SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 63
แนวคิดเกี่ยวกับชุมชน
Concepts of Community


                Watcharin Chongkonsatit
                            M.B.A, M.Ed.
                         Ph.D. Candidate
ความหมายของชุมชน
ความหมายของชุมชน
•   ราชบัณฑิตยสถาน, 2525
    หมู่ชน กลุ่มคนที่รวมกันเป็นสังคมขนาดเล็ก อาศัยอยู่ในอาณาบริเวณเกียวกันและมีประโยชน์
    ร่วมกัน

•   กรมการพัฒนาชุมชน
    กลุ่มที่มีแนวคิดทางเดียวกัน และสามารถร่วมกําลังดําเนินงานกิจกรรมใดๆ เพื่อประโยชน์ร่วม
    กันได้

•   ประเวศ วะสี
    คนจํานวนหนึ่งมีวัตถุประสงค์ร่วมกัน มีความเอื้ออาทรต่อกัน มีความพยายามทําอะไรร่วมกัน มี
    การเรียนรู้ร่วมกันในการกระทําซ่ึงรวมถึงการติดต่อสื่อสารกัน
ปรับกระบวนทัศน์สุขภาพ
ชีวกลไกการแพทย์
                จิต
             วิญญาณ
               สังคม
                 ใจ
                กาย

             สุขภาพ คือ “สุขภาวะ”
The 4 fallacies




ทัศนะที่ผิดพลาดที่พบร่วมกันในแผนงานโครงการ
     ของสุขภาพของประเทศต่างๆ ทั่วโลก
The 4 fallacies
The 4 fallacies
• ชุมชนเหมือนภาชนะว่าง
The 4 fallacies
• ชุมชนเหมือนภาชนะว่าง
 • ปัญหาชุมชนแยกเป็นส่วนๆ
The 4 fallacies
• ชุมชนเหมือนภาชนะว่าง
 • ปัญหาชุมชนแยกเป็นส่วนๆ
   • ชุมชนมีกลไกเดียว
The 4 fallacies
• ชุมชนเหมือนภาชนะว่าง
 • ปัญหาชุมชนแยกเป็นส่วนๆ
   • ชุมชนมีกลไกเดียว
     • ชุมชนล้วนเหมือนกัน
2 แนวคิดเกี่ยวกับชุมชน
ชุมชนไม่จําเป็นต้องเป็นกลุ่มใหญ่ในอาณาบริเวณเดียวกัน ความเป็นชุมชนอยู่ที่
คนในชุมชนจํานวนหนึ่ง (คนละพื้นที่ก็ได้) มีวัตถุประสงค์ร่วมกัน ติดต่อสื่อสารกัน
            มีความเอื้ออาทรกัน มีการเรียนรู้ ร่วมกันทําประโยชน์



                                                                    ประเวศ วะสี
ชุมชนไม่จําเป็นต้องเป็นกลุ่มใหญ่ในอาณาบริเวณเดียวกัน ความเป็นชุมชนอยู่ที่
คนในชุมชนจํานวนหนึ่ง (คนละพื้นที่ก็ได้) มีวัตถุประสงค์ร่วมกัน ติดต่อสื่อสารกัน
            มีความเอื้ออาทรกัน มีการเรียนรู้ ร่วมกันทําประโยชน์



                                                                    ประเวศ วะสี



                      ความเป็นชุมชนไม่เฉพาะขอบเขตของหมู่บ้าน แต่รวมถึง
                       ลักษณะเครือข่ายความสัมพันธ์ที่กว้างขวาง ทั้งระบบ
                                     อุปถัมภ์และเครือญาติ


                                                                   Kemp, 1991
2 แนวคิดเกี่ยวกับชุมชน
อุดมการณ์ อํานาจ หรือสิทธิของการมีส่วนร่วมในการจัดการทรัพยกากรภายใต้
ความสัมพันธ์ระหว่างชุมชนและรัฐที่ผลิตเข้าไปในบริบททางวัฒนธรรม และการ
                         เปลี่ยนแปลงทางสังคม



                                                     อานันท์ กาญจนพันธ์
อุดมการณ์ อํานาจ หรือสิทธิของการมีส่วนร่วมในการจัดการทรัพยกากรภายใต้
           ความสัมพันธ์ระหว่างชุมชนและรัฐที่ผลิตเข้าไปในบริบททางวัฒนธรรม และการ
                                    เปลี่ยนแปลงทางสังคม



                                                                 อานันท์ กาญจนพันธ์




  กลุ่มคนที่พยายามหาวิธีการเพื่อแก้ไขปัญหาของชุมชน โดยระดมทั้งจาก
ภายนอกและภายในชุมชน และอาศัยแนวทางการพึ่งตนเอง เพื่อความดํารงอยู่
                               ของชุมชน



                                                      กาญจนา แก้วเทพ
2 แนวคิดเกี่ยวกับชุมชน
มิติด้านภูมิศาสตร์
มิติด้านสังคมศาสตร์




 มิติด้านภูมิศาสตร์
มิติด้านสังคมศาสตร์




 มิติด้านภูมิศาสตร์




  มิติด้านจิตวิทยา
มิติด้านภูมิศาสตร์
                                                                            มิติด้านสังคมศาสตร์
อธิบายชุมชนในด้านกายภาพที่เราเห็นด้วยตา
                                                                   อธิบายชุมชนในด้านความสัมพันธ์ของคนที่มี
ประกอบด้วยพื้นที่ หรือบริเวณที่คนอยู่รวมกันใน
                                                                   อะไรๆ ร่วมกัน โดยส่วนใหญ่แล้วก็คือผล
ขอบเขตที่ชัดเจน จะรวมไปถึงทุกๆ อย่างที่เรา
                                                                   ประโยชน์ร่วมกัน (Mutual interest) ตระกูล
เห็นอยู่ในบริเวณนั้นด้วย เช่น ถนน แม่น้ํา
                                                                   เครือญาติ ขนบ ธรรมเนียบ ประเพณี วัฒนธรรม
ลําคลอง วัด โรงเรียน สถานีอนามัย ศูนย์พัฒนา
                                                                   ร่วมกัน
เด็กเล็ก เป็นต้น


                                                    ชุมชน




                                                มิติด้านจิตวิทยา
                                 อธิบายชุมชนในด้านความรู้สึกของคนที่มีต่อกัน
                                 เช่น ความเอื้ออาทร ความรัก ความผูกพัน
                                 ความซื่อสัตย์ และความจงรักภักดี เป็นต้น
มีอุดมการณ์ วิสัยทัศน์ร่วมกันและมี
                                           ทิศทางเดียวกัน


                                                                       มีวัตถุประสงค์และวัตถุประสงค์ร่วม
     มีผลประโยชน์ร่วมกัน
                                                                                      กัน




                                                                            ผู้นํามีความรู้ ทักษะในด้านความคิด ศีล
     มีสมาชิก                         องค์ประกอบของชุมชน                         ธรรม การประกอบอาชีพ การพูด
                                                                                       ประสานงาน บารมี




 มีการตัดสินในร่วมกัน การจัดการ
                                                                       มีกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง มีประโยชน์
 บทบาท หน้าที่ การตรวจสอบ กฏ
                                                                           ต่อองค์กร สมาชิก และชุมชน
กติกา ทรัพยากร และการประเมินผล

                                   ทรัพยากรที่เป็นทุน งบประมาณ และ
                                  การประสานงานทุนจากทั้งภายในและ
                                                ภายนอก
โครงสร้างและลักษณะของชุมชน




   ชุมชนเมือง                     ชุมชนชนบท
Urban community                 Rural community
ชุมชนเมือง
•สมัยก่อนอยู่ตามแหล่งที่เหมาะสําหรับการเกษตร
•ปัจจุบันเป็นเมืองที่ทําหน้าเฉพาะอย่าง เช่น                   โครงสร้างของชุมชนเมือง
ศูนย์กลางธุรกิจ ศูนย์กลางอุตสาหกรรม ศูนย์กลาง   •มีความสัมพันธ์แบบผิวเผิน เป็นทางการ
การศึกษา ศูนย์กลางการปกครอง                     •มีความรู้สึกไม่เป็นส่วนหนึ่งของกลุ่ม ต่างคนต่างอยู่ การ
•เกิดการย้ายถิ่นฐาน                             พึ่งพาอาศัยกันน้อย ไม่เอื้ออาทรต่อกัน
•แพร่กระจายความเป็นเมืองเข้าไปในชุมชนชนบท       •มีการติดต่อสัมพันธ์โดยสัญลักษณ์เชิงวัตถุ อาทิ เครื่อง
                                                แต่งกาย ของใช้ รถยนต์ เครื่องแบบ จึงง่ายต่อการหลอก
                                                ลวง
       เกณฑ์ในการกําหนดความเป็นเมือง            •มีการขัดแย้งระหว่างกลุ่มผลประโยชน์ต่างกัน
•จํานวนและความหนาแน่นของประชากร                 •มีค่านิยมด้านวัตถุมากกว่าจิตใจ
•ความเจริญ การคมนาคม การสื่อสาร บริการสาธารณะ   •มักเป็นครอยครัวเดี่ยว สามีภรรยาเสมอกัน ความ
•สังคม ส่ิงแวดล้อมจากการกระทําของมนุษย์         สัมพันธ์ระหว่างสมาชิกมีน้อย
•อาคารบ้านเรือนหนาแน่น
•การเปลี่ยนแปลงทางด้านอาชีพ
                                                •ใช้การควบคุมอย่างเป็นทางการ คือ กฎหมาย
ชุมชนชนบท

•บริเวณพื้นที่ตั้งอยู่นอกเขตเมือง เทศบาล
•มีความเจริญทางวัตถุน้อย
•ส่วนใหญ่มีอาชีพทางการเกษตร เลี้ยงสัตว์ ประมง
•เป็นชุมชนขนาดเล็ก                                             โครงสร้างของชุมชนชนบท
•มีการตั้งบ้านเรือนแบบกลุ่ม (Cluster settlement)   •มีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับธรรมชาติ
แบบกระจาย (Scattered settlement) แบบเป็นแนว        •มีค่านิยม ความเชื่อ ประเพณี ทัศนคติแบบเดียวกัน
ยาว (Line settlement)                              •ดํารงชีวิตแบบง่ายๆ SES ไม่แตกต่างกันมาก
                                                   •มีความสนิทสนมกัน เอื้อเฟื้อ จริงใจกัน มีกิจกรรมทาง
                                                   สังคมร่วมกัน ใช้บริการร่วมกัน
                                                   •คนชนบททํางานได้หลากหลายเนื่องจากการดํารงชีวิตขึ้น
                                                   อยู่กับธรรมชาติ
                                                   •มีความแตกต่างและการแบ่งชนชั้นมีน้อย
                                                   •การควบคุมทางสังคมมีลักษณะแบบไม่เป็นทางการ
ชนบท   เมือง
ชนบท                                                                 เมือง



                   ปัจจัยที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลง
       • การเปลี่ยนแปลงทางธรรมชาติ ภัยธรรมชาติ ทําให้เกิดการย้าย
       ถิ่นฐาน เปลี่ยนอาชีพ ต่อสู้เพื่อเอาชนะธรรมชาติ
       • การเพิ่มของประชากร ปัญหาอุปสงค์-อุปทาน
       • เทคโนโลยีทําให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในการดํารงชีวิต มีการใช้
       เครื่องจักรกล ยานพาหนะ เทคโนโลยีการเกษตร เครื่องมือในการ
       สื่อสาร
       • ภาวะทางเศรษฐกิจ
       • ความคิด ความเชื่อ ค่านิยม อุดมการณ์
ทําไมต้องศึกษาชุมชน
•       เพื่อทดสอบความรู้ต่างๆ เพื่อยืนยันและเป็นการทําให้คงามรู้เดิมมีความน่าเชื่อถือ
        ยิ่งขึ้น
•       เพื่อหาข้อเท็จจริงต่างๆ ที่เกิดขึ้นในชุมชน เป็นการหาความรู้ใหม่ เพิ่มเติมความรู้
        ให้มากยิ่งขึ้น
•       เพื่อนําข้อเท็จจริงไปใช้ประโยชน์ และเป็นเครื่องมือในการพัฒนา รวมทั้งเป็นการ
        วางแผนและนโยบาย
    •    เห็นลู่ทางในการกระตุ้น ส่งเสริมให้คนหรือกลุ่มในชุมชนริเริ่มกิจกรรมต่างๆ เพื่อแก้ปัญหา
         ของตนเอง
    •    สามารถดึงศักยภาพของชุมชนที่มีอยู่มาใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อกระบวนการพัฒนาจากล่าง
         ขึ้นบน
ความสําคัญของการศึกษาชุมชน
•   ชุมชนมีหลายองค์ประกอบหรือสภาพของธรรมชาติความเป็นมนุษย์
•   ชุมชนสะท้อนลักษณะหรือสภาพของธรรมชาติความเป็นมนุษย์
•   ชุมชนสามารถอธิบายว่าอะไรคือคุณค่า อะไรคือเกณฑ์ที่ทําให้เราสามารถอยู่ร่วม
    กัน
•   ชุมชนเป็นเรื่องการสร้างพื้นท่ีที่เรายืนอยู่ในฐานะที่เป็นมนุษย์ในสังคม
•   ชุมชนเป็นเรื่องของการสร้างทุนทางสังคม
ประเภทของการศึกษาชุมชน
•       จําแนกตามวัตถุประสงค์ของการนําความรู้ไปใช้
    •    ศึกษาชุมชนแบบหาความรู้พื้นฐานทั่วไป
    •    ศึกษาแบบทดสอบความรู้เดิม
    •    ศึกษาเพื่อสร้างองค์ความรู้ใหม่
    •    ศึกษาเพื่อหารูปแบบจําลอง (Model) ไปใช้ในการพัฒนา
•       การศึกษาตามเนื้อหาข้อมูลเพื่อนําไปใช้
    •    การศึกษาข้อมูลโดยละเอียด เพื่อใช้ในการวางแผนในอนาคตระยะยาวเป็นแนวทางในการพัฒนา
    •    การศึกษาข้อมูลเฉพาะ เพื่อแก้ปัญหาเฉพาะหน้า หรือประเด็นเร่งด่วน
•       จําแนกตามวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล
    •    เก็บข้อมูลจากเอกสาร หรืองานวิจัยที่มีผู้ศึกษาไว้แล้ว
    •    เก็บข้อมูลชุมชนแบบสํารวจเชิงปริมาณ เช่น แบบสอบถาม
    •    เก็บข้อมูลแบบมีส่วนร่วมอย่างใกล้ชิด
    •    เก็บข้อมูลชุมชนแบบเชิงลึก หรือเชิงคุณภาพ
กระบวนการเกิดชุมชน
•บุคคตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป มีการรวมกลุ่มกันเพื่อวัตถุประสงค์อย่างใดอย่างหนึ่ง เช่น การประกอบอาชีพ
•กลุ่มบุคคลที่รวมกลุ่มเกิดความรู้สึกว่าต้องมีการทํากิจกรรมร่วมกันเพื่อบรรลุวัตถุประสงค์บางอย่างร่วม
กัน การรวมกลุ่มเป็นความสัมพันธ์ในลักษณะของกลุ่มสังคม หรือองค์กรทางสังคม
•กลุ่มสังคมหรือองค์กรทางสังคมที่เกิดขึ้นจะมีการกําหนดพื้นที่หรือสถานที่ในการดําเนินกิจกรรมที่แน่นอน
•กลุ่มสังคมที่รวมตัวกันในลักษณะบ้านในละแวกเดียวกันขยายตัวเป็นชุมชน ซึ่งอาจมาจากจํานวนบ้านที่
เพิ่มขึ้น




