SlideShare a Scribd company logo
1 of 13
Download to read offline
คู่มือดูแลตนเองเมื่อเป็นเบาหวาน 2555 ผศ.ดร.รุ่งชัย ชวนไชยะกูล/วิทยาลัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการกีฬา ม.มหิดล
6
ตอนที่ 2. การดูแลตนเองเมื่อเป็นเบาหวาน
การตรวจสอบเท้าในผู้ป่วยเบาหวาน
เท้าเป็นอวัยวะเป้าหมายที่ต้องได้รับการดูแลเป็นอย่างดีที่สุดเพราะถูกซุกซ่อนหลบเร้นสายตาอยู่ในรองเท้าทั้งวัน (ในผู้
ที่ทางานออฟฟิศ) หรือเสี่ยงที่จะเกิดแผล (ในผู้ที่ทางานบ้าน-งานเกษตรและไม่ใส่รองเท้า) เมื่อผนวกกับความรู้สึกที่ผิดปกติที่
ปลายเท้า และหากตาแหน่งใดตาแหน่งหนึ่งของเท้าถูกกด ถูกเบียด ถูกของมีคมบาดเป็นแผลหรือขาดเลือดไปเลี้ยงก็จะทาให้
ลุกลามเกิดการสูญเสียอวัยวะได้ง่ายๆ
เท้าจึงเป็นอวัยวะที่ผู้ป่วยเบาหวานต้องหมั่นตรวจสอบทุกวัน (เช้า-กลางวัน-เย็น แล้วแต่ความรุนแรงของโรค) ต้อง
ตรวจสอบตนเองทั้งฝ่าเท้า ส้นเท้า นิ้วเท้า ด้านข้างใน-นอก ต้องตรวจสอบอย่างละเอียด ดังนี้
1. การไหลเวียนเลือดที่เท้าว่ายังดีอยู่หรือเปล่า เช่นที่ตาตุ่มด้านในและที่หลังเท้า ฯลฯ หากการไหลเวียนเลือดยังดีอยู่
(สามารถจับการเต้นของชีพจรเป็นจังหวะ ตุ๊บๆๆ ได้) โอกาสเสี่ยงก็จะต่า
2. ปุ่มปม หนังหนา รอยจ้าแดง ผิวแตกปริ เป็นรอยเก่าหรือใหม่
3. สีผิวและความอุ่นของเท้า 2 ข้างควรเหมือนกัน
4. กลิ่นเท้าโดยเฉพาะเมื่อถอดรองเท้าออก แสดงถึงการหมักหมมและโอกาสเน่า-ติดเชื้อได้ง่าย
คู่มือดูแลตนเองเมื่อเป็นเบาหวาน 2555 ผศ.ดร.รุ่งชัย ชวนไชยะกูล/วิทยาลัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการกีฬา ม.มหิดล
7

ตรวจสอบการ หลเวียนเลือดหน้าเท้า ตรวจสอบรูปรางเท้า-ป่ม-ผนงหนา
กระดก
นิ้วโป้งขึ้น
เส้นเลือดอยู่
ขนานกับเอ็น
ตาตุ่มด้านใน
เส้นเลือดใต้ตาตุ่ม
ตรวจสอบการ หลเวียนเลือด ้างตาตมใน
ตรวจสอบสีเท้า กล่นเท้า
?
?
ตรวจสอบ วามรู้สกเท้า ้าง
2555
การดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวาน
เท้าที่ได้รับการดูแลไม่ถูกต้องมีโอกาสเสี่ยงต่อการติดเชื้อได้ง่าย ความเข้าใจเรื่องการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวานมีดังนี้
1. หมั่นตรวจสอบเท้าทุกวันหากทาด้วยตนเองให้ใช้แว่นขยายมอง ณ ตาแหน่งที่สงสัย (ผู้ป่วยเบาหวานมักมีปัญหา
สายตา) แต่ควรให้คนอื่นตรวจสอบให้บ้างเพราะผู้ป่วยเบาหวานไม่สามารถก้มงอตัวมองเท้าตัวเองได้ครบทุกส่วน
2. ล้างเท้าทุกวันด้วยน้าอุ่นอุณหภูมิเดียวกับที่ใช้อายให้ทารกแรกคลอด ใช้นิ้วมือถูทาความสอาดซอกนิ้วเท้าเบาๆ (ห้าม
ใช้แปรงถู) ผึ่งให้แห้งเองหรือซับแห้งด้วยผ้าขนหนูนุ่มๆ ห้ามขยี้ห้ามกดเฉพาะที่นานๆ
3. ทาครีมบารุงผิวที่ออกแบบสาหรับเท้าเท่านั้น และให้ทาซอกนิ้วเท้าได้ (อาจใช้ครีมทามือทาผิวทั่วไปทาเท้าได้แต่ไม่
ควรทาซอกนิ้ว บริเวณนี้มีการหมักหมมง่ายมาก)
คู่มือดูแลตนเองเมื่อเป็นเบาหวาน 2555 ผศ.ดร.รุ่งชัย ชวนไชยะกูล/วิทยาลัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการกีฬา ม.มหิดล
8
4. การตัดเล็บเท้าควรให้คนอื่นทาให้ (ผู้ป่วยเบาหวานไม่สามารถก้มงอตัวมองเล็บเท้าตัวเองได้อย่างละเอียด) และต้อง
ระมัดระวังเป็นพิเศษ ให้ตัดเสมอขอบเล็บเท่าที่มองเห็นเท่านั้น ห้ามตะลุยตัดงัดแงะซอกเล็บเด็ดขาด
5. กรณ๊เกิดแผลที่ซอกเล็บ ที่ส่วนใดส่วนหนึ่งของเท้าควรพบแพทย์โดยทันที อย่าฝืนรักษาเอง

หม่นตรวจสอบเท้าทกวนเ ้า-เยน แล ทก
รงที่ยืน-เดนนาน ใ ้แวน ยาย
จดต้องสงสย
อยาให้เท้าหมกหมม ล้างเท้าทกวนเ ้า-เยน
ด้วยนาอน อนเทานาอาบเดกแรก ลอด
บแห้งด้วยผ้านม ดยเ า อกเลบ อยา
ด ูแรง ห้ามใ ้แปรง
ทา ล ่นกนเท้าแตก แต ม วรทาที่ อกนว
เ รา อาจหมกหมมเป็นที่กอเ ือรา
ตดเลบ อดีรอง อกเลบที่เหน อยาตดสน
หรือลกมากจ ทาให้เกดเลบ บ-เป็นแผล ด้
แล วรให้ นอื่นตดเลบให้
บแ ทยทนทีเมื่อเกดแผลที่เท้า
2555
ส่งที่ ม วรทาในผู้ที่เป็นเบาหวาน
การปฏิบัติตัวหลายๆอย่างที่ควรงดเว้น และการจัดวางสิ่งของเครื่องใช้ในบ้านโดยไม่คานึงว่าผู้เป็นเบาหวานมีความ
เสี่ยงสูงกว่าคนทั่วไปที่จะเกิดการบาดเจ็บที่นาไปสู่ความสูญเสียอวัยวะได้
คู่มือดูแลตนเองเมื่อเป็นเบาหวาน 2555 ผศ.ดร.รุ่งชัย ชวนไชยะกูล/วิทยาลัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการกีฬา ม.มหิดล
9

เดนเท้าเปลาวางส่งกีด วางทางเดนเดนป่า
ยืนเ ยง ีเหนียวกบการ ือรองเท้าใหม หนีบ องมี มด้วยเท้า
ปร บร้อน ปร บเยนด้วยตนเอง เท้า ูกกดทบเป็นเวลานาน ม วบ มนาหนก
แก เกาผวหนงเท้า นผ้ายืดแนนมากือรองเท้า ดย ม ด้ลอง
2555
ส่งที่ วรทาในผู้ที่เป็นเบาหวาน
คู่มือดูแลตนเองเมื่อเป็นเบาหวาน 2555 ผศ.ดร.รุ่งชัย ชวนไชยะกูล/วิทยาลัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการกีฬา ม.มหิดล
10
อยู่ภายใต้หลักการ 2 ประการคือ ต้องป้องกันไม่ให้เกิดแผลที่เท้าและต้องให้เท้าได้พักผ่อนในวงรอบวัน เพราะเราทุก
คนต้องประกอบอาชีพ-ทางาน-เดินทุกวัน จึงต้องช่วยผ่อนคลายไม่ให้เท้าเครียดมากเกินไป อาทิ การเสริมแผ่นรองเท้าต้องนุ่ม
และลดแรงกดที่ฝ่าเท้าได้ ต้องไม่ใช้พื้นรองเท้าที่แข็งหรือถูกใช้งานมานานจนผิดรูป-หมดความยืดหยุ่น การใช้ถุงเท้าตลอดเวลา
ทั้งการทางานในระหว่างวันและเมื่อนอนในเวลากลางคืน โดยเฉพาะผู้ป่วยเบาหวานที่นอนในห้องปรับอากาศ

