SlideShare a Scribd company logo
1 of 202
Download to read offline
แนวโนมการเติบโตของชุมชนในเขตกรุงเทพมหานคร
ป พ.ศ. 2554
กองนโยบายและแผนงาน
สํานักผังเมือง กรุงเทพมหานคร
คํานํา
รายงานการศึกษา เรื่อง “แนวโนมการเติบโตของชุมชนในเขตกรุงเทพมหานคร ป พ.ศ.2554”
ฉบับนี้ เปนสวนหนึ่งของการศึกษาขอมูลดานที่อยูอาศัย ประเภทชุมชนในเขตกรุงเทพมหานครปปจจุบัน
ประกอบดวย ที่ตั้งชุมชน ประเภทชุมชน จํานวนบาน จํานวนครัวเรือน จํานวนพื้นที่และกรรมสิทธิ์ในที่ดินของ
ชุมชนในที่ดินของชุมชนในแตละพื้นที่ของกรุงเทพมหานคร เพื่อใชเปนขอมูลพื้นฐานประกอบการวางและจัดทํา
ผังเมืองรวม กรุงเทพมหานครรวมทั้งเปนแนวทางในการพัฒนาและแกไขปญหาตางๆ ของเมืองที่อาจเกิดขึ้นใน
อนาคต
เอกสารฉบับนี้ สําเร็จลุลวงดวยดี ดวยความรวมมือจากหนวยงานตางๆ อาทิ ฝายพัฒนาชุมชนและ
สวัสดิการสังคม สํานักงานเขต 50เขต ซึ่งกองนโยบายและแผนงาน สํานักผังเมือง ขอขอบคุณมา ณ โอกาสนี้ และ
กองนโยบายและแผนงาน สํานักผังเมือง กรุงเทพมหานคร หวังเปนอยางยิ่งวารายงานการศึกษาฉบับนี้คงจะเปน
ประโยชนแกหนวยงานที่เกี่ยวของไดไมมากก็นอย
กองนโยบายและแผนงาน
สํานักผังเมือง กรุงเทพมหานคร
สิงหาคม 2555
หนา
คํานํา
สารบัญ
สารบัญตาราง
สารบัญแผนภูมิ
สารบัญแผนที่
บทที่ 1 บทนํา
- ความเปนมาของปญหา 1
- วัตถุประสงค 1
- ขอบเขตการศึกษา 1
- วิธีการดําเนินการศึกษา 2
- ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ 2
บทที่ 2 ทฤษฎีและแนวคิดที่เกี่ยวของ
- นิยามศัพท 3
- กฎกระทรวงใหใชบังคับผังเมืองรวม กรุงเทพมหานคร พ.ศ.2549 3
- ผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร (ปรับปรุงครั้งที่ 1) พ.ศ.2542 5
- ระเบียบกรุงเทพมหานครวาดวยกรรมการชุมชน พ.ศ. 2534 6
- ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการจัดใหมีโฉนดชุมชน พ.ศ. 2553 7
บทที่ 3 ชุมชนในเขตกรุงเทพมหานคร
- สภาพทั่วไปของชุมชนในเขตกรุงเทพมหานคร 8
- ที่ตั้งและการกระจายตัวของชุมชนในเขตกรุงเทพมหานคร 8
บทที่ 4 ผลการศึกษาชุมชนในเขตกรุงเทพมหานคร
- แนวโนมการเปลี่ยนแปลงชุมชนในเขตกรุงเทพมหานคร 35
บทที่ 5 สรุปผลการศึกษาและขอเสนอแนะ 38
บรรณานุกรม 48
ภาคผนวก - ตารางแสดงประเภทชุมชน พื้นที่ จํานวนประชากร จํานวนบาน จํานวนครัวเรือน (1)-(141)
และกรรมสิทธิ์ในที่ดินของชุมชนในเขตกรุงเทพมหานคร ป พ.ศ. 2554
จําแนกตามรายเขต
คณะผูดําเนินการ
สารบัญ
หนา
ตารางที่ 1 จํานวนและประเภทชุมชนในกรุงเทพมหานคร 19
จําแนกตามกลุมเขต ป พ.ศ. 2554
ตารางที่ 2 จํานวนและประเภทชุมชนในกรุงเทพมหานคร 20
จําแนกตามรายเขต ป พ.ศ. 2554
ตารางที่ 3 จํานวนชุมชน จํานวนพื้นที่ จํานวนประชากร จํานวนบาน จํานวนครัวเรือน 22
ในกรุงเทพมหานคร จําแนกตามกลุมเขต ป พ.ศ.2554
ตารางที่ 4 จํานวนชุมชน จํานวนพื้นที่ จํานวนประชากร จํานวนบาน 23
จํานวนครัวเรือน ในกรุงเทพมหานคร จําแนกตามรายเขต ป พ.ศ.2554
ตารางที่ 5 การเปรียบเทียบจํานวนชุมชนและประเภทชุมชนในกรุงเทพมหานคร จําแนกตามกลุม 41
ป พ.ศ. 2553 - ป พ.ศ. 2554
ตารางที่ 6 การเปรียบเทียบจํานวนชุมชนและประเภทชุมชนในกรุงเทพมหานคร จําแนกตามรายเ 42
ป พ.ศ. 2553 - ป พ.ศ. 2554
สารบัญตาราง
หนา
แผนภูมิที่ 1 จํานวนชุมชนในกรุงเทพมหานคร จําแนกตามกลุมเขต ป พ.ศ. 2554 25
แผนภูมิที่ 2 ประเภทชุมชนในกรุงเทพมหานคร จําแนกตามกลุมเขต ป พ.ศ. 2554 25
แผนภูมิที่ 3 จํานวนชุมชนในกรุงเทพมหานคร จําแนกตามรายเขต ป พ.ศ. 2554 26
แผนภูมิที่ 4 ประเภทชุมชน ในกรุงเทพมหานคร จําแนกตามรายเขต ป พ.ศ.2554 27
แผนภูมิที่ 5 แสดงจํานวนชุมชน จํานวนประชากร จํานวนบาน จํานวนครัวเรือน 28
จําแนกตามรายเขต ป พ.ศ.2554
แผนภูมิที่ 6 การเปรียบเทียบจํานวนชุมชนในกรุงเทพมหานคร 46
จําแนกตามรายเขต ป พ.ศ. 2553 - ป พ.ศ. 2554
แผนภูมิที่ 7 การเปรียบเทียบประเภทชุมชนในกรุงเทพมหานคร 47
จําแนกตามกลุมเขต ป พ.ศ. 2553- ป พ.ศ.2554
สารบัญแผนภูมิ
หนา
แผนที่ ที่ 1 ที่ตั้งชุมชนในเขตกรุงเทพมหานคร ป พ.ศ. 2554 29
แผนที่ ที่ 2 ที่ตั้งชุมชน (ประเภทชุมชนแออัด) ในเขตกรุงเทพมหานคร ป พ.ศ. 2554 30
แผนที่ ที่ 3 ที่ตั้งชุมชน (ประเภทชุมชนหมูบานจัดสรร) ในเขตกรุงเทพมหานคร ป พ.ศ. 2554 31
แผนที่ ที่ 4 ที่ตั้งชุมชน (ประเภทชุมชนชานเมือง) ในเขตกรุงเทพมหานคร ป พ.ศ. 2554 32
แผนที่ ที่ 5 ที่ตั้งชุมชน (ประเภทชุมชนเมือง) ในเขตกรุงเทพมหานคร ป พ.ศ. 2554 33
แผนที่ ที่ 6 ที่ตั้งชุมชน (ประเภทเคหะชุมชน) ในเขตกรุงเทพมหานคร ป พ.ศ. 2554 34
สารบัญแผนที่
ตารางแสดงประเภทชุมชน พื้นที่ จํานวนประชากร จํานวนบาน จํานวนครัวเรือน และกรรมสิทธิ์ในที่ดิน
ของชุมชนในเขตกรุงเทพมหานคร ป พ.ศ.2554
หนา
ตารางที่ 1 เขตพระนคร (1)
ตารางที่ 2 เขตปอมปราบศัตรูพาย (3)
ตารางที่ 3 เขตสัมพันธวงศ (4)
ตารางที่ 4 เขตปทุมวัน (6)
ตารางที่ 5 เขตราชเทวี (7)
ตารางที่ 6 เขตบางรัก (9)
ตารางที่ 7 เขตดุสิต (11)
ตารางที่ 8 เขตพญาไท (14)
ตารางที่ 9 เขตสาทร (16)
ตารางที่ 10 เขตยานนาวา (18)
ตารางที่ 11 เขตบางคอแหลม (20)
ตารางที่ 12 เขตบางซื่อ (22)
ตารางที่ 13 เขตจตุจักร (25)
ตารางที่ 14 เขตหวยขวาง (28)
ตารางที่ 15 เขตดินแดง (30)
ตารางที่ 16 เขตคลองเตย (32)
ตารางที่ 17 เขตวัฒนา (35)
ตารางที่ 18 เขตบางพลัด (37)
ตารางที่ 19 เขตบางกอกนอย (40)
ตารางที่ 20 เขตบางกอกใหญ (43)
ตารางที่ 21 เขตคลองสาน (45)
ตารางที่ 22 เขตธนบุรี (48)
ตารางที่ 23 เขตดอนเมือง (51)
ตารางที่ 24 เขตหลักสี่ (56)
ตารางที่ 25 เขตบางเขน (61)
ตารางที่ 26 เขตสายไหม (66)
ตารางที่ 27 เขตลาดพราว (71)
สารบัญภาคผนวก
หนา
ตารางที่ 28 เขตบางกะป (73)
ตารางที่ 29 เขตวังทองหลาง (75)
ตารางที่ 30 เขตพระโขนง (77)
ตารางที่ 31 เขตบางนา (80)
ตารางที่ 32 เขตประเวศ (83)
ตารางที่ 33 เขตสวนหลวง (86)
ตารางที่ 34 เขตบึงกุม (89)
ตารางที่ 35 เขตคันนายาว (92)
ตารางที่ 36 เขตสะพานสูง (95)
ตารางที่ 37 เขตตลิ่งชัน (97)
ตารางที่ 38 เขตทวีวัฒนา (100)
ตารางที่ 39 เขตภาษีเจริญ (101)
ตารางที่ 40 เขตบางแค (105)
ตารางที่ 41 เขตหนองแขม (108)
ตารางที่ 42 เขตราษฎรบูรณะ (112)
ตารางที่ 43 เขตทุงครุ (114)
ตารางที่ 44 เขตจอมทอง (116)
ตารางที่ 45 เขตมีนบุรี (120)
ตารางที่ 46 เขตคลองสามวา (124)
ตารางที่ 47 เขตลาดกระบัง (129)
ตารางที่ 48 เขตหนองจอก (133)
ตารางที่ 49 เขตบางขุนเทียน (138)
ตารางที่ 50 เขตบางบอน (141)
สารบัญภาคผนวก (ตอ)
บทที่ 1
บทนํา
ความเปนมาของปญหา
ปจจุบันชุมชนในเขตกรุงเทพมหานครมีการขยายตัวอยางรวดเร็ว แตไมมีความพรอมในดาน
การจัดบริการพื้นฐานในการดํารงชีวิตใหแกผูอยูอาศัยในชุมชน ขาดการวางแผนควบคุมการใชประโยชนที่ดิน
อยางมีประสิทธิภาพ ทําใหเกิดการตั้งถิ่นฐานอยางไรทิศทาง เกิดชุมชนแออัด เกิดผูดอยโอกาสทั้งในดาน
การศึกษาและการหารายไดในการดํารงชีวิต ชุมชนมีสภาพทรุดโทรมไรระเบียบ
