SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 88
Baixar para ler offline
กฎหมายเอกเทศสัญญา
นางสาวรัตนาภรณ์ โพธิ์บุญ 531121704
นายปวิณ เกษวงศ์รอต 531121705
นางสาววรรณฤดี กลีบบัว 531121707
นางสาวนิดา ทองสว่าง 531121711
โปรแกรมวิชาสังคมศึกษา คณะครุศาสตร์
มหาวิทยาลัยราชภัฏกาแพงเพชร
เอกเทศสัญญา หมายถึง สัญญาชนิดที่มีชื่อซึ่งประมวล
กฎหมายแพ่งและพาณิชย์บรรพ 3 ได้กาหนดลักษณะ
และรายละเอียดของเอกเทศสัญญาไว้เอกเทศสัญญามี
ทั้งสิ้น 22 ประเภท 1. ซื้อขาย 2. แลกเปลี่ยน
3. ให้ 4. เช่าทรัพย์ 5. เช่าซื้อ 6. จ้างแรงงาน
7. จ้างทาของ 8. รับขน 9. ยืม 10. ฝากทรัพย์
11. ค้าประกัน 12. จานอง 13. จานา
14. เก็บของในคลังสินค้า 15. ตัวแทน
16.นายหน้า 17.ประนีประนอมยอมความ
18.การพนันและขันต่อ 19.บัญชีเดินสะพัด
20.ประกันภัย 21.ตั๋วเงิน 22.หุ้นส่วนและบริษัท
ส่วนสัญญาอื่นๆ นอกเหนือจากเอกเทศสัญญาทั้ง 22
ประเภทเรียกว่า “สัญญาไม่มีชื่อ” ซึ่งใช้บังคับตามกฎหมายได้
เช่นเดียวกันตามหลักเสรีภาพในการทาสัญญา เช่น สัญญาเล่น
แชร์ สัญญาจัดตั้งกิจการร่วมค้า สัญญาต่างตอบแทนพิเศษยิ่ง
กว่าสัญญาเช่าธรรมดาเป็นต้น
สัญญาซึ่งบุคคลฝ่ายหนึ่งเรียก “ผู้ขาย” โอนกรรมสิทธ์
แห่งทรัพย์สินให้แก่บุคคลอีกฝ่ายหนึ่งเรียกว่า “ผู้ซื้อ”
และผู้ซื้อตกลงว่าจะใช้ราคาทรัพย์สินนั้นแก่ผู้ขาย
ผู้ขาย
โอนกรรมสิทธ์แห่งทรัพย์สิน
ผู้ซื้อ
ราคาทรัพย์สิน
ลักษณะของสัญญาซื้อขาย
1. เป็นสัญญาต่างตอบแทน
2. เป็นสัญญาที่มีวัตถุประสงค์ในการโอนกรรมสิทธิ์ใน
ทรัพย์สิน สัญญาซื้อขายเป็นสัญญาที่ผู้ขายตกลงโอน
กรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินของตนให้แก่ผู้ซื้อ
3. เป็นสัญญาที่มีวัตถุประสงค์ในการชาระราคาเพื่อตอบแทน
การโอนกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สิน
4. เป็นสัญญาที่มีวัตถุของสัญญาเป็นทรัพย์สิน
แบบของสัญญาซื้อขาย
1. สัญญาซื้อขายอสังหาริมทรัพย์หรือสังหาริมทรัพย์ชนิดพิเศษ
สัญญาซื้อขายอสังหาริมทรัพย์หรือสัญญาซื้อขาย
สังหาริมทรัพย์ชนิดพิเศษ ซึ่งได้แก่ เรือมีระวาง ๕ ตันขึ้นไป
แพที่อยู่อาศัย และสัตว์พาหนะ กฎหมายบังคับให้ต้องทา
หนังสือและจดทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ หากไม่ทาการ
ดังกล่าวจะมีผลให้สัญญาซื้อขายนั้นต้องเป็นโมฆะ
แบบของสัญญาซื้อขาย(ต่อ)
1. ตัวอย่างสัญญาซื้อขายอสังหาริมทรัพย์หรือสังหาริมทรัพย์
ชนิดพิเศษ
อี๊ดซื้อช้างของเมย์สัญญาดังกล่าวจะมีผลสมบูรณ์ก็ต่อเมื่อทา
เป็นหนังสือและจดทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ หากอี๊ด
และเมย์ไม่ทาสัญญาเป็นหนังสือและจดทะเบียนต่อพนักงาน
เจ้าหน้าที่ สัญญาซื้อขายนั้นจะตกเป็นโมฆะ ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่ง
จะเรียกให้อีกฝ่ายปฏิบัติตามสัญญาไม่ได้
แบบของสัญญาซื้อขาย(ต่อ)
1. ตัวอย่างสัญญาซื้อขายอสังหาริมทรัพย์หรือสังหาริมทรัพย์
ชนิดพิเศษ
ช้าง
ทาสัญญาเป็นหนังสือ
และจดทะเบียนต่อ
พนักงานเจ้าหน้าที่
อี๊ดซื้อ
เมย์ขาย
แบบของสัญญาซื้อขาย(ต่อ)
2. สัญญาจะซื้อจะขายอสังหาริมทรัพย์หรือสังหาริมทรัพย์ชนิดพิเศษ
การสัญญาว่าจะมาทาสัญญาซื้อขายกันในอนาคต กฎหมาย
กาหนดให้ต้องทาหลักฐานเป็นหนังสือลงลายมือชื่อฝั่งที่ต้องรับผิด
หรือวางมัดจา หรือชาระหนี้บางส่วน หากไม่ทาการอย่างใดอย่าง
หนึ่ง สัญญาจะซื้อจะขายนั้นไม่สามารถฟ้องร้องบังคับคดีกันได้
อย่างไรก็ตามสัญญาดังกล่าวก็ยังสมบูรณ์ไม่ตกเป็นโมฆะแต่อย่างใด
แบบของสัญญาซื้อขาย
3. สัญญาซื้อขายสังหาริมทรัพย์ที่มีราคาตั้งแต่ 20,000 บาทขึ้นไป
กฎหมายกาหนดให้ต้องทาหลักฐานเป็นหนังสือลงลายมือชื่อฝ่ายที่
ต้องรับผิด หรือวางมัดจา หรือชาระหนี้บางส่วนหากไม่ทาการอย่าง
ใดอย่างหนึ่ง สัญญาจะซื้อจะขายนั้นไม่สามารถฟ้องร้องบังคับคดีกัน
ได้อย่างไรก็ตาม สัญญาดังกล่าวก็ยังสมบูรณ์ไม่ตกเป็นโมฆะแต่อย่าง
ใด ดังนั้น สัญญาซื้อขายสังหาริมทรัพย์ที่มีราคาต่ากว่า 20,000 บาท
แม้ไม่ทาเป็นหลักฐานเป็นหนังสือลงลายมือชื่อฝั่งที่ต้องรับผิด หรือ
วางมัดจา หรือชาระหนี้บางส่วน คู่สัญญาก็สามารถฟ้องร้องต่อศาล
ให้รับผิดตามสัญญาได้เสมอ
การโอนกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินที่ซื้อขาย
สัญญาซื้อขายอยู่ภายในเงื่อนไขบังคับก่อนหรือเงื่อนเวลาเริ่มต้น
กล่าวคือ สัญญาที่มีเงื่อนไขบังคับก่อนหรือเงื่อนเวลาเริ่มต้นนั้น สัญญา
จะมีผลอันทาให้กรรมสิทธิ์โอนไปยังผู้ซื้อก็ต่อเมื่อเงื่อนไขสาเร็จหรือ
เงื่อนเวลาที่กาหนดมาถึง
สัญญาซื้อขายทรัพย์สินที่กาหนดไว้แต่ละประเภท ได้แก่ กรณีที่
ทรัพย์สินอันเป็นวัตถุแห่งสัญญายังไม่เป็น “ทรัพย์เฉพาะสิ่ง” แต่ได้ถูก
กาหนดไว้แต่เพียงประเภทเท่านั้น ถึงแม้ว่าสัญญาซื้อขายจะเกิดขึ้น
แล้วแต่กรรมสิทธิ์ก็ยังไม่โอนจากผู้ขายไปยังผู้ซื้อจนกว่าจะได้ทาให้
ทรัพย์สินที่ซื้อขายเป็นทรัพย์เฉพาะสิ่งเสียก่อน
การโอนกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินที่ซื้อขาย(ต่อ)
สัญญาซื้อขายทรัพย์เฉพาะสิ่งที่ยังต้องดาเนินการอย่างใดอย่างหนึ่ง
เพื่อให้รู้ราคากรรมสิทธิ์ในทรัพย์เฉพาะสิ่งดังกล่าวก็ยังไม่โอนจากผู้ขาย
ไปยังผู้ซื้อทันทีที่สัญญาเกิด แต่กรรมสิทธิ์ในทรัพย์เฉพาะสิ่งดังกล่าวจะ
โอนไปยังผู้ซื้อได้ก็ต่อเมื่อได้ดาเนินการอย่างใดอย่างหนึ่งเพื่อให้รู้ราคาที่
แน่นอน เช่น นับ ชั่ง ตวง วัด เป็นต้น
สัญญาซื้อขายทรัพย์สินที่คู่สัญญาตกลงให้กรรมสิทธิ์ยังไม่โอนทันทีที่
สัญญาเกิด กล่าวคือ ในสัญญาซื้อขายนั้นคู่สัญญาสามารถตกลงกันได้ว่า
จะให้กรรมสิทธิ์นั้นโอนไปเมื่อใดก็ได้ตามที่ต้องการ ซึ่งจะทาให้
กรรมสิทธิ์ยังไม่โอนไปยังผู้ซื้อทันทีที่สัญญาเกิด
สัญญาซื้อขายเฉาพะอย่าง
สัญญาขายฝาก สัญญาซื้อขายซึ่งกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินตกไปยังผู้
