรู้ por maymymay
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
maymymay386 visualizações
จิตวิทยาการเรียนรู้ por maymymay
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
maymymay266 visualizações
จิตวิทยาการเรียนรู้.Ppt por yuapawan
 จิตวิทยาการเรียนรู้.Ppt  จิตวิทยาการเรียนรู้.Ppt
จิตวิทยาการเรียนรู้.Ppt
yuapawan13.2K visualizações
จิตวิทยาการเรียนรู้ por Natida Boonyadetwong
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
Natida Boonyadetwong9.1K visualizações
จิตวิทยาการเรียนรู้231 por Anny Hotelier
จิตวิทยาการเรียนรู้231จิตวิทยาการเรียนรู้231
จิตวิทยาการเรียนรู้231
Anny Hotelier342 visualizações
จิตวิทยาการเรียนรู้231 por Anny Hotelier
จิตวิทยาการเรียนรู้231จิตวิทยาการเรียนรู้231
จิตวิทยาการเรียนรู้231
Anny Hotelier1.5K visualizações
จิตวิทยาการเรียนรู้231 por Anny Hotelier
จิตวิทยาการเรียนรู้231จิตวิทยาการเรียนรู้231
จิตวิทยาการเรียนรู้231
Anny Hotelier1.3K visualizações
จิตวิทยาการเรียนร้ por kungcomedu
จิตวิทยาการเรียนร้จิตวิทยาการเรียนร้
จิตวิทยาการเรียนร้
kungcomedu314 visualizações
จิตวิทยาการเรียนร้2 por kungcomedu
จิตวิทยาการเรียนร้2จิตวิทยาการเรียนร้2
จิตวิทยาการเรียนร้2
kungcomedu164 visualizações
5cs3gik5rf0t0l42j9hbvpth02 por Mai Amino
5cs3gik5rf0t0l42j9hbvpth025cs3gik5rf0t0l42j9hbvpth02
5cs3gik5rf0t0l42j9hbvpth02
Mai Amino208 visualizações
งานนำเสนอปลาย por maymymay
งานนำเสนอปลายงานนำเสนอปลาย
งานนำเสนอปลาย
maymymay572 visualizações
จิตวิทยาการเรียนร้2 por kungcomedu
จิตวิทยาการเรียนร้2จิตวิทยาการเรียนร้2
จิตวิทยาการเรียนร้2
kungcomedu1K visualizações
จิตวิทยาการเรียนรู้ por foonfriendly
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
foonfriendly284 visualizações
จิตวิทยาการเรียนรู้ por foonfriendly
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
foonfriendly458 visualizações

จิตวิทยาการเรียนรู้

  • 1. จิตวิทยาการเรียนรู้ จัดทาโดย นิสิตหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตวิชาชีพครู รุ่นที่ 2 ปีการศึกษา 2/2558 ห้องที่ 5 รุ่นที่ 2 อาจารย์ที่ปรึกษา รศ.มัณฑรา ธรรมบุศย์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
  • 2. การเรียนรู้ เป็นกระบวนการที่มีความสาคัญและจาเป็นในการดารงชีวิต สิ่งมีชีวิตไม่ว่ามนุษย์หรือสัตว์เริ่มเรียนรู้ตั้งแต่แรกเกิดจนตาย สาหรับมนุษย์ การเรียนรู้เป็นสิ่งที่ช่วยพัฒนาให้มนุษย์แตกต่างไปจากสัตว์โลก อื่น ๆ ดังพระ ราชนิพนธ์บทความของสมเด็จพระเทพรัตน์ราชสุดา ฯ ที่ว่า "สิ่งที่ทาให้ คนเราแตกต่างจากสัตว์อื่น ๆ ก็เพราะว่า คนย่อมมีปัญญา ที่จะนึกคิดและ ปฏิบัติสิ่งดีมีประโยชน์และถูกต้องได้ "
  • 3. คิมเบิล ( Kimble , 1964 ) "การเรียนรู้ เป็นการเปลี่ยนแปลงค่อนข้างถาวรใน พฤติกรรม อันเป็นผลมาจากการฝึกที่ได้รับการเสริมแรง" ฮิลการ์ด และ เบาเวอร์ (Hilgard & Bower, 1981) "การเรียนรู้ เป็นกระบวนการ เปลี่ยนแปลงพฤติกรรม อันเป็นผลมาจากประสบการณ์และการฝึก ทั้งนี้ไม่รวมถึงการ เปลี่ยนแปลงของพฤติกรรมที่เกิดจากการตอบสนองตามสัญชาตญาณ ฤทธิ์ของยา หรือ สารเคมี หรือปฏิกิริยาสะท้อนตามธรรมชาติของมนุษย์"
  • 4. คอนบาค ( Cronbach ) "การเรียนรู้ เป็นการแสดงให้เห็นถึงพฤติกรรม ที่มีการเปลี่ยนแปลง อันเป็นผลเนื่องมาจากประสบการณ์ที่แต่ละบุคคล ประสบมา " พจนานุกรมของเวบสเตอร์ (Webster 's Third New International Dictionary) "การเรียนรู้ คือ กระบวนการเพิ่มพูนและปรุงแต่งระบบความรู้ ทักษะ นิสัย หรือการแสดงออกต่างๆ อันมีผลมาจากสิ่งกระตุ้นอินทรีย์โดย ผ่านประสบการณ์ การปฏิบัติ หรือการฝึกฝน"
  • 5. จะเห็นว่าจากคาจากัดความที่กล่าวมาทั้งหมด สรุปได้ว่า การเรียนรู้ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมอย่างถาวรของบุคคลอันเป็นผลมาจากประสบการณ์ใน อดีต ทั้งจากการฝึกฝนและการที่มนุษย์ได้มีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมรอบตัว และมี ปริมาณของความรู้ที่เพิ่มขึ้น โดยการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมดังกล่าวนั้นไม่ได้ เกิดขึ้น จากการกินยา ความเหน็ดเหนื่อย หรือเป็นผลเนื่องมาจากวุฒิภาวะ
  • 6. บลูม และคณะ (Bloom and Others ) มุ่งพัฒนาผู้เรียนใน 3 ด้าน ดังนี้ 1. ด้านพุทธิพิสัย (Cognitive Domain) คือ ผลของการเรียนรู้ที่เป็นความสามารถทาง สมอง ครอบคลุมพฤติกรรมประเภท ความจา ความเข้าใจ การนาไปใช้การวิเคราะห์ การ สังเคราะห์และประเมินผล 2. ด้านเจตพิสัย (Affective Domain ) คือ ผลของการเรียนรู้ที่เปลี่ยนแปลงด้าน ความรู้สึก ครอบคลุมพฤติกรรมประเภท ความรู้สึก ความสนใจ ทัศนคติ การประเมินค่าและ ค่านิยม 3. ด้านทักษะพิสัย (Psychomotor Domain) คือ ผลของการเรียนรู้ที่เป็นความสามารถ ด้านการปฏิบัติ ครอบคลุมพฤติกรรมประเภท การเคลื่อนไหว การกระทา การปฏิบัติงาน การมี ทักษะและความชานาญองค์ประกอบสาคัญของการเรียนรู้
