SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 37
Baixar para ler offline
บทที่ 8 การสัมภาษณ์และการสนทนากลุ่ม
อาจารย์มัลลิกา ผ่องแผ้ว
บทนา
การรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์เป็นวิธีการสื่อสารสองทาง (Two-way
communication) มีการสนทนาระหว่างผู้มีข้อมูลกับผู้ต้องการทราบข้อมูล เป็นการถาม-
ตอบกันโดยตรง หากมีข้อสงสัย หรือเข้าใจไม่ชัดเจนก็ทาความเข้าใจจนชัดเจนในทันที เป็น
การสร้างความมั่นใจให้ทั้งผู้ตอบและผู้ศึกษา
ประเภทของการสัมภาษณ์
การสัมภาษณ์มีประเภทและลักษณะแตกต่างกันตามจุดมุ่งหมาย ธรรมชาติและ
ขอบเขตของการสัมภาษณ์ อาจแบ่งการสัมภาษณ์ที่สาคัญๆเป็นประเภทต่างๆได้ดังนี้
การสัมภาษณ์เป็นรายบุคคล (Individual Interview) เป็นการสัมภาษณ์ที่นิยมใช้กัน
มากที่สุด โดยสัมภาษณ์ทีละคน ซักถามกันจนเป็นที่พอใจ แล้วจึงสัมภาษณ์คนอื่นต่อไป
การสัมภาษณ์แบบนี้ผู้สัมภาษณ์กับผู้ให้สัมภาษณ์จะมีความเป็นอิสระและเป็นส่วนตัวมาก
ประเภทของการสัมภาษณ์ (ต่อ)
การสัมภาษณ์เป็นกลุ่ม (Group Interview) เป็นการสัมภาษณ์พร้อมกันในเวลา
เดียวกัน ครั้งละหลายๆคน อาจเป็นกลุ่มใหญ่หรือกลุ่มเล็กก็ได้ ทุกคนตอบคาถาม
เดียวกันหมด ฉะนั้นคาตอบของผู้ให้สัมภาษณ์บางคน จึงอาจถูกชักนาจากคาตอบของ
ผู้ให้สัมภาษณ์คนอื่นได้
การสัมภาษณ์แบบใช้ผู้สัมภาษณ์คนเดียวกับผู้สัมภาษณ์
หลายคน (Single and Panel Interview)
การสัมภาษณ์จะให้ได้ผลดีควรใช้ผู้สัมภาษณ์คนเดียว สัมภาษณ์กลุ่มตัวอย่างหรือ
ผู้ให้สัมภาษณ์ทุกคน เพราะไม่เกิดความแตกต่างกันระหว่างผู้สัมภาษณ์ การใช้ผู้สัมภาษณ์
เพียงคนเดียวมักจะเสียเวลานาน อาจมีเหตุการณ์บางอย่าง ทาให้ข้อมูลเปลี่ยนแปลงได้
ฉะนั้นในทางปฏิบัติจึงนิยมใช้การสัมภาษณ์แบบมีผู้สัมภาษณ์หลายคนช่วยกันสัมภาษณ์ จะ
ทาให้รวบรวมข้อมูลได้เร็วขึ้น แต่จะต้องมีการคัดเลือกผู้สัมภาษณ์และฝึกอบรมเพื่อทาความ
เข้าใจและตกลงหลักเกณฑ์ร่วมกันก่อน ส่วนการสัมภาษณ์แบบผู้สัมภาษณ์หลายคนอีก
ลักษณะหนึ่งเป็นแบบ Panel นั้น เป็นการใช้ผู้สัมภาษณ์ที่เป็นผู้มีความรู้ทางด้านต่างๆ กัน
สัมภาษณ์ผู้ให้สัมภาษณ์หรือตัวอย่างคนเดียวพร้อมกัน ซึ่งจะทาให้ได้ข้อมูลถูกต้อง ครบถ้วน
และสมบูรณ์ยิ่งขึ้น
การสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้างกับแบบไม่มีโครงสร้าง
(Structured & Unstructured Interview)
การสัมภาษณ์แบบที่มีโครงสร้างหรือแบบมาตรฐาน (Standardized interview )
เป็นแบบที่มีการเตรียมการ มีแผนการสัมภาษณ์และการบริหารการสัมภาษณ์จัดเตรียมไว้
อย่างค่อนข้างแน่นอนเป็นการล่วงหน้า การสัมภาษณ์เป็นมาตรฐานและเป็นทางการมาก
ผู้ให้สัมภาษณ์ทุกคนจะตอบคาถามเดียวกัน และถามคาถามก่อนหลังเรียงตามลาดับ
เหมือนกัน
การสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้างกับแบบไม่มีโครงสร้าง
(Structured & Unstructured Interview) (ต่อ)
การสัมภาษณ์แบบไม่มีโครงสร้าง หรือแบบมาตรฐานน้อย (Less Standardized
interview ) นั้น การสัมภาษณ์จะยืดหยุ่น เปิดกว้างไม่เป็นทางการมากนัก จะถามอะไร
ก่อนหลังก็ได้ รวมทั้งไม่จาเป็นต้องถามคาถามเหมือนกันทุกคนก็ได้ ผู้สัมภาษณ์มีอิสระใน
การถามและสามารถปรับเปลี่ยนการซักถามให้เหมาะสมกับผู้ให้สัมภาษณ์แต่ละคนได้
การสัมภาษณ์แบบกาหนดคาตอบล่วงหน้ากับไม่กาหนดคาตอบ
ล่วงหน้า (Directive and Non-Directive Interview)
การสัมภาษณ์แบบกาหนดคาตอบไว้ให้สาหรับผู้ให้สัมภาษณ์เลือกตอบ เช่น ใช่ ไม่ใช่
เคย ไม่เคย หรือแบบที่มีคาตอบให้เลือก เป็นต้น
การสัมภาษณ์แบบไม่กาหนดคาตอบล่วงหน้า แบบนี้ผู้ให้สัมภาษณ์ตอบได้ตามความ
พอใจอย่างอิสระ จะตอบอย่างไรก็ได้ ผู้สัมภาษณ์จะปล่อยให้ผู้ให้สัมภาษณ์พูดและแสดง
พฤติกรรมอย่างเสรี
การสัมภาษณ์แบบเจาะลึก (Depth Interview)
การสัมภาษณ์แบบเจาะลึก (Depth Interview) แบ่งเป็น 2 ลักษณะคือ
การสัมภาษณ์แบบเจาะลึกรายบุคคล (Individual depth interview) เป็นการ
ซักถามพูดคุยกันระหว่างผู้สัมภาษณ์และผู้ให้สัมภาษณ์ เป็นการถามเจาะลึกล้วงคาตอบ
อย่างละเอียดถี่ถ้วน การถามนอกจากจะให้อธิบายแล้ว จะต้องถามถึงเหตุผลด้วย การ
สัมภาษณ์แบบนี้ จะใช้ได้ดีกับการศึกษาวิจัยในเรื่องที่เกี่ยวกับพฤติกรรมของบุคคล เจต
คติ ความต้องการ ความเชื่อ ค่านิยม บุคลิกภาพในลักษณะต่างๆ
การสัมภาษณ์แบบเจาะลึก (Depth Interview) (ต่อ)
การสัมภาษณ์แบบเจาะลึก (Depth Interview) (ต่อ)
การสนทนากลุ่ม (Focus Group Discussion) เป็นการสัมภาษณ์และสนทนาแบบ
เจาะประเด็นด้วยการเชิญผู้ร่วมสนทนามารวมเป็นกลุ่ม กลุ่มละประมาณ 5-7 คน แล้ว
เปิดโอกาสให้ผู้เข้าร่วมสนทนาแลกเปลี่ยนทัศนะกันอย่างกว้างขวางในประเด็นต่างๆ ที่
เราต้องการแล้วพยายามหาข้อสรุป การสนทนากลุ่มนี้เหมาะกับการวิจัยที่ต้องการหา
รูปแบบโครงสร้าง แนวคิดใหม่ๆ รวมทั้งค้นหาตัวกาหนดพฤติกรรมและบุคลิกภาพของ
มนุษย์
การสนทนากลุ่ม
แนวคิดและความเป็นมาของการสนทนากลุ่ม
เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับความนึกคิด จิตใจ และพฤติกรรมของมนุษย์
ปัจจัยที่มีอิทธิพล ต่อพฤติกรรมปฏิกิริยาของบุคคลที่มีต่อสิ่งเร้า คาถาม ถามถึงความรู้สึก
การตัดสินใจ การให้เหตุผล แรงจูงใจ ความประทับใจ หรือสถานการณ์ต่างๆที่มีความ
เป็นอิสระในการแสดงความเห็นการกาหนดเวลาของการสนทนาสถานที่และบรรยากาศของ
การสนทนาก็สร้างขึ้นมาให้เป็นกันเองที่สุด
การสนทนากลุ่ม (Focus Group Discussion)
การสนทนากลุ่ม หมายถึง การรวบรวมข้อมูลจากการสนทนากับกลุ่มผู้ให้ข้อมูลใน
ประเด็นปัญหาที่เฉพาะเจาะจง โดยมีผู้ดาเนินการสนทนา (Moderator) เป็นผู้คอยจุด
ประเด็นในการสนทนา เพื่อชักจูงให้กลุ่มเกิดแนวคิดและแสดงความคิดเห็นต่อประเด็น
หรือแนวทางการสนทนาอย่างกว้างขวางละเอียดลึกซึ้ง โดยมีผู้เข้าร่วมสนทนาในแต่ละ
กลุ่มประมาณ 6-10 คน ซึ่งเลือกมาจากประชากรเป้าหมายที่กาหนดเอาไว้
ประเภทของวัตถุประสงค์ของการจัดสนทนากลุ่ม
1. ใช้เพื่อสร้างให้เกิดสมมติฐานใหม่
2. ใช้เพื่อสารวจความคิดเห็น ทัศนคติของกลุ่มประชากรต่อปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นที่