ซื้อ โดยมีข้อตกลงกันว่าผู้ขายอาจถ่ายทรัพย์สินนั้นคืนได้ภายใน
ระยะเวลาที่กาหนด หากผู้ขายไม่ไถ่ทรัพย์คืนในเวลาดังกล่าว ผู้ขาย
จะไม่สามารถไถ่ทรัพย์ได้อีกต่อไป
กฎหมายได้กาหนดระยะเวลาที่ไถ่ทรัพย์สินของสัญญาขายฝากไว้๒
ระยะเวลาตามชนิดของทรัพย์ที่ขายฝาก ดังนี้
กรณีอสังหาริมทรัพย์มีกาหนดระยะเวลาไถ่ทรัพย์สิน๑๐ ปี
กรณีสังหาริมทรัพย์มีกาหนดระยะเวลาไถ่ทรัพย์สิน ๓ ปี
สัญญาซื้อขายเฉาพะอย่าง
ตัวอย่างสัญญาขายฝาก
เมย์ขายที่ดินแก่อี๊ดโดยมีข้อตกลงกันว่า ภายในเวลา ๑๐ ปีนับแต่วันที่ได้
ทาสัญญากันนั้น เมย์สามารถนาเงินไปไถ่ที่ดินนั้นคืนจากอี๊ดได้เสมอ
สัญญาซื้อขายดังกล่าวจึงเป็นสัญญาขายฝาก 10 ปี จากวัน
ทาสัญญานี้นะ
อี๊ดเครๆ
สัญญาซื้อขายเฉาพะอย่าง
สัญญาขายตามตัวอย่าง ขายตามคาพรรณนา ขายเผื่อชอบ
สัญญาขายตามตัวอย่าง หมายถึง สัญญาซื้อขายอย่างหนึ่งที่ผู้ขายให้ผู้ซื้อ
ได้มีโอกาสตรวจดูหรือใช้ทรัพย์สินที่จะซื้อขายเป็นตัวอย่างก่อนที่จะ
ตกลงทาสัญญาซื้อขาย ทรัพย์สินที่นามาให้ตรวจดูหรือใช้เป็นเพียง
ตัวอย่างสินค้าเท่านั้นไม่ใช่ตัวสินค้าที่จะส่งมอบกันจริงๆ ในการขายตาม
ตัวอย่างนั้นผู้ขายต้องส่งมอบทรัพย์สินให้ตรงตามตัวอย่างที่นามาให้ผู้ซื้อ
ตรวจดูหรือให้
สัญญาซื้อขายเฉาพะอย่าง
สัญญาขายตามตัวอย่าง ขายตามคาพรรณนา ขายเผื่อชอบ
สัญญาขายตามคาพรรณนา หมายถึง สัญญาซื้อขายอย่างหนึ่งที่ผู้ซื้อไม่มี
โอกาสได้เห็นเละตรวจคุณภาพของทรัพย์สิน แต่ผู้ซื้อได้ตกลงซื้อโดย
เชื่อคาพรรณนาถึงลักษณะ รูปพรรณและคุณภาพของสินค้าที่ผู้ขายได้
พรรณนาไว้ในการขายตามคาพรรณนานั้นผู้ขายต้องส่งมอบทรัพย์สิน
ให้ตรงตามคาพรรณนา
สัญญาซื้อขายเฉาพะอย่าง
สัญญาขายตามตัวอย่าง ขายตามคาพรรณนา ขายเผื่อชอบ
สัญญาขายเผื่อชอบ หมายถึง สัญญาซื้อขายอย่างหนึ่งที่มีเงื่อนไขว่าให้ผู้
ซื้อได้มีการตรวจดูทรัพย์สินก่อน โดยผู้ซื้อจะซื้อหรือไม่ก็ได้ กล่าวคือ
หากผู้ซื้อชอบและแสดงความจานงว่าจะซื้อทรัพย์สินนั้น สัญญาซื้อขาย
จึงจะเกิดขึ้นและกรรมสิทธิ์จึงจะโอนไปยังผู้ซื้อ ในทางตรงกันข้ามถ้าผู้
ซื้อไม่ชอบก็ปฏิเสธได้ สัญญาซื้อขายก็ไม่เกิดขึ้น กรรมสิทธิ์ก็ไม่โอนไป
ยังผู้ซื้อ สัญญาขายเผื่อชอบนั้นทรัพย์สินที่จะซื้อขายกันจะเป็นทรัพย์สิน
ชิ้นเดียวกับทรัพย์สินที่นามาให้ผู้ซื้อตรวจดูซึ่งต่างจากสัญญาขายตาม
ตัวอย่าง
สัญญาซื้อขายเฉาพะอย่าง
สัญญาขายทอดตลาด
สัญญาซื้อขายอย่างหนึ่งที่ผู้ขายนาทรัพย์สินออกเสนอขายโดยให้ผู้
ซื้อสู้ราคากัน การขายทอดตลาดเป็นการขายแบบเปิดเผย กล่าวคือ
ผู้ขายไม่ได้ติดต่อกับผู้ซื้อเป็นรายคน แต่ได้เปิดโอกาสให้ผู้ซื้อ
หลายๆคนเข้ามาแข่งขันประมูลราคากัน ถ้าใครให้ราคาสูงสุดก็จะ
ขายทรัพย์สินดังกล่าวให้ผู้นั้น
การขายทอดตลาดย่อมบริบูรณ์เมื่อผู้ทอดตลาดแสดงความ
ตกลงด้วยวิธีการเคาะไม้หรือด้วยกกริยาอย่างใดอย่างหนึ่งในการ
ขายทอดตลาด
ความรับผิดในความชารุดบกพร่องของทรัพย์สินที่ขาย
หากทรัพย์สินที่ซื้อขายนั้นชารุดบกพร่องจนเป็นเหตุให้ทรัพย์สินนั้น
เสื่อมราคาหรือเสื่อมความเหมาะสมแก่ประโยชน์อันมุ่งจะใช้เป็นปกติ
หรือแก่ประโยชน์ที่มุ่งหมายโนสัญญา ผู้ขายย่อมต้องรับผิดต่อผู้ซื้อทั้งใน
กรณีที่ผู้ขายรู้ถึงความชารุดบกพร่องนั้นอยู่แล้วและในกรณีที่ผู้ขายไม่รู้
ถึงความชารุดบกพร่องนั้นเลย โดยความชารุดบกพร่องที่ผู้ขายต้อง
รับผิดชอบนั้นจะต้องมีอยู่ก่อนหรือขณะทาสัญญาซื้อขาย หรือก่อนการ
ส่งมอบทรัพย์สินเสร็จสิ้นลง ทั้งนี้ ผู้ซื้อต้องฟ้องให้ผู้ขายรับผิดชอบใน
ความชารุดบกพร่องของทรัพย์สินที่ขายภายในอายุความ ๑ ปี นับแต่เวลา
ที่ผู้ซื้อได้พบเห็นความชารุดบกพร่องนั้น
ความรับผิดในความชารุดบกพร่องของทรัพย์สินที่ขาย
อย่างไรก็ดี ผู้ขายไม่ต้องรับผิดในความชารุดบกพร่องในทรัพย์สินที่ขาย หาก
เข้าข้อยกเว้นอย่างใดอย่างหนึ่งใน ๓ ประการ ดังต่อไปนี้
1. ถ้าผู้ซื้อได้รู้อยู่แล้วแต่ในเวลาซื้อขายว่ามีความชารุดบกพร่องหรือควรจะได้
รู้เช่นนั้นหากได้ใช้ความระมัดระวังอันจะพึงคาดหมายได้ด้วยวิญญูชน
2. ถ้าความชารุดบกพร่องนั้นเป็นอันเห็นประจักษ์แล้วในเวลาส่งมอบและ
ผู้ซื้อรับเอาทรัพย์สินนั้นไว้โดยมิได้อิดเอื้อน
3. ถ้าทรัพย์สินนั้นได้ขายทอดตลาด
นอกจากนี้ ผู้ขายอาจตกลงกับผู้ซื้อผู้ขายจะต้องไม่ต้องรับผิดในความ
ชารุดบกพร่องของทรัพย์สินที่ขายก็ได้โดยกาหนดข้อตกลงนั้นไว้ในสัญญา
ซื้อขาย
สัญญาแลกเปลี่ยน หมายถึง สัญญาซึ่งคู่สัญญาต่างโอนกรรมสิทธิ์ใน
ทรัพย์สินของแต่ละฝ่ายให้กันและกัน โดยทรัพย์สินที่นามาแลกเปลี่ยน
กันนั้นต้องไม่ใช้เงิน หากคู่สัญญาฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งนาเงินไปแลกเปลี่ยน
กับทรัพย์สินอื่นที่ไม่ใช่เงิน สัญญานั้นก็จะไม่ใช่สัญญาแลกเปลี่ยนแต่
เป็นสัญญาซื้อขาย
สัญญาแลกเปลี่ยนมีลักษณะสาคัญเหมือนกับสัญญาซื้อขายอย่างยิ่ง
กล่าวคือ ทั้งสัญญาซื้อขายและสัญญาแลกเปลี่ยนต่างก็เป็นสัญญาต่าง
ตอบแทน เป็นสัญญาที่มีวัตถุประสงค์ในการโอนกรรมสิทธ์ในทรัพย์สิน
และมีสัญญาที่มีวัตถุของสัญญาเป็นทรัพย์สินเหมือนกัน แต่แตกต่างกัน
ตรงที่สัญญาซื้อขายเป็นการเอาของแลกกับเงิน ในขณะที่สัญญา
แลกเปลี่ยนเป็นการเอาของแลกกับของ
สัญญาซึ่งบุคคลคนหนึ่งเรียกว่า “ผู้ให้” โอนกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สิน
ของตนให้โดยเสน่หาแก่บุคคลอีกคนหนึ่งเรียกว่า “ผู้รับ” และผู้รับ
ยอมรับเอาทรัพย์สินนั้น
อี๊ด
แบ่งให้เมย์
500 บาท
รับเงินด้วยความดีใจ
อี๊ดถูกรางวัลที่ 1
ได้เงิน 2 ล้านบาท
เมย์
ลักษณะของสัญญาให้
1. เป็นสัญญาไม่ต่างตอบแทน
2. เป็นสัญญาที่มีวัตถุประสงค์ในการโอนกรรมสิทธิ์ของทรัพย์สิน
3. เป็นสัญญาที่ผู้ให้โอนกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินแก่ผู้รับโดยเสน่หา
4. เป็นสัญญาที่สมบูรณ์เมื่อส่งมอบทรัพย์สินที่ให้
การถอนคืนการให้เพราะเหตุผู้รับประพฤติเนรคุณ