  • 7. ดอลลาร์ด และมิลเลอร์ (Dallard and Miller) เสนอว่าการเรียนรู้ มีองค์ประกอบการเรียนรู้ สาคัญ 4 ประการ คือ 1.แรงขับ (Drive) เป็นความต้องการที่เกิดขึ้นภายในตัวบุคคล เป็นความพร้อมที่จะเรียนรู้ ของบุคคลทั้งสมอง ระบบประสาทสัมผัสและกล้ามเนื้อ แรงขับและความพร้อมเหล่านี้จะก่อให้เกิด ปฏิกิริยา หรือพฤติกรรมที่จะชักนาไปสู่การเรียนรู้ต่อไป องค์ประกอบการเรียนรู้
  • 8. 2. สิ่งเร้า (Stimulus) เป็นสิ่งแวดล้อมที่เกิดขึ้นในสถานการณ์ต่างๆ ซึ่งเป็น ตัวการที่ทาให้บุคคลมีปฏิกิริยา หรือพฤติกรรมตอบสนองออกมา ในสภาพการเรียน การสอน สิ่งเร้าจะหมายถึงครู กิจกรรมการสอน และอุปกรณ์การสอนต่างๆ ที่ครู นามาใช้ 3. การตอบสนอง (Response) เป็นปฏิกิริยา หรือพฤติกรรมต่างๆ ที่แสดง ออกมาเมื่อบุคคลได้รับการกระตุ้นจากสิ่งเร้า ทั้งส่วนที่สังเกตเห็นได้และส่วนที่ไม่ สามารถสังเกตเห็นได้เช่น การเคลื่อนไหว ท่าทาง คาพูด การคิด การรับรู้ ความสนใจ และความรู้สึก เป็นต้น องค์ประกอบการเรียนรู้(ต่อ)
  • 9. 4. การเสริมแรง (Reinforcement) เป็นการให้สิ่งที่มีอิทธิพลต่อบุคคลอันมีผล ในการเพิ่มพลังให้เกิดการเชื่อมโยง ระหว่างสิ่งเร้ากับการตอบสนองเพิ่มขึ้น การ เสริมแรงมีทั้งทางบวกและทางลบ ซึ่งมีผลต่อการเรียนรู้ของบุคคลเป็นอันมาก องค์ประกอบการเรียนรู้(ต่อ)
  • 10. การเรียนรู้มีลักษณะสาคัญดังต่อไปนี้ การเรียนรู้เป็นกระบวนการ การเกิดการ เรียนรู้ของบุคคลจะมีกระบวนการของการเรียนรู้ จากการไม่รู้ไปสู่การเรียนรู้ 5 ขั้นตอน คือ 1. มีสิ่งเร้ามากระตุ้นบุคคล 2. บุคคลสัมผัสสิ่งเร้าด้วยประสาททั้ง 5 3. บุคคลแปลความหมายหรือรับรู้สิ่งเร้า 4. บุคคลมีปฏิกิริยาตอบสนองอย่างใด อย่างหนึ่งต่อสิ่งเร้าตามที่รับรู้ 5. บุคคลประเมินผลที่เกิดจากการ ตอบสนองต่อสิ่งเร้า
  • 11. การถ่ายโยงการเรียนรู้เกิดขึ้นได้2 ลักษณะ คือ 1. การถ่ายโยงการเรียนรู้ทางบวก (Positive Transfer) คือ การถ่ายโยงการเรียนรู้ชนิดที่ผลของ การเรียนรู้งานหนึ่งช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้อีกงานหนึ่งได้เร็วขึ้น ง่ายขึ้น หรือดีขึ้น การถ่ายโยงการ เรียนรู้ทางบวกมักเกิดจาก - เมื่องานหนึ่ง มีความคล้ายคลึงกับอีกงานหนึ่ง และผู้เรียนเกิดการเรียนรู้งานแรกอย่างแจ่มแจ้ง แล้ว - เมื่อผู้เรียนมองเห็นความสัมพันธ์ระหว่างงานหนึ่งกับอีกงานหนึ่ง - เมื่อผู้เรียนมีความตั้งใจที่จะนาผลการเรียนรู้จากงานหนึ่งไปใช้ให้เป็นประโยชน์กับการเรียนรู้อีก งานหนึ่ง และสามารถจาวิธีเรียนหรือผลของการเรียนรู้งานแรกได้อย่างแม่นยา เมื่อผู้เรียนเป็นผู้ที่มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์โดยชอบที่จะนาความรู้ต่างๆ ที่เคยเรียนรู้มาก่อนมา ลองคิดทดลองจนเกิดความรู้ใหม่ๆ
  • 12. 2. การถ่ายโยงการเรียนรู้ทางลบ (Negative Transfer) คือการถ่ายโยงการเรียนรู้ชนิดที่ผล การเรียนรู้งานหนึ่งไปขัดขวางทาให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้อีกงานหนึ่งได้ช้าลง หรือยากขึ้นและ ไม่ได้ดีเท่าที่ควร การถ่ายโยงการเรียนรู้ทางลบ อาจเกิดขึ้นได้2 แบบ คือ 1. แบบตามรบกวน (Proactive Inhibition) ผลของการเรียนรู้งานแรกไปขัดขวางการ เรียนรู้งานที่ 2 2. แบบย้อนรบกวน (Retroactive Inhibition) ผลการเรียนรู้งานที่ 2 ทาให้การเรียนรู้งาน แรกน้อยลงการเกิดการเรียนรู้ทางลบมักเกิดจาก
  • 13. ทฤษฎีของการเรียนรู้มีหลายทฤษฎีแต่จะขอนามากล่าวเพียง 3 ทฤษฎี คือ 1. ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยม 2. ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มปัญญานิยม 3. ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มมนุษยนิยม
  • 14. การเรียนรู้( Learning Ecology) การเรียนรู้ คือ กระบวนการที่ทาให้มนุษย์เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมทาง ความคิด มนุษย์เราสามารถเรียนรู้ได้จาก การได้ยิน การสัมผัส การอ่าน การ เห็น รวมถึงผ่านการใช้สื่อ อุปกรณ์ เครื่องมือ เป็นส่วนส่งผ่านทฤษฎีการ เรียนรู้ ( Learning theory)
  • 15. กล่าวถึงการเชื่อมโยงระหว่างสิ่งเร้า (Stimulus - S) กับการตอบสนอง (Response - R) โดยมีหลักเบื้องต้นว่า “การเรียนรู้เกิดจากการเชื่อมโยงระหว่างสิ่งเร้ากับการตอบสนอง โดยที่การตอบสนองมักจะออกมาเป็นรูปแบบต่าง ๆ หลายรูปแบบ จนกว่าจะพบ รูปแบบที่ดี หรือเหมาะสมที่สุด เราเรียกการตอบสนองเช่นนี้ว่าการลองถูกลองผิด (Trial and error)
  • 16. กฎการเรียนรู้ 1. กฎแห่งความพร้อม (Law of Readiness) การเรียนรู้จะเกิดขึ้นได้ดี ถ้าผู้เรียนมีความ พร้อมทั้งทางร่างกายและจิตใจ กฎแห่งความพร้อม กฎข้อนี้มีใจความสรุปว่า - เมื่อบุคคลพร้อมที่จะทาแล้วได้ทา เขาย่อมเกิดความพอใจ - เมื่อบุคคลพร้อมที่จะทาแล้วไม่ได้ทา เขาย่อมเกิดความไม่พอใจ - เมื่อบุคคลไม่พร้อมที่จะทาแต่เขาต้องทา เขาย่อมเกิดความไม่พอใจ