สนใจจะศึกษา
3. ใช้ในการทดสอบแนวความคิดในเรื่องที่เกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ที่ผลิตขึ้นมาใหม่
4. ใช้ในการประเมินผลการวิจัยต่างๆ หรือโครงการพัฒนา
5. ใช้ในการทดสอบแบบสอบถาม และเพื่อสร้างความเข้าที่ตรงกัน
ประเภทของวัตถุประสงค์ของการจัดสนทนากลุ่ม (ต่อ)
6. ใช้เพื่อเป็นการค้นหาคาตอบที่ยังคลุมเรือหรือไม่แน่ชัดในการวิจัยเชิงปริมาณ โดยนา
คาตอบจากการสนทนากลุ่มไปอธิบายเสริม
7. ใช้ประโยชน์ในการทาการศึกษานาร่อง (Pilot Study) ศึกษาบางเรื่องเพื่อเป็นแนวทางใน
การทากรณีศึกษา (Case Study) ต่อไป
ขั้นตอนในการจัดสนทนากลุ่ม
1. กาหนดวัตถุประสงค์
2. กาหนดกลุ่มเป้าหมายของผู้ให้ข้อมูล
3. ตัดสินใจว่าจะทากี่กลุ่ม
4. วางแผนเรื่องระยะเวลาและตารางเวลา
ขั้นตอนในการจัดสนทนากลุ่ม (ต่อ)
5. ออกแบบแนวคาถาม ควรเรียงคาถามจากคาถามที่เป็นเรื่องทั่วๆไป เบาๆ ง่ายต่อการ
เข้าใจ และสร้างบรรยากาศให้คุ้นเคยกันระหว่างนักวิจัยกับผู้เข้าร่วมสนทนาแล้วจึงวก
เข้าสู่คาถามหลัก หรือคาถามหลักของประเด็นที่ทาการศึกษาแล้วจึงจบลงด้วยคาถาม
เบาๆอีกครั้งหนึ่ง เพื่อผ่อนคลายบรรยากาศในวงสนทนาและสร้างบรรยากาศที่เป็น
กันเองในช่วงท้ายอาจเติมคาถามเสริมเข้าไปแต่ต้องเป็นคาถามสั้นๆ อาจเป็นคาถามที่
ไม่ได้เตรียมมาก่อน แต่เป็นคาถามที่ปรากฏขึ้นมาระหว่างการสนทนา
6. ทดสอบแนวคาถามที่สร้างขึ้น
ขั้นตอนในการจัดสนทนากลุ่ม (ต่อ)
7. ทาความเข้าใจกับผู้ดาเนินการสนทนา (Moderator) และผู้จดบันทึก (Note taker)
 ผู้ดาเนินการสนทนา (Moderator) ต้องสร้างบรรยากาศในการสนทนา และ
ควบคุมเกมส์ได้เป็นอย่างดีให้เกิดความเป็นกันเองมากที่สุด Moderator จะต้องไม่
แสดงความคิดเห็นของตนเอง ควรจะปล่อยให้ผู้เข้าร่วมแสดงความคิดเห็นได้อย่าง
เต็มที่ อิสระเสรีและเป็นธรรมชาติมากที่สุด Moderator ที่ดีจะต้องสามารถ
แก้ปัญหาเฉพาะหน้าได้เป็นอย่างดี
ขั้นตอนในการจัดสนทนากลุ่ม (ต่อ)
7. ทาความเข้าใจกับผู้ดาเนินการสนทนา (Moderator) และผู้จดบันทึก (Note taker)
 ผู้จดบันทึก (Note taker) จะต้องอยู่ร่วมตลอดเวลาและควรทาหน้าที่ในการจด
บันทึกเพียงอย่างเดียวไม่ควรร่วมสนทนาด้วย เพราะจะทาให้การจดบันทึกข้อมูลไม่
ครบถ้วน และจะต้องเป็นผู้ถอดเทปด้วยตนเอง เพื่อความเข้าใจในสิ่งที่ได้บันทึกและ
เนื้อหาสาระในเทปที่ตรงกัน
 ผู้ช่วยทั่วไป (Assistant) มีหน้าที่คอยควบคุมเครื่องบันทึกเสียงและเปลี่ยนเทป
ขณะที่กาลังดาเนินการสนทนา และอานวยความสะดวกแก่ผู้ดาเนินการสนทนาและ
ผู้จดบันทึก เพื่อให้แต่ละคนทาหน้าที่ได้อย่างเต็มที่
ขั้นตอนในการจัดสนทนากลุ่ม (ต่อ)
9. การจัดการเพื่อเตรียมการทาสนทนากลุ่ม เป็นการเตรียมสถานที่ กาหนดวัน เวลา และ
จัดเตรียมอุปกรณ์ต่างๆที่จาเป็น เช่น เครื่องบันทึกเทป ม้วนเทป ถ่าน สมุด ดินสอ
เครื่องดื่ม อาหารว่าง เป็นต้น
10. จัดกลุ่มสนทนา
ขั้นตอนในการจัดสนทนากลุ่ม (ต่อ)
11. ประมวลผลและการวิเคราะห์ข้อมูล
 ถอดเทปออกมาเป็นบทสนทนา ควร
ถอดเทปออกมาอย่างละเอียดเพื่อให้ได้
ข้อมูลที่ครบถ้วนและต้องไม่ใส่ความคิด
ของตนเองที่ถือเป็นข้อสรุปลงไปด้วย
ก ง
เทป
เทป
ข
ค
จ
ฉNotetaker
Modelator
ขั้นตอนในการจัดสนทนากลุ่ม (ต่อ)
11. ประมวลผลและการวิเคราะห์ข้อมูล (ต่อ)
 วิเคราะห์ข้อมูล โดยการตีความหมายในรูปของการวิเคราะห์เนื้อหา ถ้าจะให้ดีควรทา
การวิเคราะห์ร่วมกันหลายๆคนเพื่อเป็นการอภิปรายร่วมกัน ถ้ามีความเห็นไม่ตรงกันควร
กลับไปฟังรายละเอียดจากเทปใหม่ แล้วกลับมาอภิปรายด้วยกันอีก
12. การเขียนรายงานการวิจัยควรเริ่มต้นโดยการเขียนเค้าโครงเรื่องก่อน แล้วเขียนผล
การศึกษาแยกตามวัตถุประสงค์ของการศึกษาและหัวข้อของแนวคาถามโดยพรรณาในเชิง
อธิบาย
องค์ประกอบการจัดสนทนากลุ่ม
1. สิ่งแรกที่ต้องทาในเรื่องของการสนทนากลุ่ม คือการกาหนดเรื่องที่จะทาการศึกษา
การกาหนดหัวข้อเรื่องนี้ อาจจะเกิดมาจากสภาพปัญหาต่าง ๆ ของสังคมในขณะนั้น หรือ
เรื่องที่ผู้วิจัยสนใจ ตลอดจนแนวคิดและทฤษฏีต่าง ๆ นั่นเอง
2. กาหนดประเด็นหรือตัวแปร หรือตัวบ่งชี้ที่คาดว่าจะเกี่ยวข้องกับเรื่องที่ทาการศึกษา
เพื่อมาสร้างเป็นแนวทางในการดาเนินการสนทนา
3. แนวคาถามหรือกรอบคาถาม คือแนวทางในการสนทนากลุ่ม ซึ่งได้จากการนา
คาถามที่ร่างไว้มาเรียบเรียงเป็นข้อย่อยจัดเป็นลาดับ หรือผูกเป็นเรื่องราวเพื่อนาการ
สนทนาเป็นขั้นตอนและจัดตามลาดับความคิดเป็นหมวดหรือหัวข้อใหญ่
องค์ประกอบการจัดสนทนากลุ่ม (ต่อ)
4. แบบคัดเลือกผู้เข้าร่วมกลุ่มสนทนา เป็นแนวทางในการคัดเลือกสมาชิกเพื่อเข้าร่วม
ในกลุ่มสนทนาที่ถือว่าเป็นบุคคลที่สามารถให้คาตอบในการศึกษาครั้งนี้ ได้ตรงวัตถุประสงค์
ของการศึกษามากที่สุด
5. บุคลากรในการจัดสนทนากลุ่มในการจัดสนทนากลุ่มแต่ละครั้ง ควรจะประกอบด้วย
บุคคลต่อไปนี้ คือ
ก. พิธีกร (Moderator) เป็นผู้ถามคาถามและเป็นผู้นา ตลอดจนกากับการสนทนา
ของกลุ่มให้เป็นไปตามแนวทางของหัวข้อการศึกษาเพื่อให้ได้ข้อมูลที่ชัดเจนละเอียดที่สุดใน
เวลาที่กาหนด พิธีกรจะต้องเป็นผู้รู้จักปัญหา รู้จักทฤษฏี และรู้จักควบคุมประเด็น
ควบคุมการสนทนาแบบกลุ่มเป็นอย่างดี
องค์ประกอบการจัดสนทนากลุ่ม (ต่อ)
5. บุคลากรในการจัดสนทนากลุ่มในการจัดสนทนากลุ่มแต่ละ(ต่อ)
ข. ผู้จดบันทึกคาสนทนา เป็นผู้ที่คอยจดบันทึกคาสนทนา จะทาหน้าที่จดคาพูดที่
จะจดทัน ตลอดจนการจดอากัปกริยาท่าทางของสมาชิกผู้เข้าร่วมกลุ่มด้วยเพราะการไม่พูด
และการนั่งเฉยๆ อาจไม่ใช่ไม่มีความเห็น เพราะแววตา ท่าทางก็อาจจะแสดงถึงความเห็น
หรือคาตอบได้ การพยักหน้า การส่ายหน้า และสีหน้าก็เป็นการแสดงออกถึงคาตอบได้
ผู้จดบันทึกคาสนทนาต้องจดบันทึกสิ่งเหล่านี้ด้วย ข้อบันทึกของผู้จดบันทึกนี้จะสามารถใช้
อ่านเป็นข้อสรุปของการสนทนากลุ่มในแต่ละครั้งได้ แล้วก็สามารถนาไปประกอบการถอด
เทปข้อมูลได้
องค์ประกอบการจัดสนทนากลุ่ม (ต่อ)
5. บุคลากรในการจัดสนทนากลุ่มในการจัดสนทนากลุ่มแต่ละ(ต่อ)
ค. เจ้าหน้าที่บริการทั่วไป และผู้คอยกันผู้ที่จะเข้ามาร่วมวงในกลุ่มโดยไม่ได้รับ