โดยหลักแล้วเมื่อผู้ให้ส่งมอบทรัพย์สินแก่ผู้รับแล้ว ผู้ให้จะเรียกคืน
ทรัพย์สินนั้นจากผู้รับไม่ได้ แต่ถ้าผู้รับประพฤติเนรคุณแก่ผู้ให้ กฎหมาย
ก็เปิดโอกาสให้ผู้ให้ ให้สามารถเรียกทรัพย์สินนั้นคืนจากผู้รับได้
ซึ่งเรียกว่า “การถอนคืนการให้” โดยผู้ให้จะเรียกถอนคืนการให้เพราะ
เหตุผู้รับประพฤติเนรคุณได้เฉพาะใน ๓ กรณีดังนี้
1. ผู้รับได้ประทุษร้ายต่อผู้ให้อันเป็นความผิดฐานอาญาอย่างร้ายแรง
ตามประมวลกฎหมายอาญา
2. ผู้รับได้ทาให้ผู้ให้เสียชื่อเสียงหรือหมิ่นประมาทผู้ให้อย่างร้ายแรง
3. ผู้รับได้บอกปัดไม่ยอมให้สิ่งของจาเป็นเลี้ยงชีวิตแก่ผู้ให้
ในเวลาที่ผู้ให้ยากไร้และผู้รับยังสามารถจะให้ได้
สัญญาซึ่งบุคคลหนึ่งเรียกว่า "ผู้ให้เช่า" ตกลงให้บุคคลอีกคน
หนึ่งเรียกว่า "ผู้เช่า" ได้ใช้หรือได้รับประโยชน์ในทรัพย์สิน
อย่างใดอย่างหนึ่ง ตามกาหนดเวลาที่ได้ตกลงกันไว้และผู้เช่า
ตกลงจะให้ค่าเช่าแก่ผู้ให้เช่าเป็นการตอบแทนจากการที่ตนได้
ใช้หรือรับประโยชน์ในทรัพย์สินที่เช่า
ลักษณะของสัญญาเช่าทรัพย์
1. เป็นสัญญาต่างตอบแทน กล่าวคือ ผู้ให้เช่าและผู้เช่าต่างมีหน้าที่
ปฏิบัติต่างตอบแทนซึ่งกันและกัน ได้แก่ ผู้ให้เช่าต้องส่งมอบ
ทรัพย์สินที่ให้เช่าแกผู้เช่า และผู้เช่าต้องชาระค่าเช่าแก่ผู้ให้เช่าเป็น
การตอบแทน
2. เป็นสัญญาที่ไม่ได้มีการโอนกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สิน ดังนั้นผู้ให้เช่า
อาจไม่ใช่เจ้าของทรัพย์สินที่ให้เช่าก็ได้ผู้ให้เช่าอาจนาทรัพย์สิน
ของผู้อื่นมาให้เช่าก็ได้หากเจ้าของอนุญาต หรือนาทรัพย์สินที่ตน
เช่ามาให้บุคคลอื่นเช่าอีกทอดหนึ่งก็ได้หากผู้ให้เช่าอนุญาต
ลักษณะของสัญญาเช่าทรัพย์(ต่อ)
3. เป็นสัญญาที่มีระยะเวลาจากัด การเช่าสังหาริมทรัพย์นั่นคู่สัญญาจะ
กาหนดระยะเวลาการเช่านานเพียงใดก็ได้ แต่การเช่าอสังหาริมทรัพย์
กดหมายกาหนดให้เช่าได้ไม่เกิน 30 ปี หากคู่สัญญาตกลงกันเกิน 30 ปี
กฎหมายให้ลดระยะเวลาเช่าลงมาเหลือ 30 ปี อย่างไรก็ดี คู่สัญญา
สามารถกาหนดระยะเวลาเช่าตลอดอายุของผู้ให้เช่าหรือผู้เช่าก็ได้
4. เป็นสัญญาที่ถือเอาคุณสมบัติของผู้เช่าเป็นสาระสาคัญ เนื่องจากผู้ให้
เช่าต้องพิจารณาว่าผู้เช่ามีคุณสมบัติที่จะดูแลรักษาทรัพย์สินที่ให้เช่า
หรือไม่ หากผู้เช่ามีคุณสมบัติดังกล่าว ผู้ให้เช่าจึงยินยอมให้ผู้เช่าได้ใช้
ทรัพย์สิน ดังนั้นหาก ผู้เช่าตาย สัญญาเช่าย่อมระงับ และผู้เช่าจะเอา
ทรัพย์สินที่เช่าไปให้บุคคลอื่นเช่าต่อ (เช่าช่วง) โดยผู้ให้เช่าไม่ยินยอม
ไม่ได้
ลักษณะของสัญญาเช่าทรัพย์(ต่อ)
5. เป็นสัญญาที่ไม่มีแบบ ดังนั้น สัญญาเช่าจึงสมบูรณ์เมื่อมีการตกลงกัน
ระหว่างผู้ให้เช่ากับผู้เช่า ไม่ว่าจะตกลงกันด้วยวาจาหรือลายลักษณ์
อักษร แต่การเช่าอสังหาริมทรัพย์นั้นกฎหมาย กาหนดให้ต้องมี
หลักฐานเป็นหนังสือลงลายมือชื่อฝ่ายที่ต้องรับผิด มิฉะนั้นจะไม่
สามารถฟ้องร้องบังคับให้ปฏิบัติตามสัญญาเช่าได้
ผลการโอนกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินที่เช่า
เมื่อมีการโอนกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินที่เช่า กรณีสัญญาเช่า
สังหาริมทรัพย์นั้นหากมีการโอนกรรมสิทธิ์ในสังหาริมทรัพย์ที่
เช่าจะทาให้สัญญาเช่าระงับลง ส่วนสัญญาเช่าอสังหาริมทรัพย์
นั้นหากมีการโอนกรรมสิทธิ์ในอสังหาริมทรัพย์ที่เช่าก็
ไม่ทาให้สัญญาเช่าระงับลงแต่ประการใด
เมย์
อี๊ด
ปาล์ม เช่าบ้านอี๊ด 2 ปี 1 ปี ต่อมาอี๊ดขายบ้านให้เมย์
เมย์ต้องยินยอมให้ปาล์มเช่าบ้านครบ 2 ปี เนื่องจากไม่ใช่โอนกรรมสิทธิ์ในสังหาริมทรัพย์ที่เช่า
เมย์
อี๊ด
ปาล์ม เช่ารถอี๊ด 2 ปี 1 ปี ต่อมาอี๊ดขายรถให้เมย์
สัญญาเช่ารถระว่างปาล์มกับอี๊ดระงับลง เนื่องจากโอนกรรมสิทธิ์ในสังหาริมทรัพย์ที่เช่า
สัญญาที่เจ้าของทรัพย์สินเรียกว่า "ผู้ให้เช่า" นาทรัพย์สินของตนออกให้
เช่า และให้คามั่นว่าจะขายทรัพย์สินดังกล่าวให้แก่ "ผู้เช่าซื้อ" โดยมี
เงื่อนไขว่าผู้เช่าซื้อต้องชาระราคาทรัพย์สินนั้นเป็นงวดๆ จนครบตาม
จานวนที่ตกลงกันไว้ในสัญญา
ลักษณะของสัญญาเช่าซื้อ
1.เป็นสัญญาต่างตอบแทน ผู้ให้เช่าซื้อและผู้เช่าซื้อต่างมีหน้าที่ปฏิบัติ
ตอบแทนซึ่งกันและกัน
2.ผู้ให้เช่าซื้อไม่ต้องเป็นเจ้าของทรัพย์สินที่ให้เช่าซื้อก็ได้
3.ผู้ให้เช่าซื้อเอาทรัพย์สินของตนออกให้เช่าประกอบกับให้คามั่นแก่ผู้
เช่าซื้อว่าจะขายทรัพย์สินนั้น
4.เป็นสัญญาที่กรรมสิทธิ์ในทรัพย์ที่เช่าซื้อโอนไปยังผู้ให้เช่าซื้อเมื่อผู้เช่า
ซื้อชาระเงินครบทุกงวด
5.เป็นสัญญาที่มีแบบ
สัญญาซึ่งบุคคลหนึ่งเรียกว่า "ลูกจ้าง" ตกลงที่จะทางานให้แก่บุคคลหนึ่ง
เรียกว่า "นายจ้าง" และนายจ้างตกลงจะให้สินจ้างตลอดเวลาที่ทางาน
เมย์
อี๊ด
ปาล์ม
ลูกจ้าง
วิน
นายจ้าง
ลักษณะของสัญญาจ้างแรงงาน
1.เป็นสัญญาต่างตอบแทน
2.เป็นสัญญาที่สาระสาคัญอยู่ที่ตัวบุคคลเป็นผู้สัญญา
3.เป็นสัญญาที่คู่สัญญามีความสัมพันธ์พิเศษแตกต่างไปจากสัญญาชนิดอื่นๆ
4.เป็นสัญญาที่ไม่มีแบบแผน
สัญญาซึ่งบุคคลหนึ่งเรียกว่า "ผู้รับจ้าง" ตกลงรับจะทาการสิ่งใดสิ่ง
หนึ่งจนสาเร็จให้แก่บุคคลหนึ่งเรียกว่า "ผู้ว่าจ้าง" และผู้ว่าจ้างตกลง
จะให้สินจ้างเพื่อผลสาเร็จแห่งการนั้น
วิน
ผู้ว่าจ้าง
อี๊ด
ผู้รับจ้าง
ลักษณะของสัญญาจ้างทาของ
1.เป็นสัญญาต่างตอบแทน
2.เป็นสัญญาที่มีวัตถุประสงค์ตรงที่ผลสาเร็จของงานที่ว่าจ้าง
3.เป็นสัญญาที่ไม่มีแบบแผน
ประเภทของสัญญายืม
สัญญายืมใช้คงรูป สัญญายืมใช้สิ้นเปลือง
สัญญายืมใช้คงรูป
สัญญาซึ่งบุคคลคนหนึ่งเรียกว่า “ผู้ให้ยืม” ให้บุคคลคนหนึ่งเรียกว่า
“ผู้ยืม” ใช้สอยทรัพย์สินสิ่งใดสิ่งหนึ่งได้เปล่า และผู้ยืมตกลงว่าจะ
คืนทรัพย์สินนั้นเมื่อได้ใช้สอยเสร็จแล้ว
อี๊ด
ปาล์ม
ผู้ให้ยืมผู้ยืม
ลักษณะของสัญญายืมใช้คงรูป
1. เป็นสัญญาไม่ต่างตอบแทน
2. เป็นสัญญาไม่มีค่าตอบแทน
3. เป็นสัญญาที่บริบูรณ์เมื่อมีการส่งมอบทรัพย์ที่ยืม
