SlideShare a Scribd company logo
1 of 107
การเขี ย นโครงการ
Project formulation
DPH421 Community Dentistry 1
Faculty of Dental Medicine, Rangsit University
1
ความหมาย

2
ความหมาย
โครงการ หมายถึง กิจกรรมที่เป็นระบบ เพื่อการปฏิบัติหน้าที่องค์การให้บรรลุถึงเป้าหมายได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ
โครงการ หมายถึง แผนงานย่อยที่ประกอบด้วยกิจกรรมหลายกิจกรรม หรือหลายงานที่ระบุราย
ละเอียดชัดเจน อาทิ วัตถุประสงค์ เป้าหมาย ระยะเวลาดําเนินการ วิธีการหรือขั้นตอนในการดําเนิน
การ พื้นที่ในการดําเนินการ งบประมาณที่ใช้ในการดําเนินการ ตลอดจนผลลัพธ์ที่คาดว่าจะได้รับ

2
ลักษณะของโครงการที่ดี

3
ลักษณะของโครงการที่ดี
สามารถตอบสนองความต้องการหรือแก้ปัญหาขององค์การหรือหน่วยงานได้
มีวัตถุประสงค์และเป้าหมายที่ชัดเจน สามารถดําเนินการและปฏิบัติได้
มีความสอดคล้องและสัมพันธ์กัน
รายละเอียดของโครงการสามารถเข้าใจได้ง่าย สะดวกต่อการดําเนินงานตามโครงการ
สามารถนําไปปฏิบัติได้ สอดคล้องกับแผนงานหลักขององค์การและสามารถติดตาม
ประเมินผลได้
โครงการต้องกําหนดขึ้นจากข้อมูลที่เป็นความจริง และเป็นข้อมูลที่ได้รับการวิเคราะห์
อย่างรอบคอบ
โครงการต้องได้รับการสนับสนุนในด้านทรัพยากร และการบริหารอย่างเหมาะสม
โครงการต้องมีระยะเวลาในการดําเนินงาน
3
Conventional Method

4
ชื่อโครงการ
ต้องมีความชัดเจน เหมาะสม และเฉพาะเจาะจง เป็นที่เข้าใจได้ง่ายสําหรับผู้นําโครงการไปใช้หรือผู้มี
ส่วนเกี่ยวข้องกับโครงการ
ควรต้องแสดงลักษณะงานที่ต้องปฏิบัติ ลักษณะเฉพาะของโครงการ และจุดมุ่งหมายของโครงการ

5
หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
การเขียนโครงการต้องระบุหน่วยงานที่รับผิดชอบในการจัดทโครงการนั้นๆ พร้อมทั้งระบุหน่วยงานที่
มีอํานาจอนุมัติโครงการ ทั้งนี้เพื่อความสะดวกในการติดตามและประเมินผลโครงการ
ในกรณีที่เป็นความร่วมมือระหว่างหน่วยงาน การเขียนหน่วยงานผู้รับผิดชอบก็ต้องระบุหน่วยงานที่
รับผิดชอบทั้งหมด

6
ผู้รับผิดชอบโครงการ
โครงการทุกโครงการจะต้องมีผู้ทําโครงการรับผิดชอบดําเนินงาน โดยเรียงลําดับดังนี้
หัวหน้าโครงการ
รองหัวหน้าโครงการ
ผู้ร่วมโครงการ
ผู้ร่วมโครงการ
เลขานุการโครงการ

7
หลักการและเหตุผล
เป็นส่วนสําคัญที่แสดงถึงปัญหาความจําเป็น หรือความต้องการที่ต้องมีการจัดทําโครงการขึ้นเพื่อแก้
ปัญหา หรือสนองความต้องการขององค์การ ชุมชน หรือท้องถิ่นนั้น พร้อมทั้งระบุเหตุผลและข้อมูลที่
เกี่ยวข้องกับโครงการเพื่อสนับสนุนการจัดทําโครงการอย่างชัดเจน นอกจากนี้อาจเชื่อมโยงให้เห็นว่า
โครงการที่เสนอสอดคล้องกับแผนกลยุทธ์ แผนยุทธศาสตร์ หรือนโยบายของชุมชน ท้องถิ่น องค์การ
หรือหน่วยงานเจ้าของโครงการ และเป็นการวางรากฐานไปสู่สภาพที่พึงประสงค์ในอนาคตของ
องค์การหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับโครงการที่ได้จัดทําขึ้น

8
วัตถุประสงค์และเป้าหมาย
ลักษณะของวัตถุประสงค์ที่ดี
Sensible เป็นไปได้ : วัตถุประสงค์จะต้องมีความเป็นไปได้ในการดําเนินโครงการ
Measurable : วัตถุประสงค์ที่ดีจะต้องสามารถวัดและประเมินผลได้
Attainable : วัตถุประสงค์ที่ดีต้องระบุสิ่งที่ต้องการดําเนินการอย่างชัดเจนและเฉพาะเจาะจงมาก
ที่สุด
Reasonable : วัตถุประสงค์ที่ดีต้องมีความเป็นเหตุเป็นผลในทางปฏิบัติ
Time : วัตถุประสงค์ที่ดีจะต้องมีขอบเขตของเวลาที่แน่นอนในการปฏิบัติงาน
เป้าหมายต้องเขียนให้ชัดเจนแสดงให้เห็นผลงานหรือผลลัพธ์ที่ระบุคุณภาพหรือปริมาณงานที่คาดว่า
จะเกิดขึ้นในระยะเวลาที่กําหนดไว้

9
ระยะเวลาในการดําเนินโครงการ
เป็นการระบุระยะเวลาตั้งแต่เริ่มต้นโครงการจนกระทั่งถึงเวลาสิ้นสุดโครงการว่าใช้เวลาทั้งหมด
เท่าใด โดยแสดงจุดเริ่มต้นและสิ้นสุดของโครงการโดยระบุวันเดือนปี ที่เริ่มทําและสิ้นสุด
ถ้าเป็นโครงการระยะยาว และมีหลายระยะต้องแสดงช่วงเวลาในแต่ละระยะของโครงการนั้นด้วย

10
วิธีการดําเนินการ
เป็นงานหรือกิจกรรมที่กําหนดขึ้น เป็นลําดับขั้นก่อนหลังเพื่อใช้ปฏิบัติตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
โดยนําวัตถุประสงค์มาแจกแจงเป็นกิจกรรมย่อยๆ ตั้งแต่ต้นจนจบกระบวนการ

11
แผนการปฏิบัติงาน

12
แผนการปฏิบัติงาน
เป็นการนําเอาขั้นตอนต่างๆ ในการดําเนินการมาแจกแจงรายละเอียดให้ผู้ทําโครงการสามารถลงมือ
ปฏิบัติได้

12
แผนการปฏิบัติงาน
เป็นการนําเอาขั้นตอนต่างๆ ในการดําเนินการมาแจกแจงรายละเอียดให้ผู้ทําโครงการสามารถลงมือ
ปฏิบัติได้
แผนปฏิบัติงาน

งาน

วิธีการและ
สถานที่

เวลา

ผู้รับผิดชอบ

หมายเหตุ

12
แผนการปฏิบัติงาน
เป็นการนําเอาขั้นตอนต่างๆ ในการดําเนินการมาแจกแจงรายละเอียดให้ผู้ทําโครงการสามารถลงมือ
ปฏิบัติได้
แผนปฏิบัติงาน

งาน

วิธีการและ
สถานที่

เวลา

ผู้รับผิดชอบ

Grant’s chart

หมายเหตุ

กิจกรรม

Jan

Feb Mar Apr May Jun

Jul หมายเหตุ

12
งบประมาณและทรัพยากรที่ต้องใช้
ประเภทของรายจ่าย
ความประหยัด
(Economy)

ความมีประสิทธิภาพ
(Efficiency)

หลักในการกําหนดงบ
ประมาณและทรัพยากร

งบบุคลากร เช่น เงินเดือน และค่าจ้าง
งบดําเนินการ คือ รายจ่ายที่กําหนดเพื่อการบริหารงาน
ประจํา
ค่าตอบแทน
ค่าใช้สอย
ค่าวัสดุ
ค่าสาธารณูปโภค

ความยุติธรรม
(Equity)

ความมีประสิทธิผล
( Effectiveness)

งบลงทุน ได้แก่ ครุภัณฑ์ ค่าที่ดินและสิ่งก่อสร้าง
งบเงินอุดหนุน
งบรายจ่ายอื่น

13
การติดตามและประเมินผลโครงการ
แสดงการติดตาม การควบคุม การกํากับ และการประเมินผลโครงการ เพื่อให้โครงการบรรลุถึง
วัตถุประสงค์ที่กําหนดไว้อย่างมีประสิทธิภาพ
อาจระบุบุคคลหรือหน่วยงานที่รับผิดชอบในการประเมินโครงการ
รูปแบบของการประเมิน
การประเมินก่อนการดําเนินการ (Pre-implementation evaluation)
การประเมินทรัพยากรนําเข้า (Input)
การประเมินระหว่างการดําเนินการ (Implementation evaluation)
การประเมินกระบวนการ (Process)
การประเมินหลังการดําเนินการ (Post-implementation evaluation)
การประเมินผลลัพธ์ (Output) และผลกระทบ (Impact)

14
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
บอกว่าเมื่อโครงการที่ทําสิ้นสุดลง จะมีผลกระทบในทางที่ดีที่คาดว่าจะเกิดขึ้นโดยตรงและโดยอ้อม
โดยระบุให้ชัดเจนว่าใครจะได้รับผลประโยชน์ และผลกระทบนั้นได้รับในลักษณะอย่างไร ทั้งในเชิง
ปริมาณ และเชิงคุณภาพ