กรุงเทพมหานคร มุงเนนการพัฒนาและปรับปรุงชุมชนในเขตกรุงเทพมหานครใหมีความเปน
ระเบียบ มีความสวยงาม เพื่อใหมีการใชประโยชนที่ดินอยางมีประสิทธิภาพ สามารถรองรับและสอดคลองกับ
การขยายตัวของเมืองในอนาคต สงเสริมพัฒนาเศรษฐกิจ และโครงขายการบริการสาธารณะ สงเสริมการพัฒนา
ดานที่อยูอาศัยของผูมีรายไดนอย พัฒนาการบริการทางสังคม การบริการสาธารณูปโภค สาธารณูปการ ให
เพียงพอและไดมาตรฐาน มีคุณภาพมากขึ้น ควบคุมสภาพแวดลอมของชุมชนใหเหมาะสมกับการอยูอาศัย โดย
สอดคลองกับแผนพัฒนาที่อยูอาศัย ในชวงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ซึ่งมุงเนนการพัฒนาความ
มั่นคงในสิทธิการอยูอาศัยของผูมีรายไดนอย จึงเปนสาเหตุใหมีการศึกษาขอมูลของชุมชน ซึ่งเปนขอมูลพื้นฐาน
สําคัญอันจะทําใหเขาใจถึงลักษณะและขอเท็จจริงของชุมชนในเขตกรุงเทพมหานครและเพื่อเปนแนวทางในการ
พัฒนาและแกไขปญหาตาง ๆ ของเมืองที่อาจจะเกิดขึ้นในอนาคต
วัตถุประสงค
1. เพื่อทราบถึงจํานวนที่ตั้งและการกระจายตัวของชุมชนในเขตกรุงเทพมหานครปปจจุบัน
2. เพื่อทราบถึงแนวโนม การเติบโตของชุมชนในเขตกรุงเทพมหานครปปจจุบัน
3. เพื่อเปนแนวทางประกอบการวางและจัดทําผังเมืองรวม กรุงเทพมหานครตลอดจนวางแผน
พัฒนา ปรับปรุงแกไขปญหาดานตาง ๆ ของเมืองในอนาคต
4. เพื่อเปนขอมูลพื้นฐานประกอบการดําเนินงานของหนวยงานอื่นๆ ที่เกี่ยวของ
ขอบเขตการศึกษา
ในการศึกษาครั้งนี้เปนการศึกษาแนวโนมการเติบโตของชุมชนในเขตกรุงเทพมหานคร ป พ.ศ.2554
โดยจะทําการศึกษาชุมชนในความหมายตามระเบียบกรุงเทพมหานครวาดวยกรรมการชุมชน พ.ศ. 2534 หมายถึง
ชุมชนแออัด ชุมชนหมูบานจัดสรร ชุมชนชานเมือง ชุมชนเมืองและเคหะชุมชน ซึ่งกรุงเทพมหานครได
ประกาศกําหนดเปนชุมชน โดยมุงศึกษาถึงจํานวนที่ตั้ง การกระจายตัวของชุมชน และแนวโนมการเติบโตของ
ชุมชนในพื้นที่เขตกรุงเทพมหานครป พ.ศ. 2554 เพื่อเปนแนวทางปรับปรุง พัฒนาและดําเนินการประกอบการ
วางและจัดทําผังเมืองรวมกรุงเทพมหานครตอไป
วิธีการดําเนินการศึกษา
1. ศึกษา และรวบรวมขอมูลดานชุมชนในกรุงเทพมหานคร ปปจจุบัน(พ.ศ. 2554) จาก
ฝายพัฒนาชุมชนและสวัสดิการสังคม สํานักงานเขต 50 เขต ของกรุงเทพมหานคร
2. วิเคราะห และประมวลผลการกระจายตัวของชุมชนในเขตตางๆ ของกรุงเทพมหานคร
3. สรุปผลการศึกษา และขอเสนอแนะ
ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ
1. ทําใหทราบถึงจํานวนที่ตั้ง และการกระจายตัวของชุมชนในเขตกรุงเทพมหานครปปจจุบัน
2. ทําใหทราบถึงแนวโนมการเติบโตของชุมชนในเขตกรุงเทพมหานคร ป พ.ศ.2554
3. เพื่อประกอบการวางและจัดทําผังเมืองรวม กรุงเทพมหานคร และผังพัฒนาเขต
4. เปนขอมูลพื้นฐานเพื่อเปนประโยชนแกกรุงเทพมหานคร และหนวยงานที่เกี่ยวของ
ในดานที่อยูอาศัย ประเภทชุมชนในเขตกรุงเทพมหานคร
บทที่ 2
ทฤษฎีและแนวคิดที่เกี่ยวเของ
(1) กฎกระทรวงใหใชบังคับผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร พ.ศ.2549
1.1 นิยามศัพท
“การใชประโยชนที่ดิน” หมายความวา การใชประโยชนที่ดิน เพื่อประกอบกิจกรรมใดๆ ไมวา
กิจการนั้นจะกระทําบนพื้นดิน เหนือพื้นดิน หรือใตพื้นที่ดินและไมวาจะอยูภายในอาคารหรือนอกอาคาร
(กฏกระทรวงใหใชบังคับผังเมืองรวมกรุงทพมหานคร พ.ศ.2549)
“การอยูอาศัย” หมายถึง การเขาไปเพื่อกินอยูหลับนอน เปนปกติวิสัยอยางถาวรใน
อาคารที่เปนบานเดี่ยว บานแฝด เรือนแถว อาคารชุด หอพัก อพารทเมนต เปนตน (กฎกระทรวงใหใชบังคับ
ผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2549)
“อาคารอยูอาศัย” หมายความวา อาคารซึ่งโดยปกติบุคคล ใชอยูอาศัยไดทั้งกลางวัน
และกลางคืน ไมวาจะเปนการอยูอาศัยอยางถาวรหรือชั่วคราว (กฎกระทรวงใหใชบังคับผังเมืองรวม
กรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2549)
1.2 กฎกระทรวงใหใชบังคับผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร พ.ศ.2549 ไดจําแนกประเภทการใช
ประโยชนที่ดินไวจํานวน 10 ประเภท คือ
1. ที่ดินประเภทที่อยูอาศัยหนาแนนนอย (สีเหลือง) แบงออกเปน 4 ประเภท (ย.1 – ย.4)
โดยประเภท ย.1 บริเวณที่สงเสริมสภาพแวดลอมของการอยูอาศัยบริเวณเขตชานเมือง ประเภท ย.2 บริเวณที่
รองรับการขยายตัวของที่อยูอาศัยในบริเวณชานเมือง ประเภท ย. 3 บริเวณที่ดํารงรักษาสภาพแวดลอมของการ
อยูอาศัย บริเวณระหวางเขตเมืองชั้นในกับเขตชานเมืองและบริเวณโดยรอบศูนยชุมชน และประเภท ย.4 บริเวณที่
ดํารงรักษาสภาพแวดลอมของการอยูอาศัยบริเวณระหวางเขตเมืองชั้นในกับเขตชานเมืองที่มีความสะดวกในการ
เดินทาง
2. ที่ดินประเภทที่อยูอาศัยหนาแนนปานกลาง (สีสม) แบงออกเปน 3 ประเภท (ย.5 –ย.7)
โดยประเภทย.5 บริเวณที่รองรับการขยายตัวของที่อยูอาศัยจากเขตเมืองชั้นในโดยเปนที่อยูอาศัยหนาแนนปานกลาง
ที่มีสภาพแวดลอมดีในบริเวณพื้นที่ตอเนื่องกับเขตเมืองชั้นใน และบริเวณศูนยชุมชนชานเมือง ประเภท ย.6
บริเวณที่รองรับการอยูอาศัยใกลแหลงงาน บริเวณพื้นที่ตอเนื่องกับศูนยชุมชนชานเมือง ศูนยพาณิชยกรรมชุมชน
และเขตอุตสาหกรรม และประเภท ย.7 บริเวณที่รองรับการอยูอาศัยในบริเวณพื้นที่ตอเนื่องกับเขตเมืองชั้นใน
ซึ่งอยูในเขตการใหบริการของระบบขนสงมวลชน
3. ที่ดินประเภทที่อยูอาศัยหนาแนนมาก (สีน้ําตาล) แบงออกเปน 3 ประเภท (ย.8–ย.10)
โดยประเภท ย.8 บริเวณที่รองรับการอยูอาศัย ในบริเวณพื้นที่เมืองชั้นในและบริเวณริมแมน้ําเจาพระยา ที่มีการ
สงเสริมและดํารงรักษาทัศนียภาพ และสภาพแวดลอมทางธรรมชาติ ประเภท ย.9 บริเวณที่รองรับการอยูอาศัย
ในบริเวณพื้นที่เมืองชั้นใน ซึ่งอยูในเขตการใหบริการของระบบขนสงมวลชน และประเภท ย.10 บริเวณที่รองรับ
การอยูอาศัยในบริเวณพื้นที่เมืองชั้นในที่ตอเนื่องกับยานพาณชิยกรรม ศูนยกลางเมือง และในเขตการใหบริการ
ของระบบขนสงมวลชน
4. ที่ดินประเภทพาณิชยกรรม (สีแดง) แบงออกเปน 5 ประเภท (พ.1 – พ.5) ตามระดับ
และสภาพของกิจกรรมทางเศรษฐกิจโดยประเภท พ.1 บริเวณที่ใหใชประโยชนเปนพาณิชยกรรมชุมชน เพื่อ
กระจายรายกิจกรรมการคาและบริการที่อํานวยความสะดวกตอการดํารงชีวิตประจําวันของประชาชนในบริเวณที่
อยูอาศัยชานเมือง ประเภท พ.2 บริเวณที่ใหใชประโยชนเปนศูนยพาณิชยกรรม ชุมชนยอย เพื่อกระจายกิจกรรม
การคาและบริการที่อํานวยความสะดวกตอการดํารงชีวิตประจําวันของประชาชนในเขตชุมชนในพื้นที่เขตอเมืองและ
ชานเมือง ประเภท พ.3 บริเวณที่ใหใชประโยชนเปนศูนยพาณิชยกรรมชุมชนรองและพาณิชยกรรมเมือง เพื่อรองรับ
การประกอบกิจกรรมทางธุรกิจการคาและการบริการ รวมทั้งการคาและการบริการเฉพาะประเภทที่ใหบริการแก
ประชาชนโดยทั่วไป ประเภท พ.4 บริเวณที่ใหใชประโยชนเปนศูนยชุมชนชานเมืองและศูนยพาณิชยกรรมรอง
เพื่อสงเสริมศูนยกลางทางธุรกิจการคา การบริการ และสันทนาการที่จะกอใหเกิดความสมดุลระหวางที่อยูอาศัย และ
แหลงงานของประชาชนที่อยูอาศัยบริเวณเขตชานเมือง และเพื่อสงเสิรมการประกอบกิจกรรมทางธุรกิจ การคา การ
