Anúncio
Anúncio

Mais conteúdo relacionado

Último(20)

Anúncio

Survey Workshop Playground

  1. 802214 I FINAL PROJECT Natural Playground 631710124 Natthanan Na Nongkhai 01
  2. 02 Theory “สนามเด็กเล่น” ถือเป็นจุดเสี่ยงอันตรายลำดับต้นๆที่มักพบปัญหาอุบัติเหตุเกิดกับเด็กๆ มากที่สุด เนื่องจากสนามเด็กเล่นของโรงเรียนจะมีเครื่องเล่นให้เด็กสนุกกันเต็มที่เช่นอุปกรณ์ปีนป่ายอุปกรณ์ เคลื่อนไหวชิงช้ากระดานลื่นและเครื่องเล่นชุดรวม ซึ่งสนามเด็กเล่นที่ดีและปลอดภัยควรประกอบด้วย มีเครื่องเล่นที่ปลอดภัย เหมาะสมกับวัยและพัฒนาการของเด็ก พื้นสนามเด็กเล่นต้องเป็นพื้นเรียบและปูด้วยวัสดุอ่อน เช่น ทราย ยางสังเคราะห์ เป็นต้น จะช่วยรองรับแรงกระแทก หากเด็กพลัดตกจากเครื่องเล่น ต้องตรวจสอบว่าเครื่องเล่นยึดติดกับพื้นอย่างแน่นหนาหรือไม่ โดยเฉพาะเครื่องเล่น ที่หมุนหรือเคลื่อนที่ได้ เช่น ลูกโลก ชิงช้า เพื่อไม่ให้เครื่องเล่นล้มทับเด็ก หมั่นตรวจสอบและบำรุงรักษาเครื่องเล่นให้อยู่ในสภาพที่มั่นคงแข็งแรงอยู่เสมอหาก พบเครื่องเล่นชำรุดควรรีบแจ้งช่างมาดำเนินการแก้ไขทันที มีผู้ดูแลเด็กในขณะเล่น เช่นจัดพื้นที่สนามเด็กเล่นให้เป็นส่วน ทำรั้วรอบสนามเด็กเล่น ป้องกันไม่ให้เด็กแอบเข้าไปเล่นในช่วงที่ไม่มีเจ้าหน้าที่ดูแล
  3. 03 Study สนามเด็กเล่นที่ดีจะส่ง เสริมให้เด็กมีพัฒนาการที่ดี ขึ้น มีผลต่อสภาพอารมณ์ สภาพจิตใจ และทักษะในการ เรียนรู้ของเด็ก การออกแบบสนามเด็กเล่น จึงควรที่จะส่งเสริมและเป็น บ่อกำเนิดของทักษะต่างๆที่ กล่าวมา
  4. 04 ที่มา เนื่องจากสังคมปัจจุบันอาจมีแนวโน้มที่เด็กจะพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ได้น้อยลง เนื่องจาก พบว่า ส่วนใหญ่ผู้ปกครองมักปล่อยเด็กในยุคนี้ให้เล่นอยู่เพียงลำพัง และหยิบยื่นอุปกรณ์ อิเล็กทรอนิกส์ประกอบการเล่นให้ลูกหลานมากขึ้น ทำให้เด็กอยู่กับธรรมชาติน้อยลง สนามเด็กเล่น จึงเป็นสนามที่เด็กไม่ค่อยเล่นอีกต่อไป เพราะไปให้ความสำคัญกับอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ ไม่ว่าจะ เป็น โทรทัศน์, เครื่องเล่นเกม, คอมพิวเตอร์, สมาร์ทโฟน และ แท็บเล็ต มากกว่า ทำให้พัฒนาการ และโอกาสในการเรียนรู้ของเด็กเกิดการเปลี่ยนแปลง เด็กรุ่นใหม่จึงได้เล่นในพื้นที่โล่งแจ้งหรือพื้นที่ เปิดกว้างลดน้อยลง ดังนั้นสนามเด็กเล่นธรรมชาติจึงมีวัตถุประสงค์เพื่อเตรียมความพร้อมให้เด็กได้เรียนรู้สิ่ง ต่างๆ นอกเหนือจากความรู้ในห้องเรียน โดยนำเอาธรรมชาติรอบตัวมาเป็นเครื่องเล่นแต่ละฐานของ สนามเด็กเล่นสร้างปัญญายังช่วยส่งเสริมให้เด็กได้พัฒนาศักยภาพของตัวเองไปพร้อมๆ กับการมี ส่วนร่วมกับคนในชุมชน