  • 17. 2. กฎแห่งการฝึกหัด (Law of Exercise) การฝึกหัดหรือกระทาบ่อย ๆ ด้วยความเข้าใจจะทาให้การ เรียนรู้นั้นคงทนถาวร ถ้าไม่ได้กระทาซ้าบ่อย ๆ การเรียนรู้นั้นจะไม่คงทนถาวร และในที่สุดอาจ ลืมได้ กฎแห่งการฝึกหัด แบ่งเป็น 2 กฎย่อย คือ - กฎแห่งการได้ใช้(Law of Use) มีใจความว่าพันธะหรือตัวเชื่อมระหว่างสิ่งเร้าและการ ตอบสนองจะเข้มแข็งขึ้นเมื่อได้ทาบ่อย ๆ - กฎแห่งการไม่ได้ใช้(Law of Disuse) มีใจความว่าพันธะหรือตัวเชื่อมระหว่าง สิ่งเร้า และการตอบสนองจะอ่อนกาลังลง เมื่อไม่ได้กระทาอย่างต่อเนื่องมีการขาดตอนหรือ ไม่ได้ทา บ่อย ๆ
  • 18. 3. กฎแห่งผลที่พึงพอใจ (Law of Effect) เมื่อบุคคลได้รับผลที่พึงพอใจย่อม อยากจะเรียนรู้ต่อไป แต่ถ้าได้รับผลที่ไม่พึงพอใจ จะไม่อยากเรียนรู้ ดังนั้นการได้รับ ผลที่พึงพอใจ กฎข้อนี้นับว่าเป็นกฎที่สาคัญและได้รับความสนใจจาก ธอร์นไดด์ มาก ที่สุด กฎนี้มีใจความว่า พันธะหรือตัวเชื่อมระหว่างสิ่งเร้าและการตอบสนองจะเข้มแข็ง หรืออ่อนกาลัง ย่อมขึ้นอยู่กับผลต่อเนื่องหลังจากที่ได้ตอบสนองไปแล้วรางวัล จะมีผล ให้พันธะสิ่งเร้าและการตอบสนองเข้มแข็งขึ้น ส่วนการทาโทษนั้นจะไม่มีผลใด ๆ ต่อ ความเข้มแข็งหรือการอ่อนกาลังของพันธะระหว่างสิ่งเร้าและการตอบสนอง
  • 19. 1. การเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ลองผิดลองถูกด้วยตนเองบาง จะเป็นการช่วยให้ ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ในการแก้ไขปัญหา โดยสามารถจดจาผลจากการเรียนรู้ได้ดี รวมทั้งเกิดความภาคภูมิใจในการทาสิ่งต่าง ๆ ด้วยตนเอง 2. การสารวจความพร้อมหรือการสร้างความพร้อมทางการเรียนให้แก่ผู้เรียน เป็นสิ่งจาเป็นที่ต้องดาเนินการก่อนการเรียนเสมอ
  • 20. 3. หากต้องการให้ผู้เรียนเกิดทักษะในเรื่องใดแล้ว ต้องให้ผู้เรียนมี ความรู้และความเข้าใจในเรื่องนั้น ๆ อย่างถ่องแท้และให้ผู้เรียนฝึกฝนอย่าง ต่อเนื่องและสม่าเสมอ 4. เมื่อผู้เรียนเกิดการเรียนรู้แล้ว ควรให้ผู้เรียนฝึกนาการเรียนรู้นั้นไปใช้ 5. การให้ผู้เรียนได้รับผลที่น่าพึงพอใจ จะช่วยให้การเรียนการสอน ประสบความสาเร็จ
  • 21. หลักการเรียนรู้ของทฤษฎี ทฤษฎีนี้ชื่อว่าการวางเงื่อนไขแบบอาการกระทาดังนั้นจึงเน้นการกระทาของผู้รับ การทดลอง หรือผู้ที่เรียนรู้มากกว่าสิ่งเร้าที่ผู้ทดลองหรือผู้สอนกาหนดกล่าวคือเมื่อ ต้องการให้อินทรีย์เกิดการเรียนรู้จากสิ่งเร้าใดสิ่งเร้าหนึ่งเราจะปล่อยให้ผู้เรียนรู้เลือก แสดงพฤติกรรมเองโดยเราไม่บังคับหรือไม่บอกแนวทางการเรียนรู้แต่ครั้นเมื่อผู้เรียนรู้ แสดงพฤติกรรม การเรียนรู้เองแล้ว เราจึง “เสริมแรง”พฤติกรรมนั้น ๆ ทันทีเพื่อให้ เรียนรู้ว่าพฤติกรรมที่เขาแสดงนั้นเป็นพฤติกรรมการเรียนรู้ที่ถูกต้องหรือเป็นการ แก้ปัญหาที่ถูกต้องนั่นเอง
  • 22. ขั้นที่ 1 เตรียมการทดลอง ทาให้หนูหิวมาก ๆ เพื่อสร้างแรงขับ (Drive) ให้เกิดขึ้นซึ่งจะเป็นแนวทางที่จะผลักดันให้ แสดงพฤติกรรมการเรียนรู้ได้เร็วขึ้นอย่างไรก็ตามก็ต้องให้หนูคุ้นเคยกับกล่องของสกินเนอร์ ขั้นที่ 2 ขั้นการทดลอง เมื่อหนูหิวมาก ๆ สกินเนอร์ปล่อยหนูเข้าไปในกล่องหนูจะวิ่งเปะปะและแสดงอาการต่าง ๆ เช่น การวิ่งไปรอบ ๆ กล่องการกัดแทะสิ่งต่าง ๆ ที่อยู่ในกล่อง ซึ่งหนูอาจจะไปแตะลงบน คานที่มีอาหารซ่อนไว้หนูก็จะได้อาหารกินจนอิ่มสกินเนอร์สังเกตเห็นว่า ทุกครั้งที่หนูหิวจะ ใช้เท้าหน้ากดลงไปบนคานเสมอ ขั้นที่ 3 ขั้นทดสอบการเรียนรู้ สกินเนอร์จะจับหนูเข้าไปในกล่องอีก หนูจะกดคานทันทีแสดงว่าหนูเกิดการเรียนรู้แล้วว่า การกดคานจะทาให้ได้กินอาหารสรุปจากการทดลองนี้แสดงว่าการเรียนรู้ที่ดีจะต้องมีการ เสริมแรง
  • 23. การจูงใจ(Motivation)คือการช่วยทาให้เกิดพฤติกรรมการเรียนรู้ขึ้นหรือพูดง่าย ๆ คือสิ่งล่อให้เกิดพฤติกรรมจึงต้องใช้ก่อนที่จะเกิดพฤติกรรมเช่นผงเนื้อบดในการ ทดลองของพาฟลอฟ เป็นต้น การเสริมแรง (Reinforcement) คือ การทาให้พฤติกรรมการเรียนรู้ที่เกิดขึ้นแล้ว มีคงทนถาวรต่อไปเรื่อย ๆ เช่น ข้าวเปลือกในการทดลองของ สกินเนอร์ เป็น ต้น จึงต้องใช้หลังจากเกิดพฤติกรรมการเรียนรู้นั้นแล้ว
  • 24. 1)การเสริมแรงทางบวก (Positive reinforcement) คือการที่อินทรีย์ได้รับสิ่งเร้า แล้วเกิดความพอใจ เช่นรางวัล คาชมเชย ฯลฯ 2) การเกิดแรงทางลบ (Negative reinforcement) คือการที่อินทรีย์ถูกนาสิ่งที่ไม่ พอใจออกไป เช่นการนาเสียงดังหนวกหู เครื่องพันธนาการต่าง ๆ ฯลฯ ออกไปจาก อินทรีย์แล้วเกิดความพอใจ การลงโทษ (Punishment) สกินเนอร์กล่าวว่า การลงโทษเป็นการหยุดยั้งพฤติกรรมเพียงชั่วคราว แต่ไม่ทา ให้เกิดการเรียนรู้ ในทฤษฎีของสกินเนอร์จึงไม่นิยมใช้การลงโทษใช้เพียงแต่การ เพิกเฉย (Ignor-ance) เมื่อเกิดพฤติกรรมที่ไม่พึงปรารถนา
  • 25. การลงโทษ (Punishment) สกินเนอร์กล่าวว่า การลงโทษเป็นการหยุดยั้งพฤติกรรมเพียงชั่วคราว แต่ไม่ทาให้เกิดการ เรียนรู้ ในทฤษฎีของสกินเนอร์จึงไม่นิยมใช้การลงโทษใช้เพียงแต่การเพิกเฉย (Ignor-ance) เมื่อ เกิดพฤติกรรมที่ไม่พึงปรารถนา การลงโทษแบ่งออกเป็น 2 ประการคือ 1)การลงโทษที่เกิดจากการได้รับสิ่งที่ไม่พอใจ เช่น คาตาหนิ ฯลฯ 2)การลงโทษที่เกิดจากการนาสิ่งที่พอใจออกไปจากอินทรีย์เช่น การนาเกรด เอ.ออกไป การ เอาขนมออกไปจากปากเด็ก ฯลฯ