เสรมแผนรองเท้า ใส งเท้าแห้ง ส อาด มหลวม
มรดเปลี่ยนใหมบอย
ใส งเท้านอนเท้า ด้รบการ กผอนสม่าเสมอ
2555
การออกกาลงกายมีปร ย นอยาง ร
ผู้ป่วยเบาหวานจาเป็นต้องออกกาลังกายอย่างสม่าเสมอ มีประโยชน์ในหลายด้าน เช่น
1. ช่วยลดระดับน้าตาลในเลือดโดยเป็นการเพิ่มการใช้พลังงานในผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 1 และช่วยลดภาวะดื้อต่ออินซูลิน และ
ลดการสร้างกลูโคสจากตับในผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2
คู่มือดูแลตนเองเมื่อเป็นเบาหวาน 2555 ผศ.ดร.รุ่งชัย ชวนไชยะกูล/วิทยาลัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการกีฬา ม.มหิดล
11
2. ช่วยลดระดับไขมันในเลือด ทั้งระดับไขมันโคเลสเตอรอลตัวไม่ดี (LDL) และช่วยเพิ่มไขมันโคเลสเตอรอลตัวดี (HDL)
3. ช่วยลดความดันโลหิตในผู้ป่วยที่มีโรคความดันโลหิตสูง ทาให้การทางานของหัวใจและระบบการไหลเวียนของเลือดดีขึ้น
4. ช่วยเพิ่มความแข็งแรงของกล้ามเนื้อและข้อต่างๆ ช่วยลดความเครียด รู้สึกสดชื่น
การออกกาลงที่ ม วรแล วรทาในผู้ที่เป็นเบาหวาน
ผู้ป่วยเบาหวานจะได้รับคาแนะนาให้ออกกาลังกาย และจาเป็นต้องทราบว่าไม่ได้หมายถึงการออกกาลังกายอะไรก็ได้
ที่จริงแล้วการออกกาลังกายในผู้ป่วยเบาหวานมีหลักการง่ายๆคือ ต้องไม่สร้างแรงกด-แรงกระแทกซ้าๆบนฝ่าเท้า ดังนั้น
กิจกรรมการเต้นแอโรบิค (โดยเฉพาะ Step aerobic ที่มีการก้าวขึ้น-ลงกล่องเล็กๆและหมุนตัวเร็วๆ) จึงไม่เหมาะสมสาหรับผู้ป่วย
เบาหวานซึ่งมักมีอายุมาก และมีโอกาสเจ็บที่เท้า
กิจกรรมที่แนะนาจึงเป็นการเคลื่อนไหวช้า มีความมั่นคงสูงและให้ทาซ้าๆสลับข้าง
คู่มือดูแลตนเองเมื่อเป็นเบาหวาน 2555 ผศ.ดร.รุ่งชัย ชวนไชยะกูล/วิทยาลัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการกีฬา ม.มหิดล
12
  
แอ รบ ที่มีแรงกร แทกบน ่าเท้า เดนย่า-ลยนากร ดดอยูกบที่
  
เดนเรว ี่จกรยาน ยกนาหนกเบา าว่งบนลู
2555
ทางเลือกในการออกกาลงกายในผู้ป่วยเบาหวาน
มีทางเลือกหลายทาง ทั้งที่เป็นการออกกาลังกายที่มีรูปแบบและการนากิจกรรมประจาวันทั่วไปมาประยุกต์ใช้ โดยให้
ทาต่อเนื่อง 20 ถึง 40 นาทีแล้วแต่ว่ากิจกรรมนั้นหนักมากเพียงใด และหากเป็นกิจกรรมการเล่นกีฬาจาเป็นต้องมีการเตรียม
ร่างกายให้พร้อมด้วยการยืดเหยียดก่อนและหลังการออกกาลังกาย
คู่มือดูแลตนเองเมื่อเป็นเบาหวาน 2555 ผศ.ดร.รุ่งชัย ชวนไชยะกูล/วิทยาลัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการกีฬา ม.มหิดล
13
  
ตอเนื่อง 30 นาทีตอวน 4 วนตอสปดาห
ยืดเหยียด 5 นาที
กอนออกกาลงกาย
เดน รงล 10 นาที
เ ้า กลางวน เยน
ตดห ้า 20 นาที
ยืดเหยียด5 นาที
หลงออกกาลงกาย
ย 30 นาที
หรือ หรือ
งานบ้าน 40 นาที
2555
้อ วรร วงในผู้ที่มีภาว นาตาลต่า ด้งาย
การออกกาลังในผู้ป่วยที่มีภาวะน้าตาลต่าได้ง่ายๆ จึงต้องตรวจระดับน้าตาลในเลือดก่อนออกกาลังกาย ดังนี้
 ถ้าค่าน้าตาลในเลือดอยู่ระหว่าง 80-180 มก/ดล ควรรับประทานอาหารว่างเล็กน้อยก่อนออกกาลังกาย
 ถ้าค่าน้าตาลในเลือดอยู่ระหว่า 180-240 มก/ดล ไม่ต้องรับประทานอาหารว่าง แต่อาจให้ในระหว่าง 30-60 นาทีของ
การออกกาลังกาย
หลังจากการออกกาลังกายอาจเกิดภาวะน้าตาลในเลือดต่าได้ ควรตรวจระดับน้าตาลในเลือดเพื่อประเมินว่าจาเป็นต้อง
รับประทานอาหารว่างหรือไม่ จะให้รับประทานอาหารว่างกรณีที่น้าตาลในเลือดต่ามากเท่านั้น
คู่มือดูแลตนเองเมื่อเป็นเบาหวาน 2555 ผศ.ดร.รุ่งชัย ชวนไชยะกูล/วิทยาลัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการกีฬา ม.มหิดล
14
   