15
Logical Framework Method

16
ข้อดีของการเขียนโครงการแบบตารางเหตุผลต่อเนื่อง
รวบรวมองค์ประกอบที่สําคัญของโครงการมาไว้ในแหล่งเดียวกัน
มีการนําเสนออย่างเป็นระบบ รวบรัด และสอดคล้องกันในการดําหนดกิจกรรมต่างๆ ในโครงการ
แยกลําดับชั้นของวัตถุประสงค์ ทําให้แน่ใจว่าปัจจัยนําเข้าและผลผลิตไม่ขัดแย้งกับวัตถุประสงค์ใน
แต่ละระดับ
แสดงความชัดเจนของความสัมพันธ์ของกิจกรรมในโครงการ เพื่อใช้ในการตัดสินใจทําโครงการที่มี
ประสิทธิภาพและประสิทธิผล
กําหนดปัจจัยหลักที่ส่งผลต่อความสําเร็จของโครงการ
กําหนดตัวชี้วัดพื้นฐานเพื่อการติดตามและประเมินผลโครงการ
สนับสนุนการใช้สหวิทยาการในการเตรียมโครงการและนิเทศโครงการ

17
การเขียนโครงการแบบตารางเหตุผลต่อเนื่อง
สาระสําคัญการดําเนินการโดยสรุป
(Narrative summary: NS)

ตัวบ่งชี้ความสําเร็จของโครงการ
(Objectively verifiable indication :
OVI)

1-1
วัตถุประสงค์ของแผนงาน

1-2
สิ่งที่แสดงถึงความสําเร็จตาม
วัตถุประสงค์ของแผนทั้งเชิงปริมาณ
และคุณภาพ

2-1
วัตถุประสงค์ของโครงการ

2-2
สิ่งที่แสดงถึงความสําเร็จตาม
วัตถุประสงค์โครงการที่สามารถวัดใน
เชิงปริมาณและหลักฐานในเชิงคุณภาพ

3-1
ผลงาน

4-1
กิจกรรมหรือปัจจัยนําเข้า

แหล่งตรวจสอบและวัดความสําเร็จ

ข้อสมมติฐานที่สําคัญ (Important

(Mean of verification: MOV)

assumptions : IA)

1-3
แหล่งข้อมูลอ้างอิงความสําเร็จของ
วัตถุประสงค์ของแผน

1-4
ปัจจัยภายนอกที่สําคัญสําหรับ
วัตถุประสงค์ในการดําเนินการระยะ
ยาวอย่างยั่งยืน

2-3
แหล่งข้อมูลอ้างอิงความสําเร็จตาม
วัตถุประสงค์ของโครงการ

2-4
เงื่อนไขภายนอกโครงการที่สําคัญเพื่อ
ให้บรรลุวัตถุประสงค์ของโครงการและ
สนับสนุนวัตถุประสงค์ของแผน

3-2
3-4
3-3
ความสําเร็จจากการดําเนินงานที่แสดง
สมมติฐานที่ก่อให้เกิดความสําเร็จของ
แหล่งข้อมูลอ้างอิงความสําเร็จของงาน
ในรูปประเภทเชิงปริมาณและคุณภ่าพ
วัตถุประสงค์ของโครงการ
4-2
ค่าใช้จ่ายและทรัพยากรที่ต้องใช้ใน
แต่ละกิจกรรม

4-3
แหล่งที่มาของงบประมาณและ
ทรัพยากรในแต่ละกิจกรรม

4-4
สมมติฐานซึ่งเป็นแหล่งที่มาของงบ
ประมาณและทรัพยากร
18
ปัญหาในการเขียนโครงการ
ขาดบุคลากรที่มีความรู้ความสามารถที่แท้จริงในการเขียนโครงการ
ระยะเวลาที่ใช้ในการเขียนโครงการสั้น ทําให้ไม่สามารถศึกษาข้อมูลพื้นฐานต่างๆ ได้อย่างละเอียด
ขาดวัตถุประสงค์ที่ชัดเจน ทําให้เกิดความยุ่งยากในการตรวจสอบ ควบคุมและติดตามการดําเนิน
การ รวมทั้งการประเมินผลโครงการ
ตัวแปรต่างๆ ไม่สามารถควบคุมได้ เช่น ภัยธรรมชาติ เหตุการณ์ทางการเมือง เศรษฐกิจ
ขาดการสนับสนุนจากผู้บริหารองค์การ
ขาดการประสานงานและร่วมมือจากผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง

19
Project Evaluation Review Technique/Critical Path Method
20
คําถามที่ผู้บริหารโครงการต้องตอบ
โครงการนี้เราจะใช้เวลาเท่าใด ถ้าทุกอย่างดําเนินการตามแผน
ความแปรปรวนจากที่คาดหมาย (Potential variability)
เวลาเริ่มต้น และเวลาสิ้นสุดแต่ละงานเป็นเท่าใด
เริ่มเร็วสุด เสร็จเร็วสุด
เริ่มช้าสุด เสร็จช้าสุด
งานใดบ้างเป็นงานวิกฤต (งานที่ล่าช้าไม่ได้ ซึ่งจะทําให้โครงการล่าช้าไปด้วย)
งานใดบ้างเป็นงานที่ไม่วิกฤต (งานที่ล่าช้าได้) และจะล่าช้าได้เท่าใด
ถ้าต้องการเร่งโครงการให้เสร็จเร็วขึ้น เราควรจะใช้ทรัพยากรที่งานไหนถึงจะทําให้งานเสร็จตามที่
ต้องการ
เราจะควบคุมงบประมาณอย่างไรไม่ให้บานปลาย

21
ขั้นตอนการนําไปใช้
Job breakdown or activity list and time estimation
Draw a network
Network analysis

22
การศึกษารายละเอียดของโครงการ
เพื่อรวบรวมข้อมูลและรายละเอียดของโครงการดังนี้
กระจายกิจกรรม
กําหนดลําดับขั้นของกิจกรรม
ประมาณการเวลาดําเนินงานของกิจกรรม

23
ตัวอย่าง โรงพยาบาลไทยพัฒนามีโครงการเปิดสาขาการดําเนินงานของโรงพยาบาลแห่งใหม่
ในโครงการมีงานที่ต้องทําแยกย่อยๆ เป็น 10 งาน โดยมีการประมาณการเวลาดังนี้
กิจกรรม

รายละเอียด

กิจกรรมก่อนหน้า

ระยะเวลา (wk)

A

การเลือกทําเลที่ตั้งของโรงพยาบาล

-

3

B

การสร้างแผนผังโครงสร้างขององค์การ

-

5

C

การกําหนดความต้องการบุคลากร

B

3

D

การออกแบบสิ่งอํานวยความสะดวก

A, C

4

E

การตกแต่งภายใน

D

8

F

การคัดเลือกบุคลากรที่จะโยกย้าย

C

2

G

การว่าจ้างพนักงานใหม่

F

4

H

การเคลื่อนย้ายเอกสาร

F

2

I

การจัดทํางานประมาณการเงิน

B

5

J

การฝึกอบรมพนักงานใหม่

H, E, G

3
39
24
การสร้างข่ายงาน (Draw a network)
Activity on Node
AoN

Activity on Arc
AoA
งานที่ต้องทํา

1
จุดเริ่มต้น

A

จุดเริ่มต้น และจุดสิ้นสุด

2

1

จุดสิ้นสุด

งานที่ต้องทํา

2

งานที่ต้องทํา

25
การวิเคราะห์เส้นทางวิกฤต (Critical path analysis)
จากจุดเริ่มต้นงาน (Start) กําหนดให้ทุกจุดที่ออกจากจุดเริ่มต้นมีค่า Earliest start (ES) เท่ากับ 0 แล้ว
คํานวณหา EFi = ESi + Ti (1)
คํานวณค่า ES และ EF ของงานใน Network จากซ้ายไปขวาจนหมดทุกงานโดยกําหนดให้งานที่ออก
จากจุดใดๆ มีค่า ES เท่ากับค่า EF ที่มากที่สุดตามสูตร (1)
จากจุด END กําหนดให้งานที่เข้าที่จุด END มีค่า LF = EF(max) แล้วคํานวณ LSi = LFi - Ti (2)
คํานวณค่า LF และ LS ของงานใน Network จากขวาไปซ้ายจนหมดทุกงาน โดยกําหนดให้งานที่เข้าที่
จุดใดๆ มีค่า LF เท่ากับ LF ที่น้อยที่สุด (LSmin) ของงานที่ออกจากจุดนั้น แล้วคํานวณ LS ตามสูตร (2)
คํานวณ Slack ของงานทุกงานจาก Si = LFi - EFi (3) หรือ Si = LSi - ESi (4)
วิเคราะห์หา Critical path โดยลากเส้นผ่านงานที่มีค่า Slack เป็นศูนย์
ES เริ่มเร็วที่สุด

EF เสร็จเร็วที่สุด

LS เริ่มช้าที่สุด

LF เสร็จช้าที่สุด
Slack
26
Draw a network (AoN)
D

A

E

J

G
Start

C

B

F

H

I

End

27
0

คํานวณหา ES และ EF จาก Start ไปยัง End

3

D

A

8

12

E

ต้องรอให้กิจกรรม E เสร็จ
ในสัปดาห์ที่ 20 ก่อนจึงจะ
ทํากิจกรรม J
12 20

20 23

J

10 14

ต้องรอให้กิจกรรม C เสร็จ
ในสัปดาห์ที่ 8 ก่อนจึงจะ
ทํากิจกรรม D

Start

C

F
5

0

5

B

G

8

8

10

H

I

10 12

5

10

End
กิจกรรมเสร็จใน
สัปดาห์ที่ 23
28
0
5

คํานวณหา LS และ LF จาก End ไปยัง Start

3
8

D

A

8
8

12
12

E

12 20
12 20

20 23
20 23

J
10 14
16 20

G
Start

C

F
5
5

0
0

5
5

B

8
8

8 10
14 16

H

I

10 12
18 20

5 10
18 23

End

29
0
5

คํานวณหา Slack โดย ES - EF หรือ LS - LF

3
8
5

D

A

8
8

12
12

E

0

12 20
12 20
0

10 14
16 20
6

20 23
20 23
0

J

G

Start

C

F
5
5

8
8
0

0
0

5
5
0

B

8 10
14 16
6

H

I

10 12
18 20
8

5 10
18 23
13

End

30
พิจารณากิจกรรมที่ Slack เป็น 0 คือกิจกรรมวิกฤต (Critical activity)
3

0
5

8
5

D

A

8
8

12
12

E

0

12 20
12 20
0

10 14
16 20
6

20 23
20 23
0

J

G

Start

C

F
5
5

8
8
0

0
0

5
5
0

B

8 10
14 16
6

H

I

10 12
18 20
8

5 10
18 23
13

End

31
0
5

วิเคราะห์เส้นทางวิกฤต (Critical path)