  • 26. กฎการเรียนรู้ของสกินเนอร์คือกฎการเสริมแรงนั่นเองสิ่งที่กล่าวถึงในกฎการเสริมแรง คือ 1 ตารางกาหนดการเสริมแรง (Schedules of reinforcement) เป็นการใช้กฎเกณฑ์บางอย่าง เช่น เวลาหรือพฤติกรรม เป็นตัวกาหนดในการเสริมแรง 2 อัตราการตอบสนอง (Response rate)เป็นการตอบสนองที่เกิดจากการเสริมแรงต่าง ๆ ซึ่ง เกิดขึ้นมากน้อย นานคงทนถาวรเท่าใด ย่อมแล้วแต่ตารางการเสริมแรงนั้น ๆ เช่น ตาราง กาหนดการเสริมแรงบางอย่างทาให้มีอัตราการตอบสนองมาก, บางอย่างมีอัตราการตอบสนอง น้อย เป็นต้น
  • 27. ทฤษฎีการวางเงื่อนไขของสกินเนอร์สามารถนาไปใช้ในการจัดการศึกษาและการเรียนการสอนได้ ดังนี้ 1. ใช้เสริมแรงให้ผู้เรียนเกิดพฤติกรรมความกล้าแสดงออก เช่น กล่าว ยกย่องชมเชย เมื่อ ผู้เรียนกล้าตอบคาถาม เป็นการเสริมแรงโดยใช้คาพูด จะช่วยปลูกฝังนิสัยที่ดีแก่ผู้เรียนได้โดยการ เสริมแรงต้องทาบ่อยๆเสมอๆ จนผู้เรียนติดเป็นนิสัยและมีพฤติกรรมที่ดีติดตัวตลอดไป 2. ใช้ในการแก้ปัญหาพฤติกรรมเด็กที่ขี้อายขาดความมั่นใจ ไม่ค่อยชอบเข้าสังคมโดย โดยให้ความ สนใจ พูดคุยด้วย เมื่อผู้เรียนเข้าร่วมกิจกรรมในชั้นเรียน แต่หากผู้เรียนไม่เข้ากลุ่มหรือไม่ร่วมกิจกรรมกับเพื่อน ในชั้นเรียน ครูจะไม่สนใจไม่พูดคุยด้วย ครูทาเช่นนี้ไปเรื่อยๆ พร้อมกับสังเกตพฤติกรรมของผู้เรียน ช่วง ระยะเวลาหนึ่ง ผู้เรียนมีพฤติกรรมดีขึ้นตามที่ผู้สอนต้องการสามารถแก้ไขพฤติกรรมการขาดความมั่นใจไม่ ชอบเข้าสังคมของผู้เรียนได้
  • 28. พาฟลอฟเชื่อว่า การเรียนรู้ของสิ่งมีชีวิตเกิดจากการวางเงื่อนไข (Conditioning) กล่าวคือ การ ตอบสนองหรือการเรียนรู้ที่เกิดขึ้นต่อสิ่งเร้านั้น ๆ ต้องมีเงื่อนไขหรือมีการสร้างสถานการณ์ให้เกิดขึ้น ซึ่งใน ธรรมชาติหรือในชีวิตประจาวันจะไม่ตอบสนองเช่นนั้นเลย เช่น สุนัขได้ยินเสียงกระดิ่งน้าลายจะไหล หรือคน ได้ยินเสียงไซเรนจะคิดถึงไฟไหม้เป็นต้น เสียงกระดิ่งหรือเสียงไซเรนเป็นสิ่งเร้า ที่ต้องการให้เกิดการเรียนรู้ จากการวางเงื่อนไข ดังนั้นอาจกล่าวโดยสรุปได้ว่า การเรียนรู้ของสิ่งมีชีวิตในแง่ของพาฟลอฟ คือการวางเงื่อนไขแบบ คลาสสิก ซึ่งหมายถึงการใช้สิ่งเร้า 2 สิ่งคู่กัน คือสิ่งเร้าที่วางเงื่อนไข และสิ่งเร้าที่ไม่ได้วางเงื่อนไขเพื่อให้เกิด การเรียนรู้ คือการตอนสนองที่เกิดจากการวางเงื่อนไข ซึ่งถ้าสิ่งมีชีวิตเรียนรู้จริงแล้วจะมีการตอบสนองต่อสิ่ง เร้า 2สิ่ง ในลักษณะเดียวกัน และไม่ว่าจะตัดสิ่งเร้าชนิดใดชนิดหนึ่งออก การตอบสนองก็ยังคงเป็นเช่นเดิม เพราะว่าผู้เรียนรู้สามารถเชื่อมยางระหว่างสิ่งเร้าที่วางเงื่อนไขกับสิ่งเร้าที่ไม่วางเงื่อนไขกับการตอบสนองได้ นั่นเอง
  • 30. สุนัขที่เขาเลี้ยงมักมีอาการน้าลายไหลเกิดขึ้นทุกครั้งที่เขา ได้นาเอาผงเนื้อไปให้กินและบางครั้งที่เขาเดินมา สุนัขได้ยินก็มี อาการ น้าลายไหล ทั้ง ๆ ที่ยังไม่ได้อาหาร ทาให้เขาคิดว่าอาการน้าลาย ไหล ของสุนัขนั้นน่าจะเป็นพฤติกรรมการเรียนรู้อย่างหนึ่งที่ต่อเนื่องกัน ระหว่างผงเนื้อบด กับเสียงคนเดิน และเนื่องจากพาลอฟเป็นนัก สรีรวิทยา เขาจึงเห็นว่าอาการน้าลายไหลซึ่งเป็นปฏิกิริยาสะท้อนที่ เกิดจากการทางานของระบบประสารทอัตโนมัติ นั้นก็เกิดเป็น ปฏิกิริยาการเรียนรู้อย่างหนึ่งได้
  • 31. 1. ถ้าให้สิ่งเร้าที่มีเงื่อนไขควบคู่กับสิ่งเร้าที่ไม่มีเงื่อนไข ในช่วงระยะเวลาหนึ่งสิ่งเร้าที่มีเงื่อนไขจะ แสดงผลเหมือนกับสิ่งเร้าที่ไม่มีเงื่อนไข 2. การวางเงื่อนไขจะเกิดผลดี ก็ต่อเมื่อผู้ทดลองเร้าผู้ถูกทดลองด้วยสิ่งเร้าไม่มีเงื่อนไขเสียก่อน แล้วจึง ตามด้วยสิ่งเร้าที่มีเงื่อนไข ระยะเวลาที่จะเร้าสิ่งเร้าไม่มีเงื่อนไขและสิ่งเร้าที่มีเงื่อนไขนั้น จะต้องไม่มากเกินไป และไม่เร็วเกินไป แต่ต้องอยู่ในจังหวะเวลาที่เหมาะสมเพื่อให้ผู้ถูกทดลองมีโอกาสได้สัมพันธ์เหตุการณ์ทั้งสอง อย่างเข้าด้วยกันได้เป็นอย่างดี (ไม่ใช่เคาะส้อมก่อนแล้วทิ้งระยะไว้1 ชั่วโมง จึงจะให้อาหาร การกระทาห่าง เกินไปจะไม่ได้ผลตามที่ต้องการ ทั้งนี้เพราะสุนัขหรือผู้ถูกทดลองไม่มีโอกาสได้สัมพันธ์เหตุการณ์ทั้งสองนั้น เข้าด้วยกัน)
  • 32. 3. คนและสัตว์ไม่จาเป็นต้องทาปฏิกิริยาการตอบสนองต่อสิ่งเร้าแท้ (สิ่งเร้าที่ไม่ได้วางเงื่อนไข) อย่าง เดียวกันตลอดไปเหมือนกันหมด แต่ถ้าได้มีการวางเงื่อนไขติดต่อกันไปเป็นเวลานานพอสมควรคนและสัตว์ ย่อมทาปฏิกิริยาการตอบสนองต่อสิ่งเร้าเทียม (สิ่งเร้าที่ได้วางเงื่อนไข) เช่นเดียวกันกับการตอบสนองต่อสิ่งเร้า แท้ถ้าเราพิจารณาถึงพฤติกรรมต่างๆ ของคนเราที่แสดงออกมาแล้วจะพบว่า มีอยู่เป็นอันมากที่เป็นไปตาม หลักเกณฑ์ของการวางเงื่อนไข ตัวอย่างเช่น ความกลัว ไม่ใช่เป็นสิ่งที่ติดตัวมาแต่กาเนิด การที่คนเรากลัว อะไรๆ นั้นเป็นเพราะคนเราสร้างความกลัวขึ้นมาจากการที่ได้ไปวางเงื่อนไขกับสิ่งหนึ่งสิ่งใดเข้า