ลดอน ูลน ีดหรือกน *
ลง 30-50%
ที่ร ดบปานกลาง**
อาหารแปง - า
นาทีกอนออกกาลงกาย
* หมายถึงอินซูลินที่ออก ท ิเร็วและทาให้น้าตาลในเลือดต่าทันที
** หมายถึงชีพจรเพิ่มขึ้นจากระยะพักอีก30-40ครั้ง
หากมีภาว นาตาลต่าอาจต้อง
ทานอาหารแปง-นาหวาน
หลงออกกาลงกายร หวางออกกาลงกายกอนออกกาลงกาย
เดน หรือ ี่จกรยานตอเนื่อง 30 นาที
3 รงตอสปดาห เป็นอยางน้อย
2555
วรปรก าแ ทยรวมด้วย
การออกกาลงกายที่แน นาในผู้ป่วยเบาหวาน
สมาคมเบาหวานแห่งสหรัฐอเมริกาแนะนากิจกรรมอย่างใดอย่างหนึ่งต่อไปนี้ เช่น การเพิ่มกิจกรรมทางกาย การไป
ร่วมออกกาลังกายแบบแอโรบิค หรือการออกกาลังกายในห้องยิม ฯลฯ แต่ต้องไม่มีความเสี่ยงที่จะทาให้เกิดแผล การล้ม การฉีก
ขาดของกล้ามเนื้อ
คู่มือดูแลตนเองเมื่อเป็นเบาหวาน 2555 ผศ.ดร.รุ่งชัย ชวนไชยะกูล/วิทยาลัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการกีฬา ม.มหิดล
15
    1 2 
การ ก ตวอยางกจกรรม กี่ รง ทาหนกแ หน ทากี่นาที
กจกรรมท่ว ป
เดนทางราบ
เดน นบน ด
ทาสวน
ทกวน
ร หวางออกกาลงกาย
ยง ูด ย ด้ หรือ ี จร
เ ่มปร มา 30
รง/นาทีจากร ย ก
มากกวา 30 นาที
แอ รบ
เดนเรว ว่งเหยา
ี่จกรยาน วายนา
เต้นแอ รบ
3-5 วน/
สปดาห
เร่มหอบแตยง ูด ย ด้
หรือ ี จรเ ่มปร มา
50 รง/นาทีจาก
ร ย ก
30-60 นาที
กในห้องยม
ยางยืด ต้มนาหนก
เ รื่องเลน weight
2-3 วน/
สปดาห
เร่มล้ากล้ามเนือนน
แตยง ูด ย ด้
8-10 ทา ทา
ล 8-12 รง
Kriska AM, Blair SN and Pereia MA. Exerc.Sports Sci Rev. 1994, 22:121-143.
Swedish Naional Institute of Health. Physical Activity in he Prevention and Treatment of Disease: Professional Association for
Physical Activity (Sweden). 2010.
(ไม่แนะนาในผู้ที่มีปัญหาสายตา
ร่วมด้วย)
2555
วามหนกในการออกกาลงกายในผู้ป่วยเบาหวาน
สมาคมเบาหวานแห่งประเทศสหรัฐอเมริกาแนะนาการออกกาลังกายที่ถูกต้องในผู้ป่วยเบาหวาน คือ การออกกาลังกาย
ชนิดแอโรบิกที่ระดับความหนักปานกลางและนานพอเพื่อให้หัวใจทางานหนักและมีการใช้พลังงานเพิ่มขึ้น มีดัชนีชี้วัดความ
หนักของการออกกาลังกาย ดังนี้
1. ใช้ชีพจรโดยคานวณจากอายุ (ในหน่วยปี) ของผู้ออกกาลังกาย
ชีพจรที่ระดับความหนักปานกลาง = (220 – อายุ) x 50/100 สาหรับผู้เริ่มต้น
ชีพจรที่ระดับความหนักปานกลาง = (220 – อายุ) x 70/100 สาหรับผู้ที่ออกกาลังมานานแล้ว (และควรคงที่ที่
ระดับนี้ไปตลอด)
เช่น นายเท่ง อายุ 60 ปี มีชีพจรระยะพัก 70 ครั้ง/นาที อยากเริ่มออกกาลังกายให้ได้ผลภายใน 3 เดือน ควรปฏิบัติดังนี้
คู่มือดูแลตนเองเมื่อเป็นเบาหวาน 2555 ผศ.ดร.รุ่งชัย ชวนไชยะกูล/วิทยาลัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการกีฬา ม.มหิดล
16
ความหนักที่ควรเริ่มต้นสาหรับนายเท่ง = (220 – 60) x 50/100 = 80 ครั้ง/นาที
(เพิ่มจากระยะพัก 10 ครั้ง/นาที = 70 + 10 หรือมากกว่านี้เล็กน้อยในวันแรก-2 สัปดาห์แรก)
นายเท่งค่อยเพิ่มระยะทางหรือระยะเวลาในการออกกาลังกายวันละน้อยเพื่อให้ชีพจรมากขึ้นไปอีก
และความหนักในเดือนที่ 3 สาหรับนายเท่ง = (220 – 60) x 70/100 = 56 ครั้ง/นาที (ระยะพัก 70 + 56) = 110-
120 ครั้งต่อนาที

จบ ี จรตรง านนว ปง ตรงรอยหยก ้อมือ
นบ ี จรในเวลา 15 วนาที ู 4 จ เป็น ี จรใน 1 นาที
เ นนบ ี จรในเวลา 15 วนาที ด้ 20 รง
ู 4 = 20 x 4 = 80
ี จร ือ 80 รงตอนาที
2555
2. ใช้วิ ีพูดกับตัวเอง (Self – Talk Test)
ออกกาลังกายชนิดหนักปานกลาง คือยังต้องสามารถพูดคุยได้เป็นประโยคต่อเนื่องไม่ขาดๆหายๆเป็นช่วงๆ
การปร เมนส ภา กอนออกกาลงกาย
ก่อนเข้าสู่โปรแกรมฝึกออกกาลังกาย ผู้ป่วยเบาหวานส่วนใหญ่ที่มักมีภาวะแทรกซ้อนซ่อนเร้นอยู่ จึงควรได้รับการ
ประเมินสุขภาพจากแพทย์เพื่อหาโรค-ภาวะแทรกซ้อนบางอย่างที่อาจมีผลเสีย/เป็นอุปสรรค เช่น
คู่มือดูแลตนเองเมื่อเป็นเบาหวาน 2555 ผศ.ดร.รุ่งชัย ชวนไชยะกูล/วิทยาลัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการกีฬา ม.มหิดล
17
 การประเมินประเภทการออกกาลังกายที่เหมาะสมเฉพาะบุคคล
 การประเมินเฉพาะผู้ที่มีความเสี่ยงภาวะหัวใจไม่ปกติ การประเมินหลอดเลือดส่วนปลาย
 คาแนะนาให้หยุดออกกาลังกายเมื่อมีอาการผิดปกติ เช่น รู้สึกเหนื่อยมาก หอบ เวียนศีรษะ ฯลฯ ควรปรึกษาแพทย์
การเตรียมตว ปออกกาลงกายนอกบ้าน
1. สวมถุงเท้าหนา สวมรวมเท้ารองเท้ากีฬาขนาดพอดี ไม่คับหรือหลวมเกินไป (รองเท้าที่เหมาะสมเมื่อใส่แล้วต้องเอา
นิ้วมือ 1 นิ้วสอดที่ด้านหลังได้พอดีและเมื่อบีบหัวรองเท้าแล้วต้องมีช่องว่างระหว่างหัวแม่เท้ากับหน้ารองเท้า 1 นิ้วมือ)
2. ตรวจดูเท้าทุกครั้งก่อน-หลังจากออกกาลังกายว่ามีตุ่มพองหรือแผลถลอกหรือรอยจ้าแดง-บวมหรือไม่
3. พบบัตรประจาตัวว่าเป็นเบาหวาน และเตรียมลูกอม สาหรับแก้ไขภาวะน้าตาลต่า
4. ควรมีเพื่อนร่วมออกกาลังหรือบอกญาติว่าท่านจะไปออกกาลังกายเส้นทางไหน
การเลือกรองเท้าในผู้ที่เป็นเบาหวาน
รองเท้าเป็นประเด็นสาคัญมากในผู้ที่เป็นเบาหวานเพราะเราต้องสวมใส่อยู่ตลอดเวลา รองเท้าที่เหมาะสมกับผู้ที่เป็น
เบาหวานนั้นไม่ใช่จะไปหาซื้อได้ตามร้านค้าทั่วไป ที่จริงแล้วควรพบแพทย์หรือผู้เชี่ยวชาญด้านรองเท้า
รองเท้าที่ดีสาหรับผู้ป่วยเบาหวานต้องตัดเย็บด้วยวัสดุที่เป็นชิ้นเดียวหรือมีรอยต่อน้อยที่สุด พื้นนิ่ม และมีรูระบาย
อากาศที่ด้านหน้า มีแผ่นป้องกันการเสียดสีด้านหลังรองเท้า เชือกรองเท้านิ่มหรืออาจใช้แผ่นยึดตีนตุ๊กแก เมื่อเลือกซื้อควร
ทดลองเดินนานๆ เดินทางตรง เดินเลี้ยวซ้าย-ขวาหลายๆรอบ ถอด-สวมตรวจสอบว่าไม่ทาให้เกิดแรงกด-รอยจ้าแดง จนแน่ใจ
ในทางกลับกัน ไม่แนะนาให้ใช้รองเท้าหัวตัด (นิ้วเท้าโผล่เสี่ยงต่อการเกิดแผลจากการเตะกระแทก) รองเท้าหุ้มข้อ
มิดชิด (จนไม่สามารถสังเกตุอะไรภายในเท้าได้)
คู่มือดูแลตนเองเมื่อเป็นเบาหวาน 2555 ผศ.ดร.รุ่งชัย ชวนไชยะกูล/วิทยาลัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการกีฬา ม.มหิดล
18
 
ต้องลองสวม-แล ลองเดนนาน-จน น
จงจ ือ
ม บ
รองเท้าที่ มแน นา รองเท้าที่แน นา ใส ปทางาน
รองเท้าเบาหวาน มมีวาง ายท่ว ป แล
มจาเป็นต้องสวยงาม-นาสมย
มหลวม
รองเท้าที่เหมา สมเมื่อใสแล้วต้องเอานวมือ
นวสอด ด้ อดี
เป็นชิ้นเดียวไม่มี
รอยต่อมีช่อง
ระบายอากาศ
นิ่มมีขอบ
กันกระแทก
ผนังด้านในบุนุ่ม เชือกรองเท้านุ่ม
พื้นนอกเป็นยางดิบนุ่ม
ซ่นเว้าช่วยลดแรงกระแทก
ปรบรองเท้า เ น เจา รูทา Doughnut
บรเว ที่เ ย ดนกด
2555