3
8
5

D

A

8
8

12
12

E

0

12 20
12 20
0

20 23
20 23
0

10 14
16 20
6

J

G

Start

C

F
5
5

8
8
0

0
0

5
5
0

B

8 10
14 16
6

H

I

10 12
18 20
8

5 10
18 23
13

End

32
สรุปผลการวิเคราะห์เส้นทางวิกฤต (CPM)
ถ้าดําเนินการทุกอย่างตามแผน โครงการนี้จะใช้เวลาทั้งหมด 23 สัปดาห์
งานวิกฤตคือ B, C, D, E, J ซึ่งต้องควบคุมดูแลอย่างใกล้ชิด หากใช้เวลามากกว่าเวลาประมาณการจะ
ทําให้โครงการเสร็จล่าช้ากว่า 23 สัปดาห์
งานไม่วิกฤต คือ A, F, G, H, I ซึ่งสามารถเสร็จล่าช้าได้เท่ากับ Slack เช่น
งาน A สามารถเสร็จล่าช้าได้ 5 สัปดาห์
งาน F สามารถเสร็จล่าช้าได้ 6 สัปดาห์
งาน G สามารถเสร็จล่าช้าได้ 6 สัปดาห์
งาน H สามารถเสร็จล่าช้าได้ 8 สัปดาห์
งาน I สามารถเสร็จล่าช้าได้ 13 สัปดาห์

33
Project evaluation review technique (PERT)
Expected activity time
Ti = (a + 4m + b) / 6

Standard deviation of activity time
S = (b - a) / 6

a

m

b

Optimistic time
มองโลกในแง่ไม่ดี
ถ้าโชคดีทุกอย่างไม่
ติดขัดจะใช้เวลา a วัน

Most likely time
ไม่โชคดี หรือโชค
ร้ายเกินไป จะใช้เวลา
m วัน

Pessimistic time
มองโลกในแง่ร้าย
โชคไม่ดีติดขัดไป
หมด ใช้เวลา b วัน
34
ตัวอย่าง โรงพยาบาลไทยพัฒนามีโครงการเปิดสาขาการดําเนินงานของโรงพยาบาลแห่งใหม่
ในโครงการมีงานที่ต้องทําแยกย่อยๆ เป็น 10 งาน โดยมีการประมาณการเวลาดังนี้
กิจกรรม

รายละเอียด

กิจกรรมก่อนหน้า

A

การเลือกทําเลที่ตั้งของโรงพยาบาล

B

ระยะเวลา (wk)
a

m

b

-

1

3

5

การสร้างแผนผังโครงสร้างขององค์การ

-

3

5

9

C

การกําหนดความต้องการบุคลากร

B

2

3

4

D

การออกแบบสิ่งอํานวยความสะดวก

A, C

2

4

6

E

การตกแต่งภายใน

D

4

8

16

F

การคัดเลือกบุคลากรที่จะโยกย้าย

C

1

2

5

G

การว่าจ้างพนักงานใหม่

F

2

4

8

H

การเคลื่อนย้ายเอกสาร

F

1

2

3

I

การจัดทํางานประมาณการเงิน

B

4

5

6

J

การฝึกอบรมพนักงานใหม่

H, E, G

1.5

3

4.5

39
35
หา Ti และ S ตามแนวคิดแบบ PERT โดย Ti = (a + 4m + b)/6 และ S = (b - a)/6
กิจกรรม

กิจกรรมก่อนหน้า

A

ระยะเวลา (wk)
a

m

b

Ti

S

-

1

3

5

3

0.67

B

-

3

5

13

6

1.67

C

B

2

3

4

3

0.33

D

A, C

2

4

6

4

0.67

E

D

4

8

18

9

2.33

F

C

1

2

9

3

1.33

G

F

2

4

12

5

1.67

H

F

1

2

3

2

0.33

I

B

4

5

6

5

0.33

J

H, E, G

1.5

3

4.5

3

0.50

39

43
36
0
6

วิเคราะห์เส้นทางวิกฤต (Critical path)

3
9
6

D

A

9
9

13
13

E

0

13 22
13 22
0

22 25
22 25
0

12 17
17 22
6

J

G

Start

C

F
6
6

9
9
0

0
0

6
6
0

B

9 12
14 17
5

H

I

12 14
20 22
8

14 19
20 25
6

End

37
สรุปผลการวิเคราะห์เส้นทางวิกฤต (CPM)
ถ้าดําเนินการทุกอย่างตามแผน โครงการนี้จะใช้เวลาทั้งหมด 25 สัปดาห์
งานวิกฤตคือ B, C, D, E, J ซึ่งต้องควบคุมดูแลอย่างใกล้ชิด หากใช้เวลามากกว่าเวลาประมาณการจะ
ทําให้โครงการเสร็จล่าช้ากว่า 25 สัปดาห์
งานไม่วิกฤต คือ A, F, G, H, I ซึ่งสามารถเสร็จล่าช้าได้เท่ากับ Slack เช่น
งาน A สามารถเสร็จล่าช้าได้ 5 สัปดาห์
งาน F สามารถเสร็จล่าช้าได้ 6 สัปดาห์
งาน G สามารถเสร็จล่าช้าได้ 6 สัปดาห์
งาน H สามารถเสร็จล่าช้าได้ 8 สัปดาห์
งาน I สามารถเสร็จล่าช้าได้ 6 สัปดาห์
กรณีของ CPM โครงการจะเสร็จใน 25 สัปดาห์ แต่กรณีของ PERT หมายถึง โอกาสจะเสร็จโครงการ
25 สัปดาห์มีอยู่ 50%

38
โอกาสที่โครงการนี้จะเสร็จภายใน 30 สัปดาห์จะเป็นเท่าใด
หาจาก Z = (X - μ) / σ
2 ของงานที่เป็น Critical path
ต้องการรู้ σ (Standard deviation) หาได้จาก σ = √ผลรวมของ S

σ = √(1.67)2 + (0.33)2 + (0.67)2 + (2.33)2 + (0.50)2
= √9.0256
σ =3.0043
หาค่า Z
Z = (30 - 25) / 3.0043
Z = 1.6643
เปิดค่าหาพื้นที่ใต้กราฟจากค่า Z ได้ 0.9915
ดังนั้นความน่าจะเป็น (Probability) ที่โครงการนี้จะเสร็จภายใน 30 สัปดาห์เท่ากับ 0.9915 หรือ 99.15%

39
การประเมินผลโครงการ
40
ความหมาย
กระบวนการที่มุ่งแสวงหาคําตอบว่านโยบาย/แผนงาน/โครงการบรรลุตามวัตถุประสงค์และเป้า
หมายที่กําหนดไว้หรือไม่ เพียงใด โดยมีมาตรฐานและเครื่องมือในการวัดที่แม่นยํา (Valid) และเชื่อ
ถือได้ (Reliable)

41
จุดมุ่งหมายของการประเมิน
เพื่อสนับสนุนหรือยกเลิก
เพื่อทราบความก้าวหน้าของการปฏิบัติตามโครงการ
เพื่อปรับปรุงงาน
เพื่อศึกษาทางเลือก
เพื่อขยายผลในการนําโครงการไปปฏิบัติ

42
วัตถุประสงค์ของการประเมิน

การตัดสินคุณค่า

เป้าหมายของการประเมิน

สังคม
สถาบัน/
องค์การ
หน่วยงาน
แผน (Plan)
แผนงาน (Programs)
โครงการ (Projects)
กิจกรรม (Activities)
ทรัพยากร (Resources)

การพัฒนาคุณค่า

วัตถุของการประเมิน
หรือสิ่งที่ต้องการประเมิน
43
เป้าหมายของการประเมิน
สิ่งที่ต้องการประเมิน
(Object of evaluation)

คุณภาพของเป้า
หมายของสิ่งที่
ต้องการประเมิน

การตัดสินความ
สอดคล้องระหว่างเป้า
หมายของสิ่งที่ต้องการประเมิน
กับเป้าหมายขององค์กร/
สถาบัน/สังคม

สารสนเทศเพื่อพัฒนาคุณค่า

การตัดสินคุณค่าของสิ่งที่
ต้องการประเมิน
ผลลัพธ์ที่คาดหวัง
(Intended outcomes)

Goal-based
evaluation

สอดคล้อง

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง
(Actual outcomes)

Goal-free
evaluation

ไม่สอดคล้อง

44
บทบาทของการประเมิน
สิ่งที่ต้องการประเมิน
(Object of evaluation)

สารสนเทศที่
ต้องการ

ความต้องการสารสนเทศเพื่อ
การตัดสินใจ

สารสนเทศเพื่อพัฒนาคุณค่า

การตัดสินคุณค่าของสิ่งที่
ต้องการประเมิน

กระบวนการ

Formative
evaluation

ระหว่างดําเนินงาน
(รายงานความคืบหน้า)

ผลสรุปรวม

Summative
evaluation

สิ้นสุดการดําเนินงาน
(รายงานผลลัพธ์)

45
การกําหนดเกณฑ์การประเมิน
Decision
about
evaluation
criteria

Objective of evaluation

Valuation

Criteria

Major indicators

Evaluation stage

Planning

Absolute criteria

Needs feasibility

Pre-implementation

Absolute criteria

Actual-planned
congruence
Personnel budgeting

Implementation

Relative criteria

Effectiveness
Efficiency
Satisfaction

Post-implementation

Input
Process
(Output)
Output
Outcome

46
ความพึงพอใจของผู้ที่เกี่ยวข้อง
(Satisfaction)
ผลลัพธ์
(Outcomes)
ผลที่คาดหวัง
ผลกระทบ
(Impacts)
ประสิทธิผล