  • 33. 4. ในการวางเงื่อนไขกับอะไรนั้น คนเราต้องพยายามจับหลักให้ได้ว่า อะไรเป็นเงื่อนไขกับอะไร พฤติกรรมของอินทรีย์ที่เกิดจากการวางเงื่อนไขแบบนี้นั้น เป็นพฤติกรรมที่เรามองเห็นสาเหตุได้ว่าอะไรเป็น ตัวการหรือตัวเร้าให้พฤติกรรมแสดงออกมาในรูปนั้นๆ อย่างไรก็ตามพฤติกรรมของคนเรานั้นซับซ้อนมาก จึงไม่เป็นที่มองเห็น หรือแยกแยะออกให้เห็นชัด แจ้งได้โดยง่าย ในการแสดงพฤติกรรมแต่ละอย่างของคนเราส่วนมากนั้น มักจะเกิดจากสิ่งเร้าประกอบ (หมายถึงสิ่งเร้าหลายๆอย่างๆ) แทนที่จะเป็นสิ่งเร้าเดี่ยว (หมายถึงสิ่งเร้าอันเดียว) ในกรณีเช่นนี้ จึงเป็นการยาก จะบอกว่า สิ่งเร้าอันไหนที่เป็นตัวเร้าที่แท้ อันไหนที่เป็นตัวเร้าประกอบ
  • 34. 5. การวางเงื่อนไข หมายถึงการวางเงื่อนไขที่มีระดับสูงขึ้น หรือการวางเงื่อนไขซ้อนจากการวาง เงื่อนไขต่อเป็นขั้นที่สอง ที่สาม และที่สี่เรื่อยๆไป ผลก็คือ “ยิ่งมีการวางเงื่อนไขซ้อนการวางเงื่อนไขมากครั้ง ขึ้นเป็นลาดับ การตอนสนองก็จะมีกาลังอ่อนลงด้วยตามลาดับ” พฤติกรรมของคนเรานั้นซับซ้อน ถ้ามีการวางเงื่อนไขซ้อนการวางเงื่อนไขกันเป็นลาดับ การเรียนรู้ ของคนเราที่เกิดจากการวางเงื่อนไขซ้อนการวางเงื่อนไข การตอนสนองของร่างกายจะหย่อนความเข้มข้นลงไป นั้นหมายความว่า การเรียนรู้จะหย่อนสมรรถภาพตามลงไปด้วย
  • 35. 1. การจัดกระบวนการเรียนการสอนแบบการใช้บทเรียนโปรแกรม หรือบทเรียนสาเร็จรูป เป็นการทา ให้ผู้เรียนเรียนรู้ด้วยตนเอง โดยมีคาตอบที่ถูกต้องไว้เป็นการเสริมแรง สามารถเสริมแรงได้ทันทีเมื่อผู้เรียน ตอบคาถามได้ถูกต้อง ทาให้ผู้เรียนเกิดความภาคภูมิใจและอยากเรียนรู้มากขึ้น 2. การใช้พฤติกรรมบาบัด เช่น การสอนให้เด็กขยันทาการบ้าน โดยเขียนรายชื่อผู้ส่งการบ้านไว้บน บอร์ดให้บุคคลอื่นมองเห็นเพื่อเป็นการยกย่องชมเชย การให้ดาวเมื่อผู้เรียนทางานเสร็จทันเวลา หรือส่งการบ้าน ตาม เวลา เมื่อได้ดาวครบตามจานวน มีการมอบรางวัล กระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดความกระตือรือร้น เป็นต้น
  • 36. 3. การใช้กฎการเรียนรู้ทั้ง 2 กฎ คือ การเสริมแรงทันทีทันใด เช่น เมื่อผู้เรียนตอบคาถามถูกให้กล่าว ชมยกย่อง ชมเชย ให้รางวัล ในทันที และการเสริมแรงเป็นครั้งคราว เช่นการสะสมแต้ม เพื่อแลกของรางวัล หรือ ให้ รางวัลสาหรับผู้ที่ตั้งใจเรียน ส่งงานสม่าเสมอตลอดระยะเวลา 1 เดือน เป็นต้น
  • 37. ทฤษฎีการเรียนรู้ในกลุ่มพุทธิปัญญานิยมนี้ให้ความสาคัญกับความสามารถในการตั้งวัตถุประสงค์ การวางแผน ความตั้งใจ ความคิด ความจา การคัดเลือก การให้ความหมายกับสิ่งเร้าต่าง ๆ ที่ได้จาก ประสบการณ์ ซึ่งเมื่อเปรียบเทียบกับกลุ่มพฤติกรรมนิยมแล้วจะเห็นว่ามีความแตกต่างกัน กลุ่มพฤติกรรมนิยม : อินทรีย์สร้างความสัมพันธ์เชื่อมโยงระหว่างสิ่งเร้าและการตอบสนองอัน ก่อให้เกิดความพึงพอใจ
  • 38. กลุ่มพุทธิปัญญานิยม : อินทรีย์ต้องนาสิ่งเร้ามาคิด วิเคราะห์ และให้ ความหมายได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม
  • 39. นักจิตวิทยาที่อยู่ในกลุ่มนี้ เช่น 1. ทฤษฎีพัฒนาการเชาว์ปัญญาของเพียเจต์ 2. ทฤษฏีการเรียนรู้ในพื้นที่รอยต่อพัฒนาการของไวก็อตสกี้ 3. ทฤษฎีการเรียนรู้โดยการค้นพบของบรุนเนอร์
  • 40. ทฤษฏีการเรียนรู้พุทธิปัญญานิยม เน้นความสาคัญของผู้เรียนจะต้องเป็นผู้ลงมือกระทา (Active) การ เปลี่ยนแปลงทางพุทธิปัญญาจะเกิดขึ้นก็ต่อเมื่อผู้เรียนอยู่ในสภาพไม่สมดุลทางด้านพุทธิปัญญา (Disequilibration) เนื่องจากได้รับข้อมูลข่าวสารใหม่ ผู้เรียนจะเกิดการปรับและควบคุมพฤติกรรมของตนเอง เพื่อจะทาให้เกิดกระบวนการพัฒนาสมดุล (Equilibration) ขึ้น นอกจากนี้เพียเจต์และวิก๊อทสกี้ต่างก็เห็นว่าการ เรียนรู้มีคุณลักษณะทางสังคม คือ เกิดขึ้นเพราะมีการปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม ในเรื่องนี้มีการเสนอให้ใช้การ เรียนรู้แบบร่วมมือ (Cooperative Learning) ในห้องเรียน
  • 41. เพียเจต์ (Piaget) ได้ศึกษาเกี่ยวกับพัฒนาการทางด้านความคิดของเด็กว่ามีขั้นตอนหรือกระบวนการ อย่างไร ทฤษฎีของเพียเจต์ตั้งอยู่บนรากฐานของทั้งองค์ประกอบที่เป็นพันธุกรรม และสิ่งแวดล้อม เขาอธิบายว่า การเรียนรู้ของเด็กเป็นไปตามพัฒนาการทางสติปัญญา ซึ่งจะมีพัฒนาการไปตามวัยต่าง ๆ เป็นลาดับขั้น พัฒนาการเป็นสิ่งที่เป็นไปตามธรรมชาติ ไม่ควรที่จะเร่งเด็กให้ข้ามจากพัฒนาการจากขั้นหนึ่งไปสู่อีกขั้นหนึ่ง เพราะจะทาให้เกิดผลเสียแก่เด็ก แต่การจัดประสบการณ์ส่งเสริมพัฒนาการของเด็กในช่วงที่เด็กกาลังจะพัฒนา ไปสู่ขั้นที่สูงกว่า สามารถช่วยให้เด็กพัฒนาไปอย่างรวดเร็ว อย่างไรก็ตาม เพียเจต์เน้นความสาคัญของการเข้าใจ ธรรมชาติและพัฒนาการของเด็กมากกว่าการกระตุ้นเด็กให้มีพัฒนาการเร็วขึ้น เพียเจต์สรุปว่า พัฒนาการของ เด็กสามารถอธิบายได้โดยลาดับระยะพัฒนาทางชีววิทยาที่คงที่ แสดงให้ปรากฏโดยปฏิสัมพันธ์ของเด็กกับ สิ่งแวดล้อม
  • 42. เพียเจท์ได้แบ่งขั้นตอนการพัฒนาชีวิตเป็น 4 ขั้นตอน ดังนี้ ขั้นที่ 1 Sensori-Motor Stage (แรกเกิด – 2 ปี) ขั้นที่ 2 Preoperational Stage (2 – 7 ปี) ขั้นที่ 3 Concrete Operation Stage (7–11 ปี) ขั้นที่ 4 Formal Operational Stage (11–15 ปี)