  5. 05 ข้อมูลโครงการ เพื่อเป็นพื้นที่รองรับเด็กที่ต้องการเข้ามาเล่น เข้ามาพัฒนาทักษะด้าน ต่างๆในสนามเด็กเล่น รวมไปถึงรองรับผู้ปกครองที่มารอ เพื่อส่งเสริมพัฒนาการทางด้านอารมณ์ จิตใจ ร่างกายของเด็ก โดยใช้ ธรรมชาติมาช่วยเป็นหลักในการออกแบบ สามารถรองรับเด็กและผู้ปกครองที่จะเข้ามาใช้งานได้ ส่งเสริมการพัฒนาทักษะของเด็ก เป็นพื้นที่สร้างปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้มาใช้งาน ชื่อโครงการ : CMU Nature Playground วัตถุประสงค์ : ลักษณะ : ภูมิสถาปัตยกรรมสำหรับพื้นที่นันทนาการ ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากโครงการ :
  6. 06 Case Study Adelaide Zoo Nature's Playground Playground Springsiedlung Urban Park Jesse Owens Area Time Info 250 ตารางเมตร 400 ตารางเมตร 150 ตารางเมตร 08.00 - 19.00 น. 08.00 - 16.00 น. 08.00 - 19.00 น. สนามเด็กเล่นนี้เป็นสนามเด็กเล่น ที่มีหัวใจหลักคือการเชื่อมเด็กและ ผู้ปกครองผ่านการเรียนรู้สัตว์และ การเรียนรู้ธรรมชาติ เป้าหมายของสนามเด็กเล่นนี้คือ การสร้างสมดุลระหว่างความเป็น ธรรมชาติและความเป็นเมือง ที่ตั้งของสนามเด็กเล่นนี้อยู่ระหว่าง เมืองเล็กๆหลายๆเมือง ผู้ออกแบบ จึงตั้งใจให้สนามเด็กเล่นนี้เป็นจุด ที่ใช้เชื่อมเด็กๆจากต่างเมือง เข้าด้วยกัน
  7. Site Seletion 08 เข้าถึงง่าย เดินทางสะดวก ปลอดภัย มีพื้ นที่ธรรมชาติใน โครงการ ร่มเย็น
  8. Site 01 09 Site : จุดพักรถม่วง ขนาด : 8,371 ตารางเมตร ที่ตั้ง : ตรงข้ามกับปั๊ มปตท. ในมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ คุณภาพดิน : ไม่มีดิน เนื่องจากเป็นพื้นที่ดาดแข็ง คุณภาพน้ำ : ไม่มีน้ำ เนื่องจากกิจกรรมที่เกิดขึ้นในพื้นที่ ไม่จำเป็นต้องใช้น้ำ คุณภาพอากาศ : อากาศถ่ายเทเนื่องจากเป็นพื้นที่โล่ง กว้าง แต่ไม่มีต้นไม้ ทำให้ร้อน คุณภาพเสียง : มีเสียงรถและผู้คนตลอดเวลา และค่อน ข้างเสียงดัง เนื่องจากติดถนนหลัก คุณภาพสิ่งแวดล้อม : เป็นพื้นที่ดาดแข็ง มีต้นไม้เล็ก น้อย ไม่เหมาะกับการทำสนามเด็กเล่นเท่าไหร่เนื่องจาก ความปลอดภัยต่ำ สัตว์ในพื้นที่ : แมลง เช่นผึ้ง ผีเสื้อ พืชพรรณในพื้นที่ : อินทนิล หางนกยูงไทย หญ้านวล น้อย การเข้าถึง : สามารถใช้รถยนต์และรถมอเตอร์ไซค์ขับ เข้าไปได้เลย แต่ไม่มีทางเท้าให้เดินเข้าไป สาธารณูปโภค : มีไฟฟ้า มีน้ำ ในปริมาณที่พอเหมาะ Site คณะบริหาร มช. สนามกีฬากลาง มช.