ประสิทธิภาพใน
การผลิต
ประสิทธิภาพใน
การประหยัด

ผลผลิต
(Outputs)
กระบวนการ
(Process)
การใช้ทรัพยากร
ปัจจัยนําเข้า
(Inputs)

การลงทุนต่อ
การสร้างผลผลิต
1 หน่วย

47
Context

Input
Goal

Plans
Core values

Outcomes
Product

Actions
Process

48
CIPP Model
Stufflebeam & Shinkfield, 2007
49
50
C

บริบท (Context)
เป็นการประเมินก่อนการดําเนินโครงการเพื่อพิจารณา
หลักการและเหตุผล ความจําเป็นที่ต้องดําเนิน
โครงการ ประเด็นปัญหา และความเหมาะสมของเป้า
หมายของโครงการ

50
C
I

บริบท (Context)
เป็นการประเมินก่อนการดําเนินโครงการเพื่อพิจารณา
หลักการและเหตุผล ความจําเป็นที่ต้องดําเนิน
โครงการ ประเด็นปัญหา และความเหมาะสมของเป้า
หมายของโครงการ

ปัจจัยนําเข้า (Input)
เป็นการประเมินความเป็นไปได้ของโครงการ ความ
เหมาะสม และความเพียงพอของทรัพยากรนําเข้าที่จะ
ใช้ในโครงการ อาทิ บุคลากร เครื่องมือ เวลา งบ
ประมาณ เทคโนโลยี และแผนการดําเนินงาน

50
C
I
P

บริบท (Context)

เป็นการประเมินก่อนการดําเนินโครงการเพื่อพิจารณา
หลักการและเหตุผล ความจําเป็นที่ต้องดําเนิน
โครงการ ประเด็นปัญหา และความเหมาะสมของเป้า
หมายของโครงการ

ปัจจัยนําเข้า (Input)

เป็นการประเมินความเป็นไปได้ของโครงการ ความ
เหมาะสม และความเพียงพอของทรัพยากรนําเข้าที่จะ
ใช้ในโครงการ อาทิ บุคลากร เครื่องมือ เวลา งบ
ประมาณ เทคโนโลยี และแผนการดําเนินงาน

กระบวนการ (Process)
เป็นการประเมินเพื่อหาข้อบกพร่องของการดําเนิน
โครงการที่จะใช้เป็นข้อมูลในการพัฒนา แก้ไข ปรับปรุง
ในการดําเนินการ และเป็นการตรวจสอบกิจกรรม เวลา
ทรัพยากร ภาวะผู้นํา และการมีส่วนร่วมในโครงการ

50
C
I
P
P

บริบท (Context)

เป็นการประเมินก่อนการดําเนินโครงการเพื่อพิจารณา
หลักการและเหตุผล ความจําเป็นที่ต้องดําเนิน
โครงการ ประเด็นปัญหา และความเหมาะสมของเป้า
หมายของโครงการ

ปัจจัยนําเข้า (Input)

เป็นการประเมินความเป็นไปได้ของโครงการ ความ
เหมาะสม และความเพียงพอของทรัพยากรนําเข้าที่จะ
ใช้ในโครงการ อาทิ บุคลากร เครื่องมือ เวลา งบ
ประมาณ เทคโนโลยี และแผนการดําเนินงาน

กระบวนการ (Process)

เป็นการประเมินเพื่อหาข้อบกพร่องของการดําเนิน
โครงการที่จะใช้เป็นข้อมูลในการพัฒนา แก้ไข ปรับปรุง
ในการดําเนินการ และเป็นการตรวจสอบกิจกรรม เวลา
ทรัพยากร ภาวะผู้นํา และการมีส่วนร่วมในโครงการ

ผลผลิต (Product)
เป็นการประเมินเพื่อเปรียบเทียบผลผลิตที่เกิดขึ้นกับ
วัตถุประสงค์ของโครงการ หรือมาตรฐานที่กําหนดไว้
รวมทั้งการพิจารณาในประเด็นของการยุบ เลิก ขยาย
และปรับเปลี่ยนโครงการ
50
C
I
P
P

บริบท (Context)

เป็นการประเมินก่อนการดําเนินโครงการเพื่อพิจารณา
หลักการและเหตุผล ความจําเป็นที่ต้องดําเนิน
โครงการ ประเด็นปัญหา และความเหมาะสมของเป้า
หมายของโครงการ

ปัจจัยนําเข้า (Input)

เป็นการประเมินความเป็นไปได้ของโครงการ ความ
เหมาะสม และความเพียงพอของทรัพยากรนําเข้าที่จะ
ใช้ในโครงการ อาทิ บุคลากร เครื่องมือ เวลา งบ
ประมาณ เทคโนโลยี และแผนการดําเนินงาน

ผลกระทบ (Impact)
ผลลัพธ์ (Outcome)

?

กระบวนการ (Process)

เป็นการประเมินเพื่อหาข้อบกพร่องของการดําเนิน
โครงการที่จะใช้เป็นข้อมูลในการพัฒนา แก้ไข ปรับปรุง
ในการดําเนินการ และเป็นการตรวจสอบกิจกรรม เวลา
ทรัพยากร ภาวะผู้นํา และการมีส่วนร่วมในโครงการ

ผลผลิต (Product)
เป็นการประเมินเพื่อเปรียบเทียบผลผลิตที่เกิดขึ้นกับ
วัตถุประสงค์ของโครงการ หรือมาตรฐานที่กําหนดไว้
รวมทั้งการพิจารณาในประเด็นของการยุบ เลิก ขยาย
และปรับเปลี่ยนโครงการ
50
ประเภทการประเมิน

ประเภทการตัดสินใจ

การประเมินบริบท
(Context evaluation)

การตัดสินใจเพื่อการวางแผน
(Planning decisions)

การประเมินปัจจัยนําเข้า
(Input evaluation)

การตัดสินใจเพื่อกําหนดโครงสร้าง
(Structuring decisions)

การประเมินกระบวนการ
(Process evaluation)

การตัดสินใจเพื่อนําโครงการไปปฏิบัติ
(Implementing decisions)

การประเมินผลผลิต
(Product evaluation)

การตัดสินใจเพื่อทบทวนโครงการ
(Recycling decisions)
51
Product

ป

เด็น
ระ

รป
กา

Process

เมิน
ระ

Input

Context
ก่อนดําเนินโครงการ

ระหว่างโครงการ

เสร็จโครงการ

เฝ้าดู
52
CIRO Model
Warr, Bird & Rackham
53
54
C

บริบท (Context)
เป็นการประเมินเกี่ยวกับสภาวการณ์ปัจจุบัน ว่ามีความ
จําเป็นต้องจัดทําโครงการหรือไม่ หากดําเนินโครงการ
แล้วจะก่อให้เกิดการแก้ปัญหาขององค์กรหรือไม่

54
C
I

บริบท (Context)
เป็นการประเมินเกี่ยวกับสภาวการณ์ปัจจุบัน ว่ามีความ
จําเป็นต้องจัดทําโครงการหรือไม่ หากดําเนินโครงการ
แล้วจะก่อให้เกิดการแก้ปัญหาขององค์กรหรือไม่

ปัจจัยนําเข้า (Input)
เป็นการประเมินความเป็นไปได้ของโครงการ ความ
เหมาะสม และความเพียงพอของทรัพยากรนําเข้าที่จะ
ใช้ในโครงการ อาทิ บุคลากร เครื่องมือ เวลา งบ
ประมาณ เทคโนโลยี และแผนการดําเนินงาน

54
C
I
R

บริบท (Context)

เป็นการประเมินเกี่ยวกับสภาวการณ์ปัจจุบัน ว่ามีความ
จําเป็นต้องจัดทําโครงการหรือไม่ หากดําเนินโครงการ
แล้วจะก่อให้เกิดการแก้ปัญหาขององค์กรหรือไม่

ปัจจัยนําเข้า (Input)

เป็นการประเมินความเป็นไปได้ของโครงการ ความ
เหมาะสม และความเพียงพอของทรัพยากรนําเข้าที่จะ
ใช้ในโครงการ อาทิ บุคลากร เครื่องมือ เวลา งบ
ประมาณ เทคโนโลยี และแผนการดําเนินงาน

ปฏิกิริยา (Reaction)
เป็นการประเมินความรู้สึก (Feeling) การรับรู้
(Perception) ความคิดเห็น (Opinion) ของผู้เข้าร่วม
โครงการโดยการทํารายงานเชิงอัตวิสัย (Subjective
report)

54
C
I
R
O

บริบท (Context)

เป็นการประเมินเกี่ยวกับสภาวการณ์ปัจจุบัน ว่ามีความ
จําเป็นต้องจัดทําโครงการหรือไม่ หากดําเนินโครงการ
แล้วจะก่อให้เกิดการแก้ปัญหาขององค์กรหรือไม่

ปัจจัยนําเข้า (Input)

เป็นการประเมินความเป็นไปได้ของโครงการ ความ
เหมาะสม และความเพียงพอของทรัพยากรนําเข้าที่จะ
ใช้ในโครงการ อาทิ บุคลากร เครื่องมือ เวลา งบ
ประมาณ เทคโนโลยี และแผนการดําเนินงาน

ปฏิกิริยา (Reaction)

เป็นการประเมินความรู้สึก (Feeling) การรับรู้
(Perception) ความคิดเห็น (Opinion) ของผู้เข้าร่วม
โครงการโดยการทํารายงานเชิงอัตวิสัย (Subjective
report)

ผลลัพธ์ (Outcome)
เป็นการประเมินผลต่างๆ ของโครงการเพื่อนําไป
ปรับปรุงพัฒนาโครงการในอนาคต โดยพิจารณาว่า
โครงการทําให้คุณลักษณะต่างๆ เป็นไปตาม
วัตถุประสงค์หรือไม่ และส่งผลต่อองค์กรอย่างไร
54
Outcome

ป

กา
ด็น
ระเ

Reaction

เมิน
ระ
รป

Input

Context
ก่อนโครงการ

ระหว่างโครงการ

เสร็จโครงการ

ตามดู
55
IPOO Model
IBM Inc.
56
57
I

ปัจจัยนําเข้า
เป็นการประเมินองค์ประกอบต่างๆ ของโครงการว่า
แต่ละองค์ประกอบจะช่วยให้โครงการประสบผล
สัมฤทธิ์เพียงใด