                                              ตัวแปร
                                  •ปัจจัยทางลักษณะประชากร
    ชุมชนเมือง                    •ปัจจัยด้านอาชีพ รายได้ และ                   ชุมชนชนบท
(Urban community)                 การแบ่งงาน                                 (Rural community)
                                  •ปัจจัยที่อยู่อาศัยและสิ่งแวดล้อม
                                  •ปัจจัยทางสังคมและวัฒนธรรม
ปัจจัยทางลักษณะประชากรศาสตร์

                   ปัจจัย                     ชุมชนชนบท                      ชุมชนเมือง

ขนาดประชากร                                    มีจํานวนน้อย                 มีประชากรมาก

อายุขัยโดยเฉลี่ย                                     ต่ํา                         สูง

ร้อยละของประชากรที่เป็นเด็กและเยาวชน                 สูง                          ต่ํา

ระดับการศึกษา                          ต่ํา ส่วนใหญ่จบชั้นประถมศึกษา      สูงกว่าประถมศึกษา

สถานภาพสมรส                             คนโสดน้อย การหย่าร้างน้อย      คนโสดมาก มีการหย่าร้างสูง

อายุเฉลี่ยเมื่อเริ่มแต่งงาน                          ต่ํา                         สูง

เชื่อชาติ                                     เชื้อชาติเดียวกัน           ปะปนหลายเชื้อชาติ
ปัจจัยด้านอาชีพ รายได้ และการแบ่งงาน

             ปัจจัย                ชุมชนชนบท                            ชุมชนเมือง

                                                              อาชีพมีความหลากหลายตามความรู้
อาชีพ                        อาชีพหลักเป็นเกษตรกรรม
                                                                      และความสามารถ

                                                              รายได้สูง รายได้มีความแปรปรวนสูง
รายได้                    รายได้ต่ําและมีรายได้ใกล้เคียงกัน
                                                                  ตามความรู้ความสามารถ

                                                              การประกอบอาชีพเป็นวิชาชีพเฉพาะ
การแบ่งงาน                    คนหนึ่งทําได้หลายอาชีพ
                                                                     หรือเฉพาะสาขา
ปัจจัยที่อยู่อาศัยและสิ่งแวดล้อม

                   ปัจจัย                        ชุมชนชนบท                             ชุมชนเมือง

                                                                            ชุมชนรวมกันอยู่อย่างหนาแน่น พื้นที่
ที่อยู่อาศัย (ที่ตั้งของชุมชน)           ชุมชนตั้งบ้านเรือนกระจัดกระจาย
                                                                                 ส่วนใหญ่เป็นที่อยู่อาศัย

การแบ่งพื้นที่ทําประโยชน์ของชุมชน        พื้นที่ว่างมาก ไม่ได้รับการพัฒนา   มีการใช้ประโยชน์พื้นที่ทุกตารางเมตร

ความหนาแน่นของประชากรต่อพื้นที่                       น้อย                                 มาก

พื้นที่สาธารณสถาน                                     มาก                                  น้อย

สภาพอากาศและสภาพแวดล้อมทาง
                                         ยังคงความเป็นธรรมชาติอยู่มาก       สิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติถูกทําลาย
ธรรมชาติ
ปัจจัยทางสังคมและวัฒนธรรม
                ปัจจัย                   ชุมชนชนบท                         ชุมชนเมือง

ขนาดของครอบครัว                          ครอบครัวขยาย                     ครอบครัวเดี่ยว

การเลื่อนชั้นทางสังคม                      ทําได้ยาก                        ทําได้ง่าย

บทบาทของบิดามารดาในสังคม            บิดาเป็นใหญ่ในครอบครัว        บิดา มารดามีบทบาทเท่าเทียมกัน

เครื่องอํานวยความสะดวก                        น้อย                            มาก

การดูแลสุขภาพ                           มีความสนใจน้อย                   มีความสนใจมาก

ความเชื่อ                         เปลี่ยนแปลงยาก เชื่อในโชคลาง          เปลี่ยนแปลงได้ง่าย

การติดต่อสัมพันธ์ระหว่างสมาชิก      เป็นกันเอง ไม่เป็นทางการ     ติดต่อกันแบบเป็นทางการและธุรกิจ

การควบคุมทางสังคม                     ใช้วิถีประชา และจารีต      ใช้กฎหมาย และกฎระเบียบข้อบังคับ
ลักษณะของชุมชน
              แบ่งตามกิจกรรมหลัก                              แบ่งตามลักษณะทางนิเวศวิทยา

                    ชุมชนการค้า                              ชุมชนบริการขั้นต้น
 เป็นชุมชนที่เป็นศูนย์กลางของการค้า มีลักษณะอยู่ เป็นชุมชนขนาดเล็กที่เป็นแหล่งของสินค้าประเภท
ทั่วตามเขตเมืองต่างๆ และเขตที่มีประชากรหนาแน่น                     วัตถุดิบ

               ชุมชนศูนย์กลางขนส่ง                            ชุมชนจําหน่ายหรือชุมชนการค้า
เป็นชุมชนที่เกิดตามเส้นทางการคมนาคม หรือเส้น           เป็นชุมชนที่เป็นศูนย์กลางการค้าหรือจําหน่าย
    ทางขนส่งทั้งทางบก ทางน้ํา และทางอากาศ                     วัตถุดิบที่ได้รับจากชุมชนขั้นต้น

           ชุมชนศูนย์กลางของการบริการ                                 ชุมชนอุตสาหกรรม
 เป็นชุมชนที่เกิดขึ้นเนื่องจากการรวมตัวของบุคคล      เป็นชุมชนที่ทําหน้าที่ให้บริการในรูปแบบต่างๆ รวม
     เพื่อปฏิบัติหน้าที่หรือบริการที่เกี่ยวข้องกัน               ทั้งอุตสาหกรรมขนาดต่างๆ
ความสําคัญของการทํางานชุมชนด้านสาธารณสุข
•   เป็นการจัดและนําบริการด้านสุขภาพไปสู่ประชาชนให้ครอบคลุมประชาชนกลุ่มเป้าหมายให้
    มากที่สุด ซึ่งครอบคลุมทั้งด้านการส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค การรักษาพยาบาล และ
    การฟื้นฟูสภาพ
•   เป็นการลดช่องว่างของความเหลื่อมล้ําของประชาชนในชุมชนในการเข้าถึงการบริการขั้นพื้น
    ฐานที่พึงได้รับ ตามนโยบายพัฒนาสุขภาพแห่งชาติซึ่งเน้นเรื่องความเท่าเทียมกันหรือความ
    เสมอภาคของการได้รับบริการขั้นพ้ืนฐานของคนในชุมชน
•   เกิดการประสานงานในการดําเนินงานของหน่วยงานต่างๆ ที่มีอยู่ในชุมชน ซึ่งมีส่วนเกี่ยวข้อง
    ในการแก้ปัญหาของชุมชน
•   เป็นการระดมและพัฒนาทรัพยากรที่มีอยู่ในชุมชนมาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด
•   เป็นการสร้างความเข้มแข็งให้แก่ชุมชนเพื่อชุมชนที่สามารถจะพึ่งพาตนเองได้
•   เป็นแนวทางในการกําหนดนโยบายการทํางานของชุมชน ทําให้การทํางานสอดคล้องกับสภาพ
    ที่แท้จริงของชุมชน
ประโยชน์ของการทํางานชุมชนด้านสาธารณสุข
                 ด้านการมีส่วนร่วม                                 ด้านพฤติกรรมสุขภาพ
•เกิดการประสานร่วมมือกันระหว่างหน่วยงานภาครัฐ     •ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจด้านสุขภาพมากขึ้น ก่อให้
เอกชน และชุมชน                                    เกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมสุขภาพ
•เกิดการพัฒนาด้านการดําเนินงานสาธารณสุขอย่างต่อ   •เกิดการปรับเปลี่ยนทัศนคติของประชาชนในเรื่องการ
เนื่อง                                            ป้องกัน และการส่งเสริมสุขภาพ
                                                  •ก่อให้เกิดการปรับปรุงสภาพแวดล้อมในชุมชนที่ส่ง
                                                  เสริมสุขภาวะ
                                                  •ประชาชนสามารถพึ่งพาตนเองด้านสุขภาพได้
                 ด้านปัญหาสาธารณสุข                           ด้านการกําหนดนโยบาย
•ลดปัญหาการแพร่กระจายของโรคและระบาดของโรค      •ได้ข้อมูลประกอบการกําหนดนโยบาย
•ลดปัญหาเรื่องบุคลากรสาธารณสุขไม่เพียงพอ และลด •ได้มีการติดตามประเมินผลการปฏิบัติงานในพื้นที่จริง
ปัญหาความเท่าเทียมกันในการเข้าถึงบริการ        •สามารถกําหนดนโยบายและบริการจัดการด้าน
•ลดอัตราการเพิ่มของประชากร และลดอัตราการตายของ สาธารณสุขให้ชัดเจน และเหมาะสมกับสภาพพื้นที่
โรคที่ป้องกันได้
แนวคิดที่เกี่ยวข้อง
                     แนวคิดการมี
                     ส่วนร่วมของ
                        ชุมชน
 แนวคิดการ                            แนวคิดการ
 ติดตามและ                           เตรียมชุมชน
 ประเมินผล

                     แนวคิดการ
                     ประสานงาน

                                      แนวคิดการ
แนวคิดการแก้
                                     ทํางานเป็นทีม
 ปัญหาชุมชน

                    แนวคิดการเข้า
                      ถึงชุมชน
กระบวนการทํางานด้านสาธารณสุข
การประเมินปัญหาและความ
                                                              การวางแผนการทํางานชุมชน
    ต้องการของชุมชน
•การเก็บรวบรวมข้อมูล
  •แหล่งข้อมูลปฐมภูมิ
  •แหล่งข้อมูลทุติยภูมิ
•การวิเคราะห์ข้อมูล โดยนํา       การดําเนินงานตามแผนการทํางานชุมชน
ข้อมูลมาตรวจสอบความถูกต้อง       •การเตรียมการ
จัดหมวดหมู่ แจกแจงความถี่          •การเตรียมผู้รับผิดชอบของงาน
และวิเคราะห์ทางสถิติ               •การเข้าถึงชุมชน
•การกําหนดปัญหา กําหนดให้          •การเตรียมชุมชน                           การประเมินผลการทํางานในชุมชน
บุคคลที่เกี่ยวข้องมามีส่วนร่วม     •การประสานความร่วมมือกับหน่วยงานและ       •การประเมินผลระหว่างการทํางาน
ในการกําหนดปัญหา                   ผู้เกี่ยวข้อง                             •การประเมินผลเมื่อเสร็จสิ้นการ
•การจัดลําดับความสําคัญของ         •การเตรียมวัสดุ อุปกรณ์ และวิธีการการ     ทํางาน
ปัญหา                              ดําเนินกิจกรรม
•การวิเคราะห์โยงใยสาเหตุของ        •การเตรียมการนิเทศ การติดตาม และ
ปัญหา                              ประเมินผล
                                 •การดําเนินการ
กระบวนการศึกษาวิเคราะห์ชุมชน
•   การใช้ข้อมูลเอกสาร (Literature review)
•   การลงพื้นที่ภาคสนาม (Fieldwork)
•   การสังเกต (Observation)
•   การสัมภาษณ์ (Interviewing)
•   การสนทนากลุ่ม (Focus group)
•   การศึกษาชุมชนด้วยกระบวนการวิจัย (Community research)
Literature review
•       วัตถุประสงค์
    •    ทบทวนเพื่อให้ทราบว่าเคยมีการศึกษาประเด็นนี้บ้างหรือไม่ ในพื้นที่ใดบ้าง
    •    สรุปแนวคิดทางทฤษฎี/ข้อค้นพบจากงานศึกษาเกี่ยวกับประเด็นที่คล้ายคลึงหรือเกี่ยวข้องเป็นพื้นฐาน หรือ
         แนวทางในการกําหนดปัญหา และกรอบแนวคิด
    •    วางแนวทางการศึกษา และกําหนดแนวทางในการเก็บและวิเคราะห์ข้อมูล
    •    ใช้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษา หรือเป็นส่วนขยายเพิ่มเติม

•       ชนิดของเอกสาร
    •    เอกสารชั้นต้น คือ เอกสารที่เป้นข้อมูลหรือหลักฐานต้นฉบับโดยตรง ผู้ศึกษาต้องนําไปตีความตามความ
         เข้าใจของตนเอง เช่น จดหมายเหตุ บันทึก สถิติ อัตชีวประวัติ เป็นต้น
    •    เอกสารชั้นรอง คือ ข้อมูลหรือหลักฐานที่ไม่ใช่ได้มาโดยตรงจากเหตุการณ์หรือสถานการณ์หนึ่งๆ แต่ได้มา
         จากแหล่งอื่นที่มีผู้รวบรวมไว้ โดยนํามาวิเคราะห์ เสนอหรืออ้างอิง เช่น งานวิจัยต่างๆ
Fieldwork (1)
     การลงสู่ชุมชนที่ต้องการศึกษา ซึ่งจะก่อให้เกิดความไว้เนื้อเชื่อใจในชุมชน ทําให้การศึกษาชุมชนเป็นไปอย่าง
                                                     ราบรื่น


                                                                                              การแนะนําตัว
          สิ่งที่ควรคํานึง
                                      การเตรียมตัวเพื่อสร้างการยอมรับ              •จดหมายแนะนําตัว
•ความเหมาะสม
                                      •ภาษา                                        •บอกความจริงว่ามาจากหน่วยงานใด มา
•ความเป็นไปได้ของขนาด
                                      •ความกลมกลืน                                 ทําอะไร
•ความซับซ้อนของปรากฎการณ์ในชุมชน
                                      •การแต่งกาย                                  •ให้สิทธิที่จะเข้าร่วมหรือไม่เข้าร่วม
ที่เชื่อมโยงกับการเปลี่ยนแปลงภายนอก
                                      •อุปกรณ์ที่นําเข้าไปในพื้นที่                •บอกประโยชน์ของข้อค้นพบ
รวมทั้งผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงที่
                                      •การวางตัว                                   •บอกเหตุผลของการเลือกศึกษาพื้นที่
เกิดขึ้น
                                      •การใช้อุปกรณ์ช่วยบันทึก                     •บอกผลดีและผลเสียที่ชาวบ้านจะได้รับ
•ความสะดวกของพื้นที่ตั้ง การเดินทาง
                                      •การศึกษาข้อมูลพื้นฐานของชุมชน               •สร้างมนุษยสัมพันธ์ที่ดี
ความใกล้/ไกล ความปลอดภัย และการมี
                                      •การเลือกผู้ให้ข้อมูล (Key informant) ซึ่ง   •ไม่ควรแสดงพฤติกรรมที่ขัดกับบทบาทที่
สถานบริการอื่นๆ
                                      ไม่จําเป้นต้องเป็นผู้นําชุมชน                ระบุไว้
•การรู้จักคนในพื้นที่
                                                                                   •วางตัวเป็นกลาง
Fieldwork (2)
           การสร้างความสัมพันธ์ (Rapport)
•แนะนําตัวเองตามสถานภาพและบทบาทที่กําหนดไว้
•รักษาสถานภาพและบทบาทดังกล่าว
•เข้าร่วมกิจกรรมในชุมชนที่สําคัญ และพร้อมที่จะเข้าร่วม เช่น
เป็นกําลังแรงงาน ช่วยทุนทรัพย์                                                          การเริ่มทํางาน
•แสดงไมตรี เช่น รับฟังเรื่องราวร้องทุกข์ ให้คําปรึกษาในเรื่องที่   •การทําแผนที่ (Mapping) ได้แก่
สามารถช่วยได้                                                        •แผนที่ทางกายภาพ (Physical mapping)
•ไม่ควรสร้างความรู้สึกว่าต้องมีของกํานัลติดมือทุกครั้งหรือของ        •แผนที่ทางประชากร (Demographic mapping)
กํานัลต้องมีราคา                                                     •แผนที่ทางสังคม (Social mapping)
                                                                     •แผนที่การประกอบกิจกรรม (Activity mapping)
                                                                     •แผนที่ทางความคิด (Mind mapping)
                                                                   •การเลือกตัวอย่าง (Selective sampling)
                                                                     •เวลา ทําตอนไหน สังเกตเวลาใด
                                                                     •สถานที่
                                                                     •คน
                                                                     •เหตุการณ์
Observation
     การเฝ้าดูสิ่งที่เกิดขึ้น หรือปรากฏการณ์อย่างเอาใจใส่และกําหนดไว้อย่างมีระเบียบวิธี เพื่อวิเคราะห์หรือ
  หาความสัมพันธ์ของสิ่งที่เกิดขึ้นนั้นๆ กับบริบท ซึ่งทําให้เกิดความเข้าใจลักษณะทางธรรมชาติ และขอบเขตของ
   ความสัมพันธ์ระหว่างองค์ประกอบต่างๆ ของปรากฎการณ์ทางสังคมและพฤติกรรมของบุคคลที่เป็นสมาชิก

