SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 36
พฤติกรรม  ( Behavior) การตอบสนองของสิ่งมีชีวิตต่อการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อม ทั้งภายนอกร่างกาย และภายในร่างกายเพื่อการอยู่รอด Gene Environment Behavior
สรุป พฤติกรรมของสัตว์เป็นผลจากการทำงานร่วมกันระหว่างปัจจัยทางพันธุกรรมและสภาพแวดล้อม
Gene   -  ควบคุมพฤติกรรมซึ่งพัฒนาให้เหมาะสมกับสภาพแวดล้อมโดย  Natural selection -  ควบคุมระดับการเจริญของ ระบบประสาท ฮอร์โมน กล้ามเนื้อ
ตัวอย่าง   :   งู  ( Garter snake)   -  พวกอยู่บนบกไม่กินทาก -  พวกอยู่ใกล้ชายฝั่งกินทาก Environment Experience Stimulus
ขั้นตอนการเกิดพฤติกรรม   : Stimulus Recepter Effector Integrated Center Behavior ( หน่วยตอบสนอง ) ( สิ่งเร้า ) ( หน่วยรับความรู้สึก ) ( สมอง ,  ไขสันหลัง ) คำสั่ง -  พฤติกรรมจะสลับซับซ้อนมากหรือน้อยขึ้นกับระดับการเจริญของปัจจัยต่าง ๆ ในขั้นตอนการเกิดพฤติกรรมนี้
พฤติกรรมจำแนกได้ออกเป็น  2  ชนิดใหญ่ ๆ คือ ( โดยแสดงพฤติกรรมออกมาได้ในช่วงชีวิตของสิ่งมีชีวิต ) 1. Innate Behavior   :  พฤติกรรมที่มีมาแต่กำเนิดและ   ไม่เปลี่ยนแปลง 2.  Learned Behavior   :   พฤติกรรมที่เกิดจากการเรียนรู้ปรับเปลี่ยนได้ขึ้นกับ  Experience  ในช่วงชีวิต
Innate Behavior   ( Autometic responses to the environment ) เป็นพฤติกรรมง่าย ๆ มีลักษณะเฉพาะตัวที่ใช้ในการตอบสนองต่อสิ่งเร้าชนิดใดชนิดหนึ่ง และพฤติกรรมนี้สัตว์ใน  species  เดียวกันจะตอบสนองต่อสิ่งเร้าอย่างหนึ่งเหมือนกัน  ( Fixed - action pattern)  ตัวอย่าง   :   การกลืนอาหาร ,  การตวัดลิ้นจับแมลง -  พฤติกรรมนี้ได้มาจากกรรมพันธุ์เท่านั้น ไม่จำเป็นต้องเรียนรู้มาก่อน -  พบในสัตว์ชั้นต่ำซึ่งมีระบบประสาทยังไม่เจริญดี เช่น  Protozoa
1. Orientation  :   พฤติกรรมการวางตัวของสัตว์ซึ่งจะเกี่ยวข้องกับ การเคลื่อนที่แบ่งได้  2  แบบ 1.1  Kinesis   พฤติกรรมการเคลื่อนที่โดย ตอบสนองต่อสิ่งเร้าด้วยการเคลื่อนที่หนีหรือเข้าหา โดยไม่มีทิศทาง    เช่น   Paramecium, Isopod ( ตัวกะปิ )
1.2  Taxis   พฤติกรรมการเคลื่อนที่เข้าหาสิ่งเร้า  อย่างมีทิศทางที่แน่นอน   เช่น   หนอนแมลงวัน ,  เห็บ ,  ยุง -  สัตว์จะต้องมี  Sensory receptor  ที่เหมาะสมกับสิ่งเร้า -  ช่วยให้ให้สัตว์หาตำแหน่งของบ้านได้ถูกต้อง
รูปพารามีเซียม  Kinesis  Taxis  Schooling  Kinesis
 