4. เป็นสัญญาที่ไม่โอนกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินที่ยืม
5. เป็นสัญญาที่ถือคุณสมบัติของผู้ยืมเป็นสาระสาคัญ
สัญญายืมใช้สิ้นเปลือง
สัญญาซึ่งผู้ให้ยืมโอนกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินชนิดใช้แล้วหมดไปนั้น
เป็นปริมาณที่มีกาหนดให้แก่ผู้ยืม และผู้ยืมตกลงว่าจะคืนทรัพย์สินเป็น
ประเภท ชนิดและปริมาณเช่นเดียวกันให้แทนทรัพย์สินซึ่งให้ยืมไปนั้น
เช่น การกู้ยืมเงิน การยืมข้าวสารมาหุง การยืมเนื้อหมูมาประกอบอาหาร
เมย์
อี๊ด
วิน
ลักษณะของสัญญายืมใช้สิ้นเปลือง
1. เป็นสัญญาไม่ต่างตอบแทน
2. เป็นสัญญาที่จะมีค่าตอบแทนหรือไม่ก็ได้
3. เป็นสัญญาที่บริบูรณ์เมื่อมีการส่งมอบทรัพย์ที่ยืม
4. เป็นสัญญาที่โอนกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินที่ยืม
5. เป็นสัญญาที่ไม่ถือคุณสมบัติของผู้ยืมเป็นสาระสาคัญ
สัญญากู้ยืมเงินเป็นสัญญาสิ้นเปลืองอย่างหนึ่ง ซึ่งหมายถึงสัญญาที่ผู้
ให้ยืมส่งมอบและโอนกรรมสิทธิ์ในเงินจานวนหนึ่งให้แก่ผู้ยืม และผู้ยืม
ตกลงจะคืนเงินในจานวนที่ตนได้รับมาให้แก่ผู้ให้ยืม
สัญญากู้ยืมเงินย่อมบริบูรณ์เมื่อผู้ให้ยืมส่งมอบเงินให้แก่ผู้ยืม หาก
ไม่มีการส่งมอบเงินที่ยืม สัญญากู้ยืมเงินยังไม่เกิดขึ้น
ปาล์ม
เมย์
ปาล์มตกลงให้เมย์กู้ยืมเงิน 2,000 บาท แต่ปาล์มไม่ยอมส่งมอบเงินให้แก่เมย์
เมย์ไม่สามารถเรียกร้องให้ปาล์มส่งมอบเงินจานวน 2,000
บาท นั้นให้แก่ตนได้เพราะสัญญากู้ยืมเงินยังไม่เกิดขึ้น
หลักฐานแห่งการกู้ยืมเงิน การกู้ยืมเงินเกินกว่า ๒,๐๐๐ บาท กฎหมาย
กาหนดให้ต้องมีหลักฐานเป็นหนังสือที่มีการลงลายมือชื่อผู้ที่จะต้องรับ
ผิด มิฉะนั้นจะไม่สามารถฟ้องร้องบังคับคดีกันได้ อย่างไรก็ดี สัญญานั้น
ก็สมบูรณ์ไม่ได้ตกเป็นโมฆะหรือโมฆียะแต่อย่างใด เพียงแต่ไม่สามารถ
ฟ้องร้องกันได้เท่านั้น
ดอกเบี้ยสาหรับการกู้ยืมเงิน ในกรณีที่กาหนดให้ผู้ยืมต้องเสียดอกเบี้ย
กฎหมายห้ามคิดดอกเบี้ยร้อยละ ๑๕ ต่อปี หากกาหนดอัตราดอกเบี้ยไว้
เกินกว่าร้อยละ ๑๕ ต่อปี จะทาให้ข้อตกลงที่ให้ผู้ยืมต้องเสียดอกเบี้ยเกิน
อัตรานั้นเป็นโมฆะ ผู้ให้ยืมจะเรียกดอกเบี้ยไม่ได้เลย แต่ผู้ให้ยืมยัง
สามารถเรียกร้องให้ผู้ยืมคืนต้นเงินได้อยู่
สัญญาซึ่งบุคคลคนหนึ่งเรียกว่า “ผู้ฝาก” ส่งมอบทรัพย์สินให้แก่บุคคลอีก
คนหนึ่งเรียกว่า “ผู้รับฝาก” และผู้รับฝากตกลงว่าจะเก็บรักษาทรัพย์สินนั้น
ไว้ในอารักขาแห่งตนแล้วจะคืนให้ เช่น
อี๊ด
เมย์
เมย์ขับรถจักรยานยนต์ไปเที่ยวงานกล้วยไข่
เมื่อถึงหน้างานจึงตกลงฝากรถ
โดยเมย์จะมารับคืนเมื่องานเลิก
อี๊ดซึ่งรับฝาก
รถอยู่หน้างาน
ลักษณะของสัญญาฝากทรัพย์
1. เป็นสัญญาที่อาจมีค่าตอบแทนหรือไม่ก็ได้
2. เป็นสัญญาที่ไม่โอนกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินที่ฝาก
3. เป็นสัญญาที่มีวัตถุประสงค์ให้ผู้รับฝากเก็บรักษาทรัพย์สินที่ฝากไว้ใน
ความดูแลของตน หากผู้ฝากส่งมอบทรัพย์สินให้แก่ผู้รับฝากเพื่อ
วัตถุประสงค์อื่น สัญญานั้นย่อมไม่ใช่สัญญาฝากทรัพย์
4. เป็นสัญญาที่สมบูรณ์ด้วยการส่งมอบทรัพย์สินที่ฝากให้แก่ผู้รับฝาก
สัญญาฝากเงิน
สัญญาฝากเงินเป็นสัญญาฝากทรัพย์อย่างหนึ่ง จึงต้องนาหลักเกณฑ์ของ
สัญญาฝากทรัพย์มาใช้บังคับอยู่เท่าที่ไม่ขัดกับสภาพของสัญญาฝากเงิน
เช่น สัญญาฝากทรัพย์เป็นสัญญาที่สมบูรณ์ด้วยการส่งมอบทรัพย์สินที่
ฝาก สัญญาฝากเงินก็เช่นเดียวกัน ดังนั้น หากผู้ฝากยังไม่ได้ส่งมอบเงินที่
ฝากให้ผู้รับฝาก สัญญาฝากเงินก็ยังไม่เกิดขึ้น เป็นต้น อย่างไรก็ตาม
สัญญาฝากเงินก็มีลักษณะเฉพาะที่แตกต่างจากสัญญาฝากทรัพย์ทั่วไปอยู่
หลายประการ ดังต่อไปนี้
สัญญาฝากเงิน(ต่อ)
1. เป็นสัญญาที่มีวัตถุของสัญญาเป็นเงินตรา
2. เป็นสัญญาที่มีวัตถุประสงค์ในการโอนกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินที่ฝาก
3. เป็นสัญญาที่ผู้รับฝากสามารถนาเงินตราที่รับฝากออกไปใช้สอยได้
4. เป็นสัญญาที่ผู้รับฝากไม่ต้องคืนด้วยเงินตราอันเดียวกับที่ฝาก
สัญญาซึ่งบุคคลภายนอกคนหนึ่งเรียกว่า “ผู้ค้าประกัน” ผูกพันตนต่อ
“เจ้าหนี้” คนหนึ่งเพื่อชาระหนี้ในเมื่อลูกหนี้ไม่ชาระหนี้นั้น เช่น
เมย์
อี๊ด
วิน
อี๊ดกู้เงินจากวิน
เมย์ทาสัญญาค้าประกัน
อี๊ดไม่ยอมชาระหนี้เงินกู้
วินสามารถเรียกให้เมย์ชาระหนี้เงินกู้ในฐานะเป็นผู้ค้าประกันได้
ลักษณะของสัญญาค้าประกัน
1. เป็นสัญญาอุปกรณ์
2. เป็นสัญญาระหว่างเจ้าหนี้กับผู้ค้าประกัน
3. เป็นสัญญาที่ผู้ค้าประกันจะชาระหนี้แทนเมื่อลูกหนี้ผิดนัดไม่ชาระหนี้
4. เป็นสัญญาที่ไม่มีแบบ
สัญญาซึ่งบุคคลคนหนึ่งเรียกว่า “ผู้จานอง” เอาทรัพย์สินตราไว้แก่บุคคล
อีกคนหนึ่งเรียกว่า “ผู้รับจานอง” เป็นประกันการชาระหนี้โดยไม่ต้องส่ง
มอบทรัพย์สินนั้นให้แก่ผู้รับจานอง เช่น
ปาล์ม
อี๊ด
ปาล์มกู้เงิน 1 ล้านบาท ทาสัญญาจานอง(ที่ดิน)กับอี๊ด
ปาล์มไม่ชาระหนี้ อี๊ดสามารถฟ้องศาล
ให้บังคับที่ดิน ที่มาจานองไปขายทอดตลาด
เพื่อนาเงินมาชาระหนี้เงินกู้ได้
ลักษณะของสัญญาจานอง
1. เป็นสัญญาอุปกรณ์
2. ผู้จานองจะเป็นลูกหนี้หรือบุคคลภายนอกก็ได้แต่ผู้จานองต้องเป็น
เจ้าของทรัพย์ที่นามาจานอง
3. เป็นสัญญาที่ไม่มีการส่งมอบทรัพย์สินจานอง
4. เป็นสัญญาที่มีแบบ
ทรัพย์สินที่จานองได้
1. อสังหาริมทรัพย์
2. สังหาริมทรัพย์ชนิดพิเศษอันได้แก่ เรือที่มีระวางตั้งแต่ ๕ ตันขึ้นไป
สัตว์พาหนะ แพที่อยู่อาศัย
3. สังหาริมทรัพย์อื่นซึ่งกฎหมายกาหนดให้จดทะเบียนเป็นการเฉพาะ
เช่น เครื่องจักร เครื่องบิน รถยนต์ที่จดทะเบียน รถพ่วง รถบดถนน รถ
แทรคเตอร์ที่จดทะเบียนแล้ว เป็นต้น
ผลของการบังคับจานอง
หากบังคับทรัพย์สินที่จานองไปขายทอดตลาดได้เงินไม่พอที่จะชาระหนี้
ที่ลูกหนี้ค้างชาระอยู่ เจ้าหนี้ได้รับชาระหนี้เพียงเท่าที่ขายทอดตลาด
ทรัพย์ที่จานองได้ ลูกหนี้ไม่ต้องรับผิดในส่วนที่ขาด
ปาล์ม อี๊ด