                                       การสังเกตแบบมีส่วนร่วม                         สิ่งที่ต้องสังเกต
                                   (Participant observation)               • การกระทํา (Act) หรือพฤติกรรม
                               ผู้สังเกตเข้าไปมีส่วนร่วมในชุมชน หรือ       ทางสังคม (Social behavior)
                               เป็นส่วนหนึ่งของกลุ่ม ทํากิจกรรมร่วม        • แบบแผนของการกระทํา
                                   กัน และทําให้คนในชุมชนยอมรับ            (Activities) ซึ่งเป็นการกระทําหรือ
 ประเภทของการสังเกต
                                                                           พฤติกรรมที่เป็นกระบวนการเป็นขั้น
Type of observation
                                     การสังเกตแบบไม่มีส่วนร่วม             ตอน และต่อเนื่องจนเป็นแบบแผน
                              (Non-participant observation)                • การถอดความหมาย (Meaning)
                               ผู้สังเกตอยู่วงนอกไม่เข้าไปมีส่วนร่วม       • ความสัมพันธ์ (Relationship)
                                ในกิจกรรม เป็นเพียงการเฝ้าสังเกต           • การมีส่วนร่วม (Participant)
                                ทางสังคมที่เกิดขึ้นเท่านั้น เพื่อไม่ให้    • สภาพกายภาพ (Setting)
                                    เกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม
Interviewing
การสนทนาซักถามอย่างมีจุดมุ่งหมาย เพื่อให้ได้ข้อมูลเรื่องใดเรื่องหนึ่งที่ต้องการ ข้อมูลจากการสัมภาษณ์จะ
  ช่วยอธิบายสิ่งที่พบเห็นหรือสังเกตได้ ซึ่งจําเป็นต้องมีโครงสร้างของคําถาม และสามารถควบคุมทิศทาง
             โครงสร้างของเนื้อหา ให้เป็นเป็นเรื่องที่ต้องการทราบหรือปัญหาในการศึกษา

 • กําหนดหลักเกณฑ์ว่าใครเป็นผู้ถูกสัมภาษณ์
 • แนะนําตัวว่ามาจากที่ใด มาทําอะไร วัตถุประสงค์ ทําไมผู้ถูกสัมภาษณ์จึงได้รับการคัดเลือก
 • ทําให้ผู้ถูกสัมภาษณ์รู้สึกว่าข้อมูลจากการสัมภาษณ์มีความน่าสนใจ
 • สร้างความประทับในให้แก่ผู้ให้สัมภาษณ์
 • ใช้ภาษาที่ง่ายแก่ความเข้าใจ/ตั้งคําถามอย่างเป็นกลางๆ
 • ควรถามเป็นเรื่องๆ เพื่อให้แนวความคิดของผู้ตอบต่อเนื่อง
 • พยายามสัมภาษณ์ในโอกาสแรกที่ติดต่อได้
 • สัมภาษณ์ในที่สงบและสบาย
 • ควรใช้เวลาในการสัมภาษณ์ที่เหมาะสม ไม่นานเกินไป
 • ไม่ควรมีบุคคลอื่นในที่สัมภาษณ์ สัมภาษณ์ใครควรฟังคําตอตอบจากผู้นั้น คําตอบของผู้อื่นควรตั้งไว้เป็นข้อสังเกต
 • ควรรู้ภาษาถิ่น/ความแตกต่างทางภาษาที่เกิดจากความแตกต่างทางชนชั้น
 • สร้างความสัมพันธ์ที่ดีกับผู้ให้สัมภาษณ์
 • กล่าวขอบคุณเมื่อเสร็จสิ้นการสัมภาษณ์
Focus group
เป็นการศึกษาชุมชนที่ประหยัดงบประมาณและเวลา เป็นการนั่งสนทนากันระหว่างผู้ให้สัมภาษณ์ในประเด็นใด
       ประเด็นหนึ่ง เพื่อชักจูงให้กลุ่มแสดงความคิดเห็นต่อประเด็นหรือแนวทางการสนทนาที่วางไว้

  องค์ประกอบในการสนทนากลุ่ม
  • บุคคลที่เกี่ยวข้อง
       • ผู้ดําเนินการสนทนา (Moderator)
       • ผู้จดบันทึกการสนทนา (Note taker)
       • ผู้ช่วย (Assistant)
  • ควรมีแนวทางในการสนทนากลุ่ม เช่น วัตถุประสงค์ ตั้งประเด็น/หัวข้อ การจัดลําดับหัวข้อ
  • เตรียมอุปกรณ์ที่จําเป็นในการบันทึก
  • แบบฟอร์มการคัดเลือกเข้ากลุ่มสนทนาตามหัวข้อที่สนใจ
  • สร้างบรรยากาศให้ผู้เข้าร่วมสามารถพูดคุยแลกเปลี่ยนความคิดเห็นอย่างอิสระ เลือกสถานที่ และกําหนดระยะ
   เวลาที่เหมาะสม
Community research
             Quantitative research                    Qualitative research
•ประจักษ์ในเชิงปริมาณ สามารถนับ/วัดได้   •การยอมรับความหลากหลายของปรากฎการณ์ทาง
•มีการประมาณค่า                          สังคม มากกว่ามุ่งเน้นที่จะหาความเป็นสากลหรือความ
•ใช้สถิติในการนําเสนอ และอ้างอิง         เหมือนกันของปรากฏการณ์
                                         •พฤติกรรมของคนีเงื่อนไขที่แตกต่างกัน
                                         •ปรากฏการณ์ทางสังคมเป็นองค์รวม มีความหลาก
                                         หลาย ซับซ้อน
ประเด็นศึกษาในเชิงคุณภาพ
•       ประวัติศาสตร์ชุมชน และรูปแบบการใช้ทรัพยากร
•       การศึกษาผู้นํา และบทบาทของผู้นํา
•       ความขัดแย้งทั้งภายนอก และภายใน
•       ตัวตนที่เป็นสมาชิกของชุมชน
    •    ระดับปัจเจกชน
    •    ระดับกลุ่มย่อย
    •    ระดับกลุ่มใหญ่
    •    ระดับองค์กร
    •    ระดับชุมชน
    •    ระดับเครือข่าย
เครื่องมือทางมานุษยวิทยา
•       ทําให้การศึกษาชุมชนมีวิธีการที่ชัดเจน
•       สร้างความเข้าใจในวิถีของชุมชนได้อย่างรวมเร็ว
•       ประยุกต์ใช้ความรู้กับการบริการสุขภาพได้ดี ทําให้งานบริการสุขภาพสอดคล้องกับวิถีชีวิต
        และเชื่อมโยงกับชุมชน
•       สร้างทัศนคติเชิงบวกต่อการทํางานในชุมชน
    •     แผนที่เดินเท้า
    •     ผังเครือญาติ
    •     โครงสร้างองค์กรชุมชน
    •     ปฏิทินชุมชน
    •     ประวัติศาสตร์ชุมชน
    •     ประวัติชีวิตบุคคลในชุมชน
แผนที่เดินดิน
•       ความหมาย
    •    การสํารวจดูด้วยตา และจดบันทึกทางกายภาพ สิ่งแวดล้อมของชุมชนและสิ่งต่างๆ ที่พบเห็นลงบนบันทึก
         เพื่อเข้าใจถึงความหมายทางสังคม (Social meaning) และหน้าที่ทางสังคม (Social function) ของพื้นที่ทาง
         กายภาพ (Physical space) ซึ่งเป็นเครื่องมือชิ้นแรกที่สําคัญ นําไปสู่ความเข้าใจชุมชน ด้วยวิธีการง่ายๆ ไม่
         ยุ่งยาก

•       เป้าหมาย
    •    ทําให้มองเห็นภาพรวมของชุมชนได้ครบถ้วน
    •    ได้ข้อมูลมากและละเอียดในระยะเวลาอันสั้น
    •    ได้ข้อมูลที่มีความน่าเชื่อถือ เพราะได้จากการสังเกตด้วยตนเอง
    •    นําไปสู่ความเข้าใจในมิติอื่นๆ ตามมา
วิธีการสร้างแผนที่เดินดิน
•   อาจนําแผนที่เก่ามาใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานเบื้องต้น แล้วตรวจสอบดูการเปลี่ยนแปลง
•   ให้ความสําคัญกับการสร้างความคุ้นเคยควบคู่กับการเขียนแผนที่
•   สํารวจให้ทั่วถึง โดยเฉพาะครัวเรือนชายขอบของชุมชน และผู้ที่แยกตัวโดดเดี่ยว
•   มองพื้นที่ทางกายภาพแต่ตีความให้เห็นถึงพื้นที่ทางสังคม
•   ถ้าทีมงานมีหลายคน ควรเดินร่วมกันสํารวจทั้งทีม
•   หมั่นสังเกตและพูดคุยแลกเปลี่ยนกันในทีมระหว่างการสํารวจ
•   ข้อมูลบางอย่างต้องสอบถามจากเจ้าของ บ้านญาติ เพื่อนบ้าน หรือบุคคลอื่นเพื่อประกอบการพิจารณา
•   ข้อมูลบางอย่างไม่สามารถสอบถามจากเจ้าของบ้านได้โดยตรง จําเป็นต้องสอบถมคนในชุมชนเพิ่มเติม
•   เมื่อให้ชาวบ้านนําทาง ข้อมูลอาจจะมีอคติจากผู้พาเดิน
•   พยายามเขียนข้อสังเกต เช่น ความสัมพันธ์ทางสังคม หน้าที่ทางสังคม
ผังเครือญาติ
•       ความหมาย
    •    การถอดความสัมพันธ์ในเชิงเครือญาติที่เกิดขึ้นของคนในชุมชนทั้งโดยสายเลือดและการแต่งงาน เพื่อให้
         รู้จักเครือข่ายทางสังคม (Social network) ที่สนับสนุนแต่ละครอบครัวอยู่ ทําให้เข้าใจบทบาทและความ
         สัมพันธ์ของคนในชุมชน

•       หลักการ
    •    การรู้จักใช้สัญลักษณ์มาตรฐานที่เข้าใจตรงกันในการทําผังเครือญาติ
    •    การถอดผังเครือญาติจะต้องทําความรู้จักกับบุคคลที่มีชื่ออยู่ในเครือญาติที่บันทึกเอาไว้
    •    อาจจะถอดผังเครือญาติในแต่ละครอบครัวให้มากที่สุดเท่าที่จะมากได้ อย่างน้อย 3 ชั่วอายุคนขึ้นไป
    •    ควรพยายามทําความรู้จักชื่อที่ปรากฎในผังเครือญาติอย่างน้อยครึ่งหนึ่ง
    •    ไม่จําเป็นต้องถอดผังสมาชิกที่ย้ายไปตั้งรกรากที่อื่น และไม่มีปฏิสัมพันธ์ติดต่อกลับมา
    •    ให้เน้นการมีความสัมพันธ์ที่ดีกับชาวบ้านมากกว่าการได้ข้อมูล
การจัดทําผังโครงสร้างองค์กรชุมชน
ความหมาย
   •   การศึกษาความสัมพันธ์ทาสังคมของชาวบ้านในแง่มุมต่างๆ นอกเหนือจากความสัมพันธ์ทางเครือญาติทั้ง
       โครงสร้างด้านเศรษฐกิจ การเมือง สังคม และวัฒนธรรมของชุมชนด้วยการศึกษาสถาบัน องค์กร กลุ่ม
       ต่างๆ ทั้งที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการเพื่อทราบความสัมพันธ์เชิงสถานภาพ บทบาท หน้าที่ และอํานาจ
       ระหว่างหน่วยต่างๆ ในชุมชน
ประโยชน์
   •   ทําให้เห็นโครงสร้างด้านต่างๆ อย่างมีความสัมพันธ์กันอย่างสลับซับซ้อน
   •   อาจจะมีโครงสร้างทางสังคมที่ไม่เป็นทางการซ้อนทับกับโครงสร้างที่เป็นทางการและมีความหมายต่อชีวิต
       จริงของชุมชน
   •   ช่วยทําให้มองเห็นความหลากหลายของโครงสร้างองค์กรในชุมชนและวางแผนการทํางานอย่างมีประสิทธิ
       ภาพมากข้ึน
ปฏิิทินชุมชน
ความหมาย
  •   การเรียนรู้วิถีชีวิตของชาวบ้านในแต่ละวัน แต่ละเดือน แต่ละปีว่าประกอบกิจกรรมอะไรบ้าง เกิดขึ้นอย่างไร
      เกี่ยวข้องกับวิถีชีวิตของชาวบ้านอย่างไร
เป้าหมาย
  •   ช่วยสร้างความเข้าใจในวิถีชีวิตชาวบ้าน ทั้งวงจรและจังหวะ
  •   เป็นจุดเริ่มต้นในการสร้างความสัมพันธ์อันดีกับชาวบ้าน เกิดความรู้สึกดี และมีความไว้วางใจมากขึ้น
  •   ช่วยให้สามารถวางแผนโครงการ/จัดตารางการทํางานที่สอดคล้องกับวิถีชีิวิตได้อย่างเหมาะสม และถูก
      จังหวะเวลา
แนวทาง
  •   ปฏิทินทางเศรษฐกิจ
  •   ปฏิทินทางวัฒนธรรม
  •   อาจเข้าไปสังเกตแบบมีส่วนร่วมในกิจกรรมต่างๆ
  •   แหล่งข้อมูลของปฏิทินทางวัฒนธรรมได้แก่ กลุ่มผู้เฒ่าผู้แก่ในชุมชน พระ ผู้นําทางศาสนา
ประวัติศาสตร์ชุมชน
ความหมาย
  •   การศึกษาเรื่องราวความเป็นมาของชุมชนในด้านต่างๆ เช่น เศรษฐกิจ วัฒนธรรม และการเมือง ตั้งแต่อดีต
      จนปัจจุบัน
เป้าหมาย
  •   ทําให้ทราบที่ไปที่มาของปรากฏการณ์/ปัญหาต่างๆ ที่เกิดขึ้นในชุมชนในแต่ละช่วง
  •   ทําให้ทราบถึงประสบการณ์ร่วมกันของชุมชนที่ีส่วนในการกําหนดความรู้สึกนึกคิดของชาวบ้าน
  •   ทําให้เข้าใจความสัมพันธ์ของสิ่งต่างๆ ในชุมชน
  •   ทําให้การตีความปรากฏการณ์อยู่บนพื้นฐานของข้อเท็จจริง ลดอคติส่วนตัว
  •   ทําให้ทราบว่าประเด็นใดที่ควรให้ความสําคัญ หรือเป็นสาระที่ควรใส่ใจ
เทคนิคการมีส่วนร่วมเพื่อนําไปสู่การพัฒนาชุมชน
•   เทคนิคการประชุมแบบบูรณาการ AIC
•   เทคนิคการประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อแสวงหาอนาคตร่วมกันแบบกระบวนการ FSC
•   เทคนิคการประชุมแบบหมวกความคิด (Six hat)
•   เทคนิค SWOT
•   เทคนิคการเรียนรู้แบบร่วมแรงร่วมใจ (Co-operative learning)
•   เทคนิคการประเมินสภาวะชนบทอย่างเร่งด่วน (Rapid rural appraisal; RRA)
•   เทคนิคการศึกษาวิเคราะห์ระบบชนบท (Rural system analysis; RSA)
•   เทคนิคการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (Participatory action research; PAR)
•   เทคนิคการวิเคราะห์ชุมชนด้วยความละเอียดอ่อน (Soft system analysis; SSA)
AIC