เชิญ เป็นบุคคลที่คอยเอื้ออานวยและให้ความสะดวกแก่ผู้ที่อยู่ในวงสนทนา มีหน้าที่คือ
คอยบริการน้าดื่ม ขนม บันทึกเทป ตลอดจนคอยกันไม่ให้ผู้ที่ไม่เกี่ยวข้องในวงสนทนากลุ่ม
เข้าไปเสนอความคิดในกลุ่ม หรือเข้าไปรบกวนสมาธิของสมาชิกในกลุ่ม
องค์ประกอบการจัดสนทนากลุ่ม (ต่อ)
6. อุปกรณ์ในการรวบรวมข้อมูล ในการจัดสนทนากลุ่มอุปกรณ์ในการรวบรวมข้อมูลคือ
เทปบันทึกเสียงเพราะในวงสนทนานั้น ตลอดการดาเนินกลุ่มสนทนาจะมีการถกประเด็น
ปัญหาการโต้แย้งเป็นกระแสความคิดสวนกันไปสวนกันมา หลายเสียงหลายความเห็น
ดังนั้น จึงต้องบันทึกเสียงเอาไว้ เพราะคาตอบที่เป็นกระแสโต้แย้งหรือการถกประเด็นกัน
ด้วยเหตุผลและการแสดงความสอดคล้องเห็นด้วย สิ่งนี้แหละเป็นหัวใจสาคัญของการ
สนทนากลุ่ม (Focus Group Discussion)
องค์ประกอบการจัดสนทนากลุ่ม (ต่อ)
7. อุปกรณ์เสริมการสนทนากลุ่ม เป็นอุปกรณ์ที่ช่วยให้วงสนทนากลุ่มดาเนินไปด้วย
บรรยากาศราบรื่นและดูเป็นธรรมชาติไม่เคร่งเครียด สร้างบรรยากาศให้เป็น “การนั่งจับ
เข่าคุยกัน” อุปกรณ์ที่จะช่วยเสริมการสนทนากลุ่มให้ดูเป็นธรรมชาติก็ได้แก่ น้าดื่ม ขนม
บุหรี่ ของขบเคี้ยว เล็กๆ น้อยๆ หรืออาจจะรวมถึงรูปภาพ อุปกรณ์ต่างๆ ที่จะช่วยให้
สมาชิกในกลุ่มได้เข้าใจเรื่องหรือประเด็นที่เราสนใจจะถามมากยิ่งขึ้น
องค์ประกอบการจัดสนทนากลุ่ม (ต่อ)
8. สถานที่ที่จะจัดสนทนากลุ่ม ควรมีการกาหนดให้แน่นอน ศึกษาในท้องถิ่นหรือหมู่บ้าน
ไหนก็จัดกลุ่มที่นั่นให้สะดวกแก่สมาชิกกลุ่มมากที่สุด
9. ของกานัลหรือของที่ระลึก มอบไว้ก่อนจากกัน
10. ระยะเวลาของการดาเนินการจัดสนทนากลุ่ม พิธีกรควรจะใช้เวลาในการสนทนาไม่
เกิน 2 ชั่วโมง กับ 15 นาที นับตั้งแต่เริ่มคาถามแรก รวมระยะเวลาตั้งแต่ต้อนรับสมาชิก
กลุ่มจนจบการสนทนากลุ่มประมาณ 2 ชั่วโมง กับ 30 นาทีพอดี เพราะถ้าช้าหรือนานกว่านี้
สมาชิกกลุ่มจะเหนื่อยล้า คาตอบที่ได้ตอนท้ายจะเป็นคาตอบที่สักแต่ว่าตอบๆ หรือตอบโดย
ที่ไม่ค่อยได้ตั้งใจคิดก่อน เพื่อให้เสร็จสิ้นการสนทนาและการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นจะ
น้อยลง
การดาเนินการสนทนากลุ่ม
1. แนะนาตนเองและทีมงาน ประกอบด้วย พิธีกร ผู้จดบันทึก และผู้บริการทั่วไป โดย
ปกติไม่ควรให้มีผู้สังเกตการณ์ อาจมีผลต่อการแสดงออก
2. อธิบายถึงจุดมุ่งหมายในการมาทาสนทนากลุ่ม วัตถุประสงค์ของการศึกษา
3. เริ่มเกริ่นนาด้วยคาถามอุ่นเครื่องสร้างบรรยากาศเป็นกันเอง
4. เมื่อเริ่มคุ้นเคย เริ่มคาถามในแนวการสนทนาที่จัดเตรียมไว้ทิ้งช่วงให้มีการถกประเด็น
และโต้แย้งกันให้พอสมควร สร้างบรรยากาศให้เกิดการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นต่อกัน
ควบคุมเกมส์ไม่ให้หยุดนิ่ง อย่าซักคนใดคนหนึ่งจนเกินไป คาถามที่ถามไม่ควรถามคนเดียว
อย่าซักรายตัว
การดาเนินการสนทนากลุ่ม
4. เมื่อเริ่มคุ้นเคย (ต่อ)
ในการนั่งสนทนา พยายามอย่าให้เกิดการข่มทางความคิด หรือชักนาผู้อื่น ให้เห็น
คล้อยตามกับผู้ที่พูดเก่ง (Dominate) สร้างบรรยากาศให้คนที่ไม่ค่อยพูดให้แสดงความ
คิดเห็นออกมาให้ได้
พิธีกรควรเป็นผู้คุยเก่งซักเก่ง มีพรสวรรค์ในการพูดคุย จังหวะการถามดี ถามช้าๆ
ละเอียดควรมีการพูดแทรกตลกอย่างเหมาะสมด้วย
ข้อดีของการจัดสนทนากลุ่ม
1. เป็นการนั่งสนทนาระหว่างนักวิจัยกับผู้รู้ผู้ให้ข้อมูลหลายคนที่เป็นกลุ่ม จึงก่อให้เกิดการ
เสวนากันในเรื่องที่สนใจไม่มีการปิดบัง คาตอบที่ได้จากการถกประเด็นซึ่งกันและกันถือว่า
เป็นการกลั่นกรองซึ่งแนวความคิดและเหตุผล โดยไม่มีการตีประเด็นปัญหาผิดไปเป็นอย่าง
อื่น
2. การสนทนากลุ่ม เป็นการสร้างบรรยากาศเสวนาให้เป็นกันเองระหว่างผู้นาการ
สนทนาของกลุ่มกับสมาชิกกลุ่มสนทนาหลายๆคนพร้อมกัน จึงลดภาวการณ์เขินอายออกไป
ทาให้สมาชิกกลุ่มกล้าคุยกล้าแสดงความคิดเห็น
3. การใช้วิธีการสนทนากลุ่ม ได้ข้อมูลละเอียดและสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของ
การศึกษาได้สาเร็จหรือได้ดียิ่งขึ้น
ข้อดีของการจัดสนทนากลุ่ม (ต่อ)
4. คาตอบจากการสนทนากลุ่ม มีลักษณะเป็นคาตอบเชิงเหตุผลคล้ายๆกับการรวบรวม
ข้อมูลแบบคุณภาพ
5. ประหยัดเวลาและงบประมาณของนักวิจัยในการศึกษา
6. ทาให้ได้รายละเอียด สามารถตอบคาถามประเภททาไมและอย่างไรได้อย่างแตกฉาน
ลึกซึ้งและในประเด็นหรือเรื่องที่ไม่ได้คิดหรือเตรียมไว้ก่อนก็ได้
7. การสนทนากลุ่ม จะช่วยบ่งชี้อิทธิพลของวัฒนธรรมและคุณค่าต่างๆ ของสังคมนั้นได้
เนื่องจากสมาชิกของกลุ่มมาจากวัฒนธรรมเดียวกัน
8. สภาพของการสนทนากลุ่ม ช่วยให้เกิดและได้ข้อมูลที่เป็นจริง
ข้อจากัดของการสนทนากลุ่ม
1. ถ้าการกาหนดประเด็นต่างๆยังคลุมเครือไม่ชัดเจน ก็ยากต่อการกาหนดตัวแปรหรือ
ปัจจัยและการสร้างแนวคาถาม
2. การสร้างแนวคาถาม จะต้องเรียบเรียงแนวคาถาให้ดีไม่วกวน โดยอาจจะเรียงลาดับตาม
ประเภทของประเด็นตามความยากง่ายหรือตามลาดับความตรงไปตรงมาและซับซ้อนของ
เหตุผลดังนั้นควรจะต้องมีการทดสอบ (Pretest)
3. การคัดเลือกสมาชิกผู้เข้าร่วมวงสนทนา จะต้องได้ตามหลักเกณฑ์ที่กาหนดไว้ โดย
ต้องมีลักษณะต่างๆ ที่เหมือนกัน (Homogeneous) ไม่ข่มซึ่งกันและกัน
4. คาตอบในวงสนทนาบางคาตอบ อาจจะไม่ได้จากการสนทนากลุ่ม
ข้อจากัดของการสนทนากลุ่ม (ต่อ)
5. เหตุการณ์หรือพฤติกรรมหรือคาตอบในบางประเด็นคาถามที่สมาชิกกลุ่มคิดว่าเป็น
ประเด็นธรรมดาและเคยชินอยู่แล้ว บางทีสมาชิกกลุ่มนึกไม่ถึงลืมหยิบยกมาตอบ ทาให้
ไม่ได้คาตอบในเรื่องคาถามในประเด็นดังกล่าว
6. การสนทนากลุ่มจะให้ผลดีมากในการศึกษาหลายๆ เรื่องแต่ไม่ใช่ทุกเรื่อง
7. ภาษาในการพูดคุยนับว่าเป็นสิ่งสาคัญมาก ควรจะพูดภาษาท้องถิ่นของสมาชิกใน
กลุ่มสนทนาหรือในพื้นที่ที่ทาการศึกษา
ข้อจากัดของการสนทนากลุ่ม (ต่อ)
8. เทปบันทึกข้อมูล ถ้าไม่พร้อมหรือสภาพไม่เหมาะแก่การบันทึก ถ้าใช้ในการบันทึกข้อมูล
แล้วเสีย บันทึกไม่ติดจะทาให้เสียข้อมูลไปเลย
9. ถ้าพิธีกรไม่ได้รับการฝึกฝนให้เป็นผู้ดาเนินการสนทนาที่ดี เตรียมตัวไม่พร้อมก็จะทาให้วง
สนทนาดาเนินไปได้ไม่ราบรื่น
จบการบรรยาย
บทที่ 8 การสัมภาษณ์และการสนทนากลุ่ม