ปาล์มกู้เงิน 1 ล้านบาท ทาสัญญาจานอง(ที่ดิน)กับอี๊ด แล้วไม่ชาระหนี้
อี๊ดฟ้องศาลให้บังคับที่ดินไปขายทอดตลาด
ได้เพียง 3 แสนบาท อีก 7 แสนบาท อี๊ดไม่
สามารถเรียกจากปาล์มได้อีก
สัญญาซึ่งบุคคลคนหนึ่งเรียกว่า “ผู้จานา” ส่งมอบสังหาริมทรัพย์สิ่งหนึ่ง
ให้แก่บุคคลอีกคนหนึ่งเรียกว่า “ผู้รับจานา” เพื่อเป็นประกันการชาระหนี้
เช่น
อี๊ด
วิน กู้เงินอี๊ดจานวน 500 บาท ทาสัญญาจานากับอี๊ด
โดยที่วินได้มอบสร้อยคอทองคาให้กับอี๊ด
ยึดไว้เป็นประกันการชาระหนี้
หากวินไม่ชาระหนี้ในเวลาที่กาหนด อี๊ดสามารถนาสร้อยคอ
ทองคาออกขายทอดตลาดใช้หนี้ได้โดยไม่ต้องฟ้องศาล
ลักษณะของสัญญาจานา
1. เป็นสัญญาอุปกรณ์
2. ผู้จานาจะเป็นลูกหนี้หรือบุคคลภายนอกก็ได้ แต่ผู้จานาต้องเป็น
เจ้าของทรัพย์ที่นามาจานา
3. เป็นสัญญาที่ต้องส่งมอบทรัพย์สินที่จานาแก้ผู้รับจานา
4. เป็นสัญญาที่ไม่มีแบบ
ทรัพย์สินที่จานาได้
ทรัพย์สินที่นามาจานาได้ต้องเป็นสังหาริมทรัพย์และทรัพย์ที่นามาจานา
ต้องเป็นของผู้จานาเท่านั้นจะนาทรัพย์ของผู้อื่นมาจานาไม่ได้ ซึ่งมี
ข้อสังเกตว่า สังหาริมทรัพย์ชนิดพิเศษ อันได้แก่ เรือที่มีระวางตั้งแต่ 5
ตันขึ้นไป สัตว์พาหนะ แพที่อยู่อาศัยรวมไปถึงสังหาริมทรัพย์อื่นซึ่ง
กฎหมายกาหนดให้จดทะเบียนเป็นการเฉพาะเช่น เครื่องจักร เครื่องบิน
รถยนต์ที่จดทะเบียนแล้ว รถพ่วง และรถแทรคเตอร์ที่จดทะเบียนแล้ว
สามารถนาไปจานองหรือจานาก็ได้
ผลของการบังคับจานา
หากบังคับทรัพย์สินที่จานาไปขายทอดตลาดได้เงินไม่พอที่จะชาระหนี้ที่
ลูกหนี้ค้างชาระอยู่ลูกหนี้ยังต้องรับผิดชอบในส่วนที่ขาดอยู่ซึ่งแตกต่างจาก
สัญญาจานอง เช่น
อี๊ด
วิน
กู้เงินอี๊ดจานวน 500 บาท ทาสัญญาจานากับอี๊ด
โดยที่วินได้มอบสร้อยคอทองคาให้กับอี๊ด
ยึดไว้เป็นประกันการชาระหนี้
ต่อมาวินไม่ชาระหนี้
อี๊ดสามารถนาสร้อยคอทองคาออกขายทอดตลาดได้เงิน
100 บาท วินยังมีหน้าที่ชาระหนี้อีก 400 บาทแก่อี๊ด
สัญญาซึ่งบุคคลคนหนึ่งเรียกว่า “ผู้รับประกันภัย” ตกลงจะใช้ค่าสินไหม
ทดแทน หรือใช้เงินจานวนหนึ่งในกรณีวินาศภัยเกิดขึ้นหรือในเหตุอย่าง
อื่นในอนาคตตามที่ระบุไว้ในสัญญา และบุคคลอีกคนหนึ่งเรียกว่า “ผู้เอา
ประกันภัย” ตกลงจะส่งเงินซึ่งเรียกว่า “เบี้ยประกันภัย”
ลักษณะของสัญญาประกันภัย
1. เป็นสัญญาต่างตอบแทน
2. เป็นสัญญาเสี่ยงโชค เงื่อนไขในการจ่ายค่าสินไหมทดแทนหรือชดใช้เงิน
ของฝ่ายผู้รับประกันภัยนั้นขึ้นอยู่กับเหตุการณ์ในอนาคต
3. เป็นสัญญาที่อาศัยความสุจริตอย่างยิ่งของคู่สัญญา
4. เป็นสัญญาที่ผู้รับประกันภัยต้องเป็นบริษัทจากัดหรือบริษัทมหาชน
จากัด
5. เป็นสัญญาที่ไม่มีแบบ
ประเภทของสัญญาประกันภัย
สัญญาประกัน
วินาศภัย
สัญญาประกันชีวิต
สัญญาประกันวินาศภัย หมายถึง สัญญาซึ่งผู้รับประกันวินาศภัยตกลงจะ
ใช้ค่าสินไหมทดแทนให้แก่ผู้เอาประกันวินาศภัย เมื่อมีความเสียหาย
อย่างใดเกิดขึ้นตามที่ตกลงกันไว้ในสัญญา โดยผู้เอาประกันวินาศภัยตก
ลงจะส่งเบี้ยประกันให้กับผู้รับประกันวินาศภัยเป็นการตอบแทน
สัญญาประกันชีวิต หมายถึง สัญญาผู้รับประกันชีวิตตกลงจะใช้เงิน
จานวนหนึ่งให้แก้ผู้เอาประกันชีวิตหรือผู้รับประโยชน์เมื่อผู้เอาประกัน
ชีวิตหรือผู้ที่ได้ถูกเอาประกันชีวิตถึงแก่ความตาย หรือเมื่อผู้นั้นมีชีวิตอยู่
จนถึงเวลาตามที่ได้ตกลงกันไว้และผู้เอาประกันชีวิตได้ตกลงส่งเบี้ย
ประกันให้แก่ผู้รับประกัน
สัญญาอย่างหนึ่งซึ่งได้ทาเป็นหนังสือตราสารอันเรียกว่า “ตั๋วเงิน”
เพื่อสั่งให้จ่ายเงินหรือสัญญาว่าจะจ่ายเงิน เช่น อี๊ดออกเช็คสั่งธนาคาร
จ่ายเงินจานวน 200 บาท ให้แก่เมย์ถือเป็นสัญญาตั๋วเงินอย่างหนึ่ง
เมย์
อี๊ด
ลักษณะของสัญญาตั๋วเงิน
1. สัญญาตั๋วเงินต้องทาเป็นหนังสือตราสาร
ต้องทาเป็นลายลักษณ์อักษรและมีรายมือชื่อผู้ออกตราสาร หนังสือตรา
สารต้องมีเนื้อความตามที่กฎหมายกาหนด หนังสือตราสารประกอบ
ไปด้วยสิทธิทางหนี้ซึ่งผู้รับตราสารมีสิทธิเรียกร้องตามเนื้อความใน
ตราสารและสิทธิทางทรัพย์ในตราสารซึ่งผู้ออกตราสารส่งมอบให้
ผู้รับตราสาร
2. วัตถุแห่งหนี้ตามสัญญาตั๋วเงินต้องเป็นเงินตรา
สัญญาตั๋วเงินต้องสั่งให้จ่ายเงินเท่านั้น จะสั่งให้กระทาการ งดเว้นการ
กระทา หรือส่งมอบทรัพย์สินอื่นที่ไม่ใช่เงินตราไม่ได้
ประเภทของตั๋วเงิน
1.ตั๋วแลกเงิน หมายถึง หนังสือตราสารซึ่งบุคคลคนหนึ่งเรียกว่า “ผู้สั่งจ่าย” สั่ง
บุคคลอีกคนหนึ่งเรียกว่า “ผู้จ่าย” ให้ใช้เงินจานวนหนึ่งแก่บุคคลอีกคนหนึ่ง
หรือให้ใช้ตามคาสั่งของบุคคลอีกคนหนึ่งเรียกว่า “ผู้รับเงิน” เช่น อี๊ดออกตั๋ว
แลกเงินสั่งเมย์ให้จ่ายเงินจานวน 10,000 บาท ให้แก่ปาล์มเพื่อชาระค่าสินค้า
ประเภทของตั๋วเงิน(ต่อ)
2.ตั๋วสัญญาให้เงิน หมายถึง หนังสือตราสารซึ่งบุคคลคนหนึ่งเรียกว่า
“ผู้ออกตั๋ว” ให้คามั่นสัญญาว่าจะใช้เงินจานวนหนึ่งให้แก่บุคคลอีกคน
หนึ่ง หรือให้ใช้ตามคาสั่งของบุคคลอีกคนหนึ่งเรียกว่า “ผู้รับเงิน” เช่น
วินออกตั๋วสัญญาใช้เงินโดยวินสัญญาว่าจะจ่ายเงินให้แก่ปาล์มเพื่อชาระ
หนี้ค่าเช่าลานจอดเครื่องบิน
ประเภทของตั๋วเงิน(ต่อ)
เช็ค หมายถึง หนังสือตราสารซึ่งบุคคลคนหนึ่งเรียกว่า “ผู้สั่งจ่าย” สั่ง
“ธนาคาร” ให้ใช้เงินจานวนหนึ่งเมื่อทวงถามให้แก่บุคคลอีกคนหนึ่ง
หรือให้ใช้ตามคาสั่งของบุคคลอีกคนหนึ่งเรียกว่า “ผู้รับเงิน” เช่น อี๊ดออก
เช็คสั่งธนาคารให้จ่ายเงินจานวน 100,000 บาท ให้แก่เมย์เพื่อชาระหนี้ค่า
ข้าวเย็น
ข้อสังเกต ตั๋วสัญญาให้เงินมีบุคคลที่เกี่ยวข้องเพียง 2 ฝ่ายเท่านั้น
ซึ่งต่างจากตั๋วแลกเงินและเช็คที่มีบุคคลที่เกี่ยวข้อง 3 ฝ่ายด้วยกัน
ส่วนตั๋วแลกเงินกับเช็คมีความแตกต่างกันเพียงประการเดียว คือ
หากผู้จ่ายไม่ใช่ธนาคาร ก็จะเป็นตั๋วแลกเงิน
แต่หากผู้จ่ายเป็นธนาคาร ก็จะเป็นเช็ค
สัญญาจัดตั้งห้างหุ้นส่วนหรือบริษัท หมายถึง
สัญญาซึ่งบุคคลตั้งแต่ 2 คนขึ้นไปตกลงเข้ากันเพื่อกระทากิจกรรม
