O slideshow foi denunciado.
Seu SlideShare está sendo baixado. ×

Gynecologic Malignancy

Anúncio
Anúncio
Anúncio
Anúncio
Anúncio
Anúncio
Anúncio
Anúncio
Anúncio
Anúncio
Anúncio
Anúncio

Confira estes a seguir

1 de 65 Anúncio

Mais Conteúdo rRelacionado

Diapositivos para si (20)

Quem viu também gostou (20)

Anúncio

Semelhante a Gynecologic Malignancy (20)

Mais recentes (14)

Anúncio

Gynecologic Malignancy

  1. 1. <ul><li>จันทร์ศรี ศุภอดิเรก </li></ul><ul><li>หน่วยรังสีรักษา ภาควิชารังสีวิทยา </li></ul><ul><li>คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น </li></ul>Gynecologic Malignancy
  2. 2. Gynecologic Malignancy <ul><li>มะเร็งปากมดลูก ( Cervical cancer ) </li></ul><ul><li>มะเร็งเยื่อบุโพรงมดลูก ( Endometrial cancer ) </li></ul><ul><li>มะเร็งช่องคลอด ( vaginal cancer ) </li></ul><ul><li>มะเร็งอวัยวะสืบพันธุ์ส่วนนอกของสตรี ( Vulva cancer ) </li></ul>
  3. 3. มะเร็งปากมดลูก Cervical cancer
  4. 4. Anatomy
  5. 5. Risk <ul><li>1. เพศสัมพันธุ์ </li></ul><ul><li>2. สำส่อนทางเพศ หรือสามีมีคู่นอนหลายคน </li></ul><ul><li>3. มีบุตรมากและตั้งครรภ์ตั้งแต่อายุน้อย </li></ul><ul><li>4. มีสุขอนามัย ไม่ดี ฐานะยากจน </li></ul><ul><li>5. การติดเชื้อเรื้อรัง </li></ul><ul><li>6. ปัจจัยจากเพศชาย </li></ul>
  6. 6. Pathology <ul><li>ลักษณะที่เห็นด้วยตาเปล่า </li></ul><ul><li>1. Infiltrative type </li></ul><ul><li>2. Ulcerative type </li></ul><ul><li>3. Exophytic type </li></ul><ul><li>ลักษณะทางจุลทรรศน์ </li></ul><ul><li>90% เป็น squamous cell carcinoma </li></ul><ul><li>10% เป็น adenocarcinoma </li></ul>
  7. 7. Spreading <ul><li>1. บริเวณใกล้เคียง </li></ul><ul><li>2. ต่อมน้ำเหลือง </li></ul><ul><li>3. กระแสเลือด </li></ul>
  8. 8. Diagnosis <ul><li>อาการและอาการแสดง </li></ul><ul><li>1. เลือดออกผิดปกติทางช่องคลอด ( พบมากที่สุด ) </li></ul><ul><li>2. ตกขาวเรื้อรัง </li></ul><ul><li>3. อาการในระยะหลังเมื่อมะเร็งลุกลามมากขึ้น </li></ul><ul><li>4. อาการเนื่องจากการกระจายของโรค </li></ul><ul><li>การตรวจร่างกาย </li></ul><ul><li>ต้องตรวจร่างกายโดยละเอียดตามระบบต่างๆ ร่วมกับ การตรวจภายในและการตรวจทางทวารหนัก </li></ul>
  9. 9. Investigation for clinical staging <ul><li>1. การตรวจร่างกายทั่วไป รวมทั้งการตรวจ ต่อมน้ำเหลืองที่ขาหนีบและไหปลาร้า </li></ul><ul><li>2. การตรวจภายในและตรวจทวารหนักเพื่อดูการลุกลาม </li></ul><ul><li>3. Cystoscopy & Proctoscopy </li></ul><ul><li>4. CBC </li></ul><ul><li>5. UA </li></ul><ul><li>6. Renal function test and Liver function test </li></ul>
  10. 10. <ul><li>การตรวจภาพรังสีของอวัยวะต่างๆได้แก่ </li></ul><ul><li>chest x-ray </li></ul><ul><li>intravenous pyelography (IVP) </li></ul><ul><li>barium enema </li></ul><ul><li>lymphagiography </li></ul><ul><li>ultrasound abdomen and pelvis </li></ul><ul><li>CT, MRI </li></ul>Investigation for clinical staging