 
Learning  เป็นการเพิ่ม  fitness  ( การอยู่รอดและสืบพันธุ์ )   ให้แก่สัตว์ พฤติกรรมที่ต้องอาศัยประสบการณ์ที่มีในอดีตมาปรับปรุงในพฤติกรรมที่เกิดขึ้น  แบ่งออกได้  หลายแบบ ดังนี้ Learned  Behavior
1.  Habituation   ( ความเคยชิน )   เป็นการลดภาระการตอบสนองของสัตว์ ทำให้ประหยัดพลังงาน พฤติกรรมที่สัตว์เพิกเฉยที่จะตอบสนองต่อสิ่งเร้าที่  มิได้มีผลต่อการดำรงชีวิตเมื่อได้รับการกระตุ้นจากสิ่งเร้านั้นเป็นเวลานาน  ตัวอย่าง  ปูเสฉวน
 
2.Conditioning   ( การเรียนรู้แบบมีเงื่อนไข ) เป็นพฤติกรรมที่สิ่งเร้าตัวหนึ่งเข้าแทนสิ่งเร้าที่  แท้จริง  ( สิ่งเร้าเดิม )  แล้วชักนำให้เกิดการตอบสนอง  ชนิดเดียวกัน ตัวอย่าง   หมา   +  เนื้อ (  Stimulus I ) น้ำลายไหล หมา   +  เสียงกระดิ่ง  +  เนื้อ (  Stimulus II )   น้ำลายไหล หมา   +   เสียงกระดิ่ง น้ำลายไหล
 
3.  Trial and Error :   ( การลองผิดลองถูก )   ซับซ้อนมากกว่า  Habituation เป็นพฤติกรรมที่สัตว์แสดงออกโดยบังเอิญ แล้วถ้าได้รางวัลก็จะชักนำให้ทำพฤติกรรมเช่นนั้นอีก   :  การตอบสนอง   (Response)  ถูกต้องทำให้อยู่รอดและประสบผลสำเร็จในการสืบพันธุ์   -  Reward  ( ให้รางวัล )   -  Punishment   ( การลงโทษ )
 
4.  Imprinting ( ความฝังใจ ) :   การเรียนรู้ที่จำกัดโดยเวลา เป็นพฤติกรรมที่สัตว์สามารถจดจำและผูกพันกับแม่หรือพ่อได้ พฤติกรรมความฝังใจนี้จะเป็นการทำงานร่วมกันระหว่างกรรมพันธุ์และการเรียนรู้ โดยกรรมพันธุ์จะเป็นตัวกำหนดช่วงเวลาที่จำเป็น ซึ่งจะเกิดความฝังใจขึ้น ส่วนการเรียนรู้ความผูกพันระหว่าง สัตว์กับพ่อแม่หรือวัตถุที่จะทำให้เกิดความฝังใจขึ้น
Imprinting
5.  Insight Learning  ( การรู้จักใช้เหตุผล )  :   เกิดในพวก   Primates เป็นพฤติกรรมที่มีการดัดแปลงมาจากการลองผิดลองถูก โดยการเรียนรู้นี้จะเกิดขึ้นอย่างรวดเร็วโดยสัตว์ตอบสนองได้ถูกต้องเลยในครั้งแรก   สรุป Fixed-action pattern   Insight มีเป้าหมาย   เพิ่มโอกาสอยู่รอด   +  โอกาสสืบพันธุ์ (Innate) (Learned)
 