  9. Site 01 10 บทบาทพื้นที่เดิม : เป็นจุดพักและอู่รถม่วงของ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ สภาพสังคมข้างเคียง : มีปั๊ มน้ำมันอยู่ทางทิศตะวันตก และมีอาคารที่ไม่ค่อยมีคนใช้งานอยู่รอบๆ ความปลอดภัย : ต่ำ มีไฟส่องถนนไม่มาก และไม่มีผู้คน ใช้งานมากนัก กิจกรรมอื่นๆรอบพื้นที่ : การวนเข้าออกของรถม่วง การ วนรถไปใช้บริการปั๊ มน้ำมัน ค่าใช้จ่ายส่วนเกินที่อาจจะเกิดในการปรับปรุงพื้นที่ : ค่า ใช้จ่ายมีความเป็ฯไปได้ว่าจะสูงมาก เนื่องจากต้องสร้าง สภาพแวดล้อมใหม่ให้ดูเป็นธรมชาติ และอาศัยการปรับ ถมหน้าดินจำนวนมาก ความเป็นไปได้ในการเข้ามาใช้งาน : ต่ำ Site มุมมอง
  10. Site 02 11 Site : ลานหน้าอมช. เก่า ขนาด : 279 ตารางเมตร ที่ตั้ง : หน้าอมช. แห่งเก่า มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ คุณภาพดิน : ดินที่อยู่ในบล็อคปลูกต้นไม้เป็นดินดี แต่พื้นที่ส่วน มากยังคงเป็นพื้นที่ดาดแข็ง คุณภาพน้ำ : ไม่มีแหล่งน้ำในไซต์ คุณภาพอากาศ : อากาศถ่ายเทได้ดี มีร่มเงาจากต้นไม้ใหญ่ ตัว ไซต์อยู่ติดกับถนน อาจจะมีฝุ่นบ้างเล็กน้อย แต่มีช่วงทางเดินที่ กว้าง สามารถกันฝุ่นได้ในระดับหนึ่ง คุณภาพเสียง : มีเสียงรถและคน คุณภาพสิ่งแวดล้อม : อากาศถ่ายเท มีร่มเงา บรรยากาศรอบ ข้างค่อนข้างดี สัตว์ในพื้นที่ : กระรอก นก มด แมลงต่างๆ พืชพรรณในพื้นที่ : สัก หูกวาง ไทร โกสน เฟินข้าหลวงหลัง หลาย หนวดปลาดุก ฟิโลเดนดรอนใบหัวใจ ชาฮกเกี้ยน หญ้า นวลน้อย การเข้าถึง : รถยนต์และรถมอเตอร์ไซค์สามรถจอดรถฝั่ งตรง ข้ามและเดินข้ามทางม้าลายมาได้ มีรถประจำทาง(รถม่วง)ทุก 30 นาที และสามารถเดินเข้าไปที่ไซต์ได้จากทั่วทุกทิศทาง สาธารณูปโภค : มีไฟส่องสว่างพอดี มีน้ำประปาให้ใช้ใกล้กับไซต์ Site อมช. เก่า อาคารเรียนรวม RB5
  11. Site 02 09 บทบาทพื้นที่เดิม : เป็นลานกิจกรรมเก่ามาก่อน สภาพสังคมข้างเคียง : มีโรงอาหาร มีที่ให้ผู้ปกครอง นั่งรอ สภาพข้างเคียงปลอดภัย ความปลอดภัย : สูง กิจกรรมอื่นๆรอบพื้นที่ : มีคณะต่างๆและหอพักในรอบๆ ค่าใช้จ่ายส่วนเกินที่อาจจะเกิดในการปรับปรุงพื้นที่ : น้อย เนื่องจากเป็นพื้นที่ที่ดีอยู่แล้ว ความเป็นไปได้ในการเข้ามาใช้งาน : ความเป็นไปได้มี มาก เนื่องจากเป็นไซต์ที่มีคนผ่านตลอดเวลา และมีความ ปลอดภัยสูง Site มุมมอง