  11. 11. Staging <ul><li>ใช้ International Federation of Gynecology and Obstetrics staging (FIGO) 1995 </li></ul><ul><li>เป็นการกำหนดระยะของมะเร็งทางคลินิก (clinical staging) </li></ul>
  12. 12. Staging
  13. 13. Principle of treatment <ul><li>1. การผ่าตัด : ระยะที่ 1 และในระยะ IIA บางราย </li></ul><ul><li>2. รังสีรักษา ใช้ได้กับทุกระยะของโรค </li></ul><ul><li>3. เคมีบำบัด ใช้ในรายที่โรคลุกลามมากแล้วหรือ ในรายที่มะเร็งกลับเป็นซ้ำ </li></ul><ul><li>4. การรักษาโดยใช้หลายวิธีร่วมกัน เช่น การผ่าตัดร่วมกับรังสีรักษา หรือรังสีรักษาร่วมกับเคมีบำบัด </li></ul>
  14. 14. <ul><li>Stage IA hysterectomy, conization , ใส่แร่ </li></ul><ul><li>Stage IB </li></ul><ul><li>1. Wertheim’s operation </li></ul><ul><li>2. Radiation treatment </li></ul><ul><li>lesion< 1 เซนติเมตร ใส่แร่ </li></ul><ul><li>lesion>1 เซนติเมตร ใส่แร่ร่วมกับการฉายรังสีที่ บริเวณ parametrium </li></ul><ul><li>3.Radiation ร่วมกับ surgery ( simple hysterectomy ) </li></ul>
  15. 15. <ul><li>stage II ใช้รังสีรักษา </li></ul><ul><li>stage III ใช้รังสีรักษา </li></ul><ul><li>stage IV </li></ul><ul><li>stage IVA รักษาโดยการฉายรังสีที่บริเวณเชิงกรานเป็นหลัก ส่วนการใส่แร่จะพิจารณาเป็นรายๆ ไป </li></ul><ul><li>stage IVB เป็นเพียง palliative treatment </li></ul>
  16. 16. Radiotherapy <ul><li>ประกอบด้วย 2 ส่วน คือ </li></ul><ul><li>1 External radiotherapy หรือ teletherapy </li></ul><ul><li>2 Intracavitary radiotherapy (ICRT) </li></ul>
  17. 17. <ul><li>1 External radiotherapy หรือ teletherapy </li></ul><ul><li>cobalt 60 หรือ Linear accerelator </li></ul><ul><li>จุดมุ่งหมายให้การรักษาต่อ cervix, pelvic nodes และ parametrium </li></ul><ul><li>2 Intracavitary radiotherapy (ICRT) </li></ul><ul><li>เป็นการใช้ brachytherapy ซึ่งให้รังสีปริมาณสูงที่ตำแหน่งใกล้กับ source และปริมาณรังสีจะลดลงอย่างรวดเร็วในตำแหน่งที่ห่างออกไปจึงเป็นการให้การรักษาที่ตำแหน่งรอยโรคปฐมภูมิโดยตรง </li></ul>
  18. 18. <ul><li>เนื้อเยื่อที่เป็นตัวจำกัดปริมาณรังสีในบริเวณเชิงกรานคือ paracervical tissue ซึ่ง Tod และ Meridith ได้กำหนดจุดซึ่งเป็นที่คำนวณปริมาณรังสีไว้ดังนี้ คือ </li></ul>
  19. 19. External radiotherapy technique <ul><li>1.Simulator </li></ul><ul><li>2. การกำหนดขอบเขตการฉายรังสี </li></ul><ul><li>2.1 Two opposing anteroposterior field (whole pelvic irradiation) </li></ul><ul><li>2.2 Four field technique </li></ul><ul><li>2.3 Parametrial field </li></ul><ul><li>2.4 Paraaortic field (extended field) </li></ul>
  20. 20. Two opposing antero-posterior field (whole pelvic irradiation)
  21. 21. Four field box technique