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

ค่าอำนาจจำแนก
ค่าอำนาจจำแนก ค่าอำนาจจำแนก
ค่าอำนาจจำแนก Jeerapob Seangboonme
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissueตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissueNattakorn Sunkdon
 
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลกวิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลกChainarong Maharak
 
บทที่ 9 การอภิปราย
บทที่ 9 การอภิปรายบทที่ 9 การอภิปราย
บทที่ 9 การอภิปรายAj.Mallika Phongphaew
 
โครงงานวิชา Is2
โครงงานวิชา Is2โครงงานวิชา Is2
โครงงานวิชา Is2LeoBlack1017
 
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูดโครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูดBio Beau
 
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
บทที่  2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องบทที่  2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องmoohhack
 
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือSAKANAN ANANTASOOK
 
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมการบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมPhakawat Owat
 
ตัวอย่าง ปกรายงาน
ตัวอย่าง ปกรายงานตัวอย่าง ปกรายงาน
ตัวอย่าง ปกรายงานSamorn Tara
 
แบบร่างวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ วิจัยในชั้นเรียน
แบบร่างวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ วิจัยในชั้นเรียนแบบร่างวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ วิจัยในชั้นเรียน
แบบร่างวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ วิจัยในชั้นเรียนNU
 
เค้าโครงการเขียนโครงงานวิชาภาษาไทย
เค้าโครงการเขียนโครงงานวิชาภาษาไทยเค้าโครงการเขียนโครงงานวิชาภาษาไทย
เค้าโครงการเขียนโครงงานวิชาภาษาไทยPiyarerk Bunkoson
 
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณีรูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณีParichart Ampon
 
Casestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณีCasestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณีrewat Chitthaing
 
IS1 การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1
IS1  การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1IS1  การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1
IS1 การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1พัน พัน
 
ข้อสอบอัตนัย
ข้อสอบอัตนัยข้อสอบอัตนัย
ข้อสอบอัตนัยNU
 
ทักษะการอ่าน
ทักษะการอ่านทักษะการอ่าน
ทักษะการอ่าน0872191189
 
หน่วยที่ 2 โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษา
หน่วยที่ 2  โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษาหน่วยที่ 2  โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษา
หน่วยที่ 2 โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษาขนิษฐา ทวีศรี
 

Mais procurados (20)

ค่าอำนาจจำแนก
ค่าอำนาจจำแนก ค่าอำนาจจำแนก
ค่าอำนาจจำแนก
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissueตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
 
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลกวิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
 
ใบความรู้โครงงานคุณธรรม
ใบความรู้โครงงานคุณธรรมใบความรู้โครงงานคุณธรรม
ใบความรู้โครงงานคุณธรรม
 
บทที่ 9 การอภิปราย
บทที่ 9 การอภิปรายบทที่ 9 การอภิปราย
บทที่ 9 การอภิปราย
 
โครงงานวิชา Is2
โครงงานวิชา Is2โครงงานวิชา Is2
โครงงานวิชา Is2
 
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูดโครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
 
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
บทที่  2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องบทที่  2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
 
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
 
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมการบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
 
ตัวอย่าง ปกรายงาน
ตัวอย่าง ปกรายงานตัวอย่าง ปกรายงาน
ตัวอย่าง ปกรายงาน
 
แบบร่างวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ วิจัยในชั้นเรียน
แบบร่างวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ วิจัยในชั้นเรียนแบบร่างวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ วิจัยในชั้นเรียน
แบบร่างวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ วิจัยในชั้นเรียน
 
เค้าโครงการเขียนโครงงานวิชาภาษาไทย
เค้าโครงการเขียนโครงงานวิชาภาษาไทยเค้าโครงการเขียนโครงงานวิชาภาษาไทย
เค้าโครงการเขียนโครงงานวิชาภาษาไทย
 
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณีรูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
 
หน่วย 3
หน่วย 3 หน่วย 3
หน่วย 3
 
Casestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณีCasestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณี
 
IS1 การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1
IS1  การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1IS1  การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1
IS1 การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1
 
ข้อสอบอัตนัย
ข้อสอบอัตนัยข้อสอบอัตนัย
ข้อสอบอัตนัย
 
ทักษะการอ่าน
ทักษะการอ่านทักษะการอ่าน
ทักษะการอ่าน
 
หน่วยที่ 2 โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษา
หน่วยที่ 2  โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษาหน่วยที่ 2  โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษา
หน่วยที่ 2 โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษา
 

Semelhante a บทที่ 8 การสัมภาษณ์และการสนทนากลุ่ม

Questionare
QuestionareQuestionare
Questionarepingkung
 
Cแนะแนว
CแนะแนวCแนะแนว
Cแนะแนวyutict
 
07 final exam
07 final exam07 final exam
07 final examKruBeeKa
 
การเขียนโครงการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน
การเขียนโครงการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียนการเขียนโครงการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน
การเขียนโครงการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียนppisoot07
 
หลักการนำเสนอ.pdf
หลักการนำเสนอ.pdfหลักการนำเสนอ.pdf
หลักการนำเสนอ.pdfSuphol Sutthiyutthasenee
 
การออกแบบการจัดการการเรียนรู้อิงมาตรฐาน หลักสูตรแกนกลาง 2551 ...
การออกแบบการจัดการการเรียนรู้อิงมาตรฐาน   หลักสูตรแกนกลาง 2551               ...การออกแบบการจัดการการเรียนรู้อิงมาตรฐาน   หลักสูตรแกนกลาง 2551               ...
การออกแบบการจัดการการเรียนรู้อิงมาตรฐาน หลักสูตรแกนกลาง 2551 ...Weerachat Martluplao
 
บทที่ 2วิจัยการอ่าน
บทที่ 2วิจัยการอ่านบทที่ 2วิจัยการอ่าน
บทที่ 2วิจัยการอ่านKanjana Pothinam
 
แบบวิเคราะห์ผลการเรียนรู้Tok1
แบบวิเคราะห์ผลการเรียนรู้Tok1แบบวิเคราะห์ผลการเรียนรู้Tok1
แบบวิเคราะห์ผลการเรียนรู้Tok1Kobwit Piriyawat
 
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdocหลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdockrupornpana55
 
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียนเค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียนnang_phy29
 
การทำโครงงาน 5 ขั้น
การทำโครงงาน 5 ขั้นการทำโครงงาน 5 ขั้น
การทำโครงงาน 5 ขั้นPongtong Kannacham
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์kornvipa
 
จะทำโครงงานอะไรดี
จะทำโครงงานอะไรดีจะทำโครงงานอะไรดี
จะทำโครงงานอะไรดีkorakate
 
การสัมภาษณ์แหล่งข่าว
การสัมภาษณ์แหล่งข่าวการสัมภาษณ์แหล่งข่าว
การสัมภาษณ์แหล่งข่าวsriburin
 
การสัมภาษณ์แหล่งข่าว
การสัมภาษณ์แหล่งข่าวการสัมภาษณ์แหล่งข่าว
การสัมภาษณ์แหล่งข่าวsriburin
 
ใบงานที่ 2 - 8 โครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 2 - 8 โครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 2 - 8 โครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 2 - 8 โครงงานคอมพิวเตอร์Thanatchaporn Yawichai
 

Semelhante a บทที่ 8 การสัมภาษณ์และการสนทนากลุ่ม (20)

Research-tools 2014
Research-tools 2014Research-tools 2014
Research-tools 2014
 
Questionare
QuestionareQuestionare
Questionare
 
คำถามท้ายบทที่ 1
คำถามท้ายบทที่ 1คำถามท้ายบทที่ 1
คำถามท้ายบทที่ 1
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
Cแนะแนว
CแนะแนวCแนะแนว
Cแนะแนว
 
07 final exam
07 final exam07 final exam
07 final exam
 
การเขียนโครงการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน
การเขียนโครงการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียนการเขียนโครงการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน
การเขียนโครงการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน
 
หลักการนำเสนอ.pdf
หลักการนำเสนอ.pdfหลักการนำเสนอ.pdf
หลักการนำเสนอ.pdf
 
การออกแบบการจัดการการเรียนรู้อิงมาตรฐาน หลักสูตรแกนกลาง 2551 ...
การออกแบบการจัดการการเรียนรู้อิงมาตรฐาน   หลักสูตรแกนกลาง 2551               ...การออกแบบการจัดการการเรียนรู้อิงมาตรฐาน   หลักสูตรแกนกลาง 2551               ...
การออกแบบการจัดการการเรียนรู้อิงมาตรฐาน หลักสูตรแกนกลาง 2551 ...
 