  • 43. ขั้นนี้เริ่มตั้งแต่แรกเกิดจนถึง 2 ปี พฤติกรรมของเด็กในวัยนี้ขึ้นอยู่กับการเคลื่อนไหวเป็นส่วนใหญ่ เช่น การไขว่คว้า การเคลื่อนไหว การมอง การดู ในวัยนี้เด็กแสดงออกทางด้านร่างกายให้เห็นว่ามีสติปัญญาด้วย การกระทา เด็กสามารถแก้ปัญหาได้ แม้ว่าจะไม่สามารถอธิบายได้ด้วยคาพูด เด็กจะต้องมีโอกาสที่จะปะทะกับ สิ่งแวดล้อมด้วยตนเอง ซึ่งถือว่าเป็นสิ่งจาเป็นสาหรับพัฒนาการด้านสติปัญญาและความคิดในขั้นนี้ มีความคิด ความเข้าใจของเด็กจะก้าวหน้าอย่างรวดเร็ว เช่น สามารถประสานงานระหว่างกล้ามเนื้อมือ และสายตา เด็กใน วัยนี้มักจะทาอะไรซ้าบ่อยๆ เป็นการเลียนแบบ พยายามแก้ปัญหาแบบลองผิดลองถูก เมื่อสิ้นสุดระยะนี้เด็กจะมี การแสดงออกของพฤติกรรมอย่างมีจุดมุ่งหมายและสามารถแก้ปัญหาโดยการเปลี่ยนวิธีการต่าง ๆ เพื่อให้ได้สิ่ง ที่ต้องการแต่กิจกรรมการคิดของเด็กวัยนี้ส่วนใหญ่ยังคงอยู่เฉพาะสิ่งที่สามารถสัมผัสได้เท่านั้น ขั้นที่ 1 Sensori-Motor Stage (แรกเกิด – 2 ปี)
  • 44. ขั้นนี้เริ่มตั้งแต่อายุ 2-7 ปี แบ่งออกเป็นขั้นย่อยอีก 2 ขั้น คือ 1.ขั้นก่อนเกิดสังกัป (Preconceptual Thought) เป็นขั้นพัฒนาการของเด็กอายุ 2-4 ปี เป็นช่วงที่เด็กเริ่ม มีเหตุผลเบื้องต้น สามารถจะโยงความสัมพันธ์ระหว่างเหตุการณ์ 2 เหตุการณ์ หรือมากกว่ามาเป็นเหตุผลเกี่ยว โยงซึ่งกันและกัน แต่เหตุผลของเด็กวัยนี้ยังมีขอบเขตจากัดอยู่ เพราะเด็กยังคงยึดตนเองเป็นศูนย์กลาง คือถือ ความคิดตนเองเป็นใหญ่ และมองไม่เห็นเหตุผลของผู้อื่น ความคิดและเหตุผลของเด็กวัยนี้ จึงไม่ค่อยถูกต้อง ตามความเป็นจริงนัก นอกจากนี้ความเข้าใจต่อสิ่งต่างๆ ยังคงอยู่ในระดับเบื้องต้น เช่น เข้าใจว่าเด็กหญิง 2 คน ชื่อเหมือนกัน จะมีทุกอย่างเหมือนกันหมด แสดงว่าความคิดรวบยอดของเด็กวัยนี้ยังไม่พัฒนาเต็มที่ แต่ พัฒนาการทางภาษาของเด็กเจริญรวดเร็วมาก ขั้นที่ 2 Preoperational Stage (2 – 7 ปี)
  • 45. 2.ขั้นการคิดแบบญาณหยั่งรู้ นึกออกเองโดยไม่ใช้เหตุผล (Intuitive Thought) เป็นขั้นพัฒนาการของ เด็ก อายุ 4-7 ปี ขั้นนี้เด็กจะเกิดความคิดรวบยอดเกี่ยวกับสิ่งต่างๆ รวมตัวดีขึ้น รู้จักแยกประเภทและแยกชิ้นส่วน ของวัตถุ เข้าใจความหมายของจานวนเลข เริ่มมีพัฒนาการเกี่ยวกับการอนุรักษ์ แต่ไม่แจ่มชัดนัก สามารถ แก้ปัญหาเฉพาะหน้าได้โดยไม่คิดเตรียมล่วงหน้าไว้ก่อน รู้จักนาความรู้ในสิ่งหนึ่งไปอธิบายหรือแก้ปัญหาอื่น และสามารถนาเหตุผลทั่วๆ ไปมาสรุปแก้ปัญหา โดยไม่วิเคราะห์อย่างถี่ถ้วนเสียก่อนการคิดหาเหตุผลของเด็ก ยังขึ้นอยู่กับสิ่งที่ตนรับรู้ หรือสัมผัสจากภายนอก ขั้นที่ 2 Preoperational Stage (2 – 7 ปี)
  • 46. ขั้นนี้จะเริ่มจากอายุ 7-11 ปี พัฒนาการทางด้านสติปัญญาและความคิดของเด็กวัยนี้สามารถสร้าง กฎเกณฑ์และตั้งเกณฑ์ในการแบ่งสิ่งแวดล้อมออกเป็นหมวดหมู่ได้เด็กวัยนี้สามารถที่จะเข้าใจเหตุผล รู้จักการ แก้ปัญหาสิ่งต่างๆ ที่เป็นรูปธรรมได้สามารถที่จะเข้าใจเกี่ยวกับเรื่องความคงตัวของสิ่งต่างๆ โดยที่เด็กเข้าใจว่า ของแข็งหรือของเหลวจานวนหนึ่งแม้ว่าจะเปลี่ยนรูปร่างไปก็ยังมีน้าหนัก หรือปริมาตรเท่าเดิม สามารถที่จะ เข้าใจความสัมพันธ์ของส่วนย่อย ส่วนรวม ลักษณะเด่นของเด็กวัยนี้คือ ความสามารถในการคิดย้อนกลับ นอกจากนั้นความสามารถในการจาของเด็กในช่วงนี้มีประสิทธิภาพขึ้น สามารถจัดกลุ่มหรือจัดการได้อย่าง สมบูรณ์ สามารถสนทนากับบุคคลอื่นและเข้าใจความคิดของผู้อื่นได้ดี ขั้นที่ 3 Concrete Operation Stage (7–11 ปี)
  • 47. พัฒนาการทางการรู้คิดของเด็กในช่วงอายุ 6 ปีแรกของชีวิต ซึ่งเพียเจต์ ได้ศึกษาไว้เป็นประสบการณ์ สาคัญที่ เด็กควรได้รับการส่งเสริม มี 6 ขั้น ได้แก่ 1. ขั้นความรู้แตกต่าง (Absolute Differences) เด็กเริ่มรับรู้ในความแตกต่างของสิ่งของที่มองเห็น 2. ขั้นรู้สิ่งตรงกันข้าม (Opposition) ขั้นนี้เด็กรู้ว่าของต่างๆ มีลักษณะตรงกันข้ามเป็น 2 ด้าน เช่น มี- ไม่มี หรือ เล็ก-ใหญ่ 3. ขั้นรู้หลายระดับ (Discrete Degree) เด็กเริ่มรู้จักคิดสิ่งที่เกี่ยวกับลักษณะที่อยู่ตรงกลางระหว่างปลาย สุดสองปลาย เช่น ปานกลาง น้อย 4. ขั้นความเปลี่ยนแปลงต่อเนื่อง (Variation) เด็กสามารถเข้าใจเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงของสิ่งต่างๆ เช่น บอกถึงความเจริญเติบโตของต้นไม้ 5. ขั้นรู้ผลของการกระทา (Function) ในขั้นนี้เด็กจะเข้าใจถึงความสัมพันธ์ของการเปลี่ยนแปลง 6. ขั้นการทดแทนอย่างลงตัว (Exact Compensation) เด็กจะรู้ว่าการกระทาให้ของสิ่งหนึ่ง เปลี่ยนแปลงย่อมมีผลต่ออีกสิ่งหนึ่งอย่างทัดเทียมกัน ภาษาและกระบวนการคิดของเด็กแตกต่างจากผู้ใหญ่ ขั้นที่ 4 Formal Operational Stage (11–15 ปี)
  • 48. 1. นักเรียนที่มีอายุเท่ากันอาจมีขั้นพัฒนาการทางสติปัญญาที่แตกต่างกัน 2. ประสบการณ์ทางกายภาพ (physical experiences) จะเกิดขึ้นเมื่อนักเรียนแต่ละคนได้ ปฏิสัมพันธ์กับวัตถุต่าง ในสภาพแวดล้อมโดยตรง 3. ประสบการณ์ทางตรรกศาสตร์ (Logicomathematical experiences) จะเกิดขึ้นเมื่อ นักเรียนได้พัฒนาโครงสร้างทางสติปัญญาให้ความคิดรวบยอดที่เป็นนามธรรม 4. หลักสูตรที่สร้างขึ้นบนพื้นฐานทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาของผู้เรียน 5. การสอนที่ส่งเสริมพัฒนาการทางสติปัญญาของผู้เรียน 6. ขั้นประเมินผล มีการทดสอบแบบการให้เหตุผลของนักเรียน