  22. 22. Parametrial field
  23. 23. Paraaortic field (extended field)
  24. 24. <ul><li>1. Intracavitary radiotherapy (ICRT) </li></ul><ul><li>2. Interstitial implantation </li></ul>Brachytherapy technique
  25. 25. อุปกรณ์ใส่แร่
  26. 26. ภาพเครื่องมือใส่แร่เมื่อใส่ในตัวผู้ป่วย
  27. 27. Film แสดงการใส่เครื่องมือใส่แร่ในท่า AP
  28. 28. Film แสดงการใส่เครื่องมือใส่แร่ในท่า lateral
  29. 29. การกระจายของรังสี (dose distribution) จากการคำนวณ เป็นรูปลูกแพร
  30. 30. Side effect of radiotherapy <ul><li>แบ่งผลข้างเคียงจากการรักษาด้วยรังสีเป็น 2 ระยะคือ </li></ul><ul><li>Acute radiation effect </li></ul><ul><li>พบในช่วงของการรักษาและหายไปในระยะ 2-3 สัปดาห์ หลังการรักษาครบ </li></ul><ul><li>Late radiation effect </li></ul><ul><li>จะเกิดเมื่อเนื้อเยื่อนั้นๆ ได้รับปริมาณรังสีสูงเกินกว่า tolerance dose มักเกิดภายหลังสิ้นสุดการรักษา 6 เดือนขึ้นไป </li></ul>
  31. 31. <ul><li>1. Radiation sickness </li></ul><ul><li>2. Skin </li></ul><ul><li>การเปลี่ยนแปลงระหว่างฉายรังสี : erythematous change ,Hyperpigmentation , dry desquamation </li></ul><ul><li>Moist desquamation </li></ul><ul><li>การเปลี่ยนแปลงหลังฉายรังสีครบ :Hypopigmentation ,Telangicetasia , Chronic ulcer </li></ul>Side effect of radiotherapy
  32. 32. <ul><li>3. Subcutaneous fibrosis </li></ul><ul><li>4. Gastrointestinal tract </li></ul><ul><li>5. Urinary system </li></ul><ul><li>6. Genital organ </li></ul><ul><li>7. Pelvic fibrosis </li></ul>Side effect of radiotherapy
  33. 33. Endometrial cancer
  34. 34. Incidence <ul><li>พบมากเป็นอันดับ 3 ของมะเร็งนรีเวชในผู้ป่วยชาวไทย รองจากมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งรังไข่ </li></ul><ul><li>พบในหญิงสูงอายุวัยหมดประจำเดือน </li></ul><ul><li>ช่วงอายุที่พบ 51-60 ปี อายุเฉลี่ย 55 ปี </li></ul><ul><li>อายุน้อยกว่า 40 ปี จะพบน้อยมาก ยกเว้น ในกลุ่มที่อ้วน หรือมีภาวะไม่มีการตกไข่เรื้อรัง </li></ul>
  35. 35. Risk <ul><li>ฮอร์โมนเอสโตรเจนมีความสัมพันธ์กับการเกิดภาวะ เยื่อบุโพรงมดลูกหนาตัว และ มะเร็งเยื่อบุโพรงมดลูก </li></ul><ul><li>มีประจำเดือนครั้งแรกเร็ว </li></ul><ul><li>หมดประจำเดือนช้า </li></ul><ul><li>มีบุตรน้อยหรือไม่มีบุตร </li></ul><ul><li>มีรูปร่างอ้วน มีความดันโลหิตสูง และเบาหวาน </li></ul><ul><li>รับประทาน Tamoxifen เป็นระยะเวลานาน </li></ul>
  36. 36. <ul><li>เลือดออกผิดปกติทางช่องคลอดมักจะเป็นใน วัยหมดประจำเดือน </li></ul><ul><li>อาการอื่น ๆ ได้แก่ อาการปวดท้อง ตกขาวผิดปกติก้อนในท้อง </li></ul><ul><li>อาการที่เกิดจากโรคที่เป็นมากและแพร่กระจายไปไกล เช่น อาการไอ หอบ หรือปวดกระดูก พบได้น้อย </li></ul>Symptom
  37. 37. <ul><li>Endometrioid adenocarcinoma พบมากที่สุด </li></ul><ul><li>รองลงมาได้แก่ serous adenocarcinoma adenocarcinoma with squamous differentiation squamous cell carcinoma </li></ul><ul><li>ส่วนน้อยจะเป็น sarcoma </li></ul>Pathology