More Related Content

What's hot

บทที่ 4 ยารักษาโรคเบาหวาน
บทที่ 4 ยารักษาโรคเบาหวานบทที่ 4 ยารักษาโรคเบาหวาน
บทที่ 4 ยารักษาโรคเบาหวานPa'rig Prig
 
แนวทางปฏิบัติการป้องกันดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวาน (ตา ไต เท้า)
แนวทางปฏิบัติการป้องกันดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวาน (ตา ไต เท้า)แนวทางปฏิบัติการป้องกันดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวาน (ตา ไต เท้า)
แนวทางปฏิบัติการป้องกันดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวาน (ตา ไต เท้า)Utai Sukviwatsirikul
 
คู่มือการดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจและหลอดเลือด
คู่มือการดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจและหลอดเลือด คู่มือการดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจและหลอดเลือด
คู่มือการดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจและหลอดเลือด Utai Sukviwatsirikul
 
เอกสารให้ความรู้เกี่ยวเรื่องโรคเบาหวาน
เอกสารให้ความรู้เกี่ยวเรื่องโรคเบาหวานเอกสารให้ความรู้เกี่ยวเรื่องโรคเบาหวาน
เอกสารให้ความรู้เกี่ยวเรื่องโรคเบาหวานUtai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการรักษาไข้มาลาเรีย ประเทศไทย 2558
แนวทางการรักษาไข้มาลาเรีย ประเทศไทย 2558แนวทางการรักษาไข้มาลาเรีย ประเทศไทย 2558
แนวทางการรักษาไข้มาลาเรีย ประเทศไทย 2558Utai Sukviwatsirikul
 
การเลือกใช้ยากันชัก
การเลือกใช้ยากันชัก การเลือกใช้ยากันชัก
การเลือกใช้ยากันชัก Utai Sukviwatsirikul
 
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวานแนวทางเวชปฏิบัติการดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวานUtai Sukviwatsirikul
 
บทที่ 5 ยารักษาโรคความดันโลหิตสูง
บทที่ 5 ยารักษาโรคความดันโลหิตสูงบทที่ 5 ยารักษาโรคความดันโลหิตสูง
บทที่ 5 ยารักษาโรคความดันโลหิตสูงPa'rig Prig
 
แนวทางเวชปฎิบัติสำหรับโรคเบาหวาน จ.พระนครศรีอยุธยา พ.ศ.2555
แนวทางเวชปฎิบัติสำหรับโรคเบาหวาน จ.พระนครศรีอยุธยา พ.ศ.2555แนวทางเวชปฎิบัติสำหรับโรคเบาหวาน จ.พระนครศรีอยุธยา พ.ศ.2555
แนวทางเวชปฎิบัติสำหรับโรคเบาหวาน จ.พระนครศรีอยุธยา พ.ศ.2555Utai Sukviwatsirikul
 
Clinical Practice Guideline for myofascial pain syndrome fibromyagia
Clinical Practice Guideline for myofascial pain syndrome fibromyagiaClinical Practice Guideline for myofascial pain syndrome fibromyagia
Clinical Practice Guideline for myofascial pain syndrome fibromyagiaUtai Sukviwatsirikul
 
PC05 : Management of nonpain symptoms
PC05 : Management of nonpain symptomsPC05 : Management of nonpain symptoms
PC05 : Management of nonpain symptomsCAPD AngThong
 
2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง
2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง
2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลงนายสามารถ เฮียงสุข
 
คู่มือการให้ความรู้ เพื่อจัดการภาวะความดันโลหิตสูงด้วยตนเอง Handbook for hype...
คู่มือการให้ความรู้ เพื่อจัดการภาวะความดันโลหิตสูงด้วยตนเอง Handbook for hype...คู่มือการให้ความรู้ เพื่อจัดการภาวะความดันโลหิตสูงด้วยตนเอง Handbook for hype...
คู่มือการให้ความรู้ เพื่อจัดการภาวะความดันโลหิตสูงด้วยตนเอง Handbook for hype...Utai Sukviwatsirikul
 

What's hot (19)

บทที่ 4 ยารักษาโรคเบาหวาน
บทที่ 4 ยารักษาโรคเบาหวานบทที่ 4 ยารักษาโรคเบาหวาน
บทที่ 4 ยารักษาโรคเบาหวาน
 
Myofascialpain fibromyalgia
Myofascialpain fibromyalgiaMyofascialpain fibromyalgia
Myofascialpain fibromyalgia
 
Chronic Back Pain
Chronic Back PainChronic Back Pain
Chronic Back Pain
 
แนวทางปฏิบัติการป้องกันดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวาน (ตา ไต เท้า)
แนวทางปฏิบัติการป้องกันดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวาน (ตา ไต เท้า)แนวทางปฏิบัติการป้องกันดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวาน (ตา ไต เท้า)
แนวทางปฏิบัติการป้องกันดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวาน (ตา ไต เท้า)
 
คู่มือการดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจและหลอดเลือด
คู่มือการดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจและหลอดเลือด คู่มือการดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจและหลอดเลือด
คู่มือการดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจและหลอดเลือด
 
เอกสารให้ความรู้เกี่ยวเรื่องโรคเบาหวาน
เอกสารให้ความรู้เกี่ยวเรื่องโรคเบาหวานเอกสารให้ความรู้เกี่ยวเรื่องโรคเบาหวาน
เอกสารให้ความรู้เกี่ยวเรื่องโรคเบาหวาน
 
แนวทางการรักษาไข้มาลาเรีย ประเทศไทย 2558
แนวทางการรักษาไข้มาลาเรีย ประเทศไทย 2558แนวทางการรักษาไข้มาลาเรีย ประเทศไทย 2558
แนวทางการรักษาไข้มาลาเรีย ประเทศไทย 2558
 
การเลือกใช้ยากันชัก
การเลือกใช้ยากันชัก การเลือกใช้ยากันชัก
การเลือกใช้ยากันชัก
 
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวานแนวทางเวชปฏิบัติการดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน
 
Ortho osteoarthritis
Ortho osteoarthritisOrtho osteoarthritis
Ortho osteoarthritis
 
บทที่ 5 ยารักษาโรคความดันโลหิตสูง
บทที่ 5 ยารักษาโรคความดันโลหิตสูงบทที่ 5 ยารักษาโรคความดันโลหิตสูง
บทที่ 5 ยารักษาโรคความดันโลหิตสูง
 
4 0
4 04 0
4 0
 
แนวทางเวชปฎิบัติสำหรับโรคเบาหวาน จ.พระนครศรีอยุธยา พ.ศ.2555
แนวทางเวชปฎิบัติสำหรับโรคเบาหวาน จ.พระนครศรีอยุธยา พ.ศ.2555แนวทางเวชปฎิบัติสำหรับโรคเบาหวาน จ.พระนครศรีอยุธยา พ.ศ.2555
แนวทางเวชปฎิบัติสำหรับโรคเบาหวาน จ.พระนครศรีอยุธยา พ.ศ.2555
 
Clinical Practice Guideline for myofascial pain syndrome fibromyagia
Clinical Practice Guideline for myofascial pain syndrome fibromyagiaClinical Practice Guideline for myofascial pain syndrome fibromyagia
Clinical Practice Guideline for myofascial pain syndrome fibromyagia
 
PC05 : Management of nonpain symptoms
PC05 : Management of nonpain symptomsPC05 : Management of nonpain symptoms
PC05 : Management of nonpain symptoms
 
หลักการใช้ยา ปี4
หลักการใช้ยา ปี4หลักการใช้ยา ปี4
หลักการใช้ยา ปี4
 
2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง
2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง
2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง
 
Cpg asthma in children 2551
Cpg asthma in children 2551Cpg asthma in children 2551
Cpg asthma in children 2551
 
คู่มือการให้ความรู้ เพื่อจัดการภาวะความดันโลหิตสูงด้วยตนเอง Handbook for hype...
คู่มือการให้ความรู้ เพื่อจัดการภาวะความดันโลหิตสูงด้วยตนเอง Handbook for hype...คู่มือการให้ความรู้ เพื่อจัดการภาวะความดันโลหิตสูงด้วยตนเอง Handbook for hype...
คู่มือการให้ความรู้ เพื่อจัดการภาวะความดันโลหิตสูงด้วยตนเอง Handbook for hype...
 