57
I
P

ปัจจัยนําเข้า

เป็นการประเมินองค์ประกอบต่างๆ ของโครงการว่า
แต่ละองค์ประกอบจะช่วยให้โครงการประสบผล
สัมฤทธิ์เพียงใด

กระบวนการ (Process)
เป็นการประเมินการดําเนินงานต่างๆ เช่น กระบวนการ
การฝึกอบรม การนําแผนไปปฏิบัติ กลยุทธ์ วิธีการ
ต่างๆ การฝึก การสอน การจัดการส่วนต่างๆ ที่
เกี่ยวข้อง

57
I
P
O

ปัจจัยนําเข้า

เป็นการประเมินองค์ประกอบต่างๆ ของโครงการว่า
แต่ละองค์ประกอบจะช่วยให้โครงการประสบผล
สัมฤทธิ์เพียงใด

กระบวนการ (Process)

เป็นการประเมินการดําเนินงานต่างๆ เช่น กระบวนการ
การฝึกอบรม การนําแผนไปปฏิบัติ กลยุทธ์ วิธีการ
ต่างๆ การฝึก การสอน การจัดการส่วนต่างๆ ที่
เกี่ยวข้อง

ผลผลิต (Output)
เป็นการประเมินปฏิกิริยาหรืิอความพึงพอใจของผู้เข้า
รับร่วมโครงการที่มีต่อโครงการ คุณลักษณะหรือ
พฤติกรรมที่เกิดขึ้น และการนําพฤติกรรมไปใช้งาน

57
I
P
O
O

ปัจจัยนําเข้า

เป็นการประเมินองค์ประกอบต่างๆ ของโครงการว่า
แต่ละองค์ประกอบจะช่วยให้โครงการประสบผล
สัมฤทธิ์เพียงใด

กระบวนการ (Process)

เป็นการประเมินการดําเนินงานต่างๆ เช่น กระบวนการ
การฝึกอบรม การนําแผนไปปฏิบัติ กลยุทธ์ วิธีการ
ต่างๆ การฝึก การสอน การจัดการส่วนต่างๆ ที่
เกี่ยวข้อง

ผลผลิต (Output)

เป็นการประเมินปฏิกิริยาหรืิอความพึงพอใจของผู้เข้า
รับร่วมโครงการที่มีต่อโครงการ คุณลักษณะหรือ
พฤติกรรมที่เกิดขึ้น และการนําพฤติกรรมไปใช้งาน

ผลลัพธ์ (Outcome)
เป็นการประเมินสิ่งที่เป็นประโยชน์ต่อหน่วยงาน

57
Outcome

ป

กา
ด็น
ระเ

Output

เมิน
ระ
รป

Process

Input
ก่อนโครงการ

ระหว่างโครงการ

เสร็จโครงการ

ตามดู
58
Training Model
Kirkpatrick
59
ผู้เข้าร่วมโครงการต้องปรับปรุงตนเอง
ต้องรู้จักจุดอ่อนของตนเอง
ต้องอยู่ในสภาพแวดล้อมที่เอื้อ
ต้องมีผู้ชํานาญให้ความช่วยเหลือ
ต้องมีโอกาสที่จะทําตามความคิดใหม่

60
R

ปฏิกิริยา (Reaction)
เป็นการประเมินปฏิกิริยาตอบสนองของผู้เข้าร่วม
โครงการว่ามีความรู้สึกต่อโครงการในด้านใดบ้าง

ผู้เข้าร่วมโครงการต้องปรับปรุงตนเอง
ต้องรู้จักจุดอ่อนของตนเอง
ต้องอยู่ในสภาพแวดล้อมที่เอื้อ
ต้องมีผู้ชํานาญให้ความช่วยเหลือ
ต้องมีโอกาสที่จะทําตามความคิดใหม่

60
R
L

ปฏิกิริยา (Reaction)

เป็นการประเมินปฏิกิริยาตอบสนองของผู้เข้าร่วม
โครงการว่ามีความรู้สึกต่อโครงการในด้านใดบ้าง

การเรียนรู้ (Learning)
เป็นการประเมินผลการเรียนรู้ที่เกิดขึ้นจากการเข้าร่วม
โครงการ เช่น การเพิ่มขึ้นของการเรียนรู้ก่อน-หลังการ
ฝึกอบรมเกี่ยวกับความรู้ ทักษะ ค่านิยม และเจตคติ
ผู้เข้าร่วมโครงการต้องปรับปรุงตนเอง
ต้องรู้จักจุดอ่อนของตนเอง
ต้องอยู่ในสภาพแวดล้อมที่เอื้อ
ต้องมีผู้ชํานาญให้ความช่วยเหลือ
ต้องมีโอกาสที่จะทําตามความคิดใหม่

60
R
L
B

ปฏิกิริยา (Reaction)

เป็นการประเมินปฏิกิริยาตอบสนองของผู้เข้าร่วม
โครงการว่ามีความรู้สึกต่อโครงการในด้านใดบ้าง

การเรียนรู้ (Learning)

เป็นการประเมินผลการเรียนรู้ที่เกิดขึ้นจากการเข้าร่วม
โครงการ เช่น การเพิ่มขึ้นของการเรียนรู้ก่อน-หลังการ
ฝึกอบรมเกี่ยวกับความรู้ ทักษะ ค่านิยม และเจตคติ
ผู้เข้าร่วมโครงการต้องปรับปรุงตนเอง

พฤติกรรม (Behavior)
เป็นการประเมินพฤติกรรมเมื่อเสร็จสิ้นโครงการว่ามีใน
ทิศทางที่พึงประสงค์หรือไม่

ต้องรู้จักจุดอ่อนของตนเอง
ต้องอยู่ในสภาพแวดล้อมที่เอื้อ
ต้องมีผู้ชํานาญให้ความช่วยเหลือ
ต้องมีโอกาสที่จะทําตามความคิดใหม่

60
R
L
B
R

ปฏิกิริยา (Reaction)

เป็นการประเมินปฏิกิริยาตอบสนองของผู้เข้าร่วม
โครงการว่ามีความรู้สึกต่อโครงการในด้านใดบ้าง

การเรียนรู้ (Learning)

เป็นการประเมินผลการเรียนรู้ที่เกิดขึ้นจากการเข้าร่วม
โครงการ เช่น การเพิ่มขึ้นของการเรียนรู้ก่อน-หลังการ
ฝึกอบรมเกี่ยวกับความรู้ ทักษะ ค่านิยม และเจตคติ
ผู้เข้าร่วมโครงการต้องปรับปรุงตนเอง

พฤติกรรม (Behavior)

เป็นการประเมินพฤติกรรมเมื่อเสร็จสิ้นโครงการว่ามีใน
ทิศทางที่พึงประสงค์หรือไม่

ต้องรู้จักจุดอ่อนของตนเอง
ต้องอยู่ในสภาพแวดล้อมที่เอื้อ
ต้องมีผู้ชํานาญให้ความช่วยเหลือ

ผลลัพธ์ (Result)

ต้องมีโอกาสที่จะทําตามความคิดใหม่

เป็นการประเมินผลลัพธ์และผลกระทบที่เกิดต่อองค์กร
ซึ่งเป็นผลจากการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของผู้เข้า
ร่วมโครงการ และเพิ่มประสิทธิภาพการทํางานของ
หน่วยงาน/องค์กร การลดต้นทุน การเพิ่มรายได้
60
Results

ป

กา
ด็น
ระเ

Behavior

เมิน
ระ
รป

Learning

Reaction
ระหว่างโครงการ

เสร็จและตามดู
61
Parker Model
Parker
62
63
IP

การปฏิบัติตน (Individual Performance)
เป็นการประเมินว่าผู้เข้าร่วมโครงการได้ปรับปรุงการ
ปฏิบัติงาน/ตนให้ดีขึ้นมาก/น้อยเพียงใด โดยพิจารณา
ถึงผลงานทั้งในด้านปริมาณและคุณภาพ

63
IP
GP

การปฏิบัติตน (Individual Performance)

เป็นการประเมินว่าผู้เข้าร่วมโครงการได้ปรับปรุงการ
ปฏิบัติงาน/ตนให้ดีขึ้นมาก/น้อยเพียงใด โดยพิจารณา
ถึงผลงานทั้งในด้านปริมาณและคุณภาพ

การปฏิบัติตนของกลุ่ม (Group performance)
เป็นการประเมินในภาพรวมว่าผู้เข้าร่วมโครงการ
ทั้งหมดมีการปฏิบัติตนอย่างไร

63
การปฏิบัติตน (Individual Performance)

IP
GP
PS

เป็นการประเมินว่าผู้เข้าร่วมโครงการได้ปรับปรุงการ
ปฏิบัติงาน/ตนให้ดีขึ้นมาก/น้อยเพียงใด โดยพิจารณา
ถึงผลงานทั้งในด้านปริมาณและคุณภาพ

การปฏิบัติตนของกลุ่ม (Group performance)

เป็นการประเมินในภาพรวมว่าผู้เข้าร่วมโครงการ
ทั้งหมดมีการปฏิบัติตนอย่างไร

ความพึงพอใจ (Participant’s satisfaction)
เป็นการประเมินความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการ

63
การปฏิบัติตน (Individual Performance)

IP
GP
PS

เป็นการประเมินว่าผู้เข้าร่วมโครงการได้ปรับปรุงการ
ปฏิบัติงาน/ตนให้ดีขึ้นมาก/น้อยเพียงใด โดยพิจารณา
ถึงผลงานทั้งในด้านปริมาณและคุณภาพ

การปฏิบัติตนของกลุ่ม (Group performance)

เป็นการประเมินในภาพรวมว่าผู้เข้าร่วมโครงการ
ทั้งหมดมีการปฏิบัติตนอย่างไร

ความพึงพอใจ (Participant’s satisfaction)
เป็นการประเมินความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการ

KG

ความรู้ (Knowledge gaining)
เป็นการประเมินความรู้ของผู้เข้าร่วมโครงการว่ามีเพิ่ม
ขึ้นมากน้อยเพียงใด ทั้งทางด้านสมอง เจตคติ และ
ทักษะ
63
g-Performance

ป

กา
ด็น
ระเ

i-Performance

เมิน
ระ
รป

Satisfaction

Knowledge
ระหว่างโครงการ

เสร็จและตามดู
64
Bell Model
Jackson & Kulp
65
66
RO

ผลลัพธ์ด้านปฏิกิริยา (Reaction outcome)
เป็นการประเมินความรู้สึกหรือความพึงพอใจของผู้เข้า
ร่วมโครงการที่มีต่อโครงการ

66
RO
CO

ผลลัพธ์ด้านปฏิกิริยา (Reaction outcome)

เป็นการประเมินความรู้สึกหรือความพึงพอใจของผู้เข้า
ร่วมโครงการที่มีต่อโครงการ

ผลลัพธ์ด้านความสามารถ (Capacity outcome)
เป็นการประเมินความรู้ พฤติกรรม หรือคุณลักษณะ
ต่างๆ ว่าผู้เข้าร่วมโครงการจะมีเท่าใด และจะนําไปใช้
คิดหรือใช้ทําอะไรบ้าง

66
RO
CO

ผลลัพธ์ด้านปฏิกิริยา (Reaction outcome)

เป็นการประเมินความรู้สึกหรือความพึงพอใจของผู้เข้า
ร่วมโครงการที่มีต่อโครงการ

ผลลัพธ์ด้านความสามารถ (Capacity outcome)
เป็นการประเมินความรู้ พฤติกรรม หรือคุณลักษณะ
ต่างๆ ว่าผู้เข้าร่วมโครงการจะมีเท่าใด และจะนําไปใช้
คิดหรือใช้ทําอะไรบ้าง

AS

ผลลัพธ์การนําไปใช้ (Application outcome)
เป็นการประเมินการนําความรู้ พฤติกรรม หรือ
คุณลักษณะต่างๆ ไปใช้ปฏิบัติงานจริงๆ ในองค์กร

66
RO
CO

ผลลัพธ์ด้านปฏิกิริยา (Reaction outcome)

เป็นการประเมินความรู้สึกหรือความพึงพอใจของผู้เข้า
ร่วมโครงการที่มีต่อโครงการ

ผลลัพธ์ด้านความสามารถ (Capacity outcome)
เป็นการประเมินความรู้ พฤติกรรม หรือคุณลักษณะ
ต่างๆ ว่าผู้เข้าร่วมโครงการจะมีเท่าใด และจะนําไปใช้
คิดหรือใช้ทําอะไรบ้าง

AS

ผลลัพธ์การนําไปใช้ (Application outcome)
เป็นการประเมินการนําความรู้ พฤติกรรม หรือ
คุณลักษณะต่างๆ ไปใช้ปฏิบัติงานจริงๆ ในองค์กร

WO

ผลลัพธ์ด้านความคุ้มค่า (Worth outcome)
เป็นการประเมินประโยชน์ที่ได้แก่องค์กรหรือส่วนรวม
ความคุ้มค่าจึงเป็นการเปรียบเทียบประโยชน์กับต้นทุน
การดําเนินโครงการ
66
Worth

ป

กา
ด็น
ระเ

Application

เมิน
ระ
รป

Capability

Reaction
ระหว่างโครงการ

เสร็จและตามดู
67
Model comparison
รูปแบบ

เอื้อ

คิด

ทํา

CIPP

Context

Input

CIRO

Context

IPOO

-

ได้
เอง

ใช้

ให้

Process

Product

(ProductO

(Product)

Input

Process

Outcome

Outcome

Outcome

Input

Process

Output

Output

Outcome

Reaction/
Learning
Knowledge/
Satisfaction
Reaction/
Capability

Behavior

Results

Training

-

-

-

Parker

-

-

-

Bell

-

-

-

i-Performance g-Performance

Application

Worth
68
เกณฑ์
ระดับที่กําหนดไว้ หรือมาตรฐานที่ควรจะเป็นเพื่อใช้สําหรับการตัดสินสิ่งใดสิ่งหนึ่ง
มาตรฐานที่เป็นสากล (Standard)

Absolute

เป้าหมายที่กําหนดไว้ (Target)

ตัวชี้วัด
Indicators

การเปรียบเทียบเชิงพัฒนาการ (Growth)
การเปรียบเทียบกับกลุ่ม (Norm)

Relative

การเปรียบเทียบกับสิ่งที่ดีที่สุด (Benchmarking)
การพิจารณาร่วมกันของ Stakeholder
69
ตัวชี้วัดต้อง “วัด” และ
“ตัดสิน” ได้

70
เกณฑ์และตัวชี้วัด
เกณฑ์ประสิทธิภาพ
(Efficiency)

เกณฑ์ประสิทธิผล
(Effectiveness)

เกณฑ์ความพอเพียง
(Adequacy)

•สัดส่วนผลผลิตต่อค่าใช้จ่าย •ระดับการบรรลุเป้าหมาย •ระดับความพอเพียงของ
•ผลิตภาพต่อหน่วยเวลา
•ระดับการบรรลุตามเกณฑ์ โครงการ
มาตรฐาน
•ผลิตภาพต่อกําลังคน
•ระยะเวลาในการให้บริการ •ระดับการมีส่วนร่วม
•ระดับความเสี่ยงของ

เกณฑ์ความพึงพอใจ
(Satisfaction)

•ระดับความพึงพอใจของผู้
เข้าร่วมโครงการ

โครงการ

เกณฑ์ความเป็นธรรม
(Equity)

•การให้โอกาสกับผู้ด้อย

โอกาส
•ความเป็นธรรมระหว่างเพศ
•ระดับกลุ่มอาชีพ

เกณฑ์ความก้าวหน้า
(Progress)

เกณฑ์ความยั่งยืน
(Sustainability)

เกณฑ์ความเสียหาย
(Externalities)

•ผลผลิตเปรียบเทียบกับเป้า •ความอยู่รอดของโครงการ •ผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม
หมายรวม
ด้านเศรษฐกิจ
•ผลกระทบด้านเศรษฐกิจ
•กิจกรรมที่ทําแล้วเสร็จ
•สมรรถนะด้านสถาบัน
•ผลกระทบด้านสังคมและ
•ทรัพยากร
•ความเป็นไปได้ในการขยาย วัฒนธรรม
ผลของโครงการ
•เวลาที่ใช้ไป

71
หลักการสร้างตัวชี้วัดที่ดี
เลือกใช้/สร้างตัวชี้วัดที่เป็นตัวแทนที่สําคัญเท่านั้น
คําอธิบาย หรือการกําหนดตัวชี้วัดควรเป็นวลีที่มีความชัดเจน
ตัวชี้วัดอาจจะกําหนดได้ทั้งเชิงปริมาณ (Quantitative) และเชิงคุณภาพ (Qualitative)
ควรนําจุดประสงค์ของโครงการ หรือประเด็นการประเมินมากําหนดตัวชี้วัด
การเก็บรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับตัวชี้วัดควรรวบรวมข้อมูลทั้งจากแหล่งปฐมภูมิ (Primary)
และทุติยภูมิ (Secondary)

72
ตัวอย่างตัวชี้วัด
ตัวชี้วัดด้านบริบท

ตัวชี้วัดด้านปัจจัยนําเข้า

•สภาวะแวดล้อมก่อนมีโครงการ (ปัญหา •ความชัดเจนของวัตถุประสงค์ของ

วิกฤต)
โครงการ
•ความจําเป็นหรือความต้องการขณะนั้น •ความพร้อมของทรัพยากร เช่น งบ
และอนาคต
ประมาณ คน วัสดุอุปกรณ์ เวลา ระเบียบ
•ความเข้าใจร่วมกันของทุกฝ่ายที่
•ความเหมาะสมของขั้นตอนระหว่าง
เกี่ยวข้องกับโครงการ
ปัญหา สาเหตุของปัญหา และกิจกรรม

ตัวชี้วัดด้านผลผลิต

•อัตราการมีงานทําของประชาชนที่

ตัวชี้วัดด้านผลลัพธ์

ตัวชี้วัดด้านกระบวนการ

•การตรวจสอบกิจกรรม เวลา และ

ทรัพยากรของโครงการ
•ความยอมรับของประชาชน และหน่วย
งานที่เกี่ยวข้องกับโครงการในพื้นที่
•การมีส่วนร่วมของภาคประชาชน
•ภาวะผู้นําในโครงการ

ตัวชี้วัดด้านผลกระทบ

•คุณภาพชีวิตของตนเอง และครอบครัว •ผลกระทบทางบวก ซึ่งเป็นผลที่คาดหวัง

ยากจน
ตามเกณฑ์มาตรฐาน
•รายได้ของประชาชนที่เข้าร่วมโครงการ •การไม่อพยพย้ายถิ่น
•ความพึงพอใจของประชาชนที่เข้าร่วม •การมีส่วนร่วมในการพัฒนาชุมชน
โครงการ