ดังนั้น  Gene   ควบคุมการเรียนรู้ สิ่งต่าง ๆ ด้วยวิธีการต่าง ๆ ให้  Fitness   กับ   Environment
I.  Motivation   ( แรงจูงใจ )   สภาวะภายในตัวสัตว์ที่จะนำไปสู่การแสดงพฤติกรรม อะไรทำให้เกิด  ?   เป็น ผลการทำงานร่วมกันของ 1.  Health 2.  Hormone & Physical condition 3.  CNS 4.  Stimuli 5.  Experience พฤติกรรมต่างชนิดกัน อิทธิพลของแต่ละปัจจัยที่จะทำให้เกิด  Motivation  ก็ต่างกัน ทำอย่างไรสัตว์จึงแสดงพฤติกรรม  ?
II.  Sign Stimuli สิ่งเร้าเฉพาะเจาะจงที่ทำให้เกิดพฤติกรรมนั้นๆ   ข้อควรรู้เกี่ยวกับพฤติกรรม  :  1.  Animal Behavior & Anthropomorphism 2. CNS & Rigidity of Behavior ตัวอย่าง  “  Dead Odor ”  ของมด
ปัญหาเกี่ยวกับพฤติกรรมในการเรียนรู้  :  1.  การพัฒนาการตอบสนองเกิดจากการเรียนรู้ หรือสภาพทางสรีระวิทยา   ตัวอย่าง  การบินของนก 2.  การเรียนรู้ในสถานการณ์ต่างๆ กัน ตัวอย่าง   Digger Wasp   ( Ammophila  sp.)
3.  Sensitive Phase of Learning     ตัวอย่าง  Imprinting 4.  Latent Learning   ตัวอย่าง   การร้องเพลงของนก
 
Communication 1.  Sound ตัวอย่าง  Cricket, Cicadas, grasshoppers, Song Birds 2.  Visual Signal   ตัวอย่าง  Stickleback, Bee Language 3.  Chemical Communication   ตัวอย่าง  Social Insects
 
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
 
 
 
 

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

บทที่10พฤติกรรมสัตว์
บทที่10พฤติกรรมสัตว์บทที่10พฤติกรรมสัตว์
บทที่10พฤติกรรมสัตว์subhapit
 
พฤติกรรมสัตว์
พฤติกรรมสัตว์พฤติกรรมสัตว์
พฤติกรรมสัตว์Pattiya Lasutti
 
Lecture12
Lecture12Lecture12
Lecture12pon-pp
 
พฤติกรรมของสิ่งมีชีวิต - Behaviore
พฤติกรรมของสิ่งมีชีวิต - Behavioreพฤติกรรมของสิ่งมีชีวิต - Behaviore
พฤติกรรมของสิ่งมีชีวิต - Behavioresupreechafkk
 
ประเภทพฤติกรรมของสัตว์
ประเภทพฤติกรรมของสัตว์ประเภทพฤติกรรมของสัตว์
ประเภทพฤติกรรมของสัตว์Temm Quintuplet
 
พฤติกรรมสัตว์
พฤติกรรมสัตว์พฤติกรรมสัตว์
พฤติกรรมสัตว์pronjit.32
 
8.สื่อสารสัตว์ ฟีโรโมน
8.สื่อสารสัตว์ ฟีโรโมน8.สื่อสารสัตว์ ฟีโรโมน
8.สื่อสารสัตว์ ฟีโรโมนWichai Likitponrak
 
ใบงาน พฤติกรรม สิ่งมีชีวิต นักเรียน
ใบงาน พฤติกรรม สิ่งมีชีวิต นักเรียนใบงาน พฤติกรรม สิ่งมีชีวิต นักเรียน
ใบงาน พฤติกรรม สิ่งมีชีวิต นักเรียนสำเร็จ นางสีคุณ
 
การย่อยอาหารของสัตว์
การย่อยอาหารของสัตว์การย่อยอาหารของสัตว์
การย่อยอาหารของสัตว์Y'tt Khnkt
 
Brochure tanakrit 125_no26
Brochure tanakrit 125_no26Brochure tanakrit 125_no26
Brochure tanakrit 125_no26ssuser819bd9
 
แผ่นพับ3
แผ่นพับ3แผ่นพับ3
แผ่นพับ3ssuser9fb8d5
 

Mais procurados (18)