Similar to Diabetes manual2

Rehabilitabtion for Elderly
Rehabilitabtion for ElderlyRehabilitabtion for Elderly
Rehabilitabtion for Elderlytaem
 
โรคเบาหวาน
โรคเบาหวานโรคเบาหวาน
โรคเบาหวานweerawatkatsiri
 
โรคหลอดเลือดหัวใจ
โรคหลอดเลือดหัวใจโรคหลอดเลือดหัวใจ
โรคหลอดเลือดหัวใจWan Ngamwongwan
 
โรคเบาหวาน
โรคเบาหวานโรคเบาหวาน
โรคเบาหวานweerawatkatsiri
 
เรื่อง โรคหลอดเลือดแข็งตัว(Atherosclerosis)
เรื่อง โรคหลอดเลือดแข็งตัว(Atherosclerosis)เรื่อง โรคหลอดเลือดแข็งตัว(Atherosclerosis)
เรื่อง โรคหลอดเลือดแข็งตัว(Atherosclerosis)Wan Ngamwongwan
 
Update cardiac prevention rehabilitation 2014
Update cardiac prevention rehabilitation 2014Update cardiac prevention rehabilitation 2014
Update cardiac prevention rehabilitation 2014Utai Sukviwatsirikul
 
ศิลปหัตถกรรมนักเรียนภาคตะวันออกเฉียงเหนือขึ้น ระหว่างวันที่ 27 29
ศิลปหัตถกรรมนักเรียนภาคตะวันออกเฉียงเหนือขึ้น ระหว่างวันที่ 27 29ศิลปหัตถกรรมนักเรียนภาคตะวันออกเฉียงเหนือขึ้น ระหว่างวันที่ 27 29
ศิลปหัตถกรรมนักเรียนภาคตะวันออกเฉียงเหนือขึ้น ระหว่างวันที่ 27 29Ming Gub Yang
 
โรคเบาหวาน
โรคเบาหวาน โรคเบาหวาน
โรคเบาหวาน tackysuttida
 
Diabete Mellitus 01
Diabete Mellitus 01Diabete Mellitus 01
Diabete Mellitus 01vora kun
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอมpannutchaya
 
โรคที่เกิดจากสูบบุหรี่ (1)
โรคที่เกิดจากสูบบุหรี่ (1)โรคที่เกิดจากสูบบุหรี่ (1)
โรคที่เกิดจากสูบบุหรี่ (1)Wan Ngamwongwan
 
เกล็ดความรู้เรื่องสุขภาพ
เกล็ดความรู้เรื่องสุขภาพเกล็ดความรู้เรื่องสุขภาพ
เกล็ดความรู้เรื่องสุขภาพZee Gopgap
 
งานสุขะ เรื่อง ความดันโลหิตสูง
งานสุขะ เรื่อง ความดันโลหิตสูงงานสุขะ เรื่อง ความดันโลหิตสูง
งานสุขะ เรื่อง ความดันโลหิตสูงappcheeze
 
อาหารตามหมู่เลือด
อาหารตามหมู่เลือดอาหารตามหมู่เลือด
อาหารตามหมู่เลือดVorawut Wongumpornpinit
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตUtai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตTuang Thidarat Apinya
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาโรคไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาโรคไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาโรคไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาโรคไตUtai Sukviwatsirikul
 

Similar to Diabetes manual2 (20)

Rehabilitabtion for Elderly
Rehabilitabtion for ElderlyRehabilitabtion for Elderly
Rehabilitabtion for Elderly
 
Present
PresentPresent
Present
 
โรคเบาหวาน
โรคเบาหวานโรคเบาหวาน
โรคเบาหวาน
 
โรคหลอดเลือดหัวใจ
โรคหลอดเลือดหัวใจโรคหลอดเลือดหัวใจ
โรคหลอดเลือดหัวใจ
 
โรคเบาหวาน
โรคเบาหวานโรคเบาหวาน
โรคเบาหวาน
 
เบาหวาน
เบาหวานเบาหวาน
เบาหวาน
 
เรื่อง โรคหลอดเลือดแข็งตัว(Atherosclerosis)
เรื่อง โรคหลอดเลือดแข็งตัว(Atherosclerosis)เรื่อง โรคหลอดเลือดแข็งตัว(Atherosclerosis)
เรื่อง โรคหลอดเลือดแข็งตัว(Atherosclerosis)
 
Update cardiac prevention rehabilitation 2014
Update cardiac prevention rehabilitation 2014Update cardiac prevention rehabilitation 2014
Update cardiac prevention rehabilitation 2014
 
Diabetes
DiabetesDiabetes
Diabetes
 
ศิลปหัตถกรรมนักเรียนภาคตะวันออกเฉียงเหนือขึ้น ระหว่างวันที่ 27 29
ศิลปหัตถกรรมนักเรียนภาคตะวันออกเฉียงเหนือขึ้น ระหว่างวันที่ 27 29ศิลปหัตถกรรมนักเรียนภาคตะวันออกเฉียงเหนือขึ้น ระหว่างวันที่ 27 29
ศิลปหัตถกรรมนักเรียนภาคตะวันออกเฉียงเหนือขึ้น ระหว่างวันที่ 27 29
 
โรคเบาหวาน
โรคเบาหวาน โรคเบาหวาน
โรคเบาหวาน
 
Diabete Mellitus 01
Diabete Mellitus 01Diabete Mellitus 01
Diabete Mellitus 01
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
โรคที่เกิดจากสูบบุหรี่ (1)
โรคที่เกิดจากสูบบุหรี่ (1)โรคที่เกิดจากสูบบุหรี่ (1)
โรคที่เกิดจากสูบบุหรี่ (1)
 
เกล็ดความรู้เรื่องสุขภาพ
เกล็ดความรู้เรื่องสุขภาพเกล็ดความรู้เรื่องสุขภาพ
เกล็ดความรู้เรื่องสุขภาพ
 
งานสุขะ เรื่อง ความดันโลหิตสูง
งานสุขะ เรื่อง ความดันโลหิตสูงงานสุขะ เรื่อง ความดันโลหิตสูง
งานสุขะ เรื่อง ความดันโลหิตสูง
 
อาหารตามหมู่เลือด
อาหารตามหมู่เลือดอาหารตามหมู่เลือด
อาหารตามหมู่เลือด
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาโรคไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาโรคไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาโรคไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาโรคไต
 

More from Utai Sukviwatsirikul

Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนNanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนUtai Sukviwatsirikul
 
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันClinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันUtai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...Utai Sukviwatsirikul
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaSaccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaUtai Sukviwatsirikul
 
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)Utai Sukviwatsirikul
 
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaDrugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaUtai Sukviwatsirikul
 
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Utai Sukviwatsirikul
 
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Utai Sukviwatsirikul
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Utai Sukviwatsirikul
 
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงUtai Sukviwatsirikul
 
ความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตUtai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)Utai Sukviwatsirikul
 
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการพระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการUtai Sukviwatsirikul
 
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินUtai Sukviwatsirikul
 
Clinical case emergency contraceptives
Clinical case emergency contraceptivesClinical case emergency contraceptives
Clinical case emergency contraceptivesUtai Sukviwatsirikul
 

More from Utai Sukviwatsirikul (20)

Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนNanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
 
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันClinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
 
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
 
Supply chain management
Supply chain managementSupply chain management
Supply chain management
 
Best practice in communication
Best practice in communicationBest practice in communication
Best practice in communication
 
Basic communication skills 2554
Basic communication skills 2554Basic communication skills 2554
Basic communication skills 2554
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaSaccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
 
SME Handbook
SME HandbookSME Handbook
SME Handbook
 
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
 
Scientific evidence of BIOFLOR
Scientific evidence of BIOFLORScientific evidence of BIOFLOR
Scientific evidence of BIOFLOR
 
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaDrugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
 
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
 
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
 
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
 
ความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไต
 
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
 
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการพระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
 
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
 
Clinical case emergency contraceptives
Clinical case emergency contraceptivesClinical case emergency contraceptives
Clinical case emergency contraceptives
 