โครงงานภาษาไทย
โครงงานภาษาไทยโครงงานภาษาไทย
โครงงานภาษาไทย
 
บทที่ 2วิจัยการอ่าน
บทที่ 2วิจัยการอ่านบทที่ 2วิจัยการอ่าน
บทที่ 2วิจัยการอ่าน
 
แบบวิเคราะห์ผลการเรียนรู้Tok1
แบบวิเคราะห์ผลการเรียนรู้Tok1แบบวิเคราะห์ผลการเรียนรู้Tok1
แบบวิเคราะห์ผลการเรียนรู้Tok1
 
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdocหลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
 
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียนเค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน
 
การทำโครงงาน 5 ขั้น
การทำโครงงาน 5 ขั้นการทำโครงงาน 5 ขั้น
การทำโครงงาน 5 ขั้น
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
จะทำโครงงานอะไรดี
จะทำโครงงานอะไรดีจะทำโครงงานอะไรดี
จะทำโครงงานอะไรดี
 
การสัมภาษณ์แหล่งข่าว
การสัมภาษณ์แหล่งข่าวการสัมภาษณ์แหล่งข่าว
การสัมภาษณ์แหล่งข่าว
 
การสัมภาษณ์แหล่งข่าว
การสัมภาษณ์แหล่งข่าวการสัมภาษณ์แหล่งข่าว
การสัมภาษณ์แหล่งข่าว
 
ใบงานที่ 2 - 8 โครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 2 - 8 โครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 2 - 8 โครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 2 - 8 โครงงานคอมพิวเตอร์
 

Mais de Aj.Mallika Phongphaew

บทที่ 7 อำนาจและภาวะผู้นำ
บทที่ 7 อำนาจและภาวะผู้นำบทที่ 7 อำนาจและภาวะผู้นำ
บทที่ 7 อำนาจและภาวะผู้นำAj.Mallika Phongphaew
 
บทที่ 6 พฤติกรรมมนุษย์ในองค์การสมัยใหม่
บทที่ 6 พฤติกรรมมนุษย์ในองค์การสมัยใหม่บทที่ 6 พฤติกรรมมนุษย์ในองค์การสมัยใหม่
บทที่ 6 พฤติกรรมมนุษย์ในองค์การสมัยใหม่Aj.Mallika Phongphaew
 
บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่
บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่
บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่Aj.Mallika Phongphaew
 
Chapter : 2 Organization Theory (บทที่ 2 ทฤษฎีองค์การ)
Chapter : 2 Organization Theory (บทที่ 2 ทฤษฎีองค์การ)Chapter : 2 Organization Theory (บทที่ 2 ทฤษฎีองค์การ)
Chapter : 2 Organization Theory (บทที่ 2 ทฤษฎีองค์การ)Aj.Mallika Phongphaew
 
บทที่ 10 การประชุม
บทที่ 10 การประชุมบทที่ 10 การประชุม
บทที่ 10 การประชุมAj.Mallika Phongphaew
 
บทที่ 7 การเขียนบทร้อยกรอง
บทที่ 7 การเขียนบทร้อยกรองบทที่ 7 การเขียนบทร้อยกรอง
บทที่ 7 การเขียนบทร้อยกรองAj.Mallika Phongphaew
 
บทที่ 6 การสนทนา
บทที่ 6 การสนทนาบทที่ 6 การสนทนา
บทที่ 6 การสนทนาAj.Mallika Phongphaew
 
บทที่ 5 ปัญหาและข้อบกพร่อง
บทที่ 5 ปัญหาและข้อบกพร่องบทที่ 5 ปัญหาและข้อบกพร่อง
บทที่ 5 ปัญหาและข้อบกพร่องAj.Mallika Phongphaew
 
บทที่ 4 การอ่านตีความ
บทที่ 4 การอ่านตีความบทที่ 4 การอ่านตีความ
บทที่ 4 การอ่านตีความAj.Mallika Phongphaew
 
บทที่ 3 หลักการอ่าน
บทที่ 3 หลักการอ่านบทที่ 3 หลักการอ่าน
บทที่ 3 หลักการอ่านAj.Mallika Phongphaew
 
บทที่ 2 การฟัง
บทที่ 2 การฟังบทที่ 2 การฟัง
บทที่ 2 การฟังAj.Mallika Phongphaew
 
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทย
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทยบทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทย
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทยAj.Mallika Phongphaew
 

Mais de Aj.Mallika Phongphaew (12)

บทที่ 7 อำนาจและภาวะผู้นำ
บทที่ 7 อำนาจและภาวะผู้นำบทที่ 7 อำนาจและภาวะผู้นำ
บทที่ 7 อำนาจและภาวะผู้นำ
 
บทที่ 6 พฤติกรรมมนุษย์ในองค์การสมัยใหม่
บทที่ 6 พฤติกรรมมนุษย์ในองค์การสมัยใหม่บทที่ 6 พฤติกรรมมนุษย์ในองค์การสมัยใหม่
บทที่ 6 พฤติกรรมมนุษย์ในองค์การสมัยใหม่
 
บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่
บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่
บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่
 
Chapter : 2 Organization Theory (บทที่ 2 ทฤษฎีองค์การ)
Chapter : 2 Organization Theory (บทที่ 2 ทฤษฎีองค์การ)Chapter : 2 Organization Theory (บทที่ 2 ทฤษฎีองค์การ)
Chapter : 2 Organization Theory (บทที่ 2 ทฤษฎีองค์การ)
 
บทที่ 10 การประชุม
บทที่ 10 การประชุมบทที่ 10 การประชุม
บทที่ 10 การประชุม
 
บทที่ 7 การเขียนบทร้อยกรอง
บทที่ 7 การเขียนบทร้อยกรองบทที่ 7 การเขียนบทร้อยกรอง
บทที่ 7 การเขียนบทร้อยกรอง
 
บทที่ 6 การสนทนา
บทที่ 6 การสนทนาบทที่ 6 การสนทนา
บทที่ 6 การสนทนา
 
บทที่ 5 ปัญหาและข้อบกพร่อง
บทที่ 5 ปัญหาและข้อบกพร่องบทที่ 5 ปัญหาและข้อบกพร่อง
บทที่ 5 ปัญหาและข้อบกพร่อง
 
บทที่ 4 การอ่านตีความ
บทที่ 4 การอ่านตีความบทที่ 4 การอ่านตีความ
บทที่ 4 การอ่านตีความ
 
บทที่ 3 หลักการอ่าน
บทที่ 3 หลักการอ่านบทที่ 3 หลักการอ่าน
บทที่ 3 หลักการอ่าน
 
บทที่ 2 การฟัง
บทที่ 2 การฟังบทที่ 2 การฟัง
บทที่ 2 การฟัง
 
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทย
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทยบทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทย
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทย
 