บริการและสันทนาการในบริเวณโดยรอบศูนยคมนาคมของระบบขนสงมวลชนและเขตรองรับการขยายตัวทาง
เศรษฐกิจของศูนยพาณิชยกรรมหลัก และประเภท พ. 5 บริเวณที่ใหใชประโยชนเปนศูนยพาณิชยกรรมหลัก เพื่อ
สงเสริมความเปนศูนยกลางทางธุรกิจ การคา การบริการและการทองเที่ยวในระดับภูมิภาคเอเชียตะวันออก-เฉียงใต
5. ที่ดินประเภทอุตสาหกรรม (สีมวง) แบงออกเปน 2 ประเภท (อ.1 – อ.2) โดย
ประเภท อ.1 บริเวณที่เปนเขตอุตสาหกรรมเพื่อการบริหารและจัดการดานสิ่งแวดลอม สําหรับการประกอบ
กิจกรรมประเภทอุตสาหกรรมการผลิตที่มีมลพิษนอย และประเภท อ.2 บริเวณนิคมอุตสาหกรรม ซึ่งจัดตั้งขึ้นตาม
กฎหมายวาดวยการนิคมอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย
6. ที่ดินประเภทคลังสินคา (สีเม็ดมะปราง) กําหนดเปนประเภท อ.3 โดยใหเปนที่ดิน
ประเภทคลังสินคา โดยมีเจตนารมณเพื่อคลังสินคา การเก็บและขนถายสินคาเพื่อการขนสงในระดับภูมิภาคเอเซีย
ตะวันออกเฉียงใต
7. ที่ดินประเภทอนุรักษชนบทและเกษตรกรรม (สีขาวมีกรอบเสนทแยงสีเขียว) แบง
ออกเปน 2 ประเภท (ก.1 – ก.2) ใหเปนที่ดินประเภทอนุรักษชนบทและเกษตรกรรม โดยประเภท ก.1 บริเวณที่
สงวนรักษาสภาพทางธรรมชาติของพื้นที่ชนบทและเกษตรกรรม ในบริเวณที่มีขอจํากัดดานการระบายน้ํา และมี
ความเสี่ยงตอการเกิดอุทกภัย และประเภท ก.2 บริเวณที่สงวนรักษาสภาพพื้นที่ทางธรรมชาติของพื้นที่ชนบทและ
เกษตรกรรม
8. ที่ดินประเภทชนบทและเกษตรกรรม (สีเขียว) แบงออกเปน 2 ประเภท (ก.3 – ก.4)
ใหเปนที่ดินประเภทชนบทและเกษตรกรรม จําแนกตามสภาพทางกายภาพของพื้นที่ ซึ่งมีผลตอการประกอบการ
เกษตรกรรมและตามระดับบริการสาธารณูปการของชุมชน โดยประเภท ก.3 บริเวณพื้นที่เกษตรกรรม การสงวน
รักษาสภาพทางธรรมชาติ และการสงเสริมเศรษฐกิจการเกษตร และประเภท ก.4 บริเวณที่เปนชุมชนและศูนยกลาง
การใหบริการทางสังคมและการสงเสริมเศรษฐกิจชุมชนในพื้นที่ชนบทและเกษตรกรรม
9. ที่ดินประเภทอนุรักษ เพื่อสงเสริมเอกลักษณ ศิลปวัฒนธรรมไทย (สีน้ําตาลออน)
บริเวณพื้นที่ตามขอบัญญัติกรุงเทพมหานคร เรื่องกําหนดบริเวณหามกอสราง ดัดแปลง ใชหรือเปลี่ยนการใชอาคาร
บางชนิดหรือบางประเภทภายในบิรเวณกรุงรัตนโกสินทรเขตชั้นใน และเขตชั้นนอก แบงออกเปน 2 ประเภท
(ศ.1 – ศ.2) โดยประเภท ศ.1 บริเวณที่อนุรักษและสงเสริมเอกลักษณศิลปวัฒนธรรมของชาติ และสงเสิรมกิจกรรม
ทางเศรษฐกิจดานการทองเที่ยว และประเภท ศ.2 บริเวณที่อนุรักษเอกลักษณ ศิลปวัฒนธรรมของชาติ และสงเสิรม
กิจกรรมดานพาณิชยกรรม การบริการและการทองเที่ยวในเขตอนุรักษ ศิลปวัฒนธรรม
10. ที่ดินประเภทสถาบันราชการ การสาธารณูปโภค และสาธารณูปการ (สีน้ําเงิน)
กําหนดเปนประเภท ส. บริเวณสถาบันราชการและกิจกรรมของรัฐที่เกี่ยวกับการสาธารณูปโภค สาธารณูปการหรือ
สาธารณประโยชน โดยใหใชประโยชนเพื่อกิจกรรมของรัฐ ประกอบดวย สถานที่ทําการของราชการ สถานที่เพื่อ
กิจกรรมดานสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ
(2) ผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร (ปรับปรุงครั้งที่ 1) พ.ศ.2542
2.1 ที่อยูอาศัยตามผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร (ปรับปรุง ครั้งที่ 1) พ.ศ.2542 กําหนดไวดังนี้
การใชที่ดินเพื่อเปนที่อยูอาศัยในกรุงเทพมหานครไดมีการขยายตัวอยางตอเนื่องมาจาก
การเจริญเติบโตทางดานเศรษฐกิจและจํานวนประชากรกอใหเกิดความตองการที่อยูอาศัยในรูปแบบแตกตางกัน
ตามฐานะทางเศรษฐกิจและเทคโนโลยีของการกอสรางที่ทันสมัย
1. ที่อยูอาศัยในพื้นที่เขตเมืองชั้นในของ กทม. มีลักษณะสําคัญ 2 ประเภท คือ
1.1 ที่อยูอาศัยในเขตกรุงรัตนโกสินทร ยานสถาบันราชการและยานการคาเกา
ไดแก เขตพระนคร เขตปอมปราบศัตรูพาย เขตสัมพันธวงศ เขตบางกอกนอย และเขตธนบุรี เปนตน
1.2 ที่อยูอาศัยในเขตยานธุรกิจการคา สํานักงานและการบริการ ไดแก
เขตบางรัก เขตปทุมวัน เขตสาทร และเขตคลองเตย เปนตน
ที่อยูอาศัยในเขตชั้นในแตเดิมนั้น ประกอบดวย ยานพักอาศัยชุมชนเกาแกในเขตพระนคร เขต
ปอมปราบศัตรูพาย เขตสัมพันธวงศ ลักษณะอาคารสวนใหญประกอบดวย บานเดี่ยว ตึกแถว บานแถว หอพัก
แฟลต อพารเมนต เปนตน
2. ที่อยูอาศัยในพื้นที่เขตตอเมืองของ กทม. มีลักษณะสําคัญ 3 ประการ คือ
2.1 ที่อยูอาศัยในลักษณะชุมชนเมืองใหญ ซึ่งประกอบดวยศูนยการคา
สํานักงานธุรกิจ สถาบันราชการ และมีบริการสาธารณูปโภค และสาธารณูปการที่สมบูรณ ไดแก เขตประเวศ เขต
พระโขนง เขตภาษีเจริญ และเขตราษฏรบูรณะ เปน
2.2 ที่อยูอาศัยซึ่งตั้งอยูภายใน Super Block ขนาดใหญ ซึ่งมีถนนสายหลัก 4
สายผาน และถนนซอยจํานวนมากใหบริการในการเขาถึงที่อยูอาศัย ไดแก เขตบางเขน เขตบึ่งกุม เขตดอนเมือง
และเขตลาดพราว เปนตน
2.3 ที่อยูอาศัย ซึ่งตั้งกระจายตัวอยูตามเสนทางคมนาคมขนสงของถนน ทาง
รถไฟ และคลอง ไดแก เขตตลิ่งชัน เขตหนองแขม และเขตประเวศ เปนตน
ที่อยูอาศัยในเขตตอเมือง มีลักษณะแบบผสมผสานของอาคารพักอาศัยหลายประเภท
ไดแก บานเดี่ยว ที่มีขนาดที่ดินตั้งแต 50-100 ตารางวา ทาวนเฮาส ที่มีความสูง 2-4 ชั้น ตึกแถว หอพัก แฟลต/
อพารเมนต ที่มีความสู 4 ชั้นขึ้นไป
3. ที่อยูอาศัยในเขตชานเมือง มีลักษณะสําคัญ ไดแก
3.1 ที่อยูอาศัยซึ่งตั้งกระจายตัวอยูตามเสนทางคมนาคมขนสง ทางถนน ทาง
รถไฟ และคลอง ไดแก เขตมีนบุรีและเขตลาดกระบัง เปนตน
3.1 ที่อยูอาศัยซึ่งตั้งอยูบนพื้นที่เกษตร ไดแก เขตหนองจอก และเขตบางขุนเทียน
ที่อยูอาศัยในเขตชานเมืองสวนใหญเปนอาคารบานเดี่ยวสูง 1–2ชั้น และทาวนเฮาสเปน
สวนใหญ และมีสภาพเปนที่อยูอาศัยหนาแนนเบาบางตามจํานวนประชากร จํานวนบาน และขนาดพื้นที่เขตการ
ปกครอง ซึ่งมีขนาดใหญและเดิมเปนพื้นที่เกษตรกรรม
(3) ระเบียบกรุงเทพมหานครวาดวยกรรมการชุมชน พ.ศ. 2534
กรุงเทพมหานครไดใหความหมายของคําวา “ชุมชน” ไวในระเบียบกรุงเทพมหานครวาดวยกรรมการ
ชุมชน พ.ศ. 2534 และจําแนกประเภทของชุมชนเพื่อเปนแนวทางในการวางแผนพัฒนา และแกไขปญหาตางๆ
รายละเอียดดังนี้
“ชุมชน” หมายความวา ชุมชนแออัด ชุมชนหมูบานจัดสรร ชุมชนชานเมือง ชุมชนเมือง และ
เคหะชุมชน ที่กรุงเทพมหานครกําหนดขึ้น ทั้งนี้โดยทําเปนประกาศกรุงเทพมหานคร
3.1 ประเภทของชุมชน แบงเปน 5 ประเภท รายละเอียดดังนี้
1. ชุมชนแออัด หมายถึง ชุมชนสวนใหญที่มีอาคารหนาแนนไรระเบียบและชํารุดทรุดโทรม
ประชาชนอยูอยางแออัด มีสภาพแวดลอมไมเหมาะสมอันอาจเปนอันตรายตอสุขภาพอนามัย และความปลอดภัย
ของผูอยูอาศัย โดยใหถือเกณฑความหนาแนนของบานเรือนอยางนอย 15 หลังคาเรือนตอพื้นที่ 1 ไร
2. ชุมชนหมูบานจัดสรร หมายถึง ชุมชนที่มีบานจัดสรรที่เปนบานที่อยูอาศัยและดําเนินการ
ในภาคเอกชนในเขตกรุงเทพมหานคร โดยมีลักษณะบานเปนบานเดี่ยวที่มีบริเวณ ทาวนเฮาส ตึกแถวหรือบานแฝด
สภาพทั่วไปควรจะตองมีการพัฒนา เชน ทางระบายน้ํา ขยะ ทางเทา ซึ่งกรุงเทพมหานครพิจารณาถึงความ
ตองการของประชาชนและความเหมาะสมในการที่จะเขาไปดําเนินการพัฒนา ซึ่งจะไดทําเปนประกาศกําหนดเปน
ชุมชน