Diabetes manual2

  • 1. คู่มือดูแลตนเองเมื่อเป็นเบาหวาน 2555 ผศ.ดร.รุ่งชัย ชวนไชยะกูล/วิทยาลัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการกีฬา ม.มหิดล 6 ตอนที่ 2. การดูแลตนเองเมื่อเป็นเบาหวาน การตรวจสอบเท้าในผู้ป่วยเบาหวาน เท้าเป็นอวัยวะเป้าหมายที่ต้องได้รับการดูแลเป็นอย่างดีที่สุดเพราะถูกซุกซ่อนหลบเร้นสายตาอยู่ในรองเท้าทั้งวัน (ในผู้ ที่ทางานออฟฟิศ) หรือเสี่ยงที่จะเกิดแผล (ในผู้ที่ทางานบ้าน-งานเกษตรและไม่ใส่รองเท้า) เมื่อผนวกกับความรู้สึกที่ผิดปกติที่ ปลายเท้า และหากตาแหน่งใดตาแหน่งหนึ่งของเท้าถูกกด ถูกเบียด ถูกของมีคมบาดเป็นแผลหรือขาดเลือดไปเลี้ยงก็จะทาให้ ลุกลามเกิดการสูญเสียอวัยวะได้ง่ายๆ เท้าจึงเป็นอวัยวะที่ผู้ป่วยเบาหวานต้องหมั่นตรวจสอบทุกวัน (เช้า-กลางวัน-เย็น แล้วแต่ความรุนแรงของโรค) ต้อง ตรวจสอบตนเองทั้งฝ่าเท้า ส้นเท้า นิ้วเท้า ด้านข้างใน-นอก ต้องตรวจสอบอย่างละเอียด ดังนี้ 1. การไหลเวียนเลือดที่เท้าว่ายังดีอยู่หรือเปล่า เช่นที่ตาตุ่มด้านในและที่หลังเท้า ฯลฯ หากการไหลเวียนเลือดยังดีอยู่ (สามารถจับการเต้นของชีพจรเป็นจังหวะ ตุ๊บๆๆ ได้) โอกาสเสี่ยงก็จะต่า 2. ปุ่มปม หนังหนา รอยจ้าแดง ผิวแตกปริ เป็นรอยเก่าหรือใหม่ 3. สีผิวและความอุ่นของเท้า 2 ข้างควรเหมือนกัน 4. กลิ่นเท้าโดยเฉพาะเมื่อถอดรองเท้าออก แสดงถึงการหมักหมมและโอกาสเน่า-ติดเชื้อได้ง่าย
  • 2. คู่มือดูแลตนเองเมื่อเป็นเบาหวาน 2555 ผศ.ดร.รุ่งชัย ชวนไชยะกูล/วิทยาลัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการกีฬา ม.มหิดล 7 ตรวจสอบการ หลเวียนเลือดหน้าเท้า ตรวจสอบรูปรางเท้า-ป่ม-ผนงหนา กระดก นิ้วโป้งขึ้น เส้นเลือดอยู่ ขนานกับเอ็น ตาตุ่มด้านใน เส้นเลือดใต้ตาตุ่ม ตรวจสอบการ หลเวียนเลือด ้างตาตมใน ตรวจสอบสีเท้า กล่นเท้า ? ? ตรวจสอบ วามรู้สกเท้า ้าง 2555 การดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวาน เท้าที่ได้รับการดูแลไม่ถูกต้องมีโอกาสเสี่ยงต่อการติดเชื้อได้ง่าย ความเข้าใจเรื่องการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวานมีดังนี้ 1. หมั่นตรวจสอบเท้าทุกวันหากทาด้วยตนเองให้ใช้แว่นขยายมอง ณ ตาแหน่งที่สงสัย (ผู้ป่วยเบาหวานมักมีปัญหา สายตา) แต่ควรให้คนอื่นตรวจสอบให้บ้างเพราะผู้ป่วยเบาหวานไม่สามารถก้มงอตัวมองเท้าตัวเองได้ครบทุกส่วน 2. ล้างเท้าทุกวันด้วยน้าอุ่นอุณหภูมิเดียวกับที่ใช้อายให้ทารกแรกคลอด ใช้นิ้วมือถูทาความสอาดซอกนิ้วเท้าเบาๆ (ห้าม ใช้แปรงถู) ผึ่งให้แห้งเองหรือซับแห้งด้วยผ้าขนหนูนุ่มๆ ห้ามขยี้ห้ามกดเฉพาะที่นานๆ 3. ทาครีมบารุงผิวที่ออกแบบสาหรับเท้าเท่านั้น และให้ทาซอกนิ้วเท้าได้ (อาจใช้ครีมทามือทาผิวทั่วไปทาเท้าได้แต่ไม่ ควรทาซอกนิ้ว บริเวณนี้มีการหมักหมมง่ายมาก)
  • 3. คู่มือดูแลตนเองเมื่อเป็นเบาหวาน 2555 ผศ.ดร.รุ่งชัย ชวนไชยะกูล/วิทยาลัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการกีฬา ม.มหิดล 8 4. การตัดเล็บเท้าควรให้คนอื่นทาให้ (ผู้ป่วยเบาหวานไม่สามารถก้มงอตัวมองเล็บเท้าตัวเองได้อย่างละเอียด) และต้อง ระมัดระวังเป็นพิเศษ ให้ตัดเสมอขอบเล็บเท่าที่มองเห็นเท่านั้น ห้ามตะลุยตัดงัดแงะซอกเล็บเด็ดขาด 5. กรณ๊เกิดแผลที่ซอกเล็บ ที่ส่วนใดส่วนหนึ่งของเท้าควรพบแพทย์โดยทันที อย่าฝืนรักษาเอง หม่นตรวจสอบเท้าทกวนเ ้า-เยน แล ทก รงที่ยืน-เดนนาน ใ ้แวน ยาย จดต้องสงสย อยาให้เท้าหมกหมม ล้างเท้าทกวนเ ้า-เยน ด้วยนาอน อนเทานาอาบเดกแรก ลอด บแห้งด้วยผ้านม ดยเ า อกเลบ อยา ด ูแรง ห้ามใ ้แปรง ทา ล ่นกนเท้าแตก แต ม วรทาที่ อกนว เ รา อาจหมกหมมเป็นที่กอเ ือรา ตดเลบ อดีรอง อกเลบที่เหน อยาตดสน หรือลกมากจ ทาให้เกดเลบ บ-เป็นแผล ด้ แล วรให้ นอื่นตดเลบให้ บแ ทยทนทีเมื่อเกดแผลที่เท้า 2555 ส่งที่ ม วรทาในผู้ที่เป็นเบาหวาน การปฏิบัติตัวหลายๆอย่างที่ควรงดเว้น และการจัดวางสิ่งของเครื่องใช้ในบ้านโดยไม่คานึงว่าผู้เป็นเบาหวานมีความ เสี่ยงสูงกว่าคนทั่วไปที่จะเกิดการบาดเจ็บที่นาไปสู่ความสูญเสียอวัยวะได้
  • 4. คู่มือดูแลตนเองเมื่อเป็นเบาหวาน 2555 ผศ.ดร.รุ่งชัย ชวนไชยะกูล/วิทยาลัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการกีฬา ม.มหิดล 9 เดนเท้าเปลาวางส่งกีด วางทางเดนเดนป่า ยืนเ ยง ีเหนียวกบการ ือรองเท้าใหม หนีบ องมี มด้วยเท้า ปร บร้อน ปร บเยนด้วยตนเอง เท้า ูกกดทบเป็นเวลานาน ม วบ มนาหนก แก เกาผวหนงเท้า นผ้ายืดแนนมากือรองเท้า ดย ม ด้ลอง 2555 ส่งที่ วรทาในผู้ที่เป็นเบาหวาน