จากดําเนินโครงการ
•ผลกระทบทางลบ ซึ่งเป็นผลที่ไม่คาด
หวังจากการดําเนินโครงการ

73
ตัวอย่างเกณฑ์ประเมินตัวแบบ CIPP
ประเด็น
บริบท

ตัวชี้วัด

เกณฑ์

ความต้องการจําเป็นของโครงการ

> 80% ของกลุ่มเป้าหมายเห็นว่าจําเป็น

โอกาสความเป็นไปได้

แหล่งข้อมูล เครื่องมือ การวิเคราะห์

> 80% ของกลุ่มเป้าหมายเห็นว่าเป็นไปได้

ปัจจัยนําเข้า คุณภาพของการวางแผน

ค่าเฉลี่ย > 3.50 จากมาตร 5 ระดับ

กระบวนการ ร้อยละของกิจกรรมที่ดําเนินงาน

> 80% ได้ดําเนินการตามแผน

ร้อยละของการติดตาม
ผลผลิต

> 80% ได้ติดตามตามแผน

ความรู้ของผู้เข้าร่วมโครงการ

เพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสําคัญ ที่ .05

ความพึงพอใจของผู้เข้าร่วม
โครงการ

ค่าเฉลี่ย > 3.50 จากมาตร 5 ระดับ
74
ตัวอย่างเกณฑ์ประเมินตัวแบบ Bell
ประเด็น

ตัวชี้วัด

เกณฑ์

ปฏิกิริยา

ความพึงพอใจที่มีต่อโครงการ

ค่าเฉลี่ย > 3.50 จากมาตร 5 ระดับ

ความ
สามารถ

ความรู้ของผู้เข้าร่วมโครงการ

เพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสําคัญ ที่ .05

ร้อยละของผู้ร่วมโครงการมีทักษะ

แหล่งข้อมูล เครื่องมือ การวิเคราะห์

> 80% ของผู้เข้าร่วมโครงการสามารถทําได้

การปฏิบัติ ร้อยละของผลงานที่เพิ่มขึ้น
ร้อยละของผลงานที่จดสิทธิบัตร
ความคุ้มค่า ร้อยละของต้นทุนที่ลดลง
ร้อยละของรายได้ที่เพิ่มขึ้น

>5% จากจํานวนผลงานเดิม
>3% จากจํานวนผลงานทั้งหมด
>5% จากค่าใช้จ่ายเดิม
>5% จากรายได้เดิม
75
แหล่งข้อมูล
แหล่งข้อมูลจากเอกสาร (Documentary source)
แหล่งข้อมูลจากเทคโนโลยีสารสนเทศ (Information technology source
แหล่งข้อมูลจากบุคคล (Personal source)
แหล่งข้อมูลจากสภาพจริง (Situational source)

Valid

คุณภาพของข้อมูล

Reliable

76
เครื่องมือเก็บรวบรวมข้อมูล
แบบบันทึก (Record schedule)
แบบสัมภาษณ์ (Interview)
แบบสอบถาม (Questionnaire)
แบบทดสอบ (Test)
แบบสังเกต (Observed schedule)

เคร่ืองมือทุติยภูมิ

เคร่ืองมือทุติยภูมิปรับใช้

เคร่ืองมือปฐมภูมิ

77

More Related Content

What's hot

ระบบจัดการร้านเบเกอรี่
ระบบจัดการร้านเบเกอรี่ระบบจัดการร้านเบเกอรี่
ระบบจัดการร้านเบเกอรี่Visiene Lssbh
 
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีWarodom Techasrisutee
 
2.ส่วนคำนำ และสารบัญ
2.ส่วนคำนำ และสารบัญ2.ส่วนคำนำ และสารบัญ
2.ส่วนคำนำ และสารบัญPongpob Srisaman
 
เครื่องชี้วัดการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
เครื่องชี้วัดการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจเครื่องชี้วัดการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
เครื่องชี้วัดการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจPannatut Pakphichai
 
นาฏศิลป์สากล
นาฏศิลป์สากลนาฏศิลป์สากล
นาฏศิลป์สากลPonpirun Homsuwan
 
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรีพัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรีพัน พัน
 
บันทึกข้อความ
บันทึกข้อความบันทึกข้อความ
บันทึกข้อความHom Rim
 
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]Kull Ch.
 
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้Sutthiluck Kaewboonrurn
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้poms0077
 
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิง
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิงคำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิง
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิงWan Wan
 
ISโครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา(ใหม่)
ISโครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา(ใหม่)ISโครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา(ใหม่)
ISโครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา(ใหม่)Iam Champooh
 
ประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัยประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัยchatsawat265
 
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3สุภาพร สิทธิการ
 
เรียงความ Is1
เรียงความ Is1เรียงความ Is1
เรียงความ Is1panisra
 
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนาเป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนาศศิพร แซ่เฮ้ง
 

What's hot (20)

ระบบจัดการร้านเบเกอรี่
ระบบจัดการร้านเบเกอรี่ระบบจัดการร้านเบเกอรี่
ระบบจัดการร้านเบเกอรี่
 
ตัวอย่าง 5 บท โครงงานคอมฯ
ตัวอย่าง 5 บท โครงงานคอมฯตัวอย่าง 5 บท โครงงานคอมฯ
ตัวอย่าง 5 บท โครงงานคอมฯ
 
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
2.ส่วนคำนำ และสารบัญ
2.ส่วนคำนำ และสารบัญ2.ส่วนคำนำ และสารบัญ
2.ส่วนคำนำ และสารบัญ
 
เครื่องชี้วัดการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
เครื่องชี้วัดการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจเครื่องชี้วัดการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
เครื่องชี้วัดการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
 
นาฏศิลป์สากล
นาฏศิลป์สากลนาฏศิลป์สากล
นาฏศิลป์สากล
 
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรีพัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
 
บันทึกข้อความ
บันทึกข้อความบันทึกข้อความ
บันทึกข้อความ
 
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]
 
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
 
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิง
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิงคำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิง
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิง
 
ISโครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา(ใหม่)
ISโครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา(ใหม่)ISโครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา(ใหม่)
ISโครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา(ใหม่)
 
ประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัยประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัย
 
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3
 
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศ
 
การเขียนโครงการ
การเขียนโครงการการเขียนโครงการ
การเขียนโครงการ
 
เรียงความ Is1
เรียงความ Is1เรียงความ Is1
เรียงความ Is1
 
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนาเป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา
 

Viewers also liked

การบริหารโครงการ
การบริหารโครงการการบริหารโครงการ
การบริหารโครงการNuch Sake
 
ตัวอย่าง การจัดทำโครงการและการประเมินผลด้านสุขภาพ
ตัวอย่าง การจัดทำโครงการและการประเมินผลด้านสุขภาพตัวอย่าง การจัดทำโครงการและการประเมินผลด้านสุขภาพ
ตัวอย่าง การจัดทำโครงการและการประเมินผลด้านสุขภาพWC Triumph
 
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทรูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทAekapoj Poosathan
 
บทที่ 3 การจัดการโครงการ
บทที่ 3 การจัดการโครงการบทที่ 3 การจัดการโครงการ
บทที่ 3 การจัดการโครงการDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
บทที่ 10 การบริหารโครงการ
บทที่ 10 การบริหารโครงการบทที่ 10 การบริหารโครงการ
บทที่ 10 การบริหารโครงการRungnapa Rungnapa
 
7 3 การเขียนโครงการเพื่อของบประมาณสนับสนุน
7 3 การเขียนโครงการเพื่อของบประมาณสนับสนุน7 3 การเขียนโครงการเพื่อของบประมาณสนับสนุน
7 3 การเขียนโครงการเพื่อของบประมาณสนับสนุนMint NutniCha
 
Proposal writing resource logical framework-
Proposal writing resource  logical framework-Proposal writing resource  logical framework-
Proposal writing resource logical framework-tccafrica
 
Aon Critical Path Method Scheduling บท 9
Aon Critical Path Method Scheduling บท 9Aon Critical Path Method Scheduling บท 9
Aon Critical Path Method Scheduling บท 9orarick
 
1โครงการและการบริหารโครงการ
1โครงการและการบริหารโครงการ1โครงการและการบริหารโครงการ
1โครงการและการบริหารโครงการpop Jaturong
 
การวินิจฉัยชุมชน อ.สมเกียรติ
การวินิจฉัยชุมชน อ.สมเกียรติการวินิจฉัยชุมชน อ.สมเกียรติ
การวินิจฉัยชุมชน อ.สมเกียรติSambushi Kritsada
 
บทที่ 1 การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการ
บทที่ 1 การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการบทที่ 1 การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการ
บทที่ 1 การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
บทที่ 7 การวางแผนกระบวนการผลิต
บทที่ 7 การวางแผนกระบวนการผลิตบทที่ 7 การวางแผนกระบวนการผลิต
บทที่ 7 การวางแผนกระบวนการผลิตDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทchaipalat
 
9เร่งโครงการ
9เร่งโครงการ9เร่งโครงการ
9เร่งโครงการpop Jaturong
 
12 กิจกรรมทบทวน
12 กิจกรรมทบทวน12 กิจกรรมทบทวน
12 กิจกรรมทบทวนSuradet Sriangkoon
 
3การกำหนดโครงการ เขียนข้อเสนอโครงการ
3การกำหนดโครงการ เขียนข้อเสนอโครงการ3การกำหนดโครงการ เขียนข้อเสนอโครงการ
3การกำหนดโครงการ เขียนข้อเสนอโครงการpop Jaturong
 
บทที่ 1 โครงการและการบริหารโครงการ
บทที่ 1 โครงการและการบริหารโครงการบทที่ 1 โครงการและการบริหารโครงการ
บทที่ 1 โครงการและการบริหารโครงการTeetut Tresirichod
 
4การคัดเลือกโครงการ
4การคัดเลือกโครงการ4การคัดเลือกโครงการ
4การคัดเลือกโครงการpop Jaturong
 
7เทคนิคบริหารโครงการด้วยcpm pert
7เทคนิคบริหารโครงการด้วยcpm pert7เทคนิคบริหารโครงการด้วยcpm pert
7เทคนิคบริหารโครงการด้วยcpm pertpop Jaturong
 

Viewers also liked (20)

การบริหารโครงการ
การบริหารโครงการการบริหารโครงการ
การบริหารโครงการ
 
ตัวอย่าง การจัดทำโครงการและการประเมินผลด้านสุขภาพ
ตัวอย่าง การจัดทำโครงการและการประเมินผลด้านสุขภาพตัวอย่าง การจัดทำโครงการและการประเมินผลด้านสุขภาพ
ตัวอย่าง การจัดทำโครงการและการประเมินผลด้านสุขภาพ
 
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทรูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
 
บทที่ 3 การจัดการโครงการ
บทที่ 3 การจัดการโครงการบทที่ 3 การจัดการโครงการ
บทที่ 3 การจัดการโครงการ
 