3. ชุมชนชานเมือง หมายถึง ชุมชนที่กรุงเทพมหานครไดจัดทําเปนประกาศกําหนดชุมชน
โดยมีพื้นที่ดําเนินการดานเกษตรกรรมในเขตกรุงเทพมหานครรอบนอกเปนสวนใหญมีบานเรือนไมแออัด แตขาด
การวางแผนทางดานผังชุมชน เชน ทางระบายน้ํา ทางเดินเทา เพื่อปองกันการเกิดปญหาน้ําทวมขังการสัญจรไป
มาของประชาชนในชุมชน
4. ชุมชนเมือง หมายถึง ชุมชนที่มีความหนาแนนของบานเรือนนอยกวาชุมชนแออัด
กลาวคือนอยกวา 15 หลังคาเรือนตอ 1 ไร แตมีความหนาแนนของจํานวนบานมากกวาชุมชนชานเมืองและ
กรุงเทพมหานครไดจัดทําประกาศกําหนดเปนชุมชนโดยที่ชุมชนดังกลาว ไมเปนชุมชนตามที่กลาวมาในขออื่น ๆ
5. เคหะชุมชน หมายถึง ชุมชนที่ไดรับการจัดตั้งดําเนินการ และดูแลโครงการโดย
การเคหะแหงชาติ มีสภาพเปนแฟลตและกรุงเทพมหานครเขาไปดําเนินการในดานทางระบายน้ํา ขยะ ทางเทา
เศรษฐกิจ สังคม อนามัยและอื่นๆ
3.2 ขนาดของชุมชน
หมายถึงขอบเขตพื้นที่ปกครองของชุมชนที่กําหนดโดยสํานักงานเขตเจาของทองที่ ซึ่งกําหนด
ขนาดจากจํานวนหลังคาเรือนในชุมชน ดังนี้
1. ชุมชนขนาดใหญ จํานวนบานไมต่ํากวา 500 หลังคาเรือน
2. ชุมชนขนาดกลาง จํานวนบานระหวาง 141 - 499 หลังคาเรือน
3. ชุมชนขนาดเล็ก จํานวนบานไมเกิน 140 หลังคาเรือน
(4) ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการจัดใหมีโฉนดชุมชน พ.ศ.2553 กําหนดไวดังนี้
“โฉนดชุมชน” หมายความวา หนังสืออนุญาตใหชุมชนรวมกันบริหารจัดการครอบครองและใช
ประโยชนในที่ดินของรัฐ เพื่อสรางความมั่นคงในการอยูอาศัยและการใชประโยชนในที่ดินของชุมชน ซึ่งชุมชนมี
หนาที่ตองดูแลรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ตลอดจนปฏิบัติตามเงื่อนไขที่กําหนดไวโดยกฎกระทรวง
และระเบียบนี้
บทที่ 3
สภาพทั่วไปของชุมชนในเขตกรุงเทพมหานคร
กรุงเทพมหานคร มีพื้นที่การปกครองทั้งสิ้น 1,568.737 ตารางกิโลเมตร หรือ 980,460.625 ไร
แบงพื้นที่บริหารออกเปน 50 เขต มีประชากรป พ.ศ.2554 จํานวน 5,674,843 คน ชุมชนในเขตกรุงเทพมหานครมี
ทั้งหมด จํานวน 2,009 ชุมชน โดยจําแนกเปนประเภทชุมชนแออัด 750 ชุมชน ประเภทชุมชนหมูบานจัดสรรมี
399 ชุมชน ประเภทชุมชนชานเมือง 404 ชุมชน ประเภทชุมชนเมือง 350 ชุมชน และประเภทเคหะชุมชน 106
ชุมชน มีประชากรในชุมชนทั้งสิ้น 2,003,793 คน คิดเปนรอยละ 35.31 ของประชากรกรุงเทพมหานคร มีจํานวน
บาน 429,936 หลังคาเรือน จํานวน ครัวเรือน 520,018 ครัวเรือน
ที่ตั้งและการกระจายตัวของชุมชนในเขตกรุงเทพมหานคร
จากการศึกษาชุมชนในเขตกรุงเทพมหานคร มีจํานวนชุมชนทั้งสิ้น 2,009 ชุมชน ซึ่งกระจายตัว
อยูในพื้นที่เขต 50 เขตของกรุงเทพมหานครพอสรุปสาระสําคัญไดดังนี้
1. เขตพระนคร
เขตพระนคร มีชุมชนทั้งหมดจํานวน 20 ชุมชน จําแนกเปนชุมชนแออัด 6 ชุมชนและชุมชนเมือง
14 ชุมชน ซึ่งกรุงเทพมหานครไดประกาศกําหนดเปนชุมชนแลวทั้ง 20 ชุมชน และมีกรรมการชุมชนทุกชุมชน
กรรมสิทธิ์ที่ดินสวนใหญเปนที่เชาของสํานักงานทรัพยสินฯ มีจํานวนประชากร 22,528 คน จํานวนบาน 3,358
หลังคาเรือน จํานวนครัวเรือน 5,176 ครัวเรือน มีพื้นที่ชุมชนทั้งหมด 123.78 ไร คิดเปนรอยละ 3.58 ของพื้นที่เขต
2. เขตปอมปราบศัตรูพาย
เขตปอมปราบฯ มีชุมชนทั้งหมดจํานวน 15 ชุมชน จําแนกเปนชุมชนแออัด 14 ชุมชน และ
ชุมชนเมือง 1 ชุมชน ซึ่งกรุงเทพมหานครไดประกาศกําหนดเปนชุมชนแลวทั้ง 15 ชุมชน และมีกรรมการชุมชน
ทุกชุมชน กรรมสิทธิ์ที่ดินสวนใหญเปนที่เชาของสํานักงานทรัพยสินสวนพระมหากษัตริย มีจํานวนประชากร
10,205 คน จํานวนบาน 2,137 หลังคาเรือน จํานวนครัวเรือน 2,789 ครัวเรือน มีพื้นที่ชุมชนทั้งหมด 36.50 ไร
คิดเปนรอยละ 3.02 ของพื้นที่เขต
3. เขตสัมพันธวงศ
เขตสัมพันธวงศ มีชุมชนทั้งหมดจํานวน 19 ชุมชน จําแนกเปนชุมชนเมืองทั้งสิ้น 19 ชุมชน ซึ่ง
กรุงเทพมหานครไดประกาศกําหนดเปนชุมชนแลวทั้ง 19 ชุมชน และมีกรรมการชุมชนทุกชุมชน กรรมสิทธิ์ที่ดิน
เปนของตนเองและเชา มีจํานวนประชากร 8,249 คน จํานวนบาน 2,379 หลังคาเรือน จํานวนครัวเรือน 2,316
ครัวเรือน มีพื้นที่ชุมชนทั้งหมด 40.60 ไร คิดเปนรอยละ4.59 ของพื้นที่เขต
4. เขตปทุมวัน
เขตปทุมวัน มีชุมชนทั้งหมดจํานวน 17 ชุมชน จําแนกเปนชุมชนแออัด 13 ชุมชน ชุมชนเมือง
1 ชุมชน และเคหะชุมชน 3 ชุมชน ซึ่งกรุงเทพมหานครไดประกาศกําหนดเปนชุมชนแลวทั้ง 17 ชุมชน และมี
กรรมการชุมชนทุกชุมชน กรรมสิทธิ์ที่ดินสวนใหญเปนที่เชาของกรมธนารักษและสํานักงานทรัพยสินฯ มีจํานวน
ประชากร 28,820 คน จํานวนบาน 4,799 หลังคาเรือน จํานวนครัวเรือน 8,255 ครัวเรือน มีพื้นที่ชุมชน
ทั้งหมด 301.5 ไร คิดเปนรอยละ 5.76 ของพื้นที่เขต
5. เขตราชเทวี
เขตราชเทวี มีชุมชนทั้งหมดจํานวน 25 ชุมชน จําแนกเปนชุมชนแออัด 19 ชุมชน และ
เคหะชุมชน 6 ชุมชน ซึ่งกรุงเทพมหานครไดประกาศกําหนดเปนชุมชนแลวทั้ง 25 ชุมชน และมีกรรมการชุมชน
ทุกชุมชน กรรมสิทธิ์ที่ดินสวนใหญเปนที่บุกรุกการรถไฟฯ มีจํานวนประชากร 23,060 คน จํานวนบาน 4,834
หลังคาเรือน จํานวนครัวเรือน 5,902 ครัวเรือน มีพื้นที่ชุมชนทั้งหมด 530 ไร คิดเปนรอยละ 11.90 ของพื้นที่เขต
6. เขตบางรัก
เขตบางรัก มีชุมชนทั้งหมดจํานวน 16 ชุมชน จําแนกเปนชุมชนแออัด 3 ชุมชน ชุมชนเมือง 12
ชุมชน และเคหะชุมชน 1 ชุมชน ซึ่งกรุงเทพมหานครไดประกาศกําหนดเปนชุมชนแลวทั้ง 16 ชุมชน และมี
กรรมการชุมชนทุกชุมชน กรรมสิทธิ์ที่ดินสวนใหญเปนของตนเองและเชา มีจํานวนประชากร 18,831 คน จํานวน
บาน 3,516 หลังคาเรือน จํานวนครัวเรือน 5,933 ครัวเรือน มีพื้นที่ชุมชนทั้งหมด 110 ไร คิดเปน รอยละ 3.18
ของพื้นที่เขต
7. เขตดุสิต
เขตดุสิต มีชุมชนทั้งหมดจํานวน 44 ชุมชน จําแนกเปนชุมชนแออัด 17 ชุมชนและชุมชนเมือง
27 ชุมชน ซึ่งกรุงเทพมหานครไดประกาศกําหนดเปนชุมชนแลวทั้ง 44 ชุมชน และมีกรรมการชุมชนทุกชุมชน
กรรมสิทธิ์ที่ดินสวนใหญเปนที่เชาของสํานักงานทรัพยสินฯ และกรมการศาสนาบางสวนบุกรุกที่ดินของรัฐ มี
จํานวนประชากร 36,947 คน จํานวนบาน 7,237 หลังคาเรือน จํานวนครัวเรือน 9,638 ครัวเรือน มีพื้นที่ชุมชน
ทั้งหมด 802.33 ไร คิดเปนรอยละ 12.04 ของพื้นที่เขต
8. เขตพญาไท
เขตพญาไท มีชุมชนทั้งหมดจํานวน 29 ชุมชน จําแนกเปนชุมชนแออัด 14 ชุมชน ชุมชน
หมูบานจัดสรร 3 ชุมชน ชุมชนเมือง 1 ชุมชน และเคหะชุมชน 11 ชุมชน ซึ่งกรุงเทพมหานครไดประกาศกําหนด
เปนชุมชนแลวทั้ง 29 ชุมชน และมีกรรมการชุมชนทุกชุมชน กรรมสิทธิ์ที่ดินสวนใหญเปนของตนเอง มีจํานวน
ประชากร 32,519 คน จํานวนบาน 7,261 หลังคาเรือน จํานวนครัวเรือน 7,718 ครัวเรือน มีพื้นที่ชุมชนทั้งหมด
543.20 ไร คิดเปนรอยละ 9.06 ของพื้นที่เขต
9. เขตสาทร
เขตสาทร มีชุมชนทั้งหมดจํานวน 25 ชุมชน จําแนกเปนชุมชนแออัด 7 ชุมชน ชุมชนหมูบาน-
จัดสรร 6 ชุมชน และชุมชนเมือง 12 ชุมชน ซึ่งกรุงเทพมหานครไดประกาศกําหนดเปนชุมชนแลวทั้ง 25 ชุมชน
และมีกรรมการชุมชนทุกชุมชน กรรมสิทธิ์ที่ดินสวนใหญเปนของตนเองและเชามีจํานวนประชากร 34,843 คน