                               3 องค์ประกอบใน AIC




      Appreciation                    Influence                       Control
ก่อให้เกิดความผูกพันทางจิต   ก่อให้เกิดการเรียนรู้จากของ   ก่อให้เกิดการจัดการและการ
    วิญญาณระหว่างกัน                     จริง                         ควบคุม




                               เกิดพลังที่ไม่มีขอบเขต


                                                                   ประเวศ วะสี, 2539
ใคร
 ทฤษฎี/หลักการ                     อดีต                      อะไร
                                                             ทําไม
                                                            เมื่อไร
                                 ปัจจุบัน                   อย่างไร
                                                            ที่ไหน
                                                         เพื่อใคร
แนวทางการดําเนิน
                                 อนาคต               ใครได้ประโยชน์
     การ
                                                       ใครตัดสินใจ




       เรื่องที่จะอภิปราย   ความเกี่ยวพันกับเวลา   คําถาม
เครื่องมือ
       คือ ใบ ดอก ผล
ที่มาจากรากเหง้า หรือต้นตอ
             คือ
   ปรัชญา / ความคิด
ปัญหาการศึกษาชุมชนที่ผ่านมา

     เห็นแต่ตัวเลข                     เห็นแต่ปัญหา
ไม่เห็นความเป็นมนุษย์              ไม่เห็นศักยภาพชุมชน

                       เน้นผลลัพธ์
                    ละเลยกระบวนการ

 ศึกษาแบบแยกส่วน                     ทักษะและความรู้
  ขาดการเชื่อมโยง                    เป็นของส่วนตัว
การทํางานชุมชน
สร้างความรู้ ร่วมเรียนรู้ สู่การปฏิบัติ
 • การปฏิบัติ
 • ระบบข้อมูล
 • เครือข่าย
 • องค์กรแห่งการเรียนรู้
 • กลุ่มแกนนํา
 • การจัดการ
 • เครื่องมือวิเคราะห์ชุมชน
ประสบป!ค ค ค ค !ค ค ค มากมาย
        ขอให!ค !ค ค ค ค ค ค ค ค ค ค
     คนให!ค ค ค ค ค ค ค ค ค ค ค ค ค ค
รถช!ค ค ค ค ค ค ค ค ค !... ในการแนะนําส!ค
     เสริม อาชีพ หรือให!ค ค ค ค ค ค ค ค ค
                     เรื่องต!ค ค ค
                                พระบรมราโชวาทพระบาทสมเด็จพระ
         ต!ค ค ค ค ค ค ค !ค ค ค ค !คค ค ค
                                เจ!ค
                                       !ค ค ค
     ไม!ค ค !ค ค ค ค ค พระราชทาน ค ค ค ค
                                ค ค ค
                                แก!ค ค ค ค ค ค ค ในโอกาส
    เดียว... ความมั่นคงของ ประชาชนในชนบทเป!ค
                                เสด็จไปทรงกระทําพิธีเป!ค
  ส่วนหนึ่งที่จะสร้างชาติ และป!ค่อนและการพลังงาน ค ค ค
                                เขื ค ค ค ค
                                ไฟฟ!ค ค ค !ค ค ค ค
              เทศเป!ค อย!ค พุคจ.สกลนคร...” วันที่ 14
                                  ง
                                      ค ค เมื่อ

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

คู่มือการเขียนรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์
คู่มือการเขียนรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์คู่มือการเขียนรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์
คู่มือการเขียนรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์พัน พัน
 
วิทยาศาสตร์ ม.3 วัฏจักรสาร
วิทยาศาสตร์ ม.3 วัฏจักรสารวิทยาศาสตร์ ม.3 วัฏจักรสาร
วิทยาศาสตร์ ม.3 วัฏจักรสารWuttipong Tubkrathok
 
บทที่ 3 เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
บทที่ 3  เครื่องสำอางในชีวิตประจำวันบทที่ 3  เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
บทที่ 3 เครื่องสำอางในชีวิตประจำวันJariya Jaiyot
 
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทยหน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทยPaew Tongpanya
 
ขนราก
ขนรากขนราก
ขนรากdnavaroj
 
บทที่ 1-หลักการความหมายของท้องถิ่นศึกษา
บทที่ 1-หลักการความหมายของท้องถิ่นศึกษาบทที่ 1-หลักการความหมายของท้องถิ่นศึกษา
บทที่ 1-หลักการความหมายของท้องถิ่นศึกษาpop Jaturong
 
โมเดลและทฤษฎีที่สำคัญเกี่ยวกับการจัดการความรู้ (Km)
โมเดลและทฤษฎีที่สำคัญเกี่ยวกับการจัดการความรู้ (Km) โมเดลและทฤษฎีที่สำคัญเกี่ยวกับการจัดการความรู้ (Km)
โมเดลและทฤษฎีที่สำคัญเกี่ยวกับการจัดการความรู้ (Km) Sasichay Sritep
 
ชีพจรและความดันชีววิทยากับการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดสะเต็มศึกษา
ชีพจรและความดันชีววิทยากับการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดสะเต็มศึกษาชีพจรและความดันชีววิทยากับการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดสะเต็มศึกษา
ชีพจรและความดันชีววิทยากับการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดสะเต็มศึกษากมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้าน
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้านโครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้าน
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้านChok Ke
 
เรียงความ Is1
เรียงความ Is1เรียงความ Is1
เรียงความ Is1panisra
 
แบบฝึกหัดที่ 1 รู้จักอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 1 รู้จักอาเซียนแบบฝึกหัดที่ 1 รู้จักอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 1 รู้จักอาเซียนหรร 'ษๅ
 
แผนการสอนเรื่องสัตว์บก
แผนการสอนเรื่องสัตว์บกแผนการสอนเรื่องสัตว์บก
แผนการสอนเรื่องสัตว์บกkrusupap
 
แบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง สิ่งรอบตัวเรา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
แบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง สิ่งรอบตัวเรา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1แบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง สิ่งรอบตัวเรา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
แบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง สิ่งรอบตัวเรา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1gchom
 
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์ 58
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์  58กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์  58
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์ 58renusaowiang
 
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียนแบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียนKruthai Kidsdee
 
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์niralai
 

Mais procurados (20)

คู่มือการเขียนรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์
คู่มือการเขียนรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์คู่มือการเขียนรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์
คู่มือการเขียนรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์
 
วิทยาศาสตร์ ม.3 วัฏจักรสาร
วิทยาศาสตร์ ม.3 วัฏจักรสารวิทยาศาสตร์ ม.3 วัฏจักรสาร
วิทยาศาสตร์ ม.3 วัฏจักรสาร
 
วัยผู้ใหญ่
วัยผู้ใหญ่วัยผู้ใหญ่
วัยผู้ใหญ่
 
บทที่ 3 เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
บทที่ 3  เครื่องสำอางในชีวิตประจำวันบทที่ 3  เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
บทที่ 3 เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
 
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทยหน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
 
ขนราก
ขนรากขนราก
ขนราก
 
บทที่ 1-หลักการความหมายของท้องถิ่นศึกษา
บทที่ 1-หลักการความหมายของท้องถิ่นศึกษาบทที่ 1-หลักการความหมายของท้องถิ่นศึกษา
บทที่ 1-หลักการความหมายของท้องถิ่นศึกษา
 
โมเดลและทฤษฎีที่สำคัญเกี่ยวกับการจัดการความรู้ (Km)
โมเดลและทฤษฎีที่สำคัญเกี่ยวกับการจัดการความรู้ (Km) โมเดลและทฤษฎีที่สำคัญเกี่ยวกับการจัดการความรู้ (Km)
โมเดลและทฤษฎีที่สำคัญเกี่ยวกับการจัดการความรู้ (Km)
 
ชีพจรและความดันชีววิทยากับการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดสะเต็มศึกษา
ชีพจรและความดันชีววิทยากับการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดสะเต็มศึกษาชีพจรและความดันชีววิทยากับการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดสะเต็มศึกษา
ชีพจรและความดันชีววิทยากับการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดสะเต็มศึกษา
 
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้าน
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้านโครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้าน
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้าน
 
เรียงความ Is1
เรียงความ Is1เรียงความ Is1
เรียงความ Is1
 
ใบงาน อเมริกาเหนือ
ใบงาน อเมริกาเหนือใบงาน อเมริกาเหนือ
ใบงาน อเมริกาเหนือ
 
แบบฝึกหัดที่ 1 รู้จักอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 1 รู้จักอาเซียนแบบฝึกหัดที่ 1 รู้จักอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 1 รู้จักอาเซียน
 
แผนการสอนเรื่องสัตว์บก
แผนการสอนเรื่องสัตว์บกแผนการสอนเรื่องสัตว์บก
แผนการสอนเรื่องสัตว์บก
 
แบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง สิ่งรอบตัวเรา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
แบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง สิ่งรอบตัวเรา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1แบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง สิ่งรอบตัวเรา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
แบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง สิ่งรอบตัวเรา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
 
ใบความรู้
ใบความรู้ใบความรู้
ใบความรู้
 
รูปแบบการสัมมนา
รูปแบบการสัมมนารูปแบบการสัมมนา
รูปแบบการสัมมนา
 
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์ 58
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์  58กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์  58
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์ 58
 
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียนแบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน
 
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
 

Destaque

แนวข้อสอบพัฒนาชุมชน
แนวข้อสอบพัฒนาชุมชนแนวข้อสอบพัฒนาชุมชน
แนวข้อสอบพัฒนาชุมชนหน่อย จ๋า
 
การวินิจฉัยชุมชน อ.สมเกียรติ
การวินิจฉัยชุมชน อ.สมเกียรติการวินิจฉัยชุมชน อ.สมเกียรติ
การวินิจฉัยชุมชน อ.สมเกียรติSambushi Kritsada
 
แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)
แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)
แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)peter dontoom
 
แผนที่เดินดิน อุทัยวรรณ กาญจนกามล
แผนที่เดินดิน   อุทัยวรรณ กาญจนกามลแผนที่เดินดิน   อุทัยวรรณ กาญจนกามล
แผนที่เดินดิน อุทัยวรรณ กาญจนกามลDental Faculty,Phayao University.
 
การพัฒนาคุณภาพในการทำงานชุมชน
การพัฒนาคุณภาพในการทำงานชุมชนการพัฒนาคุณภาพในการทำงานชุมชน
การพัฒนาคุณภาพในการทำงานชุมชนsoftganz
 
Loadแนวข้อสอบ นักทรัพยากรบุคคลปฏิบัติการ สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการกรุงเทพม...
 Loadแนวข้อสอบ นักทรัพยากรบุคคลปฏิบัติการ สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการกรุงเทพม... Loadแนวข้อสอบ นักทรัพยากรบุคคลปฏิบัติการ สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการกรุงเทพม...
Loadแนวข้อสอบ นักทรัพยากรบุคคลปฏิบัติการ สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการกรุงเทพม...nawaporn khamseanwong
 
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อ
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อแบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อ
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อKruthai Kidsdee
 
สรุปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560 – 2564
สรุปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560 – 2564สรุปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560 – 2564
สรุปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560 – 2564ประพันธ์ เวารัมย์
 
การประเมินผลคลินิกโรคไตเรื้อรังแบบครบวงจร
การประเมินผลคลินิกโรคไตเรื้อรังแบบครบวงจรการประเมินผลคลินิกโรคไตเรื้อรังแบบครบวงจร
การประเมินผลคลินิกโรคไตเรื้อรังแบบครบวงจรCAPD AngThong
 
Six Plus Building Block สาขาสุขภาพช่องปาก 2014
Six Plus Building Block สาขาสุขภาพช่องปาก 2014Six Plus Building Block สาขาสุขภาพช่องปาก 2014
Six Plus Building Block สาขาสุขภาพช่องปาก 2014Tang Thowr
 
Patient Centered Care (PCC) in Canada
Patient Centered Care (PCC) in CanadaPatient Centered Care (PCC) in Canada
Patient Centered Care (PCC) in Canadasoftganz
 

Destaque (20)

แนวข้อสอบพัฒนาชุมชน
แนวข้อสอบพัฒนาชุมชนแนวข้อสอบพัฒนาชุมชน
แนวข้อสอบพัฒนาชุมชน
 
แนวสรุปนักพัฒนาชุมชน99
แนวสรุปนักพัฒนาชุมชน99แนวสรุปนักพัฒนาชุมชน99
แนวสรุปนักพัฒนาชุมชน99
 
แนวข้อสอบนักพัฒนาชุมชน 2
แนวข้อสอบนักพัฒนาชุมชน 2แนวข้อสอบนักพัฒนาชุมชน 2
แนวข้อสอบนักพัฒนาชุมชน 2
 
การวินิจฉัยชุมชน อ.สมเกียรติ
การวินิจฉัยชุมชน อ.สมเกียรติการวินิจฉัยชุมชน อ.สมเกียรติ
การวินิจฉัยชุมชน อ.สมเกียรติ
 
แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)
แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)
แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)
 
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองแห่งชาติ พ.ศ. 2547
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองแห่งชาติ พ.ศ. 2547แนวข้อสอบพระราชบัญญัติกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองแห่งชาติ พ.ศ. 2547
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองแห่งชาติ พ.ศ. 2547
 
แนวข้อสอบจริง 75 ข้อ
แนวข้อสอบจริง  75 ข้อแนวข้อสอบจริง  75 ข้อ
แนวข้อสอบจริง 75 ข้อ
 
แผนที่เดินดิน อุทัยวรรณ กาญจนกามล
แผนที่เดินดิน   อุทัยวรรณ กาญจนกามลแผนที่เดินดิน   อุทัยวรรณ กาญจนกามล
แผนที่เดินดิน อุทัยวรรณ กาญจนกามล
 
การพัฒนาคุณภาพในการทำงานชุมชน
การพัฒนาคุณภาพในการทำงานชุมชนการพัฒนาคุณภาพในการทำงานชุมชน
การพัฒนาคุณภาพในการทำงานชุมชน
 
ย่อ สัมมาชีพชุมชน
ย่อ สัมมาชีพชุมชนย่อ สัมมาชีพชุมชน
ย่อ สัมมาชีพชุมชน
 
คุณธรรม
คุณธรรมคุณธรรม
คุณธรรม
 
Loadแนวข้อสอบ นักทรัพยากรบุคคลปฏิบัติการ สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการกรุงเทพม...
 Loadแนวข้อสอบ นักทรัพยากรบุคคลปฏิบัติการ สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการกรุงเทพม... Loadแนวข้อสอบ นักทรัพยากรบุคคลปฏิบัติการ สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการกรุงเทพม...
Loadแนวข้อสอบ นักทรัพยากรบุคคลปฏิบัติการ สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการกรุงเทพม...
 