  38. 38. <ul><li>1. อวัยวะข้างเคียงโดยตรง </li></ul><ul><li>2. Exfoliated cells ผ่านออกไปทางท่อนำไข่ </li></ul><ul><li>3. ระบบน้ำเหลือง </li></ul><ul><li>4. ระบบไหลเวียนเลือด </li></ul>Spreading
  39. 39. <ul><li>การตรวจที่ต้องทำในผู้ป่วยทุกราย </li></ul><ul><li>1. ซักประวัติและตรวจร่างกายอย่างละเอียด </li></ul><ul><li>2. การตรวจภายใน </li></ul><ul><li>3. Pap smear </li></ul><ul><li>4. Chest x ray </li></ul><ul><li>5. CBC , LFT and renal function test </li></ul><ul><li>6. Anti HIV </li></ul>Diagnosis
  40. 40. <ul><li>การผ่าตัด : เป็นการรักษามาตรฐานในปัจจุบันคือ TAH and bilateral adnexectomy ร่วมกับการทำ surgical staging </li></ul><ul><li>รังสีรักษา : จะใช้เป็น adjuvant therapy ยกเว้น ในผู้ป่วยบางรายที่ไม่สามารถจะทำการผ่าตัดได้ จึงจะใช้เป็น primary treatment </li></ul><ul><li>ยาเคมีบำบัดรวมถึงฮอร์โมน : มักจะใช้ในผู้ป่วยบางรายโดยเฉพาะ advanced และ recurrent cases เท่านั้น </li></ul>Treatment
  41. 41. <ul><li>1. โรคในระยะที่ 1 และ 2 </li></ul><ul><li>2. อายุน้อย </li></ul><ul><li>3. เป็นร่วมกับเนื้องอกในเชิงกราน เช่น Myoma uteri </li></ul><ul><li>4. ในรายที่มีผลชิ้นเนื้อสงสัยว่ามาจากมะเร็งรังไข่ </li></ul><ul><li>5. มีประวัติปีกมดลูกอักเสบเรื้อรัง </li></ul><ul><li>6. มีผลชิ้นเนื้อเป็น sarcoma </li></ul><ul><li>7. โพรงมดลูกใหญ่มาก หรือมีการทะลุในขณะขูดมดลูก </li></ul>Primary surgery and surgical staging
  42. 42. <ul><li>1. รักษาผู้ป่วยที่มีโรคอยู่ภายในโพรงมดลูกและมีปัญหาโรคทางอายุรกรรมอยู่ด้วยโดยหวังผลให้หายขาด </li></ul><ul><li>2. ใช้เป็น preoperative หรือ postoperative radiation เพื่อลดการกลับเป็นซ้ำของโรคที่ช่องคลอดและในอุ้งเชิงกราน </li></ul><ul><li>3. รักษาผู้ป่วยที่มีโรคอยู่ในอุ้งเชิงกรานที่ไม่สามารถรักษาด้วยการผ่าตัดได้ และตรวจทางคลินิกแล้วไม่พบว่ามีการกระจายของโรคไปไกล </li></ul>Radiotherapy
  43. 43. <ul><li>1. การใส่แร่ ( brachytherapy ) </li></ul><ul><li>2. การฉายรังสี ( external radiation ) </li></ul><ul><li>การจะเลือกใช้วิธีใดหรือใช้ทั้งสองวิธีร่วมกันขึ้นอยู่กับ </li></ul><ul><li>1. ข้อมูลที่ได้จากการผ่าตัดว่ามีการกระจายของโรคมากหรือน้อยเพียงใด </li></ul><ul><li>2. มีปัจจัยเสี่ยงต่อการกลับเป็นซ้ำหรือไม่ </li></ul>Radiotherapy technique
  44. 44. <ul><li>Stage I </li></ul><ul><li>1. ผ่าตัดเอามดลูกออก </li></ul><ul><li>ให้ post operative radiotherapy ใน </li></ul><ul><li>1. grade 3 </li></ul><ul><li>2. Myometrial invasion > 50 % of thickness </li></ul><ul><li>2. ใช้รังสีรักษาเพียงอย่างเดียว สำหรับผู้ป่วยที่ไม่สามารถผ่าตัดได้ก็สามารถโดยการฉายรังสีที่อุ้งเชิงกรานร่วมกับการสอดใส่แร่ซึ่งสามารถทำให้หายขาด </li></ul>Treatment by stage