  • 5. คู่มือดูแลตนเองเมื่อเป็นเบาหวาน 2555 ผศ.ดร.รุ่งชัย ชวนไชยะกูล/วิทยาลัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการกีฬา ม.มหิดล 10 อยู่ภายใต้หลักการ 2 ประการคือ ต้องป้องกันไม่ให้เกิดแผลที่เท้าและต้องให้เท้าได้พักผ่อนในวงรอบวัน เพราะเราทุก คนต้องประกอบอาชีพ-ทางาน-เดินทุกวัน จึงต้องช่วยผ่อนคลายไม่ให้เท้าเครียดมากเกินไป อาทิ การเสริมแผ่นรองเท้าต้องนุ่ม และลดแรงกดที่ฝ่าเท้าได้ ต้องไม่ใช้พื้นรองเท้าที่แข็งหรือถูกใช้งานมานานจนผิดรูป-หมดความยืดหยุ่น การใช้ถุงเท้าตลอดเวลา ทั้งการทางานในระหว่างวันและเมื่อนอนในเวลากลางคืน โดยเฉพาะผู้ป่วยเบาหวานที่นอนในห้องปรับอากาศ เสรมแผนรองเท้า ใส งเท้าแห้ง ส อาด มหลวม มรดเปลี่ยนใหมบอย ใส งเท้านอนเท้า ด้รบการ กผอนสม่าเสมอ 2555 การออกกาลงกายมีปร ย นอยาง ร ผู้ป่วยเบาหวานจาเป็นต้องออกกาลังกายอย่างสม่าเสมอ มีประโยชน์ในหลายด้าน เช่น 1. ช่วยลดระดับน้าตาลในเลือดโดยเป็นการเพิ่มการใช้พลังงานในผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 1 และช่วยลดภาวะดื้อต่ออินซูลิน และ ลดการสร้างกลูโคสจากตับในผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2
  • 6. คู่มือดูแลตนเองเมื่อเป็นเบาหวาน 2555 ผศ.ดร.รุ่งชัย ชวนไชยะกูล/วิทยาลัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการกีฬา ม.มหิดล 11 2. ช่วยลดระดับไขมันในเลือด ทั้งระดับไขมันโคเลสเตอรอลตัวไม่ดี (LDL) และช่วยเพิ่มไขมันโคเลสเตอรอลตัวดี (HDL) 3. ช่วยลดความดันโลหิตในผู้ป่วยที่มีโรคความดันโลหิตสูง ทาให้การทางานของหัวใจและระบบการไหลเวียนของเลือดดีขึ้น 4. ช่วยเพิ่มความแข็งแรงของกล้ามเนื้อและข้อต่างๆ ช่วยลดความเครียด รู้สึกสดชื่น การออกกาลงที่ ม วรแล วรทาในผู้ที่เป็นเบาหวาน ผู้ป่วยเบาหวานจะได้รับคาแนะนาให้ออกกาลังกาย และจาเป็นต้องทราบว่าไม่ได้หมายถึงการออกกาลังกายอะไรก็ได้ ที่จริงแล้วการออกกาลังกายในผู้ป่วยเบาหวานมีหลักการง่ายๆคือ ต้องไม่สร้างแรงกด-แรงกระแทกซ้าๆบนฝ่าเท้า ดังนั้น กิจกรรมการเต้นแอโรบิค (โดยเฉพาะ Step aerobic ที่มีการก้าวขึ้น-ลงกล่องเล็กๆและหมุนตัวเร็วๆ) จึงไม่เหมาะสมสาหรับผู้ป่วย เบาหวานซึ่งมักมีอายุมาก และมีโอกาสเจ็บที่เท้า กิจกรรมที่แนะนาจึงเป็นการเคลื่อนไหวช้า มีความมั่นคงสูงและให้ทาซ้าๆสลับข้าง
  • 7. คู่มือดูแลตนเองเมื่อเป็นเบาหวาน 2555 ผศ.ดร.รุ่งชัย ชวนไชยะกูล/วิทยาลัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการกีฬา ม.มหิดล 12 แอ รบ ที่มีแรงกร แทกบน ่าเท้า เดนย่า-ลยนากร ดดอยูกบที่ เดนเรว ี่จกรยาน ยกนาหนกเบา าว่งบนลู 2555 ทางเลือกในการออกกาลงกายในผู้ป่วยเบาหวาน มีทางเลือกหลายทาง ทั้งที่เป็นการออกกาลังกายที่มีรูปแบบและการนากิจกรรมประจาวันทั่วไปมาประยุกต์ใช้ โดยให้ ทาต่อเนื่อง 20 ถึง 40 นาทีแล้วแต่ว่ากิจกรรมนั้นหนักมากเพียงใด และหากเป็นกิจกรรมการเล่นกีฬาจาเป็นต้องมีการเตรียม ร่างกายให้พร้อมด้วยการยืดเหยียดก่อนและหลังการออกกาลังกาย
  • 8. คู่มือดูแลตนเองเมื่อเป็นเบาหวาน 2555 ผศ.ดร.รุ่งชัย ชวนไชยะกูล/วิทยาลัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการกีฬา ม.มหิดล 13 ตอเนื่อง 30 นาทีตอวน 4 วนตอสปดาห ยืดเหยียด 5 นาที กอนออกกาลงกาย เดน รงล 10 นาที เ ้า กลางวน เยน ตดห ้า 20 นาที ยืดเหยียด5 นาที หลงออกกาลงกาย ย 30 นาที หรือ หรือ งานบ้าน 40 นาที 2555 ้อ วรร วงในผู้ที่มีภาว นาตาลต่า ด้งาย การออกกาลังในผู้ป่วยที่มีภาวะน้าตาลต่าได้ง่ายๆ จึงต้องตรวจระดับน้าตาลในเลือดก่อนออกกาลังกาย ดังนี้  ถ้าค่าน้าตาลในเลือดอยู่ระหว่าง 80-180 มก/ดล ควรรับประทานอาหารว่างเล็กน้อยก่อนออกกาลังกาย  ถ้าค่าน้าตาลในเลือดอยู่ระหว่า 180-240 มก/ดล ไม่ต้องรับประทานอาหารว่าง แต่อาจให้ในระหว่าง 30-60 นาทีของ การออกกาลังกาย หลังจากการออกกาลังกายอาจเกิดภาวะน้าตาลในเลือดต่าได้ ควรตรวจระดับน้าตาลในเลือดเพื่อประเมินว่าจาเป็นต้อง รับประทานอาหารว่างหรือไม่ จะให้รับประทานอาหารว่างกรณีที่น้าตาลในเลือดต่ามากเท่านั้น
  • 9. คู่มือดูแลตนเองเมื่อเป็นเบาหวาน 2555 ผศ.ดร.รุ่งชัย ชวนไชยะกูล/วิทยาลัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการกีฬา ม.มหิดล 14 ลดอน ูลน ีดหรือกน * ลง 30-50% ที่ร ดบปานกลาง** อาหารแปง - า นาทีกอนออกกาลงกาย * หมายถึงอินซูลินที่ออก ท ิเร็วและทาให้น้าตาลในเลือดต่าทันที ** หมายถึงชีพจรเพิ่มขึ้นจากระยะพักอีก30-40ครั้ง หากมีภาว นาตาลต่าอาจต้อง ทานอาหารแปง-นาหวาน หลงออกกาลงกายร หวางออกกาลงกายกอนออกกาลงกาย เดน หรือ ี่จกรยานตอเนื่อง 30 นาที 3 รงตอสปดาห เป็นอยางน้อย 2555 วรปรก าแ ทยรวมด้วย การออกกาลงกายที่แน นาในผู้ป่วยเบาหวาน สมาคมเบาหวานแห่งสหรัฐอเมริกาแนะนากิจกรรมอย่างใดอย่างหนึ่งต่อไปนี้ เช่น การเพิ่มกิจกรรมทางกาย การไป ร่วมออกกาลังกายแบบแอโรบิค หรือการออกกาลังกายในห้องยิม ฯลฯ แต่ต้องไม่มีความเสี่ยงที่จะทาให้เกิดแผล การล้ม การฉีก ขาดของกล้ามเนื้อ