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของทางราชการ พ.ศ. 2540
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของทางราชการ พ.ศ. 2540แนวข้อสอบพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของทางราชการ พ.ศ. 2540
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของทางราชการ พ.ศ. 2540
 
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อ
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อแบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อ
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อ
 
สรุปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560 – 2564
สรุปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560 – 2564สรุปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560 – 2564
สรุปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560 – 2564
 
Moral Project Plan2008
Moral Project Plan2008Moral Project Plan2008
Moral Project Plan2008
 
การประเมินผลคลินิกโรคไตเรื้อรังแบบครบวงจร
การประเมินผลคลินิกโรคไตเรื้อรังแบบครบวงจรการประเมินผลคลินิกโรคไตเรื้อรังแบบครบวงจร
การประเมินผลคลินิกโรคไตเรื้อรังแบบครบวงจร
 
การพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน
การพัฒนาระบบสุขภาพชุมชนการพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน
การพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน
 
Six Plus Building Block สาขาสุขภาพช่องปาก 2014
Six Plus Building Block สาขาสุขภาพช่องปาก 2014Six Plus Building Block สาขาสุขภาพช่องปาก 2014
Six Plus Building Block สาขาสุขภาพช่องปาก 2014
 
Patient Centered Care (PCC) in Canada
Patient Centered Care (PCC) in CanadaPatient Centered Care (PCC) in Canada
Patient Centered Care (PCC) in Canada
 

Semelhante a 2 แนวคิดเกี่ยวกับชุมชน

การวิจัยเพื่อตอบสนองการพัฒนาท้องถิ่น
การวิจัยเพื่อตอบสนองการพัฒนาท้องถิ่นการวิจัยเพื่อตอบสนองการพัฒนาท้องถิ่น
การวิจัยเพื่อตอบสนองการพัฒนาท้องถิ่นKorawan Sangkakorn
 
หลักสูตรที่ 1 หน่วยที่ 3: ศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน และการพัฒนาชุมชน
หลักสูตรที่ 1 หน่วยที่ 3: ศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน และการพัฒนาชุมชนหลักสูตรที่ 1 หน่วยที่ 3: ศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน และการพัฒนาชุมชน
หลักสูตรที่ 1 หน่วยที่ 3: ศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน และการพัฒนาชุมชนthanathip
 
รวมคู่มือ
รวมคู่มือรวมคู่มือ
รวมคู่มือboomlonely
 
มิติโลก 8 ด้าน
มิติโลก 8 ด้านมิติโลก 8 ด้าน
มิติโลก 8 ด้านKaembum Soraya
 
Participatory action research2
Participatory action research2Participatory action research2
Participatory action research2Ultraman Taro
 
ท้องถิ่นกับหน่วยบริการสุขภาพทำงานร่วมกันที่ตำบลนาบัว
ท้องถิ่นกับหน่วยบริการสุขภาพทำงานร่วมกันที่ตำบลนาบัวท้องถิ่นกับหน่วยบริการสุขภาพทำงานร่วมกันที่ตำบลนาบัว
ท้องถิ่นกับหน่วยบริการสุขภาพทำงานร่วมกันที่ตำบลนาบัวเครือข่าย ปฐมภูมิ
 
การพัฒนารูปแบบเครือข่ายสังคมเชิงเสมือนเพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้สาหรับการศึกษ...
การพัฒนารูปแบบเครือข่ายสังคมเชิงเสมือนเพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้สาหรับการศึกษ...การพัฒนารูปแบบเครือข่ายสังคมเชิงเสมือนเพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้สาหรับการศึกษ...
การพัฒนารูปแบบเครือข่ายสังคมเชิงเสมือนเพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้สาหรับการศึกษ...Panita Wannapiroon Kmutnb
 
Participatory action research
Participatory action researchParticipatory action research
Participatory action researchUltraman Taro
 
สอดคล้องกับโลกมิติโลก 8 ด้าน
สอดคล้องกับโลกมิติโลก 8 ด้านสอดคล้องกับโลกมิติโลก 8 ด้าน
สอดคล้องกับโลกมิติโลก 8 ด้าน0866589628
 
สอดคล้องกับโลกมิติโลก 8 ด้าน
สอดคล้องกับโลกมิติโลก 8 ด้านสอดคล้องกับโลกมิติโลก 8 ด้าน
สอดคล้องกับโลกมิติโลก 8 ด้าน0866589628
 
สถาบันพระมหากษัตริย์กับความมั่นคงแห่งชาติ มิย53
สถาบันพระมหากษัตริย์กับความมั่นคงแห่งชาติ มิย53สถาบันพระมหากษัตริย์กับความมั่นคงแห่งชาติ มิย53
สถาบันพระมหากษัตริย์กับความมั่นคงแห่งชาติ มิย53Link Standalone
 
มิติโลก 8 ด้าน
มิติโลก 8 ด้านมิติโลก 8 ด้าน
มิติโลก 8 ด้านPlam Preeya
 
มิติโลก 8 ด้าน
มิติโลก 8 ด้านมิติโลก 8 ด้าน
มิติโลก 8 ด้านNattayaporn Dangjun
 
มิติโลก 8 ด้าน
มิติโลก 8 ด้านมิติโลก 8 ด้าน
มิติโลก 8 ด้านPlam Preeya
 
ใต้สู่สันติสุขที่ยั่งยืน
ใต้สู่สันติสุขที่ยั่งยืนใต้สู่สันติสุขที่ยั่งยืน
ใต้สู่สันติสุขที่ยั่งยืนTeeranan
 

Semelhante a 2 แนวคิดเกี่ยวกับชุมชน (20)

การวิจัยเพื่อตอบสนองการพัฒนาท้องถิ่น
การวิจัยเพื่อตอบสนองการพัฒนาท้องถิ่นการวิจัยเพื่อตอบสนองการพัฒนาท้องถิ่น
การวิจัยเพื่อตอบสนองการพัฒนาท้องถิ่น
 
ชุมชนเข้มแข็งญี่ปุ่น in jp1
ชุมชนเข้มแข็งญี่ปุ่น in jp1ชุมชนเข้มแข็งญี่ปุ่น in jp1
ชุมชนเข้มแข็งญี่ปุ่น in jp1
 
หลักสูตรที่ 1 หน่วยที่ 3: ศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน และการพัฒนาชุมชน
หลักสูตรที่ 1 หน่วยที่ 3: ศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน และการพัฒนาชุมชนหลักสูตรที่ 1 หน่วยที่ 3: ศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน และการพัฒนาชุมชน
หลักสูตรที่ 1 หน่วยที่ 3: ศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน และการพัฒนาชุมชน
 
Culture and Consumer Behavior (Ch.3)
Culture and Consumer Behavior (Ch.3)Culture and Consumer Behavior (Ch.3)
Culture and Consumer Behavior (Ch.3)
 
1.Health Community_Concept
1.Health Community_Concept1.Health Community_Concept
1.Health Community_Concept
 
รวมคู่มือ
รวมคู่มือรวมคู่มือ
รวมคู่มือ
 
มิติโลก 8 ด้าน
มิติโลก 8 ด้านมิติโลก 8 ด้าน
มิติโลก 8 ด้าน
 
ท่องเที่ยวโดยชุมชน คือ ....
ท่องเที่ยวโดยชุมชน คือ ....ท่องเที่ยวโดยชุมชน คือ ....
ท่องเที่ยวโดยชุมชน คือ ....
 
Participatory action research2
Participatory action research2Participatory action research2
Participatory action research2
 
ท้องถิ่นกับหน่วยบริการสุขภาพทำงานร่วมกันที่ตำบลนาบัว
ท้องถิ่นกับหน่วยบริการสุขภาพทำงานร่วมกันที่ตำบลนาบัวท้องถิ่นกับหน่วยบริการสุขภาพทำงานร่วมกันที่ตำบลนาบัว
ท้องถิ่นกับหน่วยบริการสุขภาพทำงานร่วมกันที่ตำบลนาบัว
 
การพัฒนารูปแบบเครือข่ายสังคมเชิงเสมือนเพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้สาหรับการศึกษ...
การพัฒนารูปแบบเครือข่ายสังคมเชิงเสมือนเพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้สาหรับการศึกษ...การพัฒนารูปแบบเครือข่ายสังคมเชิงเสมือนเพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้สาหรับการศึกษ...
การพัฒนารูปแบบเครือข่ายสังคมเชิงเสมือนเพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้สาหรับการศึกษ...
 
บทความวิชาการ โยนิโสมนสิการ
บทความวิชาการ โยนิโสมนสิการบทความวิชาการ โยนิโสมนสิการ
บทความวิชาการ โยนิโสมนสิการ
 
Participatory action research
Participatory action researchParticipatory action research
Participatory action research
 
สอดคล้องกับโลกมิติโลก 8 ด้าน
สอดคล้องกับโลกมิติโลก 8 ด้านสอดคล้องกับโลกมิติโลก 8 ด้าน
สอดคล้องกับโลกมิติโลก 8 ด้าน
 
สอดคล้องกับโลกมิติโลก 8 ด้าน
สอดคล้องกับโลกมิติโลก 8 ด้านสอดคล้องกับโลกมิติโลก 8 ด้าน
สอดคล้องกับโลกมิติโลก 8 ด้าน
 
สถาบันพระมหากษัตริย์กับความมั่นคงแห่งชาติ มิย53
สถาบันพระมหากษัตริย์กับความมั่นคงแห่งชาติ มิย53สถาบันพระมหากษัตริย์กับความมั่นคงแห่งชาติ มิย53
สถาบันพระมหากษัตริย์กับความมั่นคงแห่งชาติ มิย53
 
มิติโลก 8 ด้าน
มิติโลก 8 ด้านมิติโลก 8 ด้าน
มิติโลก 8 ด้าน
 
มิติโลก 8 ด้าน
มิติโลก 8 ด้านมิติโลก 8 ด้าน
มิติโลก 8 ด้าน
 
มิติโลก 8 ด้าน
มิติโลก 8 ด้านมิติโลก 8 ด้าน
มิติโลก 8 ด้าน
 
ใต้สู่สันติสุขที่ยั่งยืน
ใต้สู่สันติสุขที่ยั่งยืนใต้สู่สันติสุขที่ยั่งยืน
ใต้สู่สันติสุขที่ยั่งยืน
 

Mais de Watcharin Chongkonsatit

Mais de Watcharin Chongkonsatit (20)

Sale person's communication
Sale person's communicationSale person's communication
Sale person's communication
 
Enneagram
Enneagram Enneagram
Enneagram
 
Organization Theory
Organization TheoryOrganization Theory
Organization Theory
 
A Manager's Challenge (11)
A Manager's Challenge (11)A Manager's Challenge (11)
A Manager's Challenge (11)
 
A Manager's Challenge (7)
A Manager's Challenge (7)A Manager's Challenge (7)
A Manager's Challenge (7)
 
A Manager's Challenge (16)
A Manager's Challenge (16)A Manager's Challenge (16)
A Manager's Challenge (16)
 
A Manager's Challenge (14)
A Manager's Challenge (14)A Manager's Challenge (14)
A Manager's Challenge (14)
 
A Manager's Challenge (18)
A Manager's Challenge (18)A Manager's Challenge (18)
A Manager's Challenge (18)
 
A Manager's Challenge (6)
A Manager's Challenge (6)A Manager's Challenge (6)
A Manager's Challenge (6)
 
A Manager's Challenge (17)
A Manager's Challenge (17)A Manager's Challenge (17)
A Manager's Challenge (17)
 
A Manager's Challenge (2)
A Manager's Challenge (2)A Manager's Challenge (2)
A Manager's Challenge (2)
 
A Manager's Challenge (8)
A Manager's Challenge (8)A Manager's Challenge (8)
A Manager's Challenge (8)
 
A Manager's Challenge (10)
A Manager's Challenge (10)A Manager's Challenge (10)
A Manager's Challenge (10)
 
A Manager's Challenge (9)
A Manager's Challenge (9)A Manager's Challenge (9)
A Manager's Challenge (9)
 
A Manager's Challenge (14)
A Manager's Challenge (14)A Manager's Challenge (14)
A Manager's Challenge (14)
 
A Manager's Challenge (3)
A Manager's Challenge (3)A Manager's Challenge (3)
A Manager's Challenge (3)
 
A Manager's Challenge (15)
A Manager's Challenge (15)A Manager's Challenge (15)
A Manager's Challenge (15)
 
A Manager's Challenge (12)
A Manager's Challenge (12)A Manager's Challenge (12)
A Manager's Challenge (12)
 
A Manager's Challenge (1)
A Manager's Challenge (1)A Manager's Challenge (1)
A Manager's Challenge (1)
 
A Manager's Challenge (4)
A Manager's Challenge (4)A Manager's Challenge (4)
A Manager's Challenge (4)
 