จํานวนบาน 5,434 หลังคาเรือน จํานวนครัวเรือน 7,731 ครัวเรือน มีพื้นที่ชุมชนทั้งหมด 339.40 ไร คิดเปนรอยละ
5.82 ของพื้นที่เขต
10. เขตยานนาวา
เขตยานนาวา มีชุมชนทั้งหมดจํานวน 19 ชุมชน จําแนกเปนชุมชนแออัด 13 ชุมชน และชุมชน-
เมือง 6ชุมชน ซึ่งกรุงเทพมหานครไดประกาศกําหนดเปนชุมชนแลวทั้ง 19 ชุมชน และมีกรรมการชุมชนทุกชุมชน
กรรมสิทธิ์ที่ดินสวนใหญเปนที่เชาและบางสวนบุกรุกที่ดินของรัฐ มีจํานวนประชากร 9,467 คน จํานวนบาน
3,376 หลังคาเรือน จํานวนครัวเรือน 3,691 ครัวเรือน มีพื้นที่ชุมชนทั้งหมด 162.30 ไร คิดเปนรอยละ 1.56 ของ
พื้นที่เขต
11. เขตบางคอแหลม
เขตบางคอแหลม มีชุมชนทั้งหมดจํานวน 29 ชุมชน จําแนกเปนชุมชนแออัด 27 ชุมชน ชุมชน-
เมือง 2 ชุมชน ซึ่งกรุงเทพมหานครไดประกาศกําหนดเปนชุมชนแลวทั้ง 29 ชุมชน และมีกรรมการชุมชน
ทุกชุมชน กรรมสิทธิ์ที่ดินสวนใหญเปนของตนเองและเชาของ สํานักงานทรัพยสินสวนพระมหากษัตริย มีจํานวน
ประชากร 43,482 คน จํานวนบาน 7,033 หลังคาเรือน จํานวนครัวเรือน 10,818 ครัวเรือน มีพื้นที่ชุมชนทั้งหมด
486.60 ไร คิดเปนรอยละ 7.13 ของพื้นที่เขต
12. เขตบางซื่อ
เขตบางซื่อ มีชุมชนทั้งหมดจํานวน 49 ชุมชน จําแนกเปนชุมชนแออัด 46 ชุมชน ชุมชนหมูบาน-
จัดสรร 2 ชุมชน และชุมชนเมือง 1 ชุมชน ซึ่งกรุงเทพมหานครไดประกาศกําหนดเปนชุมชนแลวทั้ง 49 ชุมชน
และมีกรรมการชุมชนทุกชุมชน กรรมสิทธิ์ที่ดินสวนใหญเปนของตนเองและเชาบางสวนบุกรุกที่ดินของรัฐมี
จํานวนประชากร 40,277 คน จํานวนบาน 7,724 หลังคาเรือน จํานวนครัวเรือน 12,129 ครัวเรือน มีพื้นที่ชุมชน
ทั้งหมด 741 ไร คิดเปนรอยละ 10.27 ของพื้นที่เขต
13. เขตจตุจักร
เขตจตุจักร มีชุมชนทั้งหมดจํานวน 41 ชุมชน จําแนกเปนชุมชนแออัด 25 ชุมชน ชุมชนหมูบาน-
จัดสรร 7 ชุมชน และชุมชนเมือง 9 ชุมชน ซึ่งกรุงเทพมหานครไดประกาศกําหนดเปนชุมชนแลวทั้ง 41 ชุมชน
และมีกรรมการชุมชนทุกชุมชน กรรมสิทธิ์ที่ดินสวนใหญเปนของตนเองและกรมธนารักษ มีจํานวนประชากร
33,424 คน จํานวนบาน 8,014 หลังคาเรือน จํานวนครัวเรือน 10,637 ครัวเรือน มีพื้นที่ชุมชนทั้งหมด 996.80 ไร
คิดเปนรอยละ 4.85 ของพื้นที่เขต
14. เขตหวยขวาง
เขตหวยขวาง มีชุมชนทั้งหมดจํานวน 25 ชุมชน จําแนกเปนชุมชนแออัด 21 ชุมชน ชุมชน
หมูบานจัดสรร 3 ชุมชน และชุมชนเมือง 1 ชุมชน ซึ่งกรุงเทพมหานครไดประกาศกําหนดเปนชุมชนแลวทั้ง 25
ชุมชน และมีกรรมการชุมชนทุกชุมชน กรรมสิทธิ์ที่ดินสวนใหญเปนที่บุกรุกที่ดินของรัฐ มีจํานวนประชากร
18,991 คน จํานวนบาน 3,537 หลังคาเรือน จํานวนครัวเรือน 4,775 ครัวเรือน มีพื้นที่ชุมชนทั้งหมด 190.70 ไร
คิดเปนรอยละ 2.03 ของพื้นที่เขต
15. เขตดินแดง
เขตดินแดง มีชุมชนทั้งหมดจํานวน 22 ชุมชน จําแนกเปนชุมชนแออัด 6 ชุมชน ชุมชนหมูบาน-
จัดสรร 3 ชุมชน ชุมชนเมือง 9 ชุมชน และเคหะชุมชน 4 ชุมชน ซึ่งกรุงเทพมหานครไดประกาศกําหนดเปนชุมชน
แลวทั้ง 22 ชุมชน และมีกรรมการชุมชนทุกชุมชน กรรมสิทธิ์ที่ดินสวนใหญเปนของตนเองและบุกรุกที่ดินของรัฐ
มีจํานวนประชากร 26,109 คน จํานวนบาน 5,893 หลังคาเรือน จํานวนครัวเรือน 6,543 ครัวเรือน มีพื้นที่ชุมชน
ทั้งหมด 429 ไร คิดเปนรอยละ 8.22 ของพื้นที่เขต
16. เขตคลองเตย
เขตคลองเตย มีชุมชนทั้งหมดจํานวน 41 ชุมชน จําแนกเปนชุมชนแออัด 27 ชุมชน ชุมชน
หมูบานจัดสรร 1 ชุมชน ชุมชนเมือง 8 ชุมชน และเคหะชุมชน 5 ชุมชน ซึ่งกรุงเทพมหานครไดประกาศกําหนด
เปนชุมชนแลวทั้ง 41 ชุมชน และมีกรรมการชุมชนทุกชุมชน กรรมสิทธิ์ที่ดินสวนใหญบุกรุกที่ดินของรัฐ มี
จํานวนประชากร 95,500 คน จํานวนบาน 16,535 หลังคาเรือน จํานวนครัวเรือน 18,963 ครัวเรือน มีพื้นที่ชุมชน
ทั้งหมด 818.40 ไร คิดเปน รอยละ 10.08 ของพื้นที่เขต
17. เขตวัฒนา
เขตวัฒนา มีชุมชนทั้งหมดจํานวน 17 ชุมชน จําแนกเปนชุมชนแออัด 15 ชุมชน และชุมชน-
หมูบานจัดสรร 2 ชุมชน ซึ่งกรุงเทพมหานครไดประกาศกําหนดเปนชุมชนแลวทั้ง 17 ชุมชน และมีกรรมการชุมชน
ทุกชุมชน กรรมสิทธิ์ที่ดินสวนใหญเปนของตนเองและเชา บางสวนบุกรุกที่ดินของรัฐ มีจํานวนประชากร 15,481
คน จํานวนบาน 3,071 หลังคาเรือน จํานวนครัวเรือน 5,075 ครัวเรือน มีพื้นที่ชุมชนทั้งหมด 145.80 ไร คิดเปน
รอยละ 1.86 ของพื้นที่เขต
18. เขตบางพลัด
เขตบางพลัด มีชุมชนทั้งหมดจํานวน 46 ชุมชน จําแนกเปนชุมชนแออัด 41 ชุมชน ชุมชน
หมูบานจัดสรร 2 ชุมชน และชุมชนเมือง 3 ชุมชน ซึ่งกรุงเทพมหานครไดประกาศกําหนดเปนชุมชนแลวทั้ง 46
ชุมชน และมีกรรมการชุมชนทุกชุมชน กรรมสิทธิ์ที่ดินสวนใหญเปนของตนเอง เชา และของกรมการศาสนา
บางสวนบุกรุกที่ดินของรัฐ มีจํานวนประชากร 50,164 คน จํานวนบาน 9,926 หลังคาเรือน จํานวนครัวเรือน
12,607 ครัวเรือน มีพื้นที่ชุมชน ทั้งหมด 1,269 ไร คิดเปนรอยละ 17.87 ของพื้นที่เขต
19. เขตบางกอกนอย
เขตบางกอกนอย มีชุมชนทั้งหมดจํานวน 43 ชุมชน จําแนกเปนชุมชนแออัด 39 ชุมชน ชุมชน-
เมือง 3 ชุมชนและเคหะชุมชน 1ชุมชน ซึ่งกรุงเทพมหานครไดประกาศกําหนดเปนชุมชนแลวทั้ง 43 ชุมชน และมี
กรรมการชุมชนทุกชุมชน กรรมสิทธิ์ที่ดินสวนใหญเปนของตนเองและเชาของกรมการศาสนา มีจํานวนประชากร
106,438 คน จํานวนบาน 14,647 หลังคาเรือน จํานวนครัวเรือน 23,776 ครัวเรือน มีพื้นที่ชุมชนทั้งหมด749.49ไร
คิดเปนรอยละ 10.04 ของพื้นที่เขต
20. เขตบางกอกใหญ
เขตบางกอกใหญ มีชุมชนทั้งหมดจํานวน 34 ชุมชน จําแนกเปนชุมชนแออัด 33 ชุมชน และ
ชุมชนหมูบานจัดสรร1 ชุมชน ซึ่งกรุงเทพมหานครไดประกาศกําหนดเปนชุมชนแลวทั้ง 34 ชุมชน และมีกรรมการ
ชุมชนทุกชุมชน กรรมสิทธิ์ที่ดินสวนใหญเปนของตนเองและเชาของกรมการศาสนา มีจํานวนประชากร17,079 คน
จํานวนบาน 3,575 หลังคาเรือน จํานวนครัวเรือน 4,428 ครัวเรือน มีพื้นที่ชุมชนทั้งหมด 385 ไร คิดเปนรอยละ
9.97 ของพื้นที่เขต
21. เขตคลองสาน
เขตคลองสาน มีชุมชนทั้งหมดจํานวน44ชุมชนจําแนกเปนชุมชนแออัด 33ชุมชน และชุมชนเมือง
11 ชุมชน ซึ่งกรุงเทพมหานครไดประกาศกําหนดเปนชุมชนแลวทั้ง 44 ชุมชน และมีกรรมการชุมชนทุกชุมชน
กรรมสิทธิ์ที่ดินสวนใหญเปนของตนเองและเชา มีจํานวนประชากร 42,208 คน จํานวนบาน 7,908 หลังคาเรือน
จํานวนครัวเรือน 10,578 ครัวเรือน มีพื้นที่ชุมชนทั้งหมด 671.73 ไร คิดเปนรอยละ 17.76 ของพื้นที่เขต
22. เขตธนบุรี
เขตธนบุรี มีชุมชนทั้งหมดจํานวน 44 ชุมชน จําแนกเปนชุมชนแออัดทั้งสิ้น 44 ชุมชน ซึ่ง
กรุงเทพมหานครไดประกาศกําหนดเปนชุมชนแลวทั้ง 44 ชุมชน และมีกรรมการชุมชนทุกชุมชน กรรมสิทธิ์ที่ดิน
สวนใหญเปนของตนเองและเชา มีจํานวนประชากร 59,092 คน จํานวนบาน 10,616 หลังคาเรือน จํานวน
ครัวเรือน 13,267 ครัวเรือน มีพื้นที่ชุมชนทั้งหมด 909 ไร คิดเปน รอยละ 17.01 ของพื้นที่เขต
23. เขตดอนเมือง
เขตดอนเมือง มีชุมชนทั้งหมดจํานวน 85 ชุมชน จําแนกเปนชุมชนแออัด 15 ชุมชน ชุมชน
หมูบานจัดสรร 64 ชุมชน ชุมชนชานเมือง 4 ชุมชน และชุมชนเมือง 2 ชุมชน ซึ่งกรุงเทพมหานครไดประกาศ