บทที่10พฤติกรรมสัตว์
บทที่10พฤติกรรมสัตว์บทที่10พฤติกรรมสัตว์
บทที่10พฤติกรรมสัตว์
 
Behavior
BehaviorBehavior
Behavior
 
พฤติกรรมสัตว์
พฤติกรรมสัตว์พฤติกรรมสัตว์
พฤติกรรมสัตว์
 
Lecture12
Lecture12Lecture12
Lecture12
 
พฤติกรรมของสิ่งมีชีวิต - Behaviore
พฤติกรรมของสิ่งมีชีวิต - Behavioreพฤติกรรมของสิ่งมีชีวิต - Behaviore
พฤติกรรมของสิ่งมีชีวิต - Behaviore
 
ประเภทพฤติกรรมของสัตว์
ประเภทพฤติกรรมของสัตว์ประเภทพฤติกรรมของสัตว์
ประเภทพฤติกรรมของสัตว์
 
Doc10
Doc10Doc10
Doc10
 
พฤติกรรมสัตว์
พฤติกรรมสัตว์พฤติกรรมสัตว์
พฤติกรรมสัตว์
 
7.พฤติกรรม
7.พฤติกรรม7.พฤติกรรม
7.พฤติกรรม
 
Animal behaviour53
Animal behaviour53Animal behaviour53
Animal behaviour53
 
8.สื่อสารสัตว์ ฟีโรโมน
8.สื่อสารสัตว์ ฟีโรโมน8.สื่อสารสัตว์ ฟีโรโมน
8.สื่อสารสัตว์ ฟีโรโมน
 
ใบงาน พฤติกรรม สิ่งมีชีวิต นักเรียน
ใบงาน พฤติกรรม สิ่งมีชีวิต นักเรียนใบงาน พฤติกรรม สิ่งมีชีวิต นักเรียน
ใบงาน พฤติกรรม สิ่งมีชีวิต นักเรียน
 
การย่อยอาหารของสัตว์
การย่อยอาหารของสัตว์การย่อยอาหารของสัตว์
การย่อยอาหารของสัตว์
 
Animal digestion
Animal digestionAnimal digestion
Animal digestion
 
Brochure tanakrit 125_no26
Brochure tanakrit 125_no26Brochure tanakrit 125_no26
Brochure tanakrit 125_no26
 
ระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหารระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหาร
 
1
11
1
 
แผ่นพับ3
แผ่นพับ3แผ่นพับ3
แผ่นพับ3
 

Semelhante a ตัวอย่างpowerpoint 1

ใบงาน พฤติกรรม สิ่งมีชีวิต นักเรียน
ใบงาน พฤติกรรม สิ่งมีชีวิต นักเรียนใบงาน พฤติกรรม สิ่งมีชีวิต นักเรียน
ใบงาน พฤติกรรม สิ่งมีชีวิต นักเรียนสำเร็จ นางสีคุณ
 
การเรียนรู้Learning
การเรียนรู้Learningการเรียนรู้Learning
การเรียนรู้Learningunyaparn
 
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2Wichai Likitponrak
 
จิตวิทยาการเรียนรู้222222
จิตวิทยาการเรียนรู้222222จิตวิทยาการเรียนรู้222222
จิตวิทยาการเรียนรู้222222tuphung
 
Learning task behavio final
Learning task behavio finalLearning task behavio final
Learning task behavio finalPtato Ok
 
จิตวิทยาการเรียนร้
จิตวิทยาการเรียนร้จิตวิทยาการเรียนร้
จิตวิทยาการเรียนร้kungcomedu
 
จิตวิทยาการเรียนร้2
จิตวิทยาการเรียนร้2จิตวิทยาการเรียนร้2
จิตวิทยาการเรียนร้2kungcomedu
 
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตฟลุ๊ค ลำพูน
 
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตIssara Mo
 
การตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อม
การตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อมการตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อม
การตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อมAnana Anana
 