ร่วมกัน โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อแบ่งปันกาไรที่เกิดขึ้นจากกิจกรรมที่
ทานั้น
ลักษณะของสัญญาจัดตั้งห้างหุ้นส่วนหรือบริษัท
1.ต้องมีบุคคลตั้งแต่ 2 คนขึ้นไปร่วมกันจัดตั้งห้างหุ้นส่วนหรือบริษัท
อย่างไรก็ดีหากต้องการจัดตั้งเป็นบริษัทต้องมีผู้เริ่มก่อการ (ผู้จัดตั้ง)
ตั้งแต่ 3 คนขึ้นไปดังนั้น หากมีบุคคลเพียงคนเดียวแม้จะประกอบกิจการ
การค้าก็ไม่เป็นหุ้นส่วนหรือบริษัท
2. ต้องทากิจกรรมร่วมกัน คู่สัญญาทุกคนต้องนาเงินหรือทรัพย์สินอื่น
หรือแรงงานเพื่อแสวงหากาไรร่วมกัน และทุกคนต้องมีส่วนร่วมในการ
ดาเนินกิจการ
3.ต้องมีวัตถุประสงค์เพื่อแบ่งปันกาไรหากไม่มีวัตถุประสงค์เพื่อแบ่งปัน
กาไรก็ไม่เป็นหุ้นส่วนส่วนหรือบริษัท แต่อาจเป็นสมาคมหรือมูลนิธิ
ประเภทของห้างหุ้นส่วน
1.ห้างหุ้นส่วนสามัญ หมายถึง ห้างหุ้นส่วนที่ไม่ได้นาไปจดทะเบียนและ
มีหุ้นส่วนประเภทเดียว ได้แก่ หุ้นส่วนไม่จากัดความรับผิด กล่าวคือ
หุ้นส่วนทุกคนต้องรับผิดร่วมกันโดยไม่มีจานวนห้างหุ้นส่วนสามัญ
ไม่มีฐานะเป็นนิติบุคคล
2.ห้างหุ้นส่วนสามัญจดทะเบียน หมายถึง ห้างหุ้นส่วนที่จดทะเบียนโดยมี
ฐานะเป็นนิติบุคคลและมีหุ้นส่วนประเภทเดียวกันได้แก่ หุ้นส่วนไม่จากัด
ความรับผิด เช่นเดียวกับห้างหุ้นส่วนสามัญ
ประเภทของห้างหุ้นส่วน
3.ห้างหุ้นส่วนจากัด หมายถึง ห้างหุ้นส่วนที่จดทะเบียนโดยมีฐานะนิติ
บุคคลเช่นเดียวกับห้างหุ้นส่วนสามัญจดทะเบียน แต่มีหุ้นส่วน 2
ประเภท ได้แก่ (1) หุ้นส่วนไม่จากัดความรับผิด และ (2) หุ้นส่วนจากัด
ความรับผิด ซึ่งหมายถึงหุ้นส่วนที่ต้องรับผิดไม่เกินจานวนที่ตนตกลงจะ
ลงหุ้นไว้และไม่เกินค่าหุ้นที่ตนค้างชาระแก่ห้างหุ้นส่วน เช่น อี๊ดเป็น
หุ้นส่วนประเภทจากัดความรับผิดตกลงจะลงหุ้นเป็นเงิน 1 แสนบาท
เมื่อห้างเลิกกิจการและมีหนี้ที่จะต้องชาระ อี๊ดจะต้องรับผิดในหนี้นั้นไม่
เกิน 1 แสน ถ้าอี๊ดได้นาเงินมาลงหุ้นจนครบ 1 แสนบาทตามที่ได้ตกลง
กันไว้แล้วความรับผิดชอบของอี๊ดก็หมดไปแต่ถ้าอี๊ดส่งเงินกับห้างไป
เพียง 5 หมื่นบาท อี๊ดก็ยังมีความรับผิดอีก 5 หมื่นบาท
ประเภทของบริษัท
ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ได้บัญญัติถึงบริษัทไว้เพียง
ประเภทเดียว คือ บริษัทจากัด แต่ยังมีบริษัทอีกประเภทหนึ่งคือ
บริษัทมหาชนจากัด ซึ่งบัญญัติบริษัทหมาชนจากัด พ.ศ. 2535
บริษัททั้งสองประเภทกฎหมายบังคับให้ต้องจดทะเบียนเท่านั้น
โดยบริษัทจากัดต้องมีผู้เริ่มก่อการตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป
ส่วนบริษัทมหาชนจากัดต้องมีผู้เริ่มก่อการตั้งแต่ 15 คนขึ้นไป
อีกทั้งผู้ถือหุ้นของบริษัททั้งสองประเภทมีความรับผิดไม่เกินจานวนที่ตน
ตกลงไว้เช่นเดียวกับหุ้นส่วนจากัดความรับผิด
กฎหมายเอกเทศสัญญา
“ตั๊กนาเงินจานวน 3,000 บาท ไปแลกกับหมูของแก้ว
จานวน 1 ตัว” สัญญาดังกล่าวเป็นสัญญาแบบใด
ก.สัญญาแลกเปลี่ยน
ข.สัญญาเช่าซื้อ
ค.สัญญาซื้อขาย
ง.สัญญาให้
เฉลย ค.สัญญาซื้อขาย
เพราะสัญญาซื้อขายเป็นสัญญาของบุคคลฝ่ายหนึ่ง
ที่เรียกว่า “ผู้ขาย” โอนกรรมสิทธิ์แห่งทรัพย์สินให้แก่บุคคล
อีกฝ่ายหนึ่งเรียกว่า “ผู้ซื้อ” และผู้ซื้อตกลงว่าจะใช้ราคา
ทรัพย์สินให้แก่ผู้ขาย
“แบบของสัญญา” ระหว่างสัญญาจานองกับสัญญาจานาแตกต่าง
กันอย่างไร
ก.ไม่ต้องส่งมอบทรัพย์ที่จานอง,ต้องส่งมอบทรัพย์ที่จานา
ข.ทาเป็นหนังสือและจดทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่,ไม่มีแบบ
ค.ลูกหนี้ไม่ต้องรับผิดในส่วนที่เหลือ,ลูกหนี้ต้องรับผิด
ในส่วนที่เหลือ
ง.ต้องฟ้องศาลเพื่อขายทอดตลาด,ขายทอดตลาดได้เอง
โดยไม่ต้องฟ้องศาล
เฉลย ข.ทาเป็นหนังสือและจดทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่,
ไม่มีแบบ
เพราะสัญญาจานองต้องทาเป็นหนังสือและจดทะเบียน
ต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ มิเช่นนั้นสัญญาจานองจะตกเป็นโมฆะ
ส่วนสัญญาจานาจะมีการตกลงกันระหว่างผู้จานากับผู้รับจานา
ไม่ว่าจะตกลงกันด้วยวาจาหรือลายลักษณ์อักษร อย่างไรก็ดีผู้จานา
ต้องส่งมอบทรัพย์สินที่จานาให้แก่ผู้รับจานา มิเช่นนั้นสัญญาจานา
ย่อมไม่เกิดขึ้น
กฎหมายได้กาหนดระยะเวลาที่ไถ่ทรัพย์สินของสัญญาขายฝาก
ไว้๒ ระยะเวลาตามชนิดของทรัพย์ที่ขายฝาก ในระยะเวลาเท่าไร
ก. อสังหาริมทรัพย์๑๐ ปี สังหาริมทรัพย์๓ ปี
ข. อสังหาริมทรัพย์๑ ปี สังหาริมทรัพย์๑๐ ปี
ค. อสังหาริมทรัพย์๑๐ ปี สังหาริมทรัพย์๕ ปี
ง. อสังหาริมทรัพย์๓ ปี สังหาริมทรัพย์๑๐ ปี
เฉลย ก. อสังหาริมทรัพย์ ๑๐ ปี สังหาริมทรัพย์ ๓ ปี
กฎหมายได้กาหนดระยะเวลาที่ไถ่ทรัพย์สินของสัญญา
ขายฝากไว้๒ ระยะเวลาตามชนิดของทรัพย์ที่ขายฝาก ดังนี้
กรณีอสังหาริมทรัพย์มีกาหนดระยะเวลาไถ่ทรัพย์สิน ๑๐ ปี
กรณีสังหาริมทรัพย์มีกาหนดระยะเวลาไถ่ทรัพย์สิน ๓ ปี
ความรับผิดในความชารุดบกพร่องของทรัพย์สินที่ขาย ผู้ซื้อต้อง
ฟ้องให้ผู้ขายรับผิดชอบในความชารุดบกพร่องของทรัพย์สินที่ขาย
ภายในอายุความกี่ปี นับแต่เวลาที่ผู้ซื้อได้พบเห็นความชารุด
บกพร่องนั้น
ก. 5 ปี ข. 7 ปี
ค. 1 ปี ง .3ปี
เฉลย ค. 1 ปี
ความรับผิดในความชารุดบกพร่องของทรัพย์สินที่ขาย ผู้ซื้อต้อง
ฟ้องให้ผู้ขายรับผิดชอบในความชารุดบกพร่องของทรัพย์สินที่ขาย
ภายในอายุความ ๑ ปี นับแต่เวลาที่ผู้ซื้อได้พบเห็นความชารุด
บกพร่องนั้น
สัญญาซึ่งบุคคลตั้งแต่ 2 คนขึ้นไปตกลงเข้ากันเพื่อกระทากิจกรรม
ร่วมกัน โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อแบ่งปันกาไรที่เกิดขึ้นจากกิจกรรม
ที่ทานั้น หมายถึงข้อใด
ก. สัญญาประกันภัย
ข. สัญญาจัดตั้งห้างหุ้นส่วนหรือบริษัท
ค. สัญญาค้าประกัน
ง. สัญญาเช่าซื้อ
เฉลย ข. สัญญาจัดตั้งห้างหุ้นส่วนหรือบริษัท
สัญญาซึ่งบุคคลตั้งแต่ 2 คนขึ้นไปตกลงเข้ากันเพื่อกระทากิจกรรม
ร่วมกัน โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อแบ่งปันกาไรที่เกิดขึ้นจากกิจกรรม
ที่ทานั้น
สวัสดี