  • 10. คู่มือดูแลตนเองเมื่อเป็นเบาหวาน 2555 ผศ.ดร.รุ่งชัย ชวนไชยะกูล/วิทยาลัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการกีฬา ม.มหิดล 15 1 2 การ ก ตวอยางกจกรรม กี่ รง ทาหนกแ หน ทากี่นาที กจกรรมท่ว ป เดนทางราบ เดน นบน ด ทาสวน ทกวน ร หวางออกกาลงกาย ยง ูด ย ด้ หรือ ี จร เ ่มปร มา 30 รง/นาทีจากร ย ก มากกวา 30 นาที แอ รบ เดนเรว ว่งเหยา ี่จกรยาน วายนา เต้นแอ รบ 3-5 วน/ สปดาห เร่มหอบแตยง ูด ย ด้ หรือ ี จรเ ่มปร มา 50 รง/นาทีจาก ร ย ก 30-60 นาที กในห้องยม ยางยืด ต้มนาหนก เ รื่องเลน weight 2-3 วน/ สปดาห เร่มล้ากล้ามเนือนน แตยง ูด ย ด้ 8-10 ทา ทา ล 8-12 รง Kriska AM, Blair SN and Pereia MA. Exerc.Sports Sci Rev. 1994, 22:121-143. Swedish Naional Institute of Health. Physical Activity in he Prevention and Treatment of Disease: Professional Association for Physical Activity (Sweden). 2010. (ไม่แนะนาในผู้ที่มีปัญหาสายตา ร่วมด้วย) 2555 วามหนกในการออกกาลงกายในผู้ป่วยเบาหวาน สมาคมเบาหวานแห่งประเทศสหรัฐอเมริกาแนะนาการออกกาลังกายที่ถูกต้องในผู้ป่วยเบาหวาน คือ การออกกาลังกาย ชนิดแอโรบิกที่ระดับความหนักปานกลางและนานพอเพื่อให้หัวใจทางานหนักและมีการใช้พลังงานเพิ่มขึ้น มีดัชนีชี้วัดความ หนักของการออกกาลังกาย ดังนี้ 1. ใช้ชีพจรโดยคานวณจากอายุ (ในหน่วยปี) ของผู้ออกกาลังกาย ชีพจรที่ระดับความหนักปานกลาง = (220 – อายุ) x 50/100 สาหรับผู้เริ่มต้น ชีพจรที่ระดับความหนักปานกลาง = (220 – อายุ) x 70/100 สาหรับผู้ที่ออกกาลังมานานแล้ว (และควรคงที่ที่ ระดับนี้ไปตลอด) เช่น นายเท่ง อายุ 60 ปี มีชีพจรระยะพัก 70 ครั้ง/นาที อยากเริ่มออกกาลังกายให้ได้ผลภายใน 3 เดือน ควรปฏิบัติดังนี้
  • 11. คู่มือดูแลตนเองเมื่อเป็นเบาหวาน 2555 ผศ.ดร.รุ่งชัย ชวนไชยะกูล/วิทยาลัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการกีฬา ม.มหิดล 16 ความหนักที่ควรเริ่มต้นสาหรับนายเท่ง = (220 – 60) x 50/100 = 80 ครั้ง/นาที (เพิ่มจากระยะพัก 10 ครั้ง/นาที = 70 + 10 หรือมากกว่านี้เล็กน้อยในวันแรก-2 สัปดาห์แรก) นายเท่งค่อยเพิ่มระยะทางหรือระยะเวลาในการออกกาลังกายวันละน้อยเพื่อให้ชีพจรมากขึ้นไปอีก และความหนักในเดือนที่ 3 สาหรับนายเท่ง = (220 – 60) x 70/100 = 56 ครั้ง/นาที (ระยะพัก 70 + 56) = 110- 120 ครั้งต่อนาที จบ ี จรตรง านนว ปง ตรงรอยหยก ้อมือ นบ ี จรในเวลา 15 วนาที ู 4 จ เป็น ี จรใน 1 นาที เ นนบ ี จรในเวลา 15 วนาที ด้ 20 รง ู 4 = 20 x 4 = 80 ี จร ือ 80 รงตอนาที 2555 2. ใช้วิ ีพูดกับตัวเอง (Self – Talk Test) ออกกาลังกายชนิดหนักปานกลาง คือยังต้องสามารถพูดคุยได้เป็นประโยคต่อเนื่องไม่ขาดๆหายๆเป็นช่วงๆ การปร เมนส ภา กอนออกกาลงกาย ก่อนเข้าสู่โปรแกรมฝึกออกกาลังกาย ผู้ป่วยเบาหวานส่วนใหญ่ที่มักมีภาวะแทรกซ้อนซ่อนเร้นอยู่ จึงควรได้รับการ ประเมินสุขภาพจากแพทย์เพื่อหาโรค-ภาวะแทรกซ้อนบางอย่างที่อาจมีผลเสีย/เป็นอุปสรรค เช่น
  • 12. คู่มือดูแลตนเองเมื่อเป็นเบาหวาน 2555 ผศ.ดร.รุ่งชัย ชวนไชยะกูล/วิทยาลัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการกีฬา ม.มหิดล 17  การประเมินประเภทการออกกาลังกายที่เหมาะสมเฉพาะบุคคล  การประเมินเฉพาะผู้ที่มีความเสี่ยงภาวะหัวใจไม่ปกติ การประเมินหลอดเลือดส่วนปลาย  คาแนะนาให้หยุดออกกาลังกายเมื่อมีอาการผิดปกติ เช่น รู้สึกเหนื่อยมาก หอบ เวียนศีรษะ ฯลฯ ควรปรึกษาแพทย์ การเตรียมตว ปออกกาลงกายนอกบ้าน 1. สวมถุงเท้าหนา สวมรวมเท้ารองเท้ากีฬาขนาดพอดี ไม่คับหรือหลวมเกินไป (รองเท้าที่เหมาะสมเมื่อใส่แล้วต้องเอา นิ้วมือ 1 นิ้วสอดที่ด้านหลังได้พอดีและเมื่อบีบหัวรองเท้าแล้วต้องมีช่องว่างระหว่างหัวแม่เท้ากับหน้ารองเท้า 1 นิ้วมือ) 2. ตรวจดูเท้าทุกครั้งก่อน-หลังจากออกกาลังกายว่ามีตุ่มพองหรือแผลถลอกหรือรอยจ้าแดง-บวมหรือไม่ 3. พบบัตรประจาตัวว่าเป็นเบาหวาน และเตรียมลูกอม สาหรับแก้ไขภาวะน้าตาลต่า 4. ควรมีเพื่อนร่วมออกกาลังหรือบอกญาติว่าท่านจะไปออกกาลังกายเส้นทางไหน การเลือกรองเท้าในผู้ที่เป็นเบาหวาน รองเท้าเป็นประเด็นสาคัญมากในผู้ที่เป็นเบาหวานเพราะเราต้องสวมใส่อยู่ตลอดเวลา รองเท้าที่เหมาะสมกับผู้ที่เป็น เบาหวานนั้นไม่ใช่จะไปหาซื้อได้ตามร้านค้าทั่วไป ที่จริงแล้วควรพบแพทย์หรือผู้เชี่ยวชาญด้านรองเท้า รองเท้าที่ดีสาหรับผู้ป่วยเบาหวานต้องตัดเย็บด้วยวัสดุที่เป็นชิ้นเดียวหรือมีรอยต่อน้อยที่สุด พื้นนิ่ม และมีรูระบาย อากาศที่ด้านหน้า มีแผ่นป้องกันการเสียดสีด้านหลังรองเท้า เชือกรองเท้านิ่มหรืออาจใช้แผ่นยึดตีนตุ๊กแก เมื่อเลือกซื้อควร ทดลองเดินนานๆ เดินทางตรง เดินเลี้ยวซ้าย-ขวาหลายๆรอบ ถอด-สวมตรวจสอบว่าไม่ทาให้เกิดแรงกด-รอยจ้าแดง จนแน่ใจ ในทางกลับกัน ไม่แนะนาให้ใช้รองเท้าหัวตัด (นิ้วเท้าโผล่เสี่ยงต่อการเกิดแผลจากการเตะกระแทก) รองเท้าหุ้มข้อ มิดชิด (จนไม่สามารถสังเกตุอะไรภายในเท้าได้)
  • 13. คู่มือดูแลตนเองเมื่อเป็นเบาหวาน 2555 ผศ.ดร.รุ่งชัย ชวนไชยะกูล/วิทยาลัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการกีฬา ม.มหิดล 18 ต้องลองสวม-แล ลองเดนนาน-จน น จงจ ือ ม บ รองเท้าที่ มแน นา รองเท้าที่แน นา ใส ปทางาน รองเท้าเบาหวาน มมีวาง ายท่ว ป แล มจาเป็นต้องสวยงาม-นาสมย มหลวม รองเท้าที่เหมา สมเมื่อใสแล้วต้องเอานวมือ นวสอด ด้ อดี เป็นชิ้นเดียวไม่มี รอยต่อมีช่อง ระบายอากาศ นิ่มมีขอบ กันกระแทก ผนังด้านในบุนุ่ม เชือกรองเท้านุ่ม พื้นนอกเป็นยางดิบนุ่ม ซ่นเว้าช่วยลดแรงกระแทก ปรบรองเท้า เ น เจา รูทา Doughnut บรเว ที่เ ย ดนกด 2555