2 แนวคิดเกี่ยวกับชุมชน

  • 1. แนวคิดเกี่ยวกับชุมชน Concepts of Community Watcharin Chongkonsatit M.B.A, M.Ed. Ph.D. Candidate
  • 3. ความหมายของชุมชน • ราชบัณฑิตยสถาน, 2525 หมู่ชน กลุ่มคนที่รวมกันเป็นสังคมขนาดเล็ก อาศัยอยู่ในอาณาบริเวณเกียวกันและมีประโยชน์ ร่วมกัน • กรมการพัฒนาชุมชน กลุ่มที่มีแนวคิดทางเดียวกัน และสามารถร่วมกําลังดําเนินงานกิจกรรมใดๆ เพื่อประโยชน์ร่วม กันได้ • ประเวศ วะสี คนจํานวนหนึ่งมีวัตถุประสงค์ร่วมกัน มีความเอื้ออาทรต่อกัน มีความพยายามทําอะไรร่วมกัน มี การเรียนรู้ร่วมกันในการกระทําซ่ึงรวมถึงการติดต่อสื่อสารกัน
  • 4. ปรับกระบวนทัศน์สุขภาพ ชีวกลไกการแพทย์ จิต วิญญาณ สังคม ใจ กาย สุขภาพ คือ “สุขภาวะ”
  • 7. The 4 fallacies • ชุมชนเหมือนภาชนะว่าง
  • 8. The 4 fallacies • ชุมชนเหมือนภาชนะว่าง • ปัญหาชุมชนแยกเป็นส่วนๆ
  • 9. The 4 fallacies • ชุมชนเหมือนภาชนะว่าง • ปัญหาชุมชนแยกเป็นส่วนๆ • ชุมชนมีกลไกเดียว
  • 10. The 4 fallacies • ชุมชนเหมือนภาชนะว่าง • ปัญหาชุมชนแยกเป็นส่วนๆ • ชุมชนมีกลไกเดียว • ชุมชนล้วนเหมือนกัน
  • 12. ชุมชนไม่จําเป็นต้องเป็นกลุ่มใหญ่ในอาณาบริเวณเดียวกัน ความเป็นชุมชนอยู่ที่ คนในชุมชนจํานวนหนึ่ง (คนละพื้นที่ก็ได้) มีวัตถุประสงค์ร่วมกัน ติดต่อสื่อสารกัน มีความเอื้ออาทรกัน มีการเรียนรู้ ร่วมกันทําประโยชน์ ประเวศ วะสี
  • 13. ชุมชนไม่จําเป็นต้องเป็นกลุ่มใหญ่ในอาณาบริเวณเดียวกัน ความเป็นชุมชนอยู่ที่ คนในชุมชนจํานวนหนึ่ง (คนละพื้นที่ก็ได้) มีวัตถุประสงค์ร่วมกัน ติดต่อสื่อสารกัน มีความเอื้ออาทรกัน มีการเรียนรู้ ร่วมกันทําประโยชน์ ประเวศ วะสี ความเป็นชุมชนไม่เฉพาะขอบเขตของหมู่บ้าน แต่รวมถึง ลักษณะเครือข่ายความสัมพันธ์ที่กว้างขวาง ทั้งระบบ อุปถัมภ์และเครือญาติ Kemp, 1991
  • 16. อุดมการณ์ อํานาจ หรือสิทธิของการมีส่วนร่วมในการจัดการทรัพยกากรภายใต้ ความสัมพันธ์ระหว่างชุมชนและรัฐที่ผลิตเข้าไปในบริบททางวัฒนธรรม และการ เปลี่ยนแปลงทางสังคม อานันท์ กาญจนพันธ์ กลุ่มคนที่พยายามหาวิธีการเพื่อแก้ไขปัญหาของชุมชน โดยระดมทั้งจาก ภายนอกและภายในชุมชน และอาศัยแนวทางการพึ่งตนเอง เพื่อความดํารงอยู่ ของชุมชน กาญจนา แก้วเทพ
  • 21. มิติด้านภูมิศาสตร์ มิติด้านสังคมศาสตร์ อธิบายชุมชนในด้านกายภาพที่เราเห็นด้วยตา อธิบายชุมชนในด้านความสัมพันธ์ของคนที่มี ประกอบด้วยพื้นที่ หรือบริเวณที่คนอยู่รวมกันใน อะไรๆ ร่วมกัน โดยส่วนใหญ่แล้วก็คือผล ขอบเขตที่ชัดเจน จะรวมไปถึงทุกๆ อย่างที่เรา ประโยชน์ร่วมกัน (Mutual interest) ตระกูล เห็นอยู่ในบริเวณนั้นด้วย เช่น ถนน แม่น้ํา เครือญาติ ขนบ ธรรมเนียบ ประเพณี วัฒนธรรม ลําคลอง วัด โรงเรียน สถานีอนามัย ศูนย์พัฒนา ร่วมกัน เด็กเล็ก เป็นต้น ชุมชน มิติด้านจิตวิทยา อธิบายชุมชนในด้านความรู้สึกของคนที่มีต่อกัน เช่น ความเอื้ออาทร ความรัก ความผูกพัน ความซื่อสัตย์ และความจงรักภักดี เป็นต้น
  • 22. มีอุดมการณ์ วิสัยทัศน์ร่วมกันและมี ทิศทางเดียวกัน มีวัตถุประสงค์และวัตถุประสงค์ร่วม มีผลประโยชน์ร่วมกัน กัน ผู้นํามีความรู้ ทักษะในด้านความคิด ศีล มีสมาชิก องค์ประกอบของชุมชน ธรรม การประกอบอาชีพ การพูด ประสานงาน บารมี มีการตัดสินในร่วมกัน การจัดการ มีกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง มีประโยชน์ บทบาท หน้าที่ การตรวจสอบ กฏ ต่อองค์กร สมาชิก และชุมชน กติกา ทรัพยากร และการประเมินผล ทรัพยากรที่เป็นทุน งบประมาณ และ การประสานงานทุนจากทั้งภายในและ ภายนอก
  • 23. โครงสร้างและลักษณะของชุมชน ชุมชนเมือง ชุมชนชนบท Urban community Rural community
  • 24. ชุมชนเมือง •สมัยก่อนอยู่ตามแหล่งที่เหมาะสําหรับการเกษตร •ปัจจุบันเป็นเมืองที่ทําหน้าเฉพาะอย่าง เช่น โครงสร้างของชุมชนเมือง ศูนย์กลางธุรกิจ ศูนย์กลางอุตสาหกรรม ศูนย์กลาง •มีความสัมพันธ์แบบผิวเผิน เป็นทางการ การศึกษา ศูนย์กลางการปกครอง •มีความรู้สึกไม่เป็นส่วนหนึ่งของกลุ่ม ต่างคนต่างอยู่ การ •เกิดการย้ายถิ่นฐาน พึ่งพาอาศัยกันน้อย ไม่เอื้ออาทรต่อกัน •แพร่กระจายความเป็นเมืองเข้าไปในชุมชนชนบท •มีการติดต่อสัมพันธ์โดยสัญลักษณ์เชิงวัตถุ อาทิ เครื่อง แต่งกาย ของใช้ รถยนต์ เครื่องแบบ จึงง่ายต่อการหลอก ลวง เกณฑ์ในการกําหนดความเป็นเมือง •มีการขัดแย้งระหว่างกลุ่มผลประโยชน์ต่างกัน •จํานวนและความหนาแน่นของประชากร •มีค่านิยมด้านวัตถุมากกว่าจิตใจ •ความเจริญ การคมนาคม การสื่อสาร บริการสาธารณะ •มักเป็นครอยครัวเดี่ยว สามีภรรยาเสมอกัน ความ •สังคม ส่ิงแวดล้อมจากการกระทําของมนุษย์ สัมพันธ์ระหว่างสมาชิกมีน้อย •อาคารบ้านเรือนหนาแน่น •การเปลี่ยนแปลงทางด้านอาชีพ •ใช้การควบคุมอย่างเป็นทางการ คือ กฎหมาย
  • 25. ชุมชนชนบท •บริเวณพื้นที่ตั้งอยู่นอกเขตเมือง เทศบาล •มีความเจริญทางวัตถุน้อย •ส่วนใหญ่มีอาชีพทางการเกษตร เลี้ยงสัตว์ ประมง •เป็นชุมชนขนาดเล็ก โครงสร้างของชุมชนชนบท •มีการตั้งบ้านเรือนแบบกลุ่ม (Cluster settlement) •มีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับธรรมชาติ แบบกระจาย (Scattered settlement) แบบเป็นแนว •มีค่านิยม ความเชื่อ ประเพณี ทัศนคติแบบเดียวกัน ยาว (Line settlement) •ดํารงชีวิตแบบง่ายๆ SES ไม่แตกต่างกันมาก •มีความสนิทสนมกัน เอื้อเฟื้อ จริงใจกัน มีกิจกรรมทาง สังคมร่วมกัน ใช้บริการร่วมกัน •คนชนบททํางานได้หลากหลายเนื่องจากการดํารงชีวิตขึ้น อยู่กับธรรมชาติ •มีความแตกต่างและการแบ่งชนชั้นมีน้อย •การควบคุมทางสังคมมีลักษณะแบบไม่เป็นทางการ
  • 26. ชนบท เมือง
  • 27. ชนบท เมือง ปัจจัยที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลง • การเปลี่ยนแปลงทางธรรมชาติ ภัยธรรมชาติ ทําให้เกิดการย้าย ถิ่นฐาน เปลี่ยนอาชีพ ต่อสู้เพื่อเอาชนะธรรมชาติ • การเพิ่มของประชากร ปัญหาอุปสงค์-อุปทาน • เทคโนโลยีทําให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในการดํารงชีวิต มีการใช้ เครื่องจักรกล ยานพาหนะ เทคโนโลยีการเกษตร เครื่องมือในการ สื่อสาร • ภาวะทางเศรษฐกิจ • ความคิด ความเชื่อ ค่านิยม อุดมการณ์
  • 28. ทําไมต้องศึกษาชุมชน • เพื่อทดสอบความรู้ต่างๆ เพื่อยืนยันและเป็นการทําให้คงามรู้เดิมมีความน่าเชื่อถือ ยิ่งขึ้น • เพื่อหาข้อเท็จจริงต่างๆ ที่เกิดขึ้นในชุมชน เป็นการหาความรู้ใหม่ เพิ่มเติมความรู้ ให้มากยิ่งขึ้น • เพื่อนําข้อเท็จจริงไปใช้ประโยชน์ และเป็นเครื่องมือในการพัฒนา รวมทั้งเป็นการ วางแผนและนโยบาย • เห็นลู่ทางในการกระตุ้น ส่งเสริมให้คนหรือกลุ่มในชุมชนริเริ่มกิจกรรมต่างๆ เพื่อแก้ปัญหา ของตนเอง • สามารถดึงศักยภาพของชุมชนที่มีอยู่มาใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อกระบวนการพัฒนาจากล่าง ขึ้นบน
  • 29. ความสําคัญของการศึกษาชุมชน • ชุมชนมีหลายองค์ประกอบหรือสภาพของธรรมชาติความเป็นมนุษย์ • ชุมชนสะท้อนลักษณะหรือสภาพของธรรมชาติความเป็นมนุษย์ • ชุมชนสามารถอธิบายว่าอะไรคือคุณค่า อะไรคือเกณฑ์ที่ทําให้เราสามารถอยู่ร่วม กัน • ชุมชนเป็นเรื่องการสร้างพื้นท่ีที่เรายืนอยู่ในฐานะที่เป็นมนุษย์ในสังคม • ชุมชนเป็นเรื่องของการสร้างทุนทางสังคม
  • 30. ประเภทของการศึกษาชุมชน • จําแนกตามวัตถุประสงค์ของการนําความรู้ไปใช้ • ศึกษาชุมชนแบบหาความรู้พื้นฐานทั่วไป • ศึกษาแบบทดสอบความรู้เดิม • ศึกษาเพื่อสร้างองค์ความรู้ใหม่ • ศึกษาเพื่อหารูปแบบจําลอง (Model) ไปใช้ในการพัฒนา • การศึกษาตามเนื้อหาข้อมูลเพื่อนําไปใช้ • การศึกษาข้อมูลโดยละเอียด เพื่อใช้ในการวางแผนในอนาคตระยะยาวเป็นแนวทางในการพัฒนา • การศึกษาข้อมูลเฉพาะ เพื่อแก้ปัญหาเฉพาะหน้า หรือประเด็นเร่งด่วน • จําแนกตามวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล • เก็บข้อมูลจากเอกสาร หรืองานวิจัยที่มีผู้ศึกษาไว้แล้ว • เก็บข้อมูลชุมชนแบบสํารวจเชิงปริมาณ เช่น แบบสอบถาม • เก็บข้อมูลแบบมีส่วนร่วมอย่างใกล้ชิด • เก็บข้อมูลชุมชนแบบเชิงลึก หรือเชิงคุณภาพ
  • 31. กระบวนการเกิดชุมชน •บุคคตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป มีการรวมกลุ่มกันเพื่อวัตถุประสงค์อย่างใดอย่างหนึ่ง เช่น การประกอบอาชีพ •กลุ่มบุคคลที่รวมกลุ่มเกิดความรู้สึกว่าต้องมีการทํากิจกรรมร่วมกันเพื่อบรรลุวัตถุประสงค์บางอย่างร่วม กัน การรวมกลุ่มเป็นความสัมพันธ์ในลักษณะของกลุ่มสังคม หรือองค์กรทางสังคม •กลุ่มสังคมหรือองค์กรทางสังคมที่เกิดขึ้นจะมีการกําหนดพื้นที่หรือสถานที่ในการดําเนินกิจกรรมที่แน่นอน •กลุ่มสังคมที่รวมตัวกันในลักษณะบ้านในละแวกเดียวกันขยายตัวเป็นชุมชน ซึ่งอาจมาจากจํานวนบ้านที่ เพิ่มขึ้น ตัวแปร •ปัจจัยทางลักษณะประชากร ชุมชนเมือง •ปัจจัยด้านอาชีพ รายได้ และ ชุมชนชนบท (Urban community) การแบ่งงาน (Rural community) •ปัจจัยที่อยู่อาศัยและสิ่งแวดล้อม •ปัจจัยทางสังคมและวัฒนธรรม
  • 32. ปัจจัยทางลักษณะประชากรศาสตร์ ปัจจัย ชุมชนชนบท ชุมชนเมือง ขนาดประชากร มีจํานวนน้อย มีประชากรมาก อายุขัยโดยเฉลี่ย ต่ํา สูง ร้อยละของประชากรที่เป็นเด็กและเยาวชน สูง ต่ํา ระดับการศึกษา ต่ํา ส่วนใหญ่จบชั้นประถมศึกษา สูงกว่าประถมศึกษา สถานภาพสมรส คนโสดน้อย การหย่าร้างน้อย คนโสดมาก มีการหย่าร้างสูง อายุเฉลี่ยเมื่อเริ่มแต่งงาน ต่ํา สูง เชื่อชาติ เชื้อชาติเดียวกัน ปะปนหลายเชื้อชาติ
  • 33. ปัจจัยด้านอาชีพ รายได้ และการแบ่งงาน ปัจจัย ชุมชนชนบท ชุมชนเมือง อาชีพมีความหลากหลายตามความรู้ อาชีพ อาชีพหลักเป็นเกษตรกรรม และความสามารถ รายได้สูง รายได้มีความแปรปรวนสูง รายได้ รายได้ต่ําและมีรายได้ใกล้เคียงกัน ตามความรู้ความสามารถ การประกอบอาชีพเป็นวิชาชีพเฉพาะ การแบ่งงาน คนหนึ่งทําได้หลายอาชีพ หรือเฉพาะสาขา
  • 34. ปัจจัยที่อยู่อาศัยและสิ่งแวดล้อม ปัจจัย ชุมชนชนบท ชุมชนเมือง ชุมชนรวมกันอยู่อย่างหนาแน่น พื้นที่ ที่อยู่อาศัย (ที่ตั้งของชุมชน) ชุมชนตั้งบ้านเรือนกระจัดกระจาย ส่วนใหญ่เป็นที่อยู่อาศัย การแบ่งพื้นที่ทําประโยชน์ของชุมชน พื้นที่ว่างมาก ไม่ได้รับการพัฒนา มีการใช้ประโยชน์พื้นที่ทุกตารางเมตร ความหนาแน่นของประชากรต่อพื้นที่ น้อย มาก พื้นที่สาธารณสถาน มาก น้อย สภาพอากาศและสภาพแวดล้อมทาง ยังคงความเป็นธรรมชาติอยู่มาก สิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติถูกทําลาย ธรรมชาติ