  45. 45. <ul><li>Stage II </li></ul><ul><li>รักษาด้วยการผ่าตัดและให้รังสีรักษาร่วมด้วย </li></ul><ul><li>Stage III </li></ul><ul><li>ควรได้รับการรักษาด้วยการฉายรังสีก่อนแล้วตามด้วยการสอดใส่แร่ </li></ul><ul><li>ในผู้ป่วยที่สามารถผ่าตัดได้ควรได้รับการผ่าตัดด้วย </li></ul>
  46. 46. <ul><li>ระยะที่ IVA ผู้ป่วยควรได้รับการรักษาด้วยรังสีรักษาโดยการฉายรังสีที่อุ้งเชิงกรานแล้วตามด้วยการสอดใส่แร่ </li></ul><ul><li>ระยะที่ IVB อาจให้การรักษาด้วยการฉายรังสีที่อุ้งเชิงกรานเป็นการรักษาแบบประคับประคองเพื่อลดอาการปวดหรือ ตกเลือด </li></ul>
  47. 47. <ul><li>Four fields box technique </li></ul><ul><li>บริเวณที่ฉายรังสีจะครอบคลุมในอุ้งเชิงกรานทั้งหมดและช่องคลอดมักใช้ คล้ายกับในมะเร็งปากมดลูก </li></ul>External radiotherapy technique
  48. 48. <ul><li>Whole abdominal radiation </li></ul><ul><li>ในกรณีที่มี positive peritoneal cytology หรือพบว่ามีการกระจายของโรคมาที่ peritoneal surface และ / หรือ omentum จะฉายรังสีครอบคลุมช่องท้องทั้งหมด </li></ul>External radiotherapy technique
  49. 49. <ul><li>Extended field external radiation </li></ul><ul><li>ในกรณีที่มี positive paraaortic nodes จะฉายรังสีเพิ่มที่ต่อมน้ำเหลืองข้างหลอดเลือดแดงใหญ่ด้วย </li></ul>External radiotherapy technique
  50. 50. <ul><li>ในรายที่ผ่าตัดแล้วมักจะใส่ ovoid หรือ cylinder </li></ul><ul><li>ส่วนในรายที่ไม่ผ่าตัดจะสอดใส่แร่ครบทั้ง tandem และ ovoid คล้ายกับการรักษาผู้ป่วยมะเร็งปากมดลูก </li></ul>Brachytherapy
  51. 51. Vaginal cancer
  52. 52. <ul><li>เป็นมะเร็งที่พบน้อยมาก </li></ul><ul><li>พบเพียงร้อยละ 1-2 ของมะเร็งอวัยวะสืบพันธุ์สตรี </li></ul><ul><li>มักจะเป็นในสตรีที่อายุค่อนข้างมาก 60-65 ปี </li></ul><ul><li>ไม่ทราบสาเหตุที่แน่นอน </li></ul>Incidence
  53. 53. Symptom and sign <ul><li>ในระยะแรกจะไม่มีอาการ การตรวจภายใน อาจพบเพียงแค่รอยถลอกเท่านั้น </li></ul><ul><li>ในระยะต่อมามักมาด้วยอาการเลือดออกจาก ช่องคลอด มีอาการเจ็บปวดหรือมีตกขาวมีกลิ่นเหม็น </li></ul><ul><li>เนื่องจากพบไม่บ่อยจึงต้องแน่ใจว่าไม่มีก้อนหรือ แผลที่ปากมดลูก </li></ul>
  54. 54. <ul><li>ร้อยละ 90 เป็นชนิด squamous cell CA </li></ul><ul><li>อาจพบ clear cell adenocarcinoma undifferentiated adenocarcinoma sarcoma melanoma </li></ul>Pathology
  55. 55. Spreading <ul><li>อัตราการแพร่กระจายไปต่อมน้ำเหลืองขึ้นอยู่กับ การลุกลามเข้าไปในเนื้อเยื่อข้างเคียง โดยมักไปที่ ต่อมน้ำเหลืองบริเวณ external iliac และ hypogastric nodes </li></ul><ul><li>ถ้ามีมะเร็งลุกลามลงมาที่ส่วนล่างของช่องคลอด ก็อาจมีการแพร่กระจายไปต่อมน้ำเหลืองบริเวณ ขาหนีบ </li></ul>
  56. 56. <ul><li>การซักประวัติ </li></ul><ul><li>การตรวจร่างกาย </li></ul><ul><li>การตรวจภายในอย่างละเอียด </li></ul><ul><li>การตัดชิ้นเนื้อบริเวณรอยโรคที่ผิดปกติ </li></ul><ul><li>Cystoscopy ในรายที่เป็น anterior wall </li></ul><ul><li>Proctoscopy ในรายที่เป็น posterior wall </li></ul><ul><li>Chest x ray , IVP หรือ CT scan </li></ul>Diagnosis