  12. Site 03 13 Site : ลานกาดโก้งโค้ง ขนาด : 330 ตารางมเมตร ที่ตั้ง : ลานกาดโก้งโค้ง หลังมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ คุณภาพดิน : ดินอัดแน่นและไม่มีธาตุอาหาร คุณภาพน้ำ : มีน้ำเน่าเสียในรางระบายน้ำข้างไซต์ คุณภาพอากาศ : อากาศถ่ายเทดี ร่มเย็น คุณภาพเสียง : มีเสียงจากรถและคน คุณภาพสิ่งแวดล้อม : มีอากาศที่ดี และว่าที่พื้นที่รากต้นไม้แทง ขึ้นมาค่อนข้างมาก มีแหล่งน้ำเสียอยู่ข้างๆ สัตว์ในพื้นที่ : นก กระรอก มด พืชพรรณในพื้นที่ : จามจุรี ยูคาลิปตัส หญ้านวลน้อย อินทนิล การเข้าถึง : รถยนต์และมอเตอร์ไซค์สามารถจอดข้างๆได้ สามารถเดินมาจากพื้นที่นอกไซต์ได้ แต่ไม่มีทางเท้าที่ชัดเจน สาธารณูปโภค : ไม่มีน้ำประปา มีไฟส่องถนนเพียงบางจุด เท่านั้น Site คณะวิจิตรศิลป์ คณะเกษตรศาสตร์
  13. Site 03 14 บทบาทพื้นที่เดิม : เป็นตลาดนัดและพื้นที่จอดรถ สภาพสังคมข้างเคียง : ค่อนข้างอันตรายเนื่องจากว่า มืด ความปลอดภัย : ต่ำ กิจกรรมอื่นๆรอบพื้นที่ : มีการขายของนอกรั้ว คณะ เกษตร คณะวิจิตรศิลป์ ค่าใช้จ่ายส่วนเกินที่อาจจะเกิดในการปรับปรุงพื้นที่ : สูงมาก เนื่องจากสภาพของพื้นต้องแก้ไขในหลายจุด ความเป็นไปได้ในการเข้ามาใช้งาน : ปานกลาง Site มุมมอง
  14. 15 SITE CRITIRIA (01)
  15. 16 SITE CRITIRIA (02)
  16. THE RESULT IS จากการวิเคราะห์พื้ นที่ตั้งโครงการ พื้ นที่ที่เหมาะสมกับการจัด ตั้งโครงการมากที่สุดคือ SITE 02 ลานหน้าอมช. เก่า เนื่ องจากลักษณะทางกายภาพเหมาะสม โดยมีพื้ นที่สีเขียว ใกล้ พื้ นที่สาธารณะ และใกล้สถานศึกษา ลักษณะทางเศรษฐกิจนั้น เป็นบริเวณที่มีการซื้ อขายอยู่ตลอดเวลาจากโณงอาหาร มีATMกดเงินสะดวก คมนาคมสะดวกและลักษณะสังคม เป็น บริเวณที่มีกิจกรรมและคนสัญจรไปมา มีที่นั่งให้ผู้ปกครองนั่ง เฝ้า และเป็นพื้ นที่ที่ปลอดภัยที่สุดเมื่ อเทียบกับไซต์อื่ นๆ 17 SITE 02
  17. Site Analysis 18
  18. Zoning Diagram 03 02 01 01. บริเวณเครื่องเล่น 02. บริเวณลานโล่งเรียนรู้ธรรมชาติ 03. บริเวณนั่งรอของผู้ปกครอง และที่นั่งสำหรับกิจกรรมในที่ร่ม รวม ไปถึงบริเวณทานอาหาร 19
  19. Tabulation 20
  20. สรุปขนาดพื้นที่
Anúncio