บทที่ 8 การสัมภาษณ์และการสนทนากลุ่ม

  • 2. บทนา การรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์เป็นวิธีการสื่อสารสองทาง (Two-way communication) มีการสนทนาระหว่างผู้มีข้อมูลกับผู้ต้องการทราบข้อมูล เป็นการถาม- ตอบกันโดยตรง หากมีข้อสงสัย หรือเข้าใจไม่ชัดเจนก็ทาความเข้าใจจนชัดเจนในทันที เป็น การสร้างความมั่นใจให้ทั้งผู้ตอบและผู้ศึกษา
  • 3. ประเภทของการสัมภาษณ์ การสัมภาษณ์มีประเภทและลักษณะแตกต่างกันตามจุดมุ่งหมาย ธรรมชาติและ ขอบเขตของการสัมภาษณ์ อาจแบ่งการสัมภาษณ์ที่สาคัญๆเป็นประเภทต่างๆได้ดังนี้ การสัมภาษณ์เป็นรายบุคคล (Individual Interview) เป็นการสัมภาษณ์ที่นิยมใช้กัน มากที่สุด โดยสัมภาษณ์ทีละคน ซักถามกันจนเป็นที่พอใจ แล้วจึงสัมภาษณ์คนอื่นต่อไป การสัมภาษณ์แบบนี้ผู้สัมภาษณ์กับผู้ให้สัมภาษณ์จะมีความเป็นอิสระและเป็นส่วนตัวมาก
  • 4. ประเภทของการสัมภาษณ์ (ต่อ) การสัมภาษณ์เป็นกลุ่ม (Group Interview) เป็นการสัมภาษณ์พร้อมกันในเวลา เดียวกัน ครั้งละหลายๆคน อาจเป็นกลุ่มใหญ่หรือกลุ่มเล็กก็ได้ ทุกคนตอบคาถาม เดียวกันหมด ฉะนั้นคาตอบของผู้ให้สัมภาษณ์บางคน จึงอาจถูกชักนาจากคาตอบของ ผู้ให้สัมภาษณ์คนอื่นได้
  • 5. การสัมภาษณ์แบบใช้ผู้สัมภาษณ์คนเดียวกับผู้สัมภาษณ์ หลายคน (Single and Panel Interview) การสัมภาษณ์จะให้ได้ผลดีควรใช้ผู้สัมภาษณ์คนเดียว สัมภาษณ์กลุ่มตัวอย่างหรือ ผู้ให้สัมภาษณ์ทุกคน เพราะไม่เกิดความแตกต่างกันระหว่างผู้สัมภาษณ์ การใช้ผู้สัมภาษณ์ เพียงคนเดียวมักจะเสียเวลานาน อาจมีเหตุการณ์บางอย่าง ทาให้ข้อมูลเปลี่ยนแปลงได้ ฉะนั้นในทางปฏิบัติจึงนิยมใช้การสัมภาษณ์แบบมีผู้สัมภาษณ์หลายคนช่วยกันสัมภาษณ์ จะ ทาให้รวบรวมข้อมูลได้เร็วขึ้น แต่จะต้องมีการคัดเลือกผู้สัมภาษณ์และฝึกอบรมเพื่อทาความ เข้าใจและตกลงหลักเกณฑ์ร่วมกันก่อน ส่วนการสัมภาษณ์แบบผู้สัมภาษณ์หลายคนอีก ลักษณะหนึ่งเป็นแบบ Panel นั้น เป็นการใช้ผู้สัมภาษณ์ที่เป็นผู้มีความรู้ทางด้านต่างๆ กัน สัมภาษณ์ผู้ให้สัมภาษณ์หรือตัวอย่างคนเดียวพร้อมกัน ซึ่งจะทาให้ได้ข้อมูลถูกต้อง ครบถ้วน และสมบูรณ์ยิ่งขึ้น
  • 6. การสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้างกับแบบไม่มีโครงสร้าง (Structured & Unstructured Interview) การสัมภาษณ์แบบที่มีโครงสร้างหรือแบบมาตรฐาน (Standardized interview ) เป็นแบบที่มีการเตรียมการ มีแผนการสัมภาษณ์และการบริหารการสัมภาษณ์จัดเตรียมไว้ อย่างค่อนข้างแน่นอนเป็นการล่วงหน้า การสัมภาษณ์เป็นมาตรฐานและเป็นทางการมาก ผู้ให้สัมภาษณ์ทุกคนจะตอบคาถามเดียวกัน และถามคาถามก่อนหลังเรียงตามลาดับ เหมือนกัน
  • 7. การสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้างกับแบบไม่มีโครงสร้าง (Structured & Unstructured Interview) (ต่อ) การสัมภาษณ์แบบไม่มีโครงสร้าง หรือแบบมาตรฐานน้อย (Less Standardized interview ) นั้น การสัมภาษณ์จะยืดหยุ่น เปิดกว้างไม่เป็นทางการมากนัก จะถามอะไร ก่อนหลังก็ได้ รวมทั้งไม่จาเป็นต้องถามคาถามเหมือนกันทุกคนก็ได้ ผู้สัมภาษณ์มีอิสระใน การถามและสามารถปรับเปลี่ยนการซักถามให้เหมาะสมกับผู้ให้สัมภาษณ์แต่ละคนได้
  • 8. การสัมภาษณ์แบบกาหนดคาตอบล่วงหน้ากับไม่กาหนดคาตอบ ล่วงหน้า (Directive and Non-Directive Interview) การสัมภาษณ์แบบกาหนดคาตอบไว้ให้สาหรับผู้ให้สัมภาษณ์เลือกตอบ เช่น ใช่ ไม่ใช่ เคย ไม่เคย หรือแบบที่มีคาตอบให้เลือก เป็นต้น การสัมภาษณ์แบบไม่กาหนดคาตอบล่วงหน้า แบบนี้ผู้ให้สัมภาษณ์ตอบได้ตามความ พอใจอย่างอิสระ จะตอบอย่างไรก็ได้ ผู้สัมภาษณ์จะปล่อยให้ผู้ให้สัมภาษณ์พูดและแสดง พฤติกรรมอย่างเสรี
  • 9. การสัมภาษณ์แบบเจาะลึก (Depth Interview) การสัมภาษณ์แบบเจาะลึก (Depth Interview) แบ่งเป็น 2 ลักษณะคือ การสัมภาษณ์แบบเจาะลึกรายบุคคล (Individual depth interview) เป็นการ ซักถามพูดคุยกันระหว่างผู้สัมภาษณ์และผู้ให้สัมภาษณ์ เป็นการถามเจาะลึกล้วงคาตอบ อย่างละเอียดถี่ถ้วน การถามนอกจากจะให้อธิบายแล้ว จะต้องถามถึงเหตุผลด้วย การ สัมภาษณ์แบบนี้ จะใช้ได้ดีกับการศึกษาวิจัยในเรื่องที่เกี่ยวกับพฤติกรรมของบุคคล เจต คติ ความต้องการ ความเชื่อ ค่านิยม บุคลิกภาพในลักษณะต่างๆ
  • 10. การสัมภาษณ์แบบเจาะลึก (Depth Interview) (ต่อ) การสัมภาษณ์แบบเจาะลึก (Depth Interview) (ต่อ) การสนทนากลุ่ม (Focus Group Discussion) เป็นการสัมภาษณ์และสนทนาแบบ เจาะประเด็นด้วยการเชิญผู้ร่วมสนทนามารวมเป็นกลุ่ม กลุ่มละประมาณ 5-7 คน แล้ว เปิดโอกาสให้ผู้เข้าร่วมสนทนาแลกเปลี่ยนทัศนะกันอย่างกว้างขวางในประเด็นต่างๆ ที่ เราต้องการแล้วพยายามหาข้อสรุป การสนทนากลุ่มนี้เหมาะกับการวิจัยที่ต้องการหา รูปแบบโครงสร้าง แนวคิดใหม่ๆ รวมทั้งค้นหาตัวกาหนดพฤติกรรมและบุคลิกภาพของ มนุษย์
  • 12. แนวคิดและความเป็นมาของการสนทนากลุ่ม เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับความนึกคิด จิตใจ และพฤติกรรมของมนุษย์ ปัจจัยที่มีอิทธิพล ต่อพฤติกรรมปฏิกิริยาของบุคคลที่มีต่อสิ่งเร้า คาถาม ถามถึงความรู้สึก การตัดสินใจ การให้เหตุผล แรงจูงใจ ความประทับใจ หรือสถานการณ์ต่างๆที่มีความ เป็นอิสระในการแสดงความเห็นการกาหนดเวลาของการสนทนาสถานที่และบรรยากาศของ การสนทนาก็สร้างขึ้นมาให้เป็นกันเองที่สุด
  • 13. การสนทนากลุ่ม (Focus Group Discussion) การสนทนากลุ่ม หมายถึง การรวบรวมข้อมูลจากการสนทนากับกลุ่มผู้ให้ข้อมูลใน ประเด็นปัญหาที่เฉพาะเจาะจง โดยมีผู้ดาเนินการสนทนา (Moderator) เป็นผู้คอยจุด ประเด็นในการสนทนา เพื่อชักจูงให้กลุ่มเกิดแนวคิดและแสดงความคิดเห็นต่อประเด็น หรือแนวทางการสนทนาอย่างกว้างขวางละเอียดลึกซึ้ง โดยมีผู้เข้าร่วมสนทนาในแต่ละ กลุ่มประมาณ 6-10 คน ซึ่งเลือกมาจากประชากรเป้าหมายที่กาหนดเอาไว้
  • 14. ประเภทของวัตถุประสงค์ของการจัดสนทนากลุ่ม 1. ใช้เพื่อสร้างให้เกิดสมมติฐานใหม่ 2. ใช้เพื่อสารวจความคิดเห็น ทัศนคติของกลุ่มประชากรต่อปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นที่ สนใจจะศึกษา 3. ใช้ในการทดสอบแนวความคิดในเรื่องที่เกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ที่ผลิตขึ้นมาใหม่ 4. ใช้ในการประเมินผลการวิจัยต่างๆ หรือโครงการพัฒนา 5. ใช้ในการทดสอบแบบสอบถาม และเพื่อสร้างความเข้าที่ตรงกัน