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

กฎหมายมรดก
กฎหมายมรดกกฎหมายมรดก
กฎหมายมรดกYosiri
 
Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57
Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57
Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57Pracha Wongsrida
 
บทที่ 4หนี้
บทที่ 4หนี้บทที่ 4หนี้
บทที่ 4หนี้Chi Wasana
 
ความสัมพันธ์ระหว่าง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และ ความต้านทานไฟฟ้า
ความสัมพันธ์ระหว่าง  ความต่างศักย์ไฟฟ้า  กระแสไฟฟ้า  และ ความต้านทานไฟฟ้าความสัมพันธ์ระหว่าง  ความต่างศักย์ไฟฟ้า  กระแสไฟฟ้า  และ ความต้านทานไฟฟ้า
ความสัมพันธ์ระหว่าง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และ ความต้านทานไฟฟ้าเรียนฟิสิกส์กับครูเอ็ม Miphukham
 
กฎหมายครอบครัว
กฎหมายครอบครัวกฎหมายครอบครัว
กฎหมายครอบครัวYosiri
 
สรุป การแบ่งยุคทางประวัติศาสตร์สากล
สรุป การแบ่งยุคทางประวัติศาสตร์สากลสรุป การแบ่งยุคทางประวัติศาสตร์สากล
สรุป การแบ่งยุคทางประวัติศาสตร์สากลKittayaporn Changpan
 
พัฒนาการยุโรปสมัยกลาง
พัฒนาการยุโรปสมัยกลางพัฒนาการยุโรปสมัยกลาง
พัฒนาการยุโรปสมัยกลางPannaray Kaewmarueang
 
กฎหมายครอบครัว
กฎหมายครอบครัวกฎหมายครอบครัว
กฎหมายครอบครัวYosiri
 
กฎหมายครอบครัวหมั้น
กฎหมายครอบครัวหมั้นกฎหมายครอบครัวหมั้น
กฎหมายครอบครัวหมั้นSukit U-naidhamma
 
เล่มที่ 11 สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
เล่มที่ 11  สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชเล่มที่ 11  สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
เล่มที่ 11 สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชChoengchai Rattanachai
 
กฎหมายบุคคล
กฎหมายบุคคลกฎหมายบุคคล
กฎหมายบุคคลYosiri
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าPornphrueksa Jinajaihan
 
เศรษฐกิจในสมัยสุโขทัย อยุธยา และธนบุรี
เศรษฐกิจในสมัยสุโขทัย อยุธยา และธนบุรีเศรษฐกิจในสมัยสุโขทัย อยุธยา และธนบุรี
เศรษฐกิจในสมัยสุโขทัย อยุธยา และธนบุรีPrincess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิง
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิงคำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิง
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิงWan Wan
 
กฎหมายนิติกรรม
กฎหมายนิติกรรม กฎหมายนิติกรรม
กฎหมายนิติกรรม Yosiri
 
กฎหมายครอบครัวทรัพย์สินระหว่างสามีภริยา
กฎหมายครอบครัวทรัพย์สินระหว่างสามีภริยากฎหมายครอบครัวทรัพย์สินระหว่างสามีภริยา
กฎหมายครอบครัวทรัพย์สินระหว่างสามีภริยาSukit U-naidhamma
 