  • 49. ไวก็อตสกี้(Vygotsky)เป็นนักจิตวิทยาชาวรัสเซีย เชื้อสายยิว เกิดในปี ค.ศ. 1896 ปีเดียวกันกับเพียเจต์ (Jean Piaget) นักจิตวิทยาชาวสวิส จากการมีประสบการณ์การทางานเป็นนักจิตวิทยาเพียงแค่ 10 ปี ในช่วงเวลา นั้นนักพัฒนาการชาวรัสเซียท่านนี้ได้สร้างความตื่นตัวให้แก่วงการการศึกษาในช่วงปี ค.ศ. 1920 ถึง 1930 อัน เป็นช่วงเดียวกันกับที่เพียเจต์กาลังสร้างทฤษฎีของเขาขึ้นมา ในช่วงบรรยากาศหลังการปฏิวัติสหภาพโซเวียต เป้าหมายของไวก็อตสกี้คือการสร้างแนวคิดทางจิตวิทยาขึ้นมาใหม่ตามแนวทางมาร์กซิสต์ และประยุกต์ใช้ จิตวิทยาโดยเฉพาะในสาขาจิตวิทยาการศึกษา
  • 50. ไวก็อตสกี้ อธิบายว่า การจัดการเรียนรู้จะต้องคานึงถึงระดับพัฒนาการ 2 ระดับ คือ ระดับพัฒนาการที่ เป็นจริง (Actual Development Level) และระดับพัฒนาการที่สามารถจะเป็นไปได้ (Potential Development Level) ระยะห่างระหว่างระดับพัฒนาการที่เป็นจริงและระดับพัฒนาการที่สามารถจะเป็นไปได้ เรียกว่า พื้นที่ รอยต่อพัฒนาการ (Zone of Proximal Development) ซึ่งไวก็อตสกี้เปรียบเทียบการเรียนรู้ Past Learning : Actual Development Level Present Learning : Zone of Proximal Development Future Learning : Potential Development Level
  • 51. การเรียนรู้ที่เกิดขึ้นในพื้นที่รอยต่อพัฒนาการจะเกิดขึ้นได้ต้องอาศัยเครื่องมือหรือสื่อกลาง เช่น ปฏิสัมพันธ์ทางสังคม ภาษา วัฒนธรรม วิธีการเรียนรู้ การชี้แนะและให้ความช่วยเหลือ เป็นต้น จึงทาให้เกิดการ ขยายแนวคิดไปสู่การคิดกลวิธีเสริมต่อการเรียนรู้ การเสริมต่อการเรียนรู้สามารถทาได้หลายประการ เช่น การให้แบบอย่าง การให้ข้อเสนอแนะ การ สะท้อนผลการเรียนรู้ การตรวจสอบความรู้ของผู้เรียนโดยให้ผู้เรียนเล่าสิ่งที่ได้เรียนรู้ การลดความซับซ้อนใน งานหรือกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อให้ผู้เรียนมีความง่ายต่อการทาความเข้าใจ และอื่นๆ ซึ่งการเสริมต่อการเรียนรู้ จะมีประสิทธิภาพได้ ต้องมาจากพื้นฐานความเข้าใจเรื่องพื้นที่รอยต่อพัฒนาการเป็นสาคัญ นับตั้งแต่ระดับ พัฒนาการที่แท้จริงของผู้เรียนอันเป็นจุดเริ่มต้นในการเรียนรู้ ไปจนกระทั่งถึงพัฒนาการในระดับสูงสุดของ ผู้เรียนซึ่งเป็นพัฒนาการที่ผู้เรียนสามารถที่จะเป็นไปได้ จึงจะทาให้ผู้สอนสามารถจัดกระบวนการเรียนรู้ได้ อย่างถูกต้องและวางแผนการสอนได้เหมาะสมกับศักยภาพของผู้เรียน
  • 52. 1. ผู้สอนจะต้องเน้นตัวอย่างและฝึกฝนกระบวนการเรียนรู้ให้ผู้เรียนเห็น 2. การเรียนรู้ทักษะต่างๆจะต้องมีประสิทธิภาพถึงขั้นทาได้และแก้ปัญหาได้จริง 3. ในการเรียนการสอนผู้เรียนจะเป็นผู้มีบทบาทในการเรียนรู้อย่างตื่นตัว 4. ในการจัดการเรียนรู้ผู้สอนจะต้องพยายามสร้างบรรยากาศทางสังคมจริยธรรมให้เกิดขึ้น 5. ผู้เรียนควรมีบทบาทในการเรียนรู้อย่างเต็มที่ 6. ในการเรียนการสอนแบบสร้างความรู้ ผู้สอนจะมีบทบาทเป็นผู้ให้ความร่วมมืออานวยความสะดวก 7. การประเมินควรมีลักษณะที่ยืดหยุ่นในแต่ละบุคคล
  • 53. บรูนเนอร์เชื่อว่า การเรียนรู้จะเกิดขึ้นได้ก็ต่อเมื่อผู้เรียนได้มีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม ซึ่งนาไปสู่การ ค้นพบการแก้ปัญหา ผู้เรียนจะประมวลข้อมูลข่าวสาร จากการมีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม และจะรับรู้สิ่งที่ ตนเองเลือก หรือสิ่งที่ใส่ใจ การเรียนรู้แบบนี้จะช่วยให้เกิดการค้นพบ เนื่องจากผู้เรียนมีความอยากรู้อยากเห็น ซึ่งจะเป็นแรงผลักดันที่ทาให้สารวจสิ่งแวดล้อม และทาให้เกิดการเรียนรู้โดยการค้นพบ โดยมีแนวคิดที่เป็น พื้นฐาน ดังนี้ 1. การเรียนรู้เป็นกระบวนการที่ผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมด้วยตนเอง 2. ผู้เรียนแต่ละคนจะมีประสบการณ์และพื้นฐานความรู้ที่แตกต่างกัน การเรียนรู้จะเกิดจากการที่ ผู้เรียนสร้างความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งที่พบใหม่กับความรู้เดิมแล้วนามาสร้างเป็นความหมายใหม่ 3. พัฒนาการทางเชาว์ปัญญาจะเห็นได้ชัดโดยที่ผู้เรียนสามารถรับสิ่งเร้าที่ให้เลือกได้หลายอย่าง พร้อมๆ กัน
  • 54. 1.เอนแอคทีฟ (Enactive mode) วิธีการเรียนรู้ในขั้นนี้จะเป็นวิธีที่มีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม โดยการ สัมผัส จับต้องด้วยมือ ผลัก ดึง รวมถึงการใช้ปากกับวัตถุสิ่งของที่อยู่รอบๆตัว สิ่งที่สาคัญที่สุด คือ เด็กจะต้อง ลงมือกระทาด้วยตนเอง เช่น การเลียนแบบ หรือการลงมือกระทากับวัตถุสิ่งของ ส่วนผู้ใหญ่จะใช้ทักษะ ทางการที่ซับซ้อน เช่น ทักษะการขี่จักรยาน เล่นเทนนิส 2.ไอคอนนิค (Iconic mode) เมื่อเด็กสามารถที่จะสร้างจินตนาการ หรือมโนภาพ (Imagery)ขึ้นในใจ ได้เด็กจะสามารถเรียนรู้สิ่งต่างๆในโลกได้ด้วย Iconic mode ดังนั้นในการเรียนการสอนเด็กสามารถที่จะเรียนรู้ โดยการใช้ภาพแทนของการสัมผัสจากของจริง เพื่อที่จะช่วยขยายการเรียนรู้ที่เพิ่มมากขึ้น 3. วิธีการที่ใช้สัญลักษณ์ หรือ Symbolic mode วิธีการนี้ผู้เรียนจะใช้ในการเรียนได้ เมื่อผู้เรียนมี ความสามารถที่จะเข้าใจในสิ่งที่เป็นนามธรรม หรือความคิดรวบยอดที่ซับซ้อน จึงสามารถที่จะสร้างสมมุติฐาน และพิสูจน์ว่าสมมุติฐานถูกหรือผิดได้