  • 35. ปัจจัยทางสังคมและวัฒนธรรม ปัจจัย ชุมชนชนบท ชุมชนเมือง ขนาดของครอบครัว ครอบครัวขยาย ครอบครัวเดี่ยว การเลื่อนชั้นทางสังคม ทําได้ยาก ทําได้ง่าย บทบาทของบิดามารดาในสังคม บิดาเป็นใหญ่ในครอบครัว บิดา มารดามีบทบาทเท่าเทียมกัน เครื่องอํานวยความสะดวก น้อย มาก การดูแลสุขภาพ มีความสนใจน้อย มีความสนใจมาก ความเชื่อ เปลี่ยนแปลงยาก เชื่อในโชคลาง เปลี่ยนแปลงได้ง่าย การติดต่อสัมพันธ์ระหว่างสมาชิก เป็นกันเอง ไม่เป็นทางการ ติดต่อกันแบบเป็นทางการและธุรกิจ การควบคุมทางสังคม ใช้วิถีประชา และจารีต ใช้กฎหมาย และกฎระเบียบข้อบังคับ
  • 36. ลักษณะของชุมชน แบ่งตามกิจกรรมหลัก แบ่งตามลักษณะทางนิเวศวิทยา ชุมชนการค้า ชุมชนบริการขั้นต้น เป็นชุมชนที่เป็นศูนย์กลางของการค้า มีลักษณะอยู่ เป็นชุมชนขนาดเล็กที่เป็นแหล่งของสินค้าประเภท ทั่วตามเขตเมืองต่างๆ และเขตที่มีประชากรหนาแน่น วัตถุดิบ ชุมชนศูนย์กลางขนส่ง ชุมชนจําหน่ายหรือชุมชนการค้า เป็นชุมชนที่เกิดตามเส้นทางการคมนาคม หรือเส้น เป็นชุมชนที่เป็นศูนย์กลางการค้าหรือจําหน่าย ทางขนส่งทั้งทางบก ทางน้ํา และทางอากาศ วัตถุดิบที่ได้รับจากชุมชนขั้นต้น ชุมชนศูนย์กลางของการบริการ ชุมชนอุตสาหกรรม เป็นชุมชนที่เกิดขึ้นเนื่องจากการรวมตัวของบุคคล เป็นชุมชนที่ทําหน้าที่ให้บริการในรูปแบบต่างๆ รวม เพื่อปฏิบัติหน้าที่หรือบริการที่เกี่ยวข้องกัน ทั้งอุตสาหกรรมขนาดต่างๆ
  • 37. ความสําคัญของการทํางานชุมชนด้านสาธารณสุข • เป็นการจัดและนําบริการด้านสุขภาพไปสู่ประชาชนให้ครอบคลุมประชาชนกลุ่มเป้าหมายให้ มากที่สุด ซึ่งครอบคลุมทั้งด้านการส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค การรักษาพยาบาล และ การฟื้นฟูสภาพ • เป็นการลดช่องว่างของความเหลื่อมล้ําของประชาชนในชุมชนในการเข้าถึงการบริการขั้นพื้น ฐานที่พึงได้รับ ตามนโยบายพัฒนาสุขภาพแห่งชาติซึ่งเน้นเรื่องความเท่าเทียมกันหรือความ เสมอภาคของการได้รับบริการขั้นพ้ืนฐานของคนในชุมชน • เกิดการประสานงานในการดําเนินงานของหน่วยงานต่างๆ ที่มีอยู่ในชุมชน ซึ่งมีส่วนเกี่ยวข้อง ในการแก้ปัญหาของชุมชน • เป็นการระดมและพัฒนาทรัพยากรที่มีอยู่ในชุมชนมาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด • เป็นการสร้างความเข้มแข็งให้แก่ชุมชนเพื่อชุมชนที่สามารถจะพึ่งพาตนเองได้ • เป็นแนวทางในการกําหนดนโยบายการทํางานของชุมชน ทําให้การทํางานสอดคล้องกับสภาพ ที่แท้จริงของชุมชน
  • 38. ประโยชน์ของการทํางานชุมชนด้านสาธารณสุข ด้านการมีส่วนร่วม ด้านพฤติกรรมสุขภาพ •เกิดการประสานร่วมมือกันระหว่างหน่วยงานภาครัฐ •ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจด้านสุขภาพมากขึ้น ก่อให้ เอกชน และชุมชน เกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมสุขภาพ •เกิดการพัฒนาด้านการดําเนินงานสาธารณสุขอย่างต่อ •เกิดการปรับเปลี่ยนทัศนคติของประชาชนในเรื่องการ เนื่อง ป้องกัน และการส่งเสริมสุขภาพ •ก่อให้เกิดการปรับปรุงสภาพแวดล้อมในชุมชนที่ส่ง เสริมสุขภาวะ •ประชาชนสามารถพึ่งพาตนเองด้านสุขภาพได้ ด้านปัญหาสาธารณสุข ด้านการกําหนดนโยบาย •ลดปัญหาการแพร่กระจายของโรคและระบาดของโรค •ได้ข้อมูลประกอบการกําหนดนโยบาย •ลดปัญหาเรื่องบุคลากรสาธารณสุขไม่เพียงพอ และลด •ได้มีการติดตามประเมินผลการปฏิบัติงานในพื้นที่จริง ปัญหาความเท่าเทียมกันในการเข้าถึงบริการ •สามารถกําหนดนโยบายและบริการจัดการด้าน •ลดอัตราการเพิ่มของประชากร และลดอัตราการตายของ สาธารณสุขให้ชัดเจน และเหมาะสมกับสภาพพื้นที่ โรคที่ป้องกันได้
  • 39. แนวคิดที่เกี่ยวข้อง แนวคิดการมี ส่วนร่วมของ ชุมชน แนวคิดการ แนวคิดการ ติดตามและ เตรียมชุมชน ประเมินผล แนวคิดการ ประสานงาน แนวคิดการ แนวคิดการแก้ ทํางานเป็นทีม ปัญหาชุมชน แนวคิดการเข้า ถึงชุมชน
  • 40. กระบวนการทํางานด้านสาธารณสุข การประเมินปัญหาและความ การวางแผนการทํางานชุมชน ต้องการของชุมชน •การเก็บรวบรวมข้อมูล •แหล่งข้อมูลปฐมภูมิ •แหล่งข้อมูลทุติยภูมิ •การวิเคราะห์ข้อมูล โดยนํา การดําเนินงานตามแผนการทํางานชุมชน ข้อมูลมาตรวจสอบความถูกต้อง •การเตรียมการ จัดหมวดหมู่ แจกแจงความถี่ •การเตรียมผู้รับผิดชอบของงาน และวิเคราะห์ทางสถิติ •การเข้าถึงชุมชน •การกําหนดปัญหา กําหนดให้ •การเตรียมชุมชน การประเมินผลการทํางานในชุมชน บุคคลที่เกี่ยวข้องมามีส่วนร่วม •การประสานความร่วมมือกับหน่วยงานและ •การประเมินผลระหว่างการทํางาน ในการกําหนดปัญหา ผู้เกี่ยวข้อง •การประเมินผลเมื่อเสร็จสิ้นการ •การจัดลําดับความสําคัญของ •การเตรียมวัสดุ อุปกรณ์ และวิธีการการ ทํางาน ปัญหา ดําเนินกิจกรรม •การวิเคราะห์โยงใยสาเหตุของ •การเตรียมการนิเทศ การติดตาม และ ปัญหา ประเมินผล •การดําเนินการ
  • 41. กระบวนการศึกษาวิเคราะห์ชุมชน • การใช้ข้อมูลเอกสาร (Literature review) • การลงพื้นที่ภาคสนาม (Fieldwork) • การสังเกต (Observation) • การสัมภาษณ์ (Interviewing) • การสนทนากลุ่ม (Focus group) • การศึกษาชุมชนด้วยกระบวนการวิจัย (Community research)
  • 42. Literature review • วัตถุประสงค์ • ทบทวนเพื่อให้ทราบว่าเคยมีการศึกษาประเด็นนี้บ้างหรือไม่ ในพื้นที่ใดบ้าง • สรุปแนวคิดทางทฤษฎี/ข้อค้นพบจากงานศึกษาเกี่ยวกับประเด็นที่คล้ายคลึงหรือเกี่ยวข้องเป็นพื้นฐาน หรือ แนวทางในการกําหนดปัญหา และกรอบแนวคิด • วางแนวทางการศึกษา และกําหนดแนวทางในการเก็บและวิเคราะห์ข้อมูล • ใช้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษา หรือเป็นส่วนขยายเพิ่มเติม • ชนิดของเอกสาร • เอกสารชั้นต้น คือ เอกสารที่เป้นข้อมูลหรือหลักฐานต้นฉบับโดยตรง ผู้ศึกษาต้องนําไปตีความตามความ เข้าใจของตนเอง เช่น จดหมายเหตุ บันทึก สถิติ อัตชีวประวัติ เป็นต้น • เอกสารชั้นรอง คือ ข้อมูลหรือหลักฐานที่ไม่ใช่ได้มาโดยตรงจากเหตุการณ์หรือสถานการณ์หนึ่งๆ แต่ได้มา จากแหล่งอื่นที่มีผู้รวบรวมไว้ โดยนํามาวิเคราะห์ เสนอหรืออ้างอิง เช่น งานวิจัยต่างๆ
  • 43. Fieldwork (1) การลงสู่ชุมชนที่ต้องการศึกษา ซึ่งจะก่อให้เกิดความไว้เนื้อเชื่อใจในชุมชน ทําให้การศึกษาชุมชนเป็นไปอย่าง ราบรื่น การแนะนําตัว สิ่งที่ควรคํานึง การเตรียมตัวเพื่อสร้างการยอมรับ •จดหมายแนะนําตัว •ความเหมาะสม •ภาษา •บอกความจริงว่ามาจากหน่วยงานใด มา •ความเป็นไปได้ของขนาด •ความกลมกลืน ทําอะไร •ความซับซ้อนของปรากฎการณ์ในชุมชน •การแต่งกาย •ให้สิทธิที่จะเข้าร่วมหรือไม่เข้าร่วม ที่เชื่อมโยงกับการเปลี่ยนแปลงภายนอก •อุปกรณ์ที่นําเข้าไปในพื้นที่ •บอกประโยชน์ของข้อค้นพบ รวมทั้งผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงที่ •การวางตัว •บอกเหตุผลของการเลือกศึกษาพื้นที่ เกิดขึ้น •การใช้อุปกรณ์ช่วยบันทึก •บอกผลดีและผลเสียที่ชาวบ้านจะได้รับ •ความสะดวกของพื้นที่ตั้ง การเดินทาง •การศึกษาข้อมูลพื้นฐานของชุมชน •สร้างมนุษยสัมพันธ์ที่ดี ความใกล้/ไกล ความปลอดภัย และการมี •การเลือกผู้ให้ข้อมูล (Key informant) ซึ่ง •ไม่ควรแสดงพฤติกรรมที่ขัดกับบทบาทที่ สถานบริการอื่นๆ ไม่จําเป้นต้องเป็นผู้นําชุมชน ระบุไว้ •การรู้จักคนในพื้นที่ •วางตัวเป็นกลาง
  • 44. Fieldwork (2) การสร้างความสัมพันธ์ (Rapport) •แนะนําตัวเองตามสถานภาพและบทบาทที่กําหนดไว้ •รักษาสถานภาพและบทบาทดังกล่าว •เข้าร่วมกิจกรรมในชุมชนที่สําคัญ และพร้อมที่จะเข้าร่วม เช่น เป็นกําลังแรงงาน ช่วยทุนทรัพย์ การเริ่มทํางาน •แสดงไมตรี เช่น รับฟังเรื่องราวร้องทุกข์ ให้คําปรึกษาในเรื่องที่ •การทําแผนที่ (Mapping) ได้แก่ สามารถช่วยได้ •แผนที่ทางกายภาพ (Physical mapping) •ไม่ควรสร้างความรู้สึกว่าต้องมีของกํานัลติดมือทุกครั้งหรือของ •แผนที่ทางประชากร (Demographic mapping) กํานัลต้องมีราคา •แผนที่ทางสังคม (Social mapping) •แผนที่การประกอบกิจกรรม (Activity mapping) •แผนที่ทางความคิด (Mind mapping) •การเลือกตัวอย่าง (Selective sampling) •เวลา ทําตอนไหน สังเกตเวลาใด •สถานที่ •คน •เหตุการณ์
  • 45. Observation การเฝ้าดูสิ่งที่เกิดขึ้น หรือปรากฏการณ์อย่างเอาใจใส่และกําหนดไว้อย่างมีระเบียบวิธี เพื่อวิเคราะห์หรือ หาความสัมพันธ์ของสิ่งที่เกิดขึ้นนั้นๆ กับบริบท ซึ่งทําให้เกิดความเข้าใจลักษณะทางธรรมชาติ และขอบเขตของ ความสัมพันธ์ระหว่างองค์ประกอบต่างๆ ของปรากฎการณ์ทางสังคมและพฤติกรรมของบุคคลที่เป็นสมาชิก การสังเกตแบบมีส่วนร่วม สิ่งที่ต้องสังเกต (Participant observation) • การกระทํา (Act) หรือพฤติกรรม ผู้สังเกตเข้าไปมีส่วนร่วมในชุมชน หรือ ทางสังคม (Social behavior) เป็นส่วนหนึ่งของกลุ่ม ทํากิจกรรมร่วม • แบบแผนของการกระทํา กัน และทําให้คนในชุมชนยอมรับ (Activities) ซึ่งเป็นการกระทําหรือ ประเภทของการสังเกต พฤติกรรมที่เป็นกระบวนการเป็นขั้น Type of observation การสังเกตแบบไม่มีส่วนร่วม ตอน และต่อเนื่องจนเป็นแบบแผน (Non-participant observation) • การถอดความหมาย (Meaning) ผู้สังเกตอยู่วงนอกไม่เข้าไปมีส่วนร่วม • ความสัมพันธ์ (Relationship) ในกิจกรรม เป็นเพียงการเฝ้าสังเกต • การมีส่วนร่วม (Participant) ทางสังคมที่เกิดขึ้นเท่านั้น เพื่อไม่ให้ • สภาพกายภาพ (Setting) เกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม
  • 46. Interviewing การสนทนาซักถามอย่างมีจุดมุ่งหมาย เพื่อให้ได้ข้อมูลเรื่องใดเรื่องหนึ่งที่ต้องการ ข้อมูลจากการสัมภาษณ์จะ ช่วยอธิบายสิ่งที่พบเห็นหรือสังเกตได้ ซึ่งจําเป็นต้องมีโครงสร้างของคําถาม และสามารถควบคุมทิศทาง โครงสร้างของเนื้อหา ให้เป็นเป็นเรื่องที่ต้องการทราบหรือปัญหาในการศึกษา • กําหนดหลักเกณฑ์ว่าใครเป็นผู้ถูกสัมภาษณ์ • แนะนําตัวว่ามาจากที่ใด มาทําอะไร วัตถุประสงค์ ทําไมผู้ถูกสัมภาษณ์จึงได้รับการคัดเลือก • ทําให้ผู้ถูกสัมภาษณ์รู้สึกว่าข้อมูลจากการสัมภาษณ์มีความน่าสนใจ • สร้างความประทับในให้แก่ผู้ให้สัมภาษณ์ • ใช้ภาษาที่ง่ายแก่ความเข้าใจ/ตั้งคําถามอย่างเป็นกลางๆ • ควรถามเป็นเรื่องๆ เพื่อให้แนวความคิดของผู้ตอบต่อเนื่อง • พยายามสัมภาษณ์ในโอกาสแรกที่ติดต่อได้ • สัมภาษณ์ในที่สงบและสบาย • ควรใช้เวลาในการสัมภาษณ์ที่เหมาะสม ไม่นานเกินไป • ไม่ควรมีบุคคลอื่นในที่สัมภาษณ์ สัมภาษณ์ใครควรฟังคําตอตอบจากผู้นั้น คําตอบของผู้อื่นควรตั้งไว้เป็นข้อสังเกต • ควรรู้ภาษาถิ่น/ความแตกต่างทางภาษาที่เกิดจากความแตกต่างทางชนชั้น • สร้างความสัมพันธ์ที่ดีกับผู้ให้สัมภาษณ์ • กล่าวขอบคุณเมื่อเสร็จสิ้นการสัมภาษณ์