กําหนดเปนชุมชนแลวทั้ง 85 ชุมชน และมีกรรมการชุมชนทุกชุมชน กรรมสิทธิ์ที่ดินสวนใหญเปนของตนเองและ
บุกรุกที่ดินของรัฐ มีจํานวนประชากร 91,197 คน จํานวนบาน 21,123 หลังคาเรือน จํานวนครัวเรือน 22,134
ครัวเรือน มีพื้นที่ชุมชนทั้งหมด 3,892.68 ไร คิดเปนรอยละ 16.92 ของพื้นที่เขต
24. เขตหลักสี่
เขตหลักสี่ มีชุมชนทั้งหมดจํานวน 74 ชุมชน จําแนกเปนชุมชนแออัด 19 ชุมชน ชุมชนหมูบาน-
จัดสรร 11 ชุมชน ชุมชนเมือง 13 ชุมชน และเคหะชุมชน 31 ชุมชน ซึ่งกรุงเทพมหานครไดประกาศกําหนดเปน
ชุมชนแลวทั้ง 74 ชุมชน และมีกรรมการชุมชนทุกชุมชน กรรมสิทธิ์ที่ดินสวนใหญเปนของตนเองและบุกรุกที่ดิน
ของรัฐ มีจํานวนประชากร 66,664 คน จํานวนบาน 16,063 หลังคาเรือน จํานวนครัวเรือน 17,022 ครัวเรือน มี
พื้นที่ชุมชนทั้งหมด 1,935.43 ไร คิดเปนรอยละ 13.56 ของพื้นที่เขต
25. เขตบางเขน
เขตบางเขน มีชุมชนทั้งหมดจํานวน74ชุมชน จําแนกเปนชุมชนแออัด 12ชุมชน ชุมชน หมูบาน
จัดสรร 34ชุมชน ชุมชนชานเมือง 8 ชุมชน ชุมชนเมือง 15ชุมชน และเคหะชุมชน 5ชุมชน ซึ่งกรุงเทพมหานครได
ประกาศกําหนดเปนชุมชนแลวทั้ง 74 ชุมชน และมีกรรมการชุมชนทุกชุมชน กรรมสิทธิ์ที่ดินสวนใหญเปนของ
ตนเองและบางสวนบุกรุกที่ดินของรัฐ มีจํานวนประชากร 79,105 คน จํานวนบาน 18,506 หลังคาเรือน จํานวน
ครัวเรือน 20,169 ครัวเรือน มีพื้นที่ชุมชนทั้งหมด 4,865.05 ไร คิดเปนรอยละ 18.48 ของพื้นที่เขต
26. เขตสายไหม
เขตสายไหม มีชุมชนทั้งหมดจํานวน 70 ชุมชนจําแนกเปนชุมชนแออัด 4 ชุมชน ชุมชนหมูบาน-
จัดสรร42ชุมชน ชุมชนชานเมือง 5 ชุมชนชุมชนเมือง15ชุมชนและเคหะชุมชน 4 ชุมชน ซึ่งกรุงเทพมหานคร ได
ประกาศกําหนดเปนชุมชนแลวทั้ง 70 ชุมชน และมีกรรมการชุมชนทุกชุมชน กรรมสิทธิ์ที่ดินสวนใหญเปนของ
ตนเองและบางสวนบุกรุกที่ดินของรัฐ มีจํานวนประชากร 88,961 คน จํานวนบาน 22,733 หลังคาเรือน
จํานวนครัวเรือน 23,475 ครัวเรือน มีพื้นที่ชุมชนทั้งหมด 4,051.92ไร คิดเปนรอยละ14.53 ของพื้นที่เขต
27. เขตลาดพราว
เขตลาดพราว มีชุมชนทั้งหมดจํานวน 33ชุมชนจําแนกเปนชุมชนแออัด 4 ชุมชน ชุมชนหมูบาน-
จัดสรร 24 ชุมชน ชุมชนชานเมือง 3 ชุมชน และเคหะชุมชน 2 ชุมชน ซึ่งกรุงเทพมหานครไดประกาศกําหนดเปน
ชุมชนแลวทั้ง 33 ชุมชนและมีกรรมการชุมชนทุกชุมชน กรรมสิทธิ์ที่ดินสวนใหญเปนของตนเอง มีจํานวนประชากร
38,669 คน จํานวนบาน 10,732 หลังคาเรือน จํานวนครัวเรือน 12,744 ครัวเรือน มีพื้นที่ชุมชนทั้งหมด 2,517.40ไร
คิดเปนรอยละ18.18 ของพื้นที่เขต
28. เขตบางกะป
เขตบางกะป มีชุมชนทั้งหมดจํานวน 28 ชุมชน จําแนกเปนชุมชนแออัด 9 ชุมชน ชุมชนหมูบาน
จัดสรร 9 ชุมชนและชุมชนเมือง 10 ชุมชน ซึ่งกรุงเทพมหานครไดประกาศกําหนดเปนชุมชนแลวทั้ง 28 ชุมชน และ
มีกรรมการชุมชนทุกชุมชน กรรมสิทธิ์ที่ดินสวนใหญเปนของตนเองมีจํานวนประชากร 26,915 คน จํานวนบาน
6,527 หลังคาเรือน จํานวนครัวเรือน 6,700 ครัวเรือน มีพื้นที่ชุมชนทั้งหมด 1,892 ไร คิดเปนรอยละ10.61 ของ
พื้นที่เขต
29. เขตวังทองหลาง
เขตวังทองหลาง มีชุมชนทั้งหมดจํานวน 19 ชุมชน จําแนกเปนชุมชนแออัด 11 ชุมชน ชุมชน
หมูบานจัดสรร 1 ชุมชน และชุมชนเมือง 7 ชุมชน ซึ่งกรุงเทพมหานครไดประกาศกําหนดเปนชุมชนแลวทั้ง 19
ชุมชน และมีกรรมการชุมชนทุกชุมชน กรรมสิทธิ์ที่ดินสวนใหญเปนที่เชาของสํานักงานทรัพยสินฯ และตนเอง มี
จํานวนประชากร 20,506 คน จํานวนบาน 4,192 หลังคาเรือน จํานวนครัวเรือน 5,510 ครัวเรือน มีพื้นที่ชุมชน
ทั้งหมด 675.55 ไร คิดเปนรอยละ 5.61 ของพื้นที่เขต
30. เขตพระโขนง
เขตพระโขนง มีชุมชนทั้งหมดจํานวน 44 ชุมชน จําแนกเปนชุมชนแออัด 27 ชุมชน ชุมชน
หมูบานจัดสรร 15 ชุมชน และชุมชนเมือง 2 ชุมชน ซึ่งกรุงเทพมหานครไดประกาศกําหนดเปนชุมชนแลวทั้ง 44
ชุมชน และมีกรรมการชุมชนทุกชุมชน กรรมสิทธิ์ที่ดินสวนใหญเปนของ ตนเองและเชา มีจํานวนประชากร
26,256 คน จํานวนบาน 5,847 หลังคาเรือน จํานวนครัวเรือน 7,777 ครัวเรือน มีพื้นที่ชุมชนทั้งหมด 702 ไร
คิดเปนรอยละ 8.03 ของพื้นที่เขต
31. เขตบางนา
เขตบางนา มีชุมชนทั้งหมดจํานวน 39 ชุมชน จําแนกเปนชุมชนแออัด 16 ชุมชน ชุมชนหมูบาน-
จัดสรร 4 ชุมชน ชุมชนชานเมือง 1 ชุมชน ชุมชนเมือง 17 ชุมชน และเคหะชุมชน 1ชุมชน ซึ่งกรุงเทพมหานครได
ประกาศกําหนดเปนชุมชนแลวทั้ง 39 ชุมชน และมีกรรมการชุมชนทุกชุมชน กรรมสิทธิ์ที่ดินสวนใหญเปนของ
ตนเองและเชา มีจํานวนประชากร 42,106 คน จํานวนบาน 8,865 หลังคาเรือน จํานวนครัวเรือน 9,380 ครัวเรือน
มีพื้นที่ชุมชนทั้งหมด 957.50 ไร คิดเปนรอยละ 8.15 ของพื้นที่เขต
32. เขตประเวศ
เขตประเวศ มีชุมชนทั้งหมดจํานวน41ชุมชนจําแนกเปนชุมชนแออัด3ชุมชนชุมชนหมูบานจัดสรร
7 ชุมชน ชุมชนชานเมือง 29 ชุมชน และเคหะชุมชน 2 ชุมชน ซึ่งกรุงเทพมหานครไดประกาศกําหนดเปนชุมชน
แลวทั้ง 41 ชุมชน และมีกรรมการชุมชนทุกชุมชน กรรมสิทธิ์ที่ดินสวนใหญเปนของตนเองและเชา มีจํานวน
ประชากร 36,647 คน จํานวนบาน 8,143 หลังคาเรือน จํานวนครัวเรือน 10,198 ครัวเรือน มีพื้นที่ชุมชนทั้งหมด
1,472 ไร คิดเปนรอยละ5.31 ของพื้นที่เขต
33. เขตสวนหลวง
เขตสวนหลวง มีชุมชนทั้งหมดจํานวน 45 ชุมชน จําแนกเปนชุมชนแออัด 11 ชุมชน ชุมชน
หมูบานจัดสรร 8 ชุมชน และชุมชนเมือง 26 ชุมชน ซึ่งกรุงเทพมหานครไดประกาศกําหนดเปนชุมชนแลวทั้ง 45
ชุมชน และมีกรรมการชุมชนทุกชุมชน กรรมสิทธิ์ที่ดินสวนใหญเปนของตนเองและเชา บางสวนบุกรุกที่ดิน
ของรัฐ มีจํานวนประชากร 46,006 คน จํานวนบาน 7,396 หลังคาเรือน จํานวนครัวเรือน 11,574 ครัวเรือน มี
พื้นที่ชุมชนทั้งหมด 2,077.71 ไร คิดเปนรอยละ 14.04 ของพื้นที่เขต
34. เขตบึงกุม
เขตบึงกุม มีชุมชนทั้งหมดจํานวน 39 ชุมชน จําแนกเปนชุมชนแออัด 17 ชุมชน ชุมชนหมูบาน-
จัดสรร 21ชุมชน และชุมชนชานเมือง 1 ชุมชน ซึ่งกรุงเทพมหานครไดประกาศกําหนดเปนชุมชนแลวทั้ง 39 ชุมชน
และมีกรรมการชุมชนทุกชุมชน กรรมสิทธิ์ที่ดินสวนใหญเปนของตนเอง และบางสวนบุกรุกที่ดินของรัฐ มีจํานวน
ประชากร 33,281 คน จํานวนบาน 9,617 หลังคาเรือน จํานวนครัวเรือน 9,976 ครัวเรือน มีพื้นที่ชุมชนทั้งหมด
1,304.17 ไร คิดเปนรอยละ 8.58 ของพื้นที่เขต
35. เขตคันนายาว
เขตคันนายาว มีชุมชนทั้งหมดจํานวน 40 ชุมชน จําแนกเปนชุมชนแออัด 13 ชุมชน ชุมชน
หมูบานจัดสรร 20 ชุมชน ชุมชนชานเมือง 5 ชุมชน และเคหะชุมชน 2 ชุมชน ซึ่งกรุงเทพมหานครไดประกาศ
กําหนดเปนชุมชนแลวทั้ง 40 ชุมชน และมีกรรมการชุมชนทุกชุมชน กรรมสิทธิ์ที่ดินสวนใหญเปนของตนเองและ
เชา บางสวนบุกรุกที่ดินของรัฐ มีจํานวนประชากร 32,837 คน จํานวนบาน 8,197 หลังคาเรือน จํานวนครัวเรือน
8,115 ครัวเรือน มีพื้นที่ชุมชนทั้งหมด1,556.70ไร คิดเปนรอยละ9.59 ของพื้นที่เขต
36. เขตสะพานสูง
เขตสะพานสูง มีชุมชนทั้งหมดจํานวน28 ชุมชนจําแนกเปนชุมชนแออัด 4 ชุมชน ชุมชนหมูบาน
จัดสรร 1 ชุมชน ชุมชนชานเมือง 22 ชุมชน และเคหะชุมชน 1 ชุมชน ซึ่งกรุงเทพมหานครไดประกาศกําหนด