  • 55. 1. กระบวนความคิดของเด็กแตกต่างกับผู้ใหญ่ เวลาเด็กทาผิดเกี่ยวกับความคิด ผู้ใหญ่ควรจะคิดถึง พัฒนาการทางเชาวน์ปัญญา 2. เน้นความสาคัญของผู้เรียน ถือว่าผู้เรียนสามารถจะควบคุมกิจกรรมการเรียนรู้ของตนเองได้ (Self- Regulation) และเป็นผู้ที่จะริเริ่มหรือลงมือกระทา 3. ในการสอนควรจะเริ่มจากประสบการณ์ที่ผู้เรียนคุ้นเคย หรือประสบการณ์ที่ใกล้ตัวไปหา ประสบการณ์ที่ไกลตัว เพื่อผู้เรียนจะได้มีความเข้าใจ
  • 56. กลุ่มมนุษยนิยมจะคานึงถึงความเป็นคนของบุคคล คุณค่าของคนเป็นหลัก โดยจะมองธรรมชาติของ มนุษย์ในลักษณะที่ว่า มนุษย์เกิดมาพร้อมกับความดีที่ติดตัวมาแต่กาเนิด มนุษย์เป็นผู้ที่มีอิสระสามารถที่จะนา ตนเอง และ พึ่งตนเองได้ เป็นผู้ที่มีความคิดสร้างสรรค์ที่จะทาประโยชน์ให้สังคม มีอิสรเสรีภาพที่จะเลือกทาสิ่ง ต่างๆที่จะไม่ทา ให้ผู้ใดเดือดร้อน ซึ่งรวมทั้งตนเองด้วย มนุษย์เป็นผู้ที่มีความรับผิดชอบและเป็นผู้สร้างสรรค์ สังคม นักวิจัยกลุ่มมนุษยนิยมกลุ่มนี้ที่มีบทบาทสาคัญต่อการศึกษา 1. ทฤษฎีความต้องการของมนุษย์ของ Maslow 2. ทฤษฎี client centered ของโรเจอร์
  • 57. มาสโลว์ได้กล่าวว่า มนุษย์ทุกคนล้วนมีความต้องการและจะสนองความต้องการให้กับตนเองทั้งสิ้น ซึ่ง ความต้องการเรียงจากความต้องการขั้นต่าสุดขึ้นไปหาความต้องการขั้นสูงสุดดังนี้ 1) ความต้องการทางด้านร่างกาย 2) ความต้องการความปลอดภัย 3) ความต้องการความรักและเป็นเจ้าของ 4) ความต้องการที่จะเป็นที่ยอมรับและ ได้รับการยกย่อง 5) ความต้องการที่จะตระหนักในความสามารถของตนเองหรือรู้จักตนเอง 6) ความต้องการที่จะรู้และที่จะเข้าใจ 7) ความต้องการทางด้านสุนทรียะ
  • 59. โรเจอร์ได้สรุปว่า ทฤษฎี client centered สามารถนามาประยุกต์ใช้ในด้านการเรียนการสอน โดยเน้น จัดการเรียนการ สอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง พัฒนาผู้เรียนให้เต็มตามศักยภาพของตนเอง ครผู้สอนจะต้อง เป็นผู้ที่มีความเชื่อ มี ศรัทธาในความเป็นคนของผู้เรียน การที่มีความเชื่อและไว้วางใจในความสามารถของ บุคคล จะช่วยให้บุคคลนั้นๆ พัฒนาศักยภาพของตนเอง ดังนั้น การจัดการเรียนการสอนควรเปิดโอกาสให้เด็ก ได้เลือกวิธีการที่จะเรียนเอง ให้ เกียรติผู้เรียนทั้งในแง่ความรู้สึกนึกคิด โรเจอร์ชี้ให้เห็นว่าการสอนโดยใช้ ผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง จะคล้ายคลึงกับ ผู้มา รับคาปรึกษาเป็นศูนย์กลาง เพราะช่วยให้ผู้เรียนรู้จักช่วยตนเองใน เรื่องการเรียน โดยไม่ต้องขอความช่วยเหลือจาก ครูผู้สอน
  • 60. การประยุกต์ใช้ ครูผู้สอน 1. ครูควรเป็นคนใจกว้าง ไม่ยึดติดกับความคิด หรือความเชื่อของตนเอง 2. ครูควรรับฟังผู้เรียนมากยิ่งขึ้น โดยเฉพาะเรื่องเกี่ยวกับความรู้สึก 3. ให้ความสาคัญกับผู้เรียนเท่ากับความสาคัญของเนื้อหาที่นามาสอน 4. ยินดีรับฟังข้อเสนอแนะทั้งทางบวกและทางลบ 5. กระตุ้นให้ผู้เรียนมีความรับผิดชอบต่อการเรียนรู้ของตนเอง 6. จัดการเรียน กิจกรรม สื่อการเรียนการสอนให้หลากหลาย 7. กระตุ้นให้ผู้เรียนเข้าใจว่าการประเมินผลที่มีคุณค่า คือการประเมินตนเองของผู้เรียน
  • 62. นางสาวเพชรสีฟ้า พีรนันทปัญญา นางสาวปุณยนุช นาคดิลก นางสาวรัตรวี เรียนพงศ์ชัย นางกนกวรรณ แสนจาหน่าย นางสาวอาพันธ์ สุดใจ นายไพรัตน์ บัวศรี
  • 63. นางสาวเพชรสีฟ้ า พีรนันทปัญญา หัวข้อที่ค้นคว้าประกอบด้วย 1. ศึกษาเรื่อง ทฤษฏีของธอร์นไดด์ นางสาวปุณยนุช นาคดิลก หัวข้อที่ค้นคว้าประกอบด้วย 1. ศึกษาเรื่อง ทฤษฏีของสกินเนอร์
  • 64. นางสาวรัตรวี เรียนพงศ์ชัย หัวข้อที่ค้นคว้าประกอบด้วย 1. ศึกษาเรื่อง ทฤษฏีของพาฟลอฟ นายไพรัตน์ บัวศรี หัวข้อที่ค้นคว้าประกอบด้วย 1. ศึกษาเรื่อง ทฤษฏีเพียเจท์
  • 65. นางกนกวรรณ แสนจาหน่าย หัวข้อที่ค้นคว้าประกอบด้วย 1. ศึกษาเรื่อง ทฤษฏีการเรียนรู้ไวก๊อตสกี้ นางสาวอาพันธ์ สุดใจ หัวข้อที่ค้นคว้าประกอบด้วย 1. ศึกษาเรื่อง ทฤษฏีการเรียนรู้ของโรเจอร์
  • 66. • Bernstein. D. A. (1999) Essentials of Psychology. Houghton Mifflin Company. • Bernstein. D. A. (1988) Psychology. Houghton Mifflin Company. • ทฤษฏีการเรียนรู้ (ออนไลน์) เข้าถึงได้จาก : http://www.kroobannok.com/article-35946-% • ทฤษฏีพัฒนาการทางสติปัญญาของเพียเจท์ (ออนไลน์) เข้าถึงได้จาก : http://www.baanjomyut.com/library_2/intellectual_development_theory/01.html • ทฤษฏีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยม (ทฤษฏีของธอร์นไดค์) (ออนไลน์) เข้าถึงได้จาก : https://www.gotoknow.org/posts/555423 เอกสารอ้างอิง