  • 47. Focus group เป็นการศึกษาชุมชนที่ประหยัดงบประมาณและเวลา เป็นการนั่งสนทนากันระหว่างผู้ให้สัมภาษณ์ในประเด็นใด ประเด็นหนึ่ง เพื่อชักจูงให้กลุ่มแสดงความคิดเห็นต่อประเด็นหรือแนวทางการสนทนาที่วางไว้ องค์ประกอบในการสนทนากลุ่ม • บุคคลที่เกี่ยวข้อง • ผู้ดําเนินการสนทนา (Moderator) • ผู้จดบันทึกการสนทนา (Note taker) • ผู้ช่วย (Assistant) • ควรมีแนวทางในการสนทนากลุ่ม เช่น วัตถุประสงค์ ตั้งประเด็น/หัวข้อ การจัดลําดับหัวข้อ • เตรียมอุปกรณ์ที่จําเป็นในการบันทึก • แบบฟอร์มการคัดเลือกเข้ากลุ่มสนทนาตามหัวข้อที่สนใจ • สร้างบรรยากาศให้ผู้เข้าร่วมสามารถพูดคุยแลกเปลี่ยนความคิดเห็นอย่างอิสระ เลือกสถานที่ และกําหนดระยะ เวลาที่เหมาะสม
  • 48. Community research Quantitative research Qualitative research •ประจักษ์ในเชิงปริมาณ สามารถนับ/วัดได้ •การยอมรับความหลากหลายของปรากฎการณ์ทาง •มีการประมาณค่า สังคม มากกว่ามุ่งเน้นที่จะหาความเป็นสากลหรือความ •ใช้สถิติในการนําเสนอ และอ้างอิง เหมือนกันของปรากฏการณ์ •พฤติกรรมของคนีเงื่อนไขที่แตกต่างกัน •ปรากฏการณ์ทางสังคมเป็นองค์รวม มีความหลาก หลาย ซับซ้อน
  • 49. ประเด็นศึกษาในเชิงคุณภาพ • ประวัติศาสตร์ชุมชน และรูปแบบการใช้ทรัพยากร • การศึกษาผู้นํา และบทบาทของผู้นํา • ความขัดแย้งทั้งภายนอก และภายใน • ตัวตนที่เป็นสมาชิกของชุมชน • ระดับปัจเจกชน • ระดับกลุ่มย่อย • ระดับกลุ่มใหญ่ • ระดับองค์กร • ระดับชุมชน • ระดับเครือข่าย
  • 50. เครื่องมือทางมานุษยวิทยา • ทําให้การศึกษาชุมชนมีวิธีการที่ชัดเจน • สร้างความเข้าใจในวิถีของชุมชนได้อย่างรวมเร็ว • ประยุกต์ใช้ความรู้กับการบริการสุขภาพได้ดี ทําให้งานบริการสุขภาพสอดคล้องกับวิถีชีวิต และเชื่อมโยงกับชุมชน • สร้างทัศนคติเชิงบวกต่อการทํางานในชุมชน • แผนที่เดินเท้า • ผังเครือญาติ • โครงสร้างองค์กรชุมชน • ปฏิทินชุมชน • ประวัติศาสตร์ชุมชน • ประวัติชีวิตบุคคลในชุมชน
  • 51. แผนที่เดินดิน • ความหมาย • การสํารวจดูด้วยตา และจดบันทึกทางกายภาพ สิ่งแวดล้อมของชุมชนและสิ่งต่างๆ ที่พบเห็นลงบนบันทึก เพื่อเข้าใจถึงความหมายทางสังคม (Social meaning) และหน้าที่ทางสังคม (Social function) ของพื้นที่ทาง กายภาพ (Physical space) ซึ่งเป็นเครื่องมือชิ้นแรกที่สําคัญ นําไปสู่ความเข้าใจชุมชน ด้วยวิธีการง่ายๆ ไม่ ยุ่งยาก • เป้าหมาย • ทําให้มองเห็นภาพรวมของชุมชนได้ครบถ้วน • ได้ข้อมูลมากและละเอียดในระยะเวลาอันสั้น • ได้ข้อมูลที่มีความน่าเชื่อถือ เพราะได้จากการสังเกตด้วยตนเอง • นําไปสู่ความเข้าใจในมิติอื่นๆ ตามมา
  • 52. วิธีการสร้างแผนที่เดินดิน • อาจนําแผนที่เก่ามาใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานเบื้องต้น แล้วตรวจสอบดูการเปลี่ยนแปลง • ให้ความสําคัญกับการสร้างความคุ้นเคยควบคู่กับการเขียนแผนที่ • สํารวจให้ทั่วถึง โดยเฉพาะครัวเรือนชายขอบของชุมชน และผู้ที่แยกตัวโดดเดี่ยว • มองพื้นที่ทางกายภาพแต่ตีความให้เห็นถึงพื้นที่ทางสังคม • ถ้าทีมงานมีหลายคน ควรเดินร่วมกันสํารวจทั้งทีม • หมั่นสังเกตและพูดคุยแลกเปลี่ยนกันในทีมระหว่างการสํารวจ • ข้อมูลบางอย่างต้องสอบถามจากเจ้าของ บ้านญาติ เพื่อนบ้าน หรือบุคคลอื่นเพื่อประกอบการพิจารณา • ข้อมูลบางอย่างไม่สามารถสอบถามจากเจ้าของบ้านได้โดยตรง จําเป็นต้องสอบถมคนในชุมชนเพิ่มเติม • เมื่อให้ชาวบ้านนําทาง ข้อมูลอาจจะมีอคติจากผู้พาเดิน • พยายามเขียนข้อสังเกต เช่น ความสัมพันธ์ทางสังคม หน้าที่ทางสังคม
  • 53. ผังเครือญาติ • ความหมาย • การถอดความสัมพันธ์ในเชิงเครือญาติที่เกิดขึ้นของคนในชุมชนทั้งโดยสายเลือดและการแต่งงาน เพื่อให้ รู้จักเครือข่ายทางสังคม (Social network) ที่สนับสนุนแต่ละครอบครัวอยู่ ทําให้เข้าใจบทบาทและความ สัมพันธ์ของคนในชุมชน • หลักการ • การรู้จักใช้สัญลักษณ์มาตรฐานที่เข้าใจตรงกันในการทําผังเครือญาติ • การถอดผังเครือญาติจะต้องทําความรู้จักกับบุคคลที่มีชื่ออยู่ในเครือญาติที่บันทึกเอาไว้ • อาจจะถอดผังเครือญาติในแต่ละครอบครัวให้มากที่สุดเท่าที่จะมากได้ อย่างน้อย 3 ชั่วอายุคนขึ้นไป • ควรพยายามทําความรู้จักชื่อที่ปรากฎในผังเครือญาติอย่างน้อยครึ่งหนึ่ง • ไม่จําเป็นต้องถอดผังสมาชิกที่ย้ายไปตั้งรกรากที่อื่น และไม่มีปฏิสัมพันธ์ติดต่อกลับมา • ให้เน้นการมีความสัมพันธ์ที่ดีกับชาวบ้านมากกว่าการได้ข้อมูล
  • 54. การจัดทําผังโครงสร้างองค์กรชุมชน ความหมาย • การศึกษาความสัมพันธ์ทาสังคมของชาวบ้านในแง่มุมต่างๆ นอกเหนือจากความสัมพันธ์ทางเครือญาติทั้ง โครงสร้างด้านเศรษฐกิจ การเมือง สังคม และวัฒนธรรมของชุมชนด้วยการศึกษาสถาบัน องค์กร กลุ่ม ต่างๆ ทั้งที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการเพื่อทราบความสัมพันธ์เชิงสถานภาพ บทบาท หน้าที่ และอํานาจ ระหว่างหน่วยต่างๆ ในชุมชน ประโยชน์ • ทําให้เห็นโครงสร้างด้านต่างๆ อย่างมีความสัมพันธ์กันอย่างสลับซับซ้อน • อาจจะมีโครงสร้างทางสังคมที่ไม่เป็นทางการซ้อนทับกับโครงสร้างที่เป็นทางการและมีความหมายต่อชีวิต จริงของชุมชน • ช่วยทําให้มองเห็นความหลากหลายของโครงสร้างองค์กรในชุมชนและวางแผนการทํางานอย่างมีประสิทธิ ภาพมากข้ึน
  • 55. ปฏิิทินชุมชน ความหมาย • การเรียนรู้วิถีชีวิตของชาวบ้านในแต่ละวัน แต่ละเดือน แต่ละปีว่าประกอบกิจกรรมอะไรบ้าง เกิดขึ้นอย่างไร เกี่ยวข้องกับวิถีชีวิตของชาวบ้านอย่างไร เป้าหมาย • ช่วยสร้างความเข้าใจในวิถีชีวิตชาวบ้าน ทั้งวงจรและจังหวะ • เป็นจุดเริ่มต้นในการสร้างความสัมพันธ์อันดีกับชาวบ้าน เกิดความรู้สึกดี และมีความไว้วางใจมากขึ้น • ช่วยให้สามารถวางแผนโครงการ/จัดตารางการทํางานที่สอดคล้องกับวิถีชีิวิตได้อย่างเหมาะสม และถูก จังหวะเวลา แนวทาง • ปฏิทินทางเศรษฐกิจ • ปฏิทินทางวัฒนธรรม • อาจเข้าไปสังเกตแบบมีส่วนร่วมในกิจกรรมต่างๆ • แหล่งข้อมูลของปฏิทินทางวัฒนธรรมได้แก่ กลุ่มผู้เฒ่าผู้แก่ในชุมชน พระ ผู้นําทางศาสนา
  • 56. ประวัติศาสตร์ชุมชน ความหมาย • การศึกษาเรื่องราวความเป็นมาของชุมชนในด้านต่างๆ เช่น เศรษฐกิจ วัฒนธรรม และการเมือง ตั้งแต่อดีต จนปัจจุบัน เป้าหมาย • ทําให้ทราบที่ไปที่มาของปรากฏการณ์/ปัญหาต่างๆ ที่เกิดขึ้นในชุมชนในแต่ละช่วง • ทําให้ทราบถึงประสบการณ์ร่วมกันของชุมชนที่ีส่วนในการกําหนดความรู้สึกนึกคิดของชาวบ้าน • ทําให้เข้าใจความสัมพันธ์ของสิ่งต่างๆ ในชุมชน • ทําให้การตีความปรากฏการณ์อยู่บนพื้นฐานของข้อเท็จจริง ลดอคติส่วนตัว • ทําให้ทราบว่าประเด็นใดที่ควรให้ความสําคัญ หรือเป็นสาระที่ควรใส่ใจ
  • 57. เทคนิคการมีส่วนร่วมเพื่อนําไปสู่การพัฒนาชุมชน • เทคนิคการประชุมแบบบูรณาการ AIC • เทคนิคการประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อแสวงหาอนาคตร่วมกันแบบกระบวนการ FSC • เทคนิคการประชุมแบบหมวกความคิด (Six hat) • เทคนิค SWOT • เทคนิคการเรียนรู้แบบร่วมแรงร่วมใจ (Co-operative learning) • เทคนิคการประเมินสภาวะชนบทอย่างเร่งด่วน (Rapid rural appraisal; RRA) • เทคนิคการศึกษาวิเคราะห์ระบบชนบท (Rural system analysis; RSA) • เทคนิคการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (Participatory action research; PAR) • เทคนิคการวิเคราะห์ชุมชนด้วยความละเอียดอ่อน (Soft system analysis; SSA)
  • 58. AIC 3 องค์ประกอบใน AIC Appreciation Influence Control ก่อให้เกิดความผูกพันทางจิต ก่อให้เกิดการเรียนรู้จากของ ก่อให้เกิดการจัดการและการ วิญญาณระหว่างกัน จริง ควบคุม เกิดพลังที่ไม่มีขอบเขต ประเวศ วะสี, 2539
  • 59. ใคร ทฤษฎี/หลักการ อดีต อะไร ทําไม เมื่อไร ปัจจุบัน อย่างไร ที่ไหน เพื่อใคร แนวทางการดําเนิน อนาคต ใครได้ประโยชน์ การ ใครตัดสินใจ เรื่องที่จะอภิปราย ความเกี่ยวพันกับเวลา คําถาม
  • 60. เครื่องมือ คือ ใบ ดอก ผล ที่มาจากรากเหง้า หรือต้นตอ คือ ปรัชญา / ความคิด
  • 61. ปัญหาการศึกษาชุมชนที่ผ่านมา เห็นแต่ตัวเลข เห็นแต่ปัญหา ไม่เห็นความเป็นมนุษย์ ไม่เห็นศักยภาพชุมชน เน้นผลลัพธ์ ละเลยกระบวนการ ศึกษาแบบแยกส่วน ทักษะและความรู้ ขาดการเชื่อมโยง เป็นของส่วนตัว
  • 62. การทํางานชุมชน สร้างความรู้ ร่วมเรียนรู้ สู่การปฏิบัติ • การปฏิบัติ • ระบบข้อมูล • เครือข่าย • องค์กรแห่งการเรียนรู้ • กลุ่มแกนนํา • การจัดการ • เครื่องมือวิเคราะห์ชุมชน
  • 63. ประสบป!ค ค ค ค !ค ค ค มากมาย ขอให!ค !ค ค ค ค ค ค ค ค ค ค คนให!ค ค ค ค ค ค ค ค ค ค ค ค ค ค รถช!ค ค ค ค ค ค ค ค ค !... ในการแนะนําส!ค เสริม อาชีพ หรือให!ค ค ค ค ค ค ค ค ค เรื่องต!ค ค ค พระบรมราโชวาทพระบาทสมเด็จพระ ต!ค ค ค ค ค ค ค !ค ค ค ค !คค ค ค เจ!ค !ค ค ค ไม!ค ค !ค ค ค ค ค พระราชทาน ค ค ค ค ค ค ค แก!ค ค ค ค ค ค ค ในโอกาส เดียว... ความมั่นคงของ ประชาชนในชนบทเป!ค เสด็จไปทรงกระทําพิธีเป!ค ส่วนหนึ่งที่จะสร้างชาติ และป!ค่อนและการพลังงาน ค ค ค เขื ค ค ค ค ไฟฟ!ค ค ค !ค ค ค ค เทศเป!ค อย!ค พุคจ.สกลนคร...” วันที่ 14 ง ค ค เมื่อ

Notas do Editor

  1. \n
  2. \n
  3. \n
  4. \n
  5. \n
  6. \n
  7. \n
  8. \n
  9. \n
  10. \n
  11. \n
  12. \n
  13. \n
  14. \n
  15. \n
  16. \n
  17. \n
  18. \n
  19. \n
  20. \n
  21. \n
  22. \n
  23. \n
  24. \n
  25. \n
  26. \n
  27. \n
  28. \n
  29. \n
  30. \n
  31. \n
  32. \n
  33. \n
  34. \n
  35. \n
  36. \n
  37. \n
  38. \n
  39. \n
  40. \n
  41. \n
  42. \n
  43. \n
  44. \n
  45. \n
  46. \n
  47. \n
  48. \n
  49. \n
  50. \n
  51. \n
  52. \n
  53. \n
  54. \n
  55. \n
  56. \n
  57. \n