เปนชุมชนแลวทั้ง 28 ชุมชน และมีกรรมการชุมชนทุกชุมชน กรรมสิทธิ์ที่ดินสวนใหญเปนของตนเอง มีจํานวน
ประชากร 39,929 คน จํานวนบาน 8,225 หลังคาเรือน จํานวนครัวเรือน 9,284 ครัวเรือน มีพื้นที่ชุมชนทั้งหมด
3,235 ไร คิดเปนรอยละ 18.40 ของพื้นที่เขต
37. เขตตลิ่งชัน
เขตตลิ่งชัน มีชุมชนทั้งหมดจํานวน 43 ชุมชน จําแนกเปนชุมชนแออัด 11 ชุมชน ชุมชนหมูบาน-
จัดสรร 2 ชุมชน และชุมชนชานเมือง 30 ชุมชน ซึ่งกรุงเทพมหานครไดประกาศกําหนดเปนชุมชนแลวทั้ง
43 ชุมชน และมีกรรมการชุมชนทุกชุมชน กรรมสิทธิ์ที่ดินสวนใหญเปนของตนเองและเชาของกรมการศาสนา มี
จํานวนประชากร 24,566 คน จํานวนบาน 5,424 หลังคาเรือน จํานวนครัวเรือน 6,458 ครัวเรือน มีพื้นที่ชุมชน
ทั้งหมด 2,745.70 ไร คิดเปนรอยละ 14.90 ของพื้นที่เขต
38. เขตทวีวัฒนา
เขตทวีวัฒนา มีชุมชนทั้งหมดจํานวน 15 ชุมชน จําแนกเปนชุมชนหมูบานจัดสรร 9 ชุมชน และ
ชุมชนชานเมือง 6 ชุมชน ซึ่งกรุงเทพมหานครไดประกาศกําหนดเปนชุมชนแลวทั้ง 15 ชุมชน และมีกรรมการ
ชุมชนทุกชุมชน กรรมสิทธิ์ที่ดินสวนใหญเปนของตนเอง มีจํานวนประชากร 11,044 คน จํานวนบาน 3,108
หลังคาเรือน จํานวนครัวเรือน 3,243 ครัวเรือน มีพื้นที่ชุมชนทั้งหมด 3,540ไร คิดเปนรอยละ11.28ของพื้นที่เขต
แนวโน้มการเติบโต กทม 2554
แนวโน้มการเติบโต กทม 2554
แนวโน้มการเติบโต กทม 2554
แนวโน้มการเติบโต กทม 2554
แนวโน้มการเติบโต กทม 2554
แนวโน้มการเติบโต กทม 2554
แนวโน้มการเติบโต กทม 2554
แนวโน้มการเติบโต กทม 2554
แนวโน้มการเติบโต กทม 2554
แนวโน้มการเติบโต กทม 2554
แนวโน้มการเติบโต กทม 2554
แนวโน้มการเติบโต กทม 2554
แนวโน้มการเติบโต กทม 2554
แนวโน้มการเติบโต กทม 2554
แนวโน้มการเติบโต กทม 2554
แนวโน้มการเติบโต กทม 2554
แนวโน้มการเติบโต กทม 2554
แนวโน้มการเติบโต กทม 2554
แนวโน้มการเติบโต กทม 2554
แนวโน้มการเติบโต กทม 2554
แนวโน้มการเติบโต กทม 2554
แนวโน้มการเติบโต กทม 2554
แนวโน้มการเติบโต กทม 2554
แนวโน้มการเติบโต กทม 2554
แนวโน้มการเติบโต กทม 2554
แนวโน้มการเติบโต กทม 2554
แนวโน้มการเติบโต กทม 2554
แนวโน้มการเติบโต กทม 2554
แนวโน้มการเติบโต กทม 2554
แนวโน้มการเติบโต กทม 2554
แนวโน้มการเติบโต กทม 2554
แนวโน้มการเติบโต กทม 2554
แนวโน้มการเติบโต กทม 2554
แนวโน้มการเติบโต กทม 2554
แนวโน้มการเติบโต กทม 2554
แนวโน้มการเติบโต กทม 2554
แนวโน้มการเติบโต กทม 2554
แนวโน้มการเติบโต กทม 2554
แนวโน้มการเติบโต กทม 2554
แนวโน้มการเติบโต กทม 2554
แนวโน้มการเติบโต กทม 2554
แนวโน้มการเติบโต กทม 2554
แนวโน้มการเติบโต กทม 2554
แนวโน้มการเติบโต กทม 2554
แนวโน้มการเติบโต กทม 2554
แนวโน้มการเติบโต กทม 2554
แนวโน้มการเติบโต กทม 2554
แนวโน้มการเติบโต กทม 2554
แนวโน้มการเติบโต กทม 2554
แนวโน้มการเติบโต กทม 2554
แนวโน้มการเติบโต กทม 2554
แนวโน้มการเติบโต กทม 2554
แนวโน้มการเติบโต กทม 2554
แนวโน้มการเติบโต กทม 2554
แนวโน้มการเติบโต กทม 2554
แนวโน้มการเติบโต กทม 2554
แนวโน้มการเติบโต กทม 2554
แนวโน้มการเติบโต กทม 2554
แนวโน้มการเติบโต กทม 2554
แนวโน้มการเติบโต กทม 2554
แนวโน้มการเติบโต กทม 2554
แนวโน้มการเติบโต กทม 2554
แนวโน้มการเติบโต กทม 2554
แนวโน้มการเติบโต กทม 2554
แนวโน้มการเติบโต กทม 2554
แนวโน้มการเติบโต กทม 2554
แนวโน้มการเติบโต กทม 2554
แนวโน้มการเติบโต กทม 2554
แนวโน้มการเติบโต กทม 2554
แนวโน้มการเติบโต กทม 2554
แนวโน้มการเติบโต กทม 2554
แนวโน้มการเติบโต กทม 2554
แนวโน้มการเติบโต กทม 2554
แนวโน้มการเติบโต กทม 2554
แนวโน้มการเติบโต กทม 2554
แนวโน้มการเติบโต กทม 2554
แนวโน้มการเติบโต กทม 2554
แนวโน้มการเติบโต กทม 2554
แนวโน้มการเติบโต กทม 2554
แนวโน้มการเติบโต กทม 2554
แนวโน้มการเติบโต กทม 2554
แนวโน้มการเติบโต กทม 2554
แนวโน้มการเติบโต กทม 2554
แนวโน้มการเติบโต กทม 2554
แนวโน้มการเติบโต กทม 2554
แนวโน้มการเติบโต กทม 2554
แนวโน้มการเติบโต กทม 2554
แนวโน้มการเติบโต กทม 2554
แนวโน้มการเติบโต กทม 2554
แนวโน้มการเติบโต กทม 2554
แนวโน้มการเติบโต กทม 2554
แนวโน้มการเติบโต กทม 2554
แนวโน้มการเติบโต กทม 2554
แนวโน้มการเติบโต กทม 2554
แนวโน้มการเติบโต กทม 2554
แนวโน้มการเติบโต กทม 2554
แนวโน้มการเติบโต กทม 2554
แนวโน้มการเติบโต กทม 2554
แนวโน้มการเติบโต กทม 2554
แนวโน้มการเติบโต กทม 2554
แนวโน้มการเติบโต กทม 2554
แนวโน้มการเติบโต กทม 2554
แนวโน้มการเติบโต กทม 2554
แนวโน้มการเติบโต กทม 2554
แนวโน้มการเติบโต กทม 2554
แนวโน้มการเติบโต กทม 2554
แนวโน้มการเติบโต กทม 2554
แนวโน้มการเติบโต กทม 2554
แนวโน้มการเติบโต กทม 2554
แนวโน้มการเติบโต กทม 2554
แนวโน้มการเติบโต กทม 2554
แนวโน้มการเติบโต กทม 2554
แนวโน้มการเติบโต กทม 2554
แนวโน้มการเติบโต กทม 2554
แนวโน้มการเติบโต กทม 2554
แนวโน้มการเติบโต กทม 2554
แนวโน้มการเติบโต กทม 2554
แนวโน้มการเติบโต กทม 2554
แนวโน้มการเติบโต กทม 2554
แนวโน้มการเติบโต กทม 2554
แนวโน้มการเติบโต กทม 2554
แนวโน้มการเติบโต กทม 2554
แนวโน้มการเติบโต กทม 2554
แนวโน้มการเติบโต กทม 2554
แนวโน้มการเติบโต กทม 2554
แนวโน้มการเติบโต กทม 2554
แนวโน้มการเติบโต กทม 2554
แนวโน้มการเติบโต กทม 2554
แนวโน้มการเติบโต กทม 2554
แนวโน้มการเติบโต กทม 2554
แนวโน้มการเติบโต กทม 2554
แนวโน้มการเติบโต กทม 2554
แนวโน้มการเติบโต กทม 2554
แนวโน้มการเติบโต กทม 2554
แนวโน้มการเติบโต กทม 2554
แนวโน้มการเติบโต กทม 2554
แนวโน้มการเติบโต กทม 2554
แนวโน้มการเติบโต กทม 2554
แนวโน้มการเติบโต กทม 2554
แนวโน้มการเติบโต กทม 2554
แนวโน้มการเติบโต กทม 2554
แนวโน้มการเติบโต กทม 2554
แนวโน้มการเติบโต กทม 2554
แนวโน้มการเติบโต กทม 2554
แนวโน้มการเติบโต กทม 2554
แนวโน้มการเติบโต กทม 2554
แนวโน้มการเติบโต กทม 2554
แนวโน้มการเติบโต กทม 2554
แนวโน้มการเติบโต กทม 2554
แนวโน้มการเติบโต กทม 2554
แนวโน้มการเติบโต กทม 2554
แนวโน้มการเติบโต กทม 2554
แนวโน้มการเติบโต กทม 2554
แนวโน้มการเติบโต กทม 2554
แนวโน้มการเติบโต กทม 2554
แนวโน้มการเติบโต กทม 2554
แนวโน้มการเติบโต กทม 2554
แนวโน้มการเติบโต กทม 2554
แนวโน้มการเติบโต กทม 2554
แนวโน้มการเติบโต กทม 2554
แนวโน้มการเติบโต กทม 2554
แนวโน้มการเติบโต กทม 2554
แนวโน้มการเติบโต กทม 2554
แนวโน้มการเติบโต กทม 2554
แนวโน้มการเติบโต กทม 2554
แนวโน้มการเติบโต กทม 2554
แนวโน้มการเติบโต กทม 2554
แนวโน้มการเติบโต กทม 2554
แนวโน้มการเติบโต กทม 2554
แนวโน้มการเติบโต กทม 2554
แนวโน้มการเติบโต กทม 2554
แนวโน้มการเติบโต กทม 2554
แนวโน้มการเติบโต กทม 2554
แนวโน้มการเติบโต กทม 2554
แนวโน้มการเติบโต กทม 2554
แนวโน้มการเติบโต กทม 2554
แนวโน้มการเติบโต กทม 2554
แนวโน้มการเติบโต กทม 2554