จิตวิทยาการเรียนรู้231
จิตวิทยาการเรียนรู้231จิตวิทยาการเรียนรู้231
จิตวิทยาการเรียนรู้231Anny Hotelier
 
จิตวิทยาการเรียนรู้231
จิตวิทยาการเรียนรู้231จิตวิทยาการเรียนรู้231
จิตวิทยาการเรียนรู้231Anny Hotelier
 

Semelhante a ตัวอย่างpowerpoint 1 (20)

Behavior
BehaviorBehavior
Behavior
 
ใบงาน พฤติกรรม สิ่งมีชีวิต นักเรียน
ใบงาน พฤติกรรม สิ่งมีชีวิต นักเรียนใบงาน พฤติกรรม สิ่งมีชีวิต นักเรียน
ใบงาน พฤติกรรม สิ่งมีชีวิต นักเรียน
 
5 behavi plan
5 behavi plan5 behavi plan
5 behavi plan
 
การเรียนรู้Learning
การเรียนรู้Learningการเรียนรู้Learning
การเรียนรู้Learning
 
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
 
จิตวิทยาการเรียนรู้222222
จิตวิทยาการเรียนรู้222222จิตวิทยาการเรียนรู้222222
จิตวิทยาการเรียนรู้222222
 
Learning task behavio final
Learning task behavio finalLearning task behavio final
Learning task behavio final
 
Learning task behavio final
Learning task behavio finalLearning task behavio final
Learning task behavio final
 
การรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนองการรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนอง
 
จิตวิทยาการเรียนร้
จิตวิทยาการเรียนร้จิตวิทยาการเรียนร้
จิตวิทยาการเรียนร้
 
animals
animalsanimals
animals
 
คอม
คอมคอม
คอม
 
สัตว์
สัตว์สัตว์
สัตว์
 
จิตวิทยาการเรียนร้2
จิตวิทยาการเรียนร้2จิตวิทยาการเรียนร้2
จิตวิทยาการเรียนร้2
 
1
11
1
 
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
 
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
 
การตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อม
การตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อมการตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อม
การตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อม
 
จิตวิทยาการเรียนรู้231
จิตวิทยาการเรียนรู้231จิตวิทยาการเรียนรู้231
จิตวิทยาการเรียนรู้231
 
จิตวิทยาการเรียนรู้231
จิตวิทยาการเรียนรู้231จิตวิทยาการเรียนรู้231
จิตวิทยาการเรียนรู้231
 