บทที่ 10 การบริหารโครงการ
บทที่ 10 การบริหารโครงการบทที่ 10 การบริหารโครงการ
บทที่ 10 การบริหารโครงการ
 
7 3 การเขียนโครงการเพื่อของบประมาณสนับสนุน
7 3 การเขียนโครงการเพื่อของบประมาณสนับสนุน7 3 การเขียนโครงการเพื่อของบประมาณสนับสนุน
7 3 การเขียนโครงการเพื่อของบประมาณสนับสนุน
 
Proposal writing resource logical framework-
Proposal writing resource  logical framework-Proposal writing resource  logical framework-
Proposal writing resource logical framework-
 
Aon Critical Path Method Scheduling บท 9
Aon Critical Path Method Scheduling บท 9Aon Critical Path Method Scheduling บท 9
Aon Critical Path Method Scheduling บท 9
 
1โครงการและการบริหารโครงการ
1โครงการและการบริหารโครงการ1โครงการและการบริหารโครงการ
1โครงการและการบริหารโครงการ
 
การวินิจฉัยชุมชน อ.สมเกียรติ
การวินิจฉัยชุมชน อ.สมเกียรติการวินิจฉัยชุมชน อ.สมเกียรติ
การวินิจฉัยชุมชน อ.สมเกียรติ
 
บทที่ 1 การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการ
บทที่ 1 การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการบทที่ 1 การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการ
บทที่ 1 การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการ
 
Spp, bsc, kpi, log frame
Spp, bsc, kpi, log frameSpp, bsc, kpi, log frame
Spp, bsc, kpi, log frame
 
บทที่ 7 การวางแผนกระบวนการผลิต
บทที่ 7 การวางแผนกระบวนการผลิตบทที่ 7 การวางแผนกระบวนการผลิต
บทที่ 7 การวางแผนกระบวนการผลิต
 
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
 
9เร่งโครงการ
9เร่งโครงการ9เร่งโครงการ
9เร่งโครงการ
 
12 กิจกรรมทบทวน
12 กิจกรรมทบทวน12 กิจกรรมทบทวน
12 กิจกรรมทบทวน
 
3การกำหนดโครงการ เขียนข้อเสนอโครงการ
3การกำหนดโครงการ เขียนข้อเสนอโครงการ3การกำหนดโครงการ เขียนข้อเสนอโครงการ
3การกำหนดโครงการ เขียนข้อเสนอโครงการ
 
บทที่ 1 โครงการและการบริหารโครงการ
บทที่ 1 โครงการและการบริหารโครงการบทที่ 1 โครงการและการบริหารโครงการ
บทที่ 1 โครงการและการบริหารโครงการ
 
4การคัดเลือกโครงการ
4การคัดเลือกโครงการ4การคัดเลือกโครงการ
4การคัดเลือกโครงการ
 
7เทคนิคบริหารโครงการด้วยcpm pert
7เทคนิคบริหารโครงการด้วยcpm pert7เทคนิคบริหารโครงการด้วยcpm pert
7เทคนิคบริหารโครงการด้วยcpm pert
 

Similar to 11 การเขียนโครงการ

การประเมินโครงการ
การประเมินโครงการการประเมินโครงการ
การประเมินโครงการrbsupervision
 
9789740330325
97897403303259789740330325
9789740330325CUPress
 
หลัการเขียนโครงการ
หลัการเขียนโครงการหลัการเขียนโครงการ
หลัการเขียนโครงการKaratz Mee
 
โครงการ
โครงการโครงการ
โครงการguest2824fef
 
โครงการ
โครงการโครงการ
โครงการguest3b08dd
 
บรรยาย Vehicle Khaoyai 2 การเขียนโครงการ
บรรยาย Vehicle Khaoyai 2 การเขียนโครงการบรรยาย Vehicle Khaoyai 2 การเขียนโครงการ
บรรยาย Vehicle Khaoyai 2 การเขียนโครงการPhusit Dontree
 
ใบความรู้ที่ 1กระบวนการทำงาน
ใบความรู้ที่ 1กระบวนการทำงานใบความรู้ที่ 1กระบวนการทำงาน
ใบความรู้ที่ 1กระบวนการทำงานDuangsuwun Lasadang
 
บทที่ 12 project auditing
บทที่ 12 project auditingบทที่ 12 project auditing
บทที่ 12 project auditingTeetut Tresirichod
 

Similar to 11 การเขียนโครงการ (20)

การประเมินโครงการ
การประเมินโครงการการประเมินโครงการ
การประเมินโครงการ
 
14 บทที่ 2 f
14 บทที่ 2 f14 บทที่ 2 f
14 บทที่ 2 f
 
9789740330325
97897403303259789740330325
9789740330325
 
หลัการเขียนโครงการ
หลัการเขียนโครงการหลัการเขียนโครงการ
หลัการเขียนโครงการ
 
โครงการ
โครงการโครงการ
โครงการ
 
Present
PresentPresent
Present
 
Present
PresentPresent
Present
 
Present
PresentPresent
Present
 
Present
PresentPresent
Present
 
Present
PresentPresent
Present
 
Present
PresentPresent
Present
 
Present
PresentPresent
Present
 
โครงการ
โครงการโครงการ
โครงการ
 
presentation
presentationpresentation
presentation
 
Present
PresentPresent
Present
 
บรรยาย Vehicle Khaoyai 2 การเขียนโครงการ
บรรยาย Vehicle Khaoyai 2 การเขียนโครงการบรรยาย Vehicle Khaoyai 2 การเขียนโครงการ
บรรยาย Vehicle Khaoyai 2 การเขียนโครงการ
 
ใบความรู้ที่ 1กระบวนการทำงาน
ใบความรู้ที่ 1กระบวนการทำงานใบความรู้ที่ 1กระบวนการทำงาน
ใบความรู้ที่ 1กระบวนการทำงาน
 
2.budgeting&project management by kanniga
2.budgeting&project management by kanniga2.budgeting&project management by kanniga
2.budgeting&project management by kanniga
 
Chapter005
Chapter005Chapter005
Chapter005
 
บทที่ 12 project auditing
บทที่ 12 project auditingบทที่ 12 project auditing
บทที่ 12 project auditing
 

More from Watcharin Chongkonsatit

More from Watcharin Chongkonsatit (20)

Sale person's communication
Sale person's communicationSale person's communication
Sale person's communication
 
Enneagram
Enneagram Enneagram
Enneagram
 
Organization Theory
Organization TheoryOrganization Theory
Organization Theory
 
A Manager's Challenge (11)
A Manager's Challenge (11)A Manager's Challenge (11)
A Manager's Challenge (11)
 
A Manager's Challenge (7)
A Manager's Challenge (7)A Manager's Challenge (7)
A Manager's Challenge (7)
 
A Manager's Challenge (16)
A Manager's Challenge (16)A Manager's Challenge (16)
A Manager's Challenge (16)
 
A Manager's Challenge (14)
A Manager's Challenge (14)A Manager's Challenge (14)
A Manager's Challenge (14)
 
A Manager's Challenge (18)
A Manager's Challenge (18)A Manager's Challenge (18)
A Manager's Challenge (18)
 
A Manager's Challenge (6)
A Manager's Challenge (6)A Manager's Challenge (6)
A Manager's Challenge (6)
 
A Manager's Challenge (17)
A Manager's Challenge (17)A Manager's Challenge (17)
A Manager's Challenge (17)
 
A Manager's Challenge (2)
A Manager's Challenge (2)A Manager's Challenge (2)
A Manager's Challenge (2)
 
A Manager's Challenge (8)
A Manager's Challenge (8)A Manager's Challenge (8)
A Manager's Challenge (8)
 
A Manager's Challenge (10)
A Manager's Challenge (10)A Manager's Challenge (10)
A Manager's Challenge (10)
 
A Manager's Challenge (9)
A Manager's Challenge (9)A Manager's Challenge (9)
A Manager's Challenge (9)
 
A Manager's Challenge (14)
A Manager's Challenge (14)A Manager's Challenge (14)
A Manager's Challenge (14)
 
A Manager's Challenge (3)
A Manager's Challenge (3)A Manager's Challenge (3)
A Manager's Challenge (3)
 
A Manager's Challenge (15)
A Manager's Challenge (15)A Manager's Challenge (15)
A Manager's Challenge (15)
 
A Manager's Challenge (12)
A Manager's Challenge (12)A Manager's Challenge (12)
A Manager's Challenge (12)
 
A Manager's Challenge (1)
A Manager's Challenge (1)A Manager's Challenge (1)
A Manager's Challenge (1)
 
A Manager's Challenge (4)
A Manager's Challenge (4)A Manager's Challenge (4)
A Manager's Challenge (4)
 

11 การเขียนโครงการ

Editor's Notes

  1. \n
  2. \n
  3. \n
  4. \n
  5. \n
  6. \n
  7. \n
  8. \n
  9. \n
  10. \n
  11. \n
  12. \n
  13. \n
  14. \n
  15. \n
  16. \n
  17. \n
  18. \n
  19. \n
  20. \n
  21. \n
  22. \n
  23. \n
  24. \n
  25. \n
  26. \n
  27. \n
  28. \n
  29. \n
  30. \n
  31. \n
  32. \n
  33. \n
  34. \n
  35. \n
  36. \n
  37. \n
  38. \n
  39. \n
  40. \n
  41. \n
  42. \n
  43. \n
  44. \n
  45. \n
  46. \n
  47. \n
  48. \n
  49. \n
  50. \n
  51. \n
  52. \n
  53. \n
  54. \n
  55. \n
  56. \n
  57. \n
  58. \n
  59. \n
  60. \n
  61. \n
  62. \n
  63. \n
  64. \n
  65. \n
  66. \n
  67. \n
  68. \n
  69. \n
  70. \n
  71. \n
  72. \n
  73. \n
  74. \n
  75. \n
  76. \n
  77. \n
  78. \n
  79. \n
  80. \n
  81. \n
  82. \n
  83. \n
  84. \n
  85. \n
  86. \n
  87. \n
  88. \n
  89. \n
  90. \n
  91. \n
  92. \n
  93. \n
  94. \n
  95. \n
  96. \n
  97. \n
  98. \n