  • 15. ประเภทของวัตถุประสงค์ของการจัดสนทนากลุ่ม (ต่อ) 6. ใช้เพื่อเป็นการค้นหาคาตอบที่ยังคลุมเรือหรือไม่แน่ชัดในการวิจัยเชิงปริมาณ โดยนา คาตอบจากการสนทนากลุ่มไปอธิบายเสริม 7. ใช้ประโยชน์ในการทาการศึกษานาร่อง (Pilot Study) ศึกษาบางเรื่องเพื่อเป็นแนวทางใน การทากรณีศึกษา (Case Study) ต่อไป
  • 16. ขั้นตอนในการจัดสนทนากลุ่ม 1. กาหนดวัตถุประสงค์ 2. กาหนดกลุ่มเป้าหมายของผู้ให้ข้อมูล 3. ตัดสินใจว่าจะทากี่กลุ่ม 4. วางแผนเรื่องระยะเวลาและตารางเวลา
  • 17. ขั้นตอนในการจัดสนทนากลุ่ม (ต่อ) 5. ออกแบบแนวคาถาม ควรเรียงคาถามจากคาถามที่เป็นเรื่องทั่วๆไป เบาๆ ง่ายต่อการ เข้าใจ และสร้างบรรยากาศให้คุ้นเคยกันระหว่างนักวิจัยกับผู้เข้าร่วมสนทนาแล้วจึงวก เข้าสู่คาถามหลัก หรือคาถามหลักของประเด็นที่ทาการศึกษาแล้วจึงจบลงด้วยคาถาม เบาๆอีกครั้งหนึ่ง เพื่อผ่อนคลายบรรยากาศในวงสนทนาและสร้างบรรยากาศที่เป็น กันเองในช่วงท้ายอาจเติมคาถามเสริมเข้าไปแต่ต้องเป็นคาถามสั้นๆ อาจเป็นคาถามที่ ไม่ได้เตรียมมาก่อน แต่เป็นคาถามที่ปรากฏขึ้นมาระหว่างการสนทนา 6. ทดสอบแนวคาถามที่สร้างขึ้น
  • 18. ขั้นตอนในการจัดสนทนากลุ่ม (ต่อ) 7. ทาความเข้าใจกับผู้ดาเนินการสนทนา (Moderator) และผู้จดบันทึก (Note taker)  ผู้ดาเนินการสนทนา (Moderator) ต้องสร้างบรรยากาศในการสนทนา และ ควบคุมเกมส์ได้เป็นอย่างดีให้เกิดความเป็นกันเองมากที่สุด Moderator จะต้องไม่ แสดงความคิดเห็นของตนเอง ควรจะปล่อยให้ผู้เข้าร่วมแสดงความคิดเห็นได้อย่าง เต็มที่ อิสระเสรีและเป็นธรรมชาติมากที่สุด Moderator ที่ดีจะต้องสามารถ แก้ปัญหาเฉพาะหน้าได้เป็นอย่างดี
  • 19. ขั้นตอนในการจัดสนทนากลุ่ม (ต่อ) 7. ทาความเข้าใจกับผู้ดาเนินการสนทนา (Moderator) และผู้จดบันทึก (Note taker)  ผู้จดบันทึก (Note taker) จะต้องอยู่ร่วมตลอดเวลาและควรทาหน้าที่ในการจด บันทึกเพียงอย่างเดียวไม่ควรร่วมสนทนาด้วย เพราะจะทาให้การจดบันทึกข้อมูลไม่ ครบถ้วน และจะต้องเป็นผู้ถอดเทปด้วยตนเอง เพื่อความเข้าใจในสิ่งที่ได้บันทึกและ เนื้อหาสาระในเทปที่ตรงกัน  ผู้ช่วยทั่วไป (Assistant) มีหน้าที่คอยควบคุมเครื่องบันทึกเสียงและเปลี่ยนเทป ขณะที่กาลังดาเนินการสนทนา และอานวยความสะดวกแก่ผู้ดาเนินการสนทนาและ ผู้จดบันทึก เพื่อให้แต่ละคนทาหน้าที่ได้อย่างเต็มที่
  • 20. ขั้นตอนในการจัดสนทนากลุ่ม (ต่อ) 9. การจัดการเพื่อเตรียมการทาสนทนากลุ่ม เป็นการเตรียมสถานที่ กาหนดวัน เวลา และ จัดเตรียมอุปกรณ์ต่างๆที่จาเป็น เช่น เครื่องบันทึกเทป ม้วนเทป ถ่าน สมุด ดินสอ เครื่องดื่ม อาหารว่าง เป็นต้น 10. จัดกลุ่มสนทนา
  • 21. ขั้นตอนในการจัดสนทนากลุ่ม (ต่อ) 11. ประมวลผลและการวิเคราะห์ข้อมูล  ถอดเทปออกมาเป็นบทสนทนา ควร ถอดเทปออกมาอย่างละเอียดเพื่อให้ได้ ข้อมูลที่ครบถ้วนและต้องไม่ใส่ความคิด ของตนเองที่ถือเป็นข้อสรุปลงไปด้วย ก ง เทป เทป ข ค จ ฉNotetaker Modelator
  • 22. ขั้นตอนในการจัดสนทนากลุ่ม (ต่อ) 11. ประมวลผลและการวิเคราะห์ข้อมูล (ต่อ)  วิเคราะห์ข้อมูล โดยการตีความหมายในรูปของการวิเคราะห์เนื้อหา ถ้าจะให้ดีควรทา การวิเคราะห์ร่วมกันหลายๆคนเพื่อเป็นการอภิปรายร่วมกัน ถ้ามีความเห็นไม่ตรงกันควร กลับไปฟังรายละเอียดจากเทปใหม่ แล้วกลับมาอภิปรายด้วยกันอีก 12. การเขียนรายงานการวิจัยควรเริ่มต้นโดยการเขียนเค้าโครงเรื่องก่อน แล้วเขียนผล การศึกษาแยกตามวัตถุประสงค์ของการศึกษาและหัวข้อของแนวคาถามโดยพรรณาในเชิง อธิบาย
  • 23. องค์ประกอบการจัดสนทนากลุ่ม 1. สิ่งแรกที่ต้องทาในเรื่องของการสนทนากลุ่ม คือการกาหนดเรื่องที่จะทาการศึกษา การกาหนดหัวข้อเรื่องนี้ อาจจะเกิดมาจากสภาพปัญหาต่าง ๆ ของสังคมในขณะนั้น หรือ เรื่องที่ผู้วิจัยสนใจ ตลอดจนแนวคิดและทฤษฏีต่าง ๆ นั่นเอง 2. กาหนดประเด็นหรือตัวแปร หรือตัวบ่งชี้ที่คาดว่าจะเกี่ยวข้องกับเรื่องที่ทาการศึกษา เพื่อมาสร้างเป็นแนวทางในการดาเนินการสนทนา 3. แนวคาถามหรือกรอบคาถาม คือแนวทางในการสนทนากลุ่ม ซึ่งได้จากการนา คาถามที่ร่างไว้มาเรียบเรียงเป็นข้อย่อยจัดเป็นลาดับ หรือผูกเป็นเรื่องราวเพื่อนาการ สนทนาเป็นขั้นตอนและจัดตามลาดับความคิดเป็นหมวดหรือหัวข้อใหญ่
  • 24. องค์ประกอบการจัดสนทนากลุ่ม (ต่อ) 4. แบบคัดเลือกผู้เข้าร่วมกลุ่มสนทนา เป็นแนวทางในการคัดเลือกสมาชิกเพื่อเข้าร่วม ในกลุ่มสนทนาที่ถือว่าเป็นบุคคลที่สามารถให้คาตอบในการศึกษาครั้งนี้ ได้ตรงวัตถุประสงค์ ของการศึกษามากที่สุด 5. บุคลากรในการจัดสนทนากลุ่มในการจัดสนทนากลุ่มแต่ละครั้ง ควรจะประกอบด้วย บุคคลต่อไปนี้ คือ ก. พิธีกร (Moderator) เป็นผู้ถามคาถามและเป็นผู้นา ตลอดจนกากับการสนทนา ของกลุ่มให้เป็นไปตามแนวทางของหัวข้อการศึกษาเพื่อให้ได้ข้อมูลที่ชัดเจนละเอียดที่สุดใน เวลาที่กาหนด พิธีกรจะต้องเป็นผู้รู้จักปัญหา รู้จักทฤษฏี และรู้จักควบคุมประเด็น ควบคุมการสนทนาแบบกลุ่มเป็นอย่างดี
  • 25. องค์ประกอบการจัดสนทนากลุ่ม (ต่อ) 5. บุคลากรในการจัดสนทนากลุ่มในการจัดสนทนากลุ่มแต่ละ(ต่อ) ข. ผู้จดบันทึกคาสนทนา เป็นผู้ที่คอยจดบันทึกคาสนทนา จะทาหน้าที่จดคาพูดที่ จะจดทัน ตลอดจนการจดอากัปกริยาท่าทางของสมาชิกผู้เข้าร่วมกลุ่มด้วยเพราะการไม่พูด และการนั่งเฉยๆ อาจไม่ใช่ไม่มีความเห็น เพราะแววตา ท่าทางก็อาจจะแสดงถึงความเห็น หรือคาตอบได้ การพยักหน้า การส่ายหน้า และสีหน้าก็เป็นการแสดงออกถึงคาตอบได้ ผู้จดบันทึกคาสนทนาต้องจดบันทึกสิ่งเหล่านี้ด้วย ข้อบันทึกของผู้จดบันทึกนี้จะสามารถใช้ อ่านเป็นข้อสรุปของการสนทนากลุ่มในแต่ละครั้งได้ แล้วก็สามารถนาไปประกอบการถอด เทปข้อมูลได้