ตัวอย่างpowerpoint 1

  • 1. พฤติกรรม ( Behavior) การตอบสนองของสิ่งมีชีวิตต่อการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อม ทั้งภายนอกร่างกาย และภายในร่างกายเพื่อการอยู่รอด Gene Environment Behavior
  • 3. Gene - ควบคุมพฤติกรรมซึ่งพัฒนาให้เหมาะสมกับสภาพแวดล้อมโดย Natural selection - ควบคุมระดับการเจริญของ ระบบประสาท ฮอร์โมน กล้ามเนื้อ
  • 4. ตัวอย่าง : งู ( Garter snake) - พวกอยู่บนบกไม่กินทาก - พวกอยู่ใกล้ชายฝั่งกินทาก Environment Experience Stimulus
  • 5. ขั้นตอนการเกิดพฤติกรรม : Stimulus Recepter Effector Integrated Center Behavior ( หน่วยตอบสนอง ) ( สิ่งเร้า ) ( หน่วยรับความรู้สึก ) ( สมอง , ไขสันหลัง ) คำสั่ง - พฤติกรรมจะสลับซับซ้อนมากหรือน้อยขึ้นกับระดับการเจริญของปัจจัยต่าง ๆ ในขั้นตอนการเกิดพฤติกรรมนี้
  • 6. พฤติกรรมจำแนกได้ออกเป็น 2 ชนิดใหญ่ ๆ คือ ( โดยแสดงพฤติกรรมออกมาได้ในช่วงชีวิตของสิ่งมีชีวิต ) 1. Innate Behavior : พฤติกรรมที่มีมาแต่กำเนิดและ ไม่เปลี่ยนแปลง 2. Learned Behavior : พฤติกรรมที่เกิดจากการเรียนรู้ปรับเปลี่ยนได้ขึ้นกับ Experience ในช่วงชีวิต
  • 7. Innate Behavior ( Autometic responses to the environment ) เป็นพฤติกรรมง่าย ๆ มีลักษณะเฉพาะตัวที่ใช้ในการตอบสนองต่อสิ่งเร้าชนิดใดชนิดหนึ่ง และพฤติกรรมนี้สัตว์ใน species เดียวกันจะตอบสนองต่อสิ่งเร้าอย่างหนึ่งเหมือนกัน ( Fixed - action pattern) ตัวอย่าง : การกลืนอาหาร , การตวัดลิ้นจับแมลง - พฤติกรรมนี้ได้มาจากกรรมพันธุ์เท่านั้น ไม่จำเป็นต้องเรียนรู้มาก่อน - พบในสัตว์ชั้นต่ำซึ่งมีระบบประสาทยังไม่เจริญดี เช่น Protozoa
  • 8. 1. Orientation : พฤติกรรมการวางตัวของสัตว์ซึ่งจะเกี่ยวข้องกับ การเคลื่อนที่แบ่งได้ 2 แบบ 1.1 Kinesis พฤติกรรมการเคลื่อนที่โดย ตอบสนองต่อสิ่งเร้าด้วยการเคลื่อนที่หนีหรือเข้าหา โดยไม่มีทิศทาง เช่น Paramecium, Isopod ( ตัวกะปิ )
  • 9. 1.2 Taxis พฤติกรรมการเคลื่อนที่เข้าหาสิ่งเร้า อย่างมีทิศทางที่แน่นอน เช่น หนอนแมลงวัน , เห็บ , ยุง - สัตว์จะต้องมี Sensory receptor ที่เหมาะสมกับสิ่งเร้า - ช่วยให้ให้สัตว์หาตำแหน่งของบ้านได้ถูกต้อง
  • 11.  
  • 12.  
  • 13. Learning เป็นการเพิ่ม fitness ( การอยู่รอดและสืบพันธุ์ ) ให้แก่สัตว์ พฤติกรรมที่ต้องอาศัยประสบการณ์ที่มีในอดีตมาปรับปรุงในพฤติกรรมที่เกิดขึ้น แบ่งออกได้ หลายแบบ ดังนี้ Learned Behavior
  • 14. 1. Habituation ( ความเคยชิน ) เป็นการลดภาระการตอบสนองของสัตว์ ทำให้ประหยัดพลังงาน พฤติกรรมที่สัตว์เพิกเฉยที่จะตอบสนองต่อสิ่งเร้าที่ มิได้มีผลต่อการดำรงชีวิตเมื่อได้รับการกระตุ้นจากสิ่งเร้านั้นเป็นเวลานาน ตัวอย่าง ปูเสฉวน
  • 15.  