  57. 57. <ul><li>Stage I </li></ul><ul><li>ความลึก < 0.5 cm.-> ใส่แร่ หรือ ผ่าตัด ( local excision or vaginectomy ) </li></ul><ul><li>ความลึก > 0.5 cm. , upper -> radical vaginectomy and pelvic lymphadenectomy </li></ul><ul><li>ความลึก > 0.5 cm. , lower - > จะเพิ่มการทำ inguinal lymphadenectomy หรือให้รังสีรักษาโดยการฝังแร่ ร่วมกับการใส่แร่ </li></ul>Treatment by stage
  58. 58. Treatment by stage <ul><li>Stage II ใช้รังสีรักษาโดยร่วมกันระหว่างการฉายรังสีและใส่แร่ </li></ul><ul><li>Stage III ให้รังสีรักษาโดยการฉายรังสีร่วมกับการฝังแร่และใส่แร่ </li></ul><ul><li>Stage IVA ให้การรักษาเหมือนกับระยะที่ III </li></ul><ul><li>Stage IVB ยังไม่มีการรักษาที่เป็นมาตรฐาน ยกเว้นให้การรักษา ตามอาการ </li></ul>
  59. 59. Vulvar cancer
  60. 60. <ul><li>เป็นมะเร็งที่พบได้น้อย </li></ul><ul><li>ผู้ป่วยส่วนใหญ่อยู่ในระยะหมดระดู </li></ul><ul><li>อายุโดยเฉลี่ยมากกว่า 60 ปี </li></ul>Incidence
  61. 61. Symptom <ul><li>อาการสำคัญที่นำมาพบแพทย์ได้บ่อยที่สุดได้แก่ อาการคัน </li></ul><ul><li>อาการอื่นที่พบได้คือ มีก้อนหรือเจ็บที่อวัยวะสืบพันธุ์ส่วนนอก </li></ul><ul><li>อาการของระบบทางเดินปัสสาวะ คือ ถ่ายบ่อยหรือถ่ายลำบากในกรณีที่ก้อนโตมากและอยู่ใกล้ทางเดินปัสสาวะ </li></ul><ul><li>อาจมาด้วยคลำได้ก้อนที่ขาหนีบเนื่องจากต่อมน้ำเหลืองโต </li></ul><ul><li>โดยธรรมชาติของโรคนี้จะมีการดำเนินโรคอย่างช้า ๆ กินเวลานานกว่าจะมีการแพร่กระจายของโรค </li></ul>
  62. 62. Pathology <ul><li>ส่วนใหญ่เป็นชนิด squamous cell หรือ epidermoid carcinoma </li></ul><ul><li>รองลงมาคือ melanoma </li></ul><ul><li>ส่วนที่เหลือที่อาจพบได้ คือ sarcoma Bartholin gland carcinoma Undifferentiated carcinoma </li></ul>
  63. 63. <ul><li>1. Local growth </li></ul><ul><li>2. Lymphatic spreading </li></ul>Spreading
  64. 64. Treatment <ul><li>การรักษาที่ป็นวิธีมาตรฐานคือ การผ่าตัด radical vulvectomy with en bloc inguino – femoral lymphadenectomy </li></ul><ul><li>ผลการรักษาจะดีมากในผู้ป่วยระยะที่ 1 และ 2 </li></ul><ul><li>ถ้ามีข้อบ่งชี้ดังต่อไปนี้ต้องให้การรักษาด้วยรังสีต่อไป ได้แก่ </li></ul><ul><li>1. มะเร็งระยะที่ T3 และ T4 </li></ul><ul><li>2. มี positive surgical margin หรือ closed margin < 8 มม . </li></ul><ul><li>3. มีมะเร็งในต่อมน้ำเหลือง </li></ul>
  65. 65. Radiotherapy <ul><li>ครอบคลุมทั้ง tumor bed and both inguinal LN </li></ul><ul><li>prophylactic irradiation at both inguinal LN </li></ul><ul><li>RT alone ใช้เป็นการรักษาให้หายขาดแทนการผ่าตัด หรือใช้ในกรณีที่ไม่สามารถทำการผ่าตัดได้ </li></ul><ul><li>Preoperative radiotherapy เพื่อลดขนาดของก้อนมะเร็ง แล้วจึงตามด้วยการผ่าตัดในภายหลัง </li></ul>

×