  • 26. องค์ประกอบการจัดสนทนากลุ่ม (ต่อ) 5. บุคลากรในการจัดสนทนากลุ่มในการจัดสนทนากลุ่มแต่ละ(ต่อ) ค. เจ้าหน้าที่บริการทั่วไป และผู้คอยกันผู้ที่จะเข้ามาร่วมวงในกลุ่มโดยไม่ได้รับ เชิญ เป็นบุคคลที่คอยเอื้ออานวยและให้ความสะดวกแก่ผู้ที่อยู่ในวงสนทนา มีหน้าที่คือ คอยบริการน้าดื่ม ขนม บันทึกเทป ตลอดจนคอยกันไม่ให้ผู้ที่ไม่เกี่ยวข้องในวงสนทนากลุ่ม เข้าไปเสนอความคิดในกลุ่ม หรือเข้าไปรบกวนสมาธิของสมาชิกในกลุ่ม
  • 27. องค์ประกอบการจัดสนทนากลุ่ม (ต่อ) 6. อุปกรณ์ในการรวบรวมข้อมูล ในการจัดสนทนากลุ่มอุปกรณ์ในการรวบรวมข้อมูลคือ เทปบันทึกเสียงเพราะในวงสนทนานั้น ตลอดการดาเนินกลุ่มสนทนาจะมีการถกประเด็น ปัญหาการโต้แย้งเป็นกระแสความคิดสวนกันไปสวนกันมา หลายเสียงหลายความเห็น ดังนั้น จึงต้องบันทึกเสียงเอาไว้ เพราะคาตอบที่เป็นกระแสโต้แย้งหรือการถกประเด็นกัน ด้วยเหตุผลและการแสดงความสอดคล้องเห็นด้วย สิ่งนี้แหละเป็นหัวใจสาคัญของการ สนทนากลุ่ม (Focus Group Discussion)
  • 28. องค์ประกอบการจัดสนทนากลุ่ม (ต่อ) 7. อุปกรณ์เสริมการสนทนากลุ่ม เป็นอุปกรณ์ที่ช่วยให้วงสนทนากลุ่มดาเนินไปด้วย บรรยากาศราบรื่นและดูเป็นธรรมชาติไม่เคร่งเครียด สร้างบรรยากาศให้เป็น “การนั่งจับ เข่าคุยกัน” อุปกรณ์ที่จะช่วยเสริมการสนทนากลุ่มให้ดูเป็นธรรมชาติก็ได้แก่ น้าดื่ม ขนม บุหรี่ ของขบเคี้ยว เล็กๆ น้อยๆ หรืออาจจะรวมถึงรูปภาพ อุปกรณ์ต่างๆ ที่จะช่วยให้ สมาชิกในกลุ่มได้เข้าใจเรื่องหรือประเด็นที่เราสนใจจะถามมากยิ่งขึ้น
  • 29. องค์ประกอบการจัดสนทนากลุ่ม (ต่อ) 8. สถานที่ที่จะจัดสนทนากลุ่ม ควรมีการกาหนดให้แน่นอน ศึกษาในท้องถิ่นหรือหมู่บ้าน ไหนก็จัดกลุ่มที่นั่นให้สะดวกแก่สมาชิกกลุ่มมากที่สุด 9. ของกานัลหรือของที่ระลึก มอบไว้ก่อนจากกัน 10. ระยะเวลาของการดาเนินการจัดสนทนากลุ่ม พิธีกรควรจะใช้เวลาในการสนทนาไม่ เกิน 2 ชั่วโมง กับ 15 นาที นับตั้งแต่เริ่มคาถามแรก รวมระยะเวลาตั้งแต่ต้อนรับสมาชิก กลุ่มจนจบการสนทนากลุ่มประมาณ 2 ชั่วโมง กับ 30 นาทีพอดี เพราะถ้าช้าหรือนานกว่านี้ สมาชิกกลุ่มจะเหนื่อยล้า คาตอบที่ได้ตอนท้ายจะเป็นคาตอบที่สักแต่ว่าตอบๆ หรือตอบโดย ที่ไม่ค่อยได้ตั้งใจคิดก่อน เพื่อให้เสร็จสิ้นการสนทนาและการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นจะ น้อยลง
  • 30. การดาเนินการสนทนากลุ่ม 1. แนะนาตนเองและทีมงาน ประกอบด้วย พิธีกร ผู้จดบันทึก และผู้บริการทั่วไป โดย ปกติไม่ควรให้มีผู้สังเกตการณ์ อาจมีผลต่อการแสดงออก 2. อธิบายถึงจุดมุ่งหมายในการมาทาสนทนากลุ่ม วัตถุประสงค์ของการศึกษา 3. เริ่มเกริ่นนาด้วยคาถามอุ่นเครื่องสร้างบรรยากาศเป็นกันเอง 4. เมื่อเริ่มคุ้นเคย เริ่มคาถามในแนวการสนทนาที่จัดเตรียมไว้ทิ้งช่วงให้มีการถกประเด็น และโต้แย้งกันให้พอสมควร สร้างบรรยากาศให้เกิดการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นต่อกัน ควบคุมเกมส์ไม่ให้หยุดนิ่ง อย่าซักคนใดคนหนึ่งจนเกินไป คาถามที่ถามไม่ควรถามคนเดียว อย่าซักรายตัว
  • 31. การดาเนินการสนทนากลุ่ม 4. เมื่อเริ่มคุ้นเคย (ต่อ) ในการนั่งสนทนา พยายามอย่าให้เกิดการข่มทางความคิด หรือชักนาผู้อื่น ให้เห็น คล้อยตามกับผู้ที่พูดเก่ง (Dominate) สร้างบรรยากาศให้คนที่ไม่ค่อยพูดให้แสดงความ คิดเห็นออกมาให้ได้ พิธีกรควรเป็นผู้คุยเก่งซักเก่ง มีพรสวรรค์ในการพูดคุย จังหวะการถามดี ถามช้าๆ ละเอียดควรมีการพูดแทรกตลกอย่างเหมาะสมด้วย
  • 32. ข้อดีของการจัดสนทนากลุ่ม 1. เป็นการนั่งสนทนาระหว่างนักวิจัยกับผู้รู้ผู้ให้ข้อมูลหลายคนที่เป็นกลุ่ม จึงก่อให้เกิดการ เสวนากันในเรื่องที่สนใจไม่มีการปิดบัง คาตอบที่ได้จากการถกประเด็นซึ่งกันและกันถือว่า เป็นการกลั่นกรองซึ่งแนวความคิดและเหตุผล โดยไม่มีการตีประเด็นปัญหาผิดไปเป็นอย่าง อื่น 2. การสนทนากลุ่ม เป็นการสร้างบรรยากาศเสวนาให้เป็นกันเองระหว่างผู้นาการ สนทนาของกลุ่มกับสมาชิกกลุ่มสนทนาหลายๆคนพร้อมกัน จึงลดภาวการณ์เขินอายออกไป ทาให้สมาชิกกลุ่มกล้าคุยกล้าแสดงความคิดเห็น 3. การใช้วิธีการสนทนากลุ่ม ได้ข้อมูลละเอียดและสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของ การศึกษาได้สาเร็จหรือได้ดียิ่งขึ้น
  • 33. ข้อดีของการจัดสนทนากลุ่ม (ต่อ) 4. คาตอบจากการสนทนากลุ่ม มีลักษณะเป็นคาตอบเชิงเหตุผลคล้ายๆกับการรวบรวม ข้อมูลแบบคุณภาพ 5. ประหยัดเวลาและงบประมาณของนักวิจัยในการศึกษา 6. ทาให้ได้รายละเอียด สามารถตอบคาถามประเภททาไมและอย่างไรได้อย่างแตกฉาน ลึกซึ้งและในประเด็นหรือเรื่องที่ไม่ได้คิดหรือเตรียมไว้ก่อนก็ได้ 7. การสนทนากลุ่ม จะช่วยบ่งชี้อิทธิพลของวัฒนธรรมและคุณค่าต่างๆ ของสังคมนั้นได้ เนื่องจากสมาชิกของกลุ่มมาจากวัฒนธรรมเดียวกัน 8. สภาพของการสนทนากลุ่ม ช่วยให้เกิดและได้ข้อมูลที่เป็นจริง
  • 34. ข้อจากัดของการสนทนากลุ่ม 1. ถ้าการกาหนดประเด็นต่างๆยังคลุมเครือไม่ชัดเจน ก็ยากต่อการกาหนดตัวแปรหรือ ปัจจัยและการสร้างแนวคาถาม 2. การสร้างแนวคาถาม จะต้องเรียบเรียงแนวคาถาให้ดีไม่วกวน โดยอาจจะเรียงลาดับตาม ประเภทของประเด็นตามความยากง่ายหรือตามลาดับความตรงไปตรงมาและซับซ้อนของ เหตุผลดังนั้นควรจะต้องมีการทดสอบ (Pretest) 3. การคัดเลือกสมาชิกผู้เข้าร่วมวงสนทนา จะต้องได้ตามหลักเกณฑ์ที่กาหนดไว้ โดย ต้องมีลักษณะต่างๆ ที่เหมือนกัน (Homogeneous) ไม่ข่มซึ่งกันและกัน 4. คาตอบในวงสนทนาบางคาตอบ อาจจะไม่ได้จากการสนทนากลุ่ม
  • 35. ข้อจากัดของการสนทนากลุ่ม (ต่อ) 5. เหตุการณ์หรือพฤติกรรมหรือคาตอบในบางประเด็นคาถามที่สมาชิกกลุ่มคิดว่าเป็น ประเด็นธรรมดาและเคยชินอยู่แล้ว บางทีสมาชิกกลุ่มนึกไม่ถึงลืมหยิบยกมาตอบ ทาให้ ไม่ได้คาตอบในเรื่องคาถามในประเด็นดังกล่าว 6. การสนทนากลุ่มจะให้ผลดีมากในการศึกษาหลายๆ เรื่องแต่ไม่ใช่ทุกเรื่อง 7. ภาษาในการพูดคุยนับว่าเป็นสิ่งสาคัญมาก ควรจะพูดภาษาท้องถิ่นของสมาชิกใน กลุ่มสนทนาหรือในพื้นที่ที่ทาการศึกษา
  • 36. ข้อจากัดของการสนทนากลุ่ม (ต่อ) 8. เทปบันทึกข้อมูล ถ้าไม่พร้อมหรือสภาพไม่เหมาะแก่การบันทึก ถ้าใช้ในการบันทึกข้อมูล แล้วเสีย บันทึกไม่ติดจะทาให้เสียข้อมูลไปเลย 9. ถ้าพิธีกรไม่ได้รับการฝึกฝนให้เป็นผู้ดาเนินการสนทนาที่ดี เตรียมตัวไม่พร้อมก็จะทาให้วง สนทนาดาเนินไปได้ไม่ราบรื่น