  • 16. 2.Conditioning ( การเรียนรู้แบบมีเงื่อนไข ) เป็นพฤติกรรมที่สิ่งเร้าตัวหนึ่งเข้าแทนสิ่งเร้าที่ แท้จริง ( สิ่งเร้าเดิม ) แล้วชักนำให้เกิดการตอบสนอง ชนิดเดียวกัน ตัวอย่าง หมา + เนื้อ ( Stimulus I ) น้ำลายไหล หมา + เสียงกระดิ่ง + เนื้อ ( Stimulus II ) น้ำลายไหล หมา + เสียงกระดิ่ง น้ำลายไหล
  • 17.  
  • 18. 3. Trial and Error : ( การลองผิดลองถูก ) ซับซ้อนมากกว่า Habituation เป็นพฤติกรรมที่สัตว์แสดงออกโดยบังเอิญ แล้วถ้าได้รางวัลก็จะชักนำให้ทำพฤติกรรมเช่นนั้นอีก : การตอบสนอง (Response) ถูกต้องทำให้อยู่รอดและประสบผลสำเร็จในการสืบพันธุ์ - Reward ( ให้รางวัล ) - Punishment ( การลงโทษ )
  • 19.  
  • 20. 4. Imprinting ( ความฝังใจ ) : การเรียนรู้ที่จำกัดโดยเวลา เป็นพฤติกรรมที่สัตว์สามารถจดจำและผูกพันกับแม่หรือพ่อได้ พฤติกรรมความฝังใจนี้จะเป็นการทำงานร่วมกันระหว่างกรรมพันธุ์และการเรียนรู้ โดยกรรมพันธุ์จะเป็นตัวกำหนดช่วงเวลาที่จำเป็น ซึ่งจะเกิดความฝังใจขึ้น ส่วนการเรียนรู้ความผูกพันระหว่าง สัตว์กับพ่อแม่หรือวัตถุที่จะทำให้เกิดความฝังใจขึ้น
  • 22. 5. Insight Learning ( การรู้จักใช้เหตุผล ) : เกิดในพวก Primates เป็นพฤติกรรมที่มีการดัดแปลงมาจากการลองผิดลองถูก โดยการเรียนรู้นี้จะเกิดขึ้นอย่างรวดเร็วโดยสัตว์ตอบสนองได้ถูกต้องเลยในครั้งแรก สรุป Fixed-action pattern Insight มีเป้าหมาย เพิ่มโอกาสอยู่รอด + โอกาสสืบพันธุ์ (Innate) (Learned)
  • 23.  
  • 24. ดังนั้น Gene ควบคุมการเรียนรู้ สิ่งต่าง ๆ ด้วยวิธีการต่าง ๆ ให้ Fitness กับ Environment
  • 25. I. Motivation ( แรงจูงใจ ) สภาวะภายในตัวสัตว์ที่จะนำไปสู่การแสดงพฤติกรรม อะไรทำให้เกิด ? เป็น ผลการทำงานร่วมกันของ 1. Health 2. Hormone & Physical condition 3. CNS 4. Stimuli 5. Experience พฤติกรรมต่างชนิดกัน อิทธิพลของแต่ละปัจจัยที่จะทำให้เกิด Motivation ก็ต่างกัน ทำอย่างไรสัตว์จึงแสดงพฤติกรรม ?
  • 26. II. Sign Stimuli สิ่งเร้าเฉพาะเจาะจงที่ทำให้เกิดพฤติกรรมนั้นๆ ข้อควรรู้เกี่ยวกับพฤติกรรม : 1. Animal Behavior & Anthropomorphism 2. CNS & Rigidity of Behavior ตัวอย่าง “ Dead Odor ” ของมด
  • 27. ปัญหาเกี่ยวกับพฤติกรรมในการเรียนรู้ : 1. การพัฒนาการตอบสนองเกิดจากการเรียนรู้ หรือสภาพทางสรีระวิทยา ตัวอย่าง การบินของนก 2. การเรียนรู้ในสถานการณ์ต่างๆ กัน ตัวอย่าง Digger Wasp ( Ammophila sp.)
  • 28. 3. Sensitive Phase of Learning ตัวอย่าง Imprinting 4. Latent Learning ตัวอย่าง การร้องเพลงของนก
  • 29.  
  • 30. Communication 1. Sound ตัวอย่าง Cricket, Cicadas, grasshoppers, Song Birds 2. Visual Signal ตัวอย่าง Stickleback, Bee Language 3. Chemical Communication ตัวอย่าง Social Insects
  • 31.  
  • 32.
  • 33.  
  • 34.  
  • 35.  
  • 36.