บทที่ 6 การแตกหุ้น สิทธิซื้อหุ้น เงินกองทุน
บทที่ 6 การแตกหุ้น สิทธิซื้อหุ้น เงินกองทุนบทที่ 6 การแตกหุ้น สิทธิซื้อหุ้น เงินกองทุน
บทที่ 6 การแตกหุ้น สิทธิซื้อหุ้น เงินกองทุนWannisa Chaisingkham
 

Mais procurados (20)

กฎหมายมรดก
กฎหมายมรดกกฎหมายมรดก
กฎหมายมรดก
 
Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57
Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57
Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57
 
บทที่ 4หนี้
บทที่ 4หนี้บทที่ 4หนี้
บทที่ 4หนี้
 
ความสัมพันธ์ระหว่าง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และ ความต้านทานไฟฟ้า
ความสัมพันธ์ระหว่าง  ความต่างศักย์ไฟฟ้า  กระแสไฟฟ้า  และ ความต้านทานไฟฟ้าความสัมพันธ์ระหว่าง  ความต่างศักย์ไฟฟ้า  กระแสไฟฟ้า  และ ความต้านทานไฟฟ้า
ความสัมพันธ์ระหว่าง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และ ความต้านทานไฟฟ้า
 
กฎหมายครอบครัว
กฎหมายครอบครัวกฎหมายครอบครัว
กฎหมายครอบครัว
 
สรุป การแบ่งยุคทางประวัติศาสตร์สากล
สรุป การแบ่งยุคทางประวัติศาสตร์สากลสรุป การแบ่งยุคทางประวัติศาสตร์สากล
สรุป การแบ่งยุคทางประวัติศาสตร์สากล
 
4เช็ค
4เช็ค4เช็ค
4เช็ค
 
พัฒนาการยุโรปสมัยกลาง
พัฒนาการยุโรปสมัยกลางพัฒนาการยุโรปสมัยกลาง
พัฒนาการยุโรปสมัยกลาง
 
กฎหมายครอบครัว
กฎหมายครอบครัวกฎหมายครอบครัว
กฎหมายครอบครัว
 
กฎหมายครอบครัวหมั้น
กฎหมายครอบครัวหมั้นกฎหมายครอบครัวหมั้น
กฎหมายครอบครัวหมั้น
 
เล่มที่ 11 สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
เล่มที่ 11  สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชเล่มที่ 11  สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
เล่มที่ 11 สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
 
กฎหมายบุคคล
กฎหมายบุคคลกฎหมายบุคคล
กฎหมายบุคคล
 
อารยธรรมจีน
อารยธรรมจีน อารยธรรมจีน
อารยธรรมจีน
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
 
เศรษฐกิจในสมัยสุโขทัย อยุธยา และธนบุรี
เศรษฐกิจในสมัยสุโขทัย อยุธยา และธนบุรีเศรษฐกิจในสมัยสุโขทัย อยุธยา และธนบุรี
เศรษฐกิจในสมัยสุโขทัย อยุธยา และธนบุรี
 
ดิน
ดินดิน
ดิน
 
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิง
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิงคำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิง
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิง
 
กฎหมายนิติกรรม
กฎหมายนิติกรรม กฎหมายนิติกรรม
กฎหมายนิติกรรม
 
กฎหมายครอบครัวทรัพย์สินระหว่างสามีภริยา
กฎหมายครอบครัวทรัพย์สินระหว่างสามีภริยากฎหมายครอบครัวทรัพย์สินระหว่างสามีภริยา
กฎหมายครอบครัวทรัพย์สินระหว่างสามีภริยา
 
บทที่ 6 การแตกหุ้น สิทธิซื้อหุ้น เงินกองทุน
บทที่ 6 การแตกหุ้น สิทธิซื้อหุ้น เงินกองทุนบทที่ 6 การแตกหุ้น สิทธิซื้อหุ้น เงินกองทุน
บทที่ 6 การแตกหุ้น สิทธิซื้อหุ้น เงินกองทุน
 

Mais de Yosiri

กฏหมายบุคคล
กฏหมายบุคคลกฏหมายบุคคล
กฏหมายบุคคลYosiri
 
กฎหมายลักษณะนิติกรรม
กฎหมายลักษณะนิติกรรมกฎหมายลักษณะนิติกรรม
กฎหมายลักษณะนิติกรรมYosiri
 
กฎหมายหนี้
กฎหมายหนี้กฎหมายหนี้
กฎหมายหนี้Yosiri
 
กฎหมายทรัพย์สิน
กฎหมายทรัพย์สินกฎหมายทรัพย์สิน
กฎหมายทรัพย์สินYosiri
 
ตอบปัญหาอาเซียน
ตอบปัญหาอาเซียนตอบปัญหาอาเซียน
ตอบปัญหาอาเซียนYosiri
 
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวันกฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวันYosiri
 
กฎหมายทรัพย์สินทางปัญญา
กฎหมายทรัพย์สินทางปัญญากฎหมายทรัพย์สินทางปัญญา
กฎหมายทรัพย์สินทางปัญญาYosiri
 
กฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญากฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญาYosiri
 
กฎหมายทรัพย์สิน
กฎหมายทรัพย์สินกฎหมายทรัพย์สิน
กฎหมายทรัพย์สินYosiri
 
กฎหมายบุคคล
กฎหมายบุคคล กฎหมายบุคคล
กฎหมายบุคคล Yosiri
 
กฎหมายมรดก
กฎหมายมรดก กฎหมายมรดก
กฎหมายมรดก Yosiri
 
บุคคล 17
บุคคล 17บุคคล 17
บุคคล 17Yosiri
 
กฎหมายหนี้
กฎหมายหนี้กฎหมายหนี้
กฎหมายหนี้Yosiri
 
กฎหมายนิติกรรม
กฎหมายนิติกรรมกฎหมายนิติกรรม
กฎหมายนิติกรรมYosiri
 
กฎหมายนิติกรรม
กฎหมายนิติกรรมกฎหมายนิติกรรม
กฎหมายนิติกรรมYosiri
 
กฎหมายทรัพย์สิน
กฎหมายทรัพย์สินกฎหมายทรัพย์สิน
กฎหมายทรัพย์สินYosiri
 
กฎหมายมรดก
กฎหมายมรดกกฎหมายมรดก
กฎหมายมรดกYosiri
 
ครอบครัว
ครอบครัวครอบครัว
ครอบครัวYosiri
 
กฎหมายบุุคคล ปี1/56
กฎหมายบุุคคล ปี1/56กฎหมายบุุคคล ปี1/56
กฎหมายบุุคคล ปี1/56Yosiri
 
กฎหมายเครื่องหมายการค้า
กฎหมายเครื่องหมายการค้ากฎหมายเครื่องหมายการค้า
กฎหมายเครื่องหมายการค้าYosiri
 

Mais de Yosiri (20)

กฏหมายบุคคล
กฏหมายบุคคลกฏหมายบุคคล
กฏหมายบุคคล
 
กฎหมายลักษณะนิติกรรม
กฎหมายลักษณะนิติกรรมกฎหมายลักษณะนิติกรรม
กฎหมายลักษณะนิติกรรม
 
กฎหมายหนี้
กฎหมายหนี้กฎหมายหนี้
กฎหมายหนี้
 
กฎหมายทรัพย์สิน
กฎหมายทรัพย์สินกฎหมายทรัพย์สิน
กฎหมายทรัพย์สิน
 
ตอบปัญหาอาเซียน
ตอบปัญหาอาเซียนตอบปัญหาอาเซียน
ตอบปัญหาอาเซียน
 
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวันกฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน
 
กฎหมายทรัพย์สินทางปัญญา
กฎหมายทรัพย์สินทางปัญญากฎหมายทรัพย์สินทางปัญญา
กฎหมายทรัพย์สินทางปัญญา
 
กฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญากฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญา
 
กฎหมายทรัพย์สิน
กฎหมายทรัพย์สินกฎหมายทรัพย์สิน
กฎหมายทรัพย์สิน
 
กฎหมายบุคคล
กฎหมายบุคคล กฎหมายบุคคล
กฎหมายบุคคล
 
กฎหมายมรดก
กฎหมายมรดก กฎหมายมรดก
กฎหมายมรดก
 
บุคคล 17
บุคคล 17บุคคล 17
บุคคล 17
 
กฎหมายหนี้
กฎหมายหนี้กฎหมายหนี้
กฎหมายหนี้
 
กฎหมายนิติกรรม
กฎหมายนิติกรรมกฎหมายนิติกรรม
กฎหมายนิติกรรม
 
กฎหมายนิติกรรม
กฎหมายนิติกรรมกฎหมายนิติกรรม
กฎหมายนิติกรรม
 
กฎหมายทรัพย์สิน
กฎหมายทรัพย์สินกฎหมายทรัพย์สิน
กฎหมายทรัพย์สิน
 
กฎหมายมรดก
กฎหมายมรดกกฎหมายมรดก
กฎหมายมรดก
 
ครอบครัว
ครอบครัวครอบครัว
ครอบครัว
 
กฎหมายบุุคคล ปี1/56
กฎหมายบุุคคล ปี1/56กฎหมายบุุคคล ปี1/56
กฎหมายบุุคคล ปี1/56
 
กฎหมายเครื่องหมายการค้า
กฎหมายเครื่องหมายการค้ากฎหมายเครื่องหมายการค้า
กฎหมายเครื่องหมายการค้า
 

กฎหมายเอกเทศสัญญา