More Related Content

Viewers also liked

คู่มือการใช้ SMARTDUGSTORE Version 5.0
คู่มือการใช้ SMARTDUGSTORE Version 5.0 คู่มือการใช้ SMARTDUGSTORE Version 5.0
คู่มือการใช้ SMARTDUGSTORE Version 5.0 Utai Sukviwatsirikul
 
08 arincare tutorial ใบรับสินค้า 28 9 59
08 arincare tutorial ใบรับสินค้า 28 9 5908 arincare tutorial ใบรับสินค้า 28 9 59
08 arincare tutorial ใบรับสินค้า 28 9 59Utai Sukviwatsirikul
 
ความเป็นไปได้ของร้านยาในการนำ (ร่าง) ประกาศกระทรวงสาธารณสุขเรื่องการกำหนดรายล...
ความเป็นไปได้ของร้านยาในการนำ (ร่าง) ประกาศกระทรวงสาธารณสุขเรื่องการกำหนดรายล...ความเป็นไปได้ของร้านยาในการนำ (ร่าง) ประกาศกระทรวงสาธารณสุขเรื่องการกำหนดรายล...
ความเป็นไปได้ของร้านยาในการนำ (ร่าง) ประกาศกระทรวงสาธารณสุขเรื่องการกำหนดรายล...Parun Rutjanathamrong
 
แนวทางการดำเนินงานเฝ้าระวัง โรคติดเชื้อไวรัสซิกา
แนวทางการดำเนินงานเฝ้าระวัง โรคติดเชื้อไวรัสซิกาแนวทางการดำเนินงานเฝ้าระวัง โรคติดเชื้อไวรัสซิกา
แนวทางการดำเนินงานเฝ้าระวัง โรคติดเชื้อไวรัสซิกาUtai Sukviwatsirikul
 
คู่มือการป้องกันควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสซิกา
คู่มือการป้องกันควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสซิกาคู่มือการป้องกันควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสซิกา
คู่มือการป้องกันควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสซิกาUtai Sukviwatsirikul
 
12 arincare tutorial สร้างสินค้าใหม่ 4 10 59
12 arincare tutorial สร้างสินค้าใหม่ 4 10 5912 arincare tutorial สร้างสินค้าใหม่ 4 10 59
12 arincare tutorial สร้างสินค้าใหม่ 4 10 59Utai Sukviwatsirikul
 
ทักษะการสื่อสารกับผู้ป่วย
 ทักษะการสื่อสารกับผู้ป่วย ทักษะการสื่อสารกับผู้ป่วย
ทักษะการสื่อสารกับผู้ป่วยUtai Sukviwatsirikul
 
หลักการออกแบบร้านค้าปลีกสมัยใหม่
หลักการออกแบบร้านค้าปลีกสมัยใหม่หลักการออกแบบร้านค้าปลีกสมัยใหม่
หลักการออกแบบร้านค้าปลีกสมัยใหม่Utai Sukviwatsirikul
 
การออกแบบร้านสะดวกซื้อ 1 คูหา
การออกแบบร้านสะดวกซื้อ 1 คูหาการออกแบบร้านสะดวกซื้อ 1 คูหา
การออกแบบร้านสะดวกซื้อ 1 คูหาUtai Sukviwatsirikul
 
04 arincare tutorial ขายสินค้าและพักบิลขาย 18 10 59 new
04 arincare tutorial ขายสินค้าและพักบิลขาย 18 10 59 new04 arincare tutorial ขายสินค้าและพักบิลขาย 18 10 59 new
04 arincare tutorial ขายสินค้าและพักบิลขาย 18 10 59 newUtai Sukviwatsirikul
 
หนังสือแนวปฏิบัติการจัดการของเสียทางการแพทย์ที่เป็นสารเคมี
หนังสือแนวปฏิบัติการจัดการของเสียทางการแพทย์ที่เป็นสารเคมีหนังสือแนวปฏิบัติการจัดการของเสียทางการแพทย์ที่เป็นสารเคมี
หนังสือแนวปฏิบัติการจัดการของเสียทางการแพทย์ที่เป็นสารเคมีUtai Sukviwatsirikul
 

Viewers also liked (18)

คู่มือการใช้ SMARTDUGSTORE Version 5.0
คู่มือการใช้ SMARTDUGSTORE Version 5.0 คู่มือการใช้ SMARTDUGSTORE Version 5.0
คู่มือการใช้ SMARTDUGSTORE Version 5.0
 
08 arincare tutorial ใบรับสินค้า 28 9 59
08 arincare tutorial ใบรับสินค้า 28 9 5908 arincare tutorial ใบรับสินค้า 28 9 59
08 arincare tutorial ใบรับสินค้า 28 9 59
 
Tax manual for start up
Tax manual for start upTax manual for start up
Tax manual for start up
 
ความเป็นไปได้ของร้านยาในการนำ (ร่าง) ประกาศกระทรวงสาธารณสุขเรื่องการกำหนดรายล...
ความเป็นไปได้ของร้านยาในการนำ (ร่าง) ประกาศกระทรวงสาธารณสุขเรื่องการกำหนดรายล...ความเป็นไปได้ของร้านยาในการนำ (ร่าง) ประกาศกระทรวงสาธารณสุขเรื่องการกำหนดรายล...
ความเป็นไปได้ของร้านยาในการนำ (ร่าง) ประกาศกระทรวงสาธารณสุขเรื่องการกำหนดรายล...
 
แนวทางการดำเนินงานเฝ้าระวัง โรคติดเชื้อไวรัสซิกา
แนวทางการดำเนินงานเฝ้าระวัง โรคติดเชื้อไวรัสซิกาแนวทางการดำเนินงานเฝ้าระวัง โรคติดเชื้อไวรัสซิกา
แนวทางการดำเนินงานเฝ้าระวัง โรคติดเชื้อไวรัสซิกา
 
Retail site selection checklist
Retail site selection checklist Retail site selection checklist
Retail site selection checklist
 
Business plan sampran pharmacy
Business plan sampran pharmacyBusiness plan sampran pharmacy
Business plan sampran pharmacy
 
Digital economy plan
Digital economy plan Digital economy plan
Digital economy plan
 
คู่มือการป้องกันควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสซิกา
คู่มือการป้องกันควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสซิกาคู่มือการป้องกันควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสซิกา
คู่มือการป้องกันควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสซิกา
 
12 arincare tutorial สร้างสินค้าใหม่ 4 10 59
12 arincare tutorial สร้างสินค้าใหม่ 4 10 5912 arincare tutorial สร้างสินค้าใหม่ 4 10 59
12 arincare tutorial สร้างสินค้าใหม่ 4 10 59
 
ทักษะการสื่อสารกับผู้ป่วย
 ทักษะการสื่อสารกับผู้ป่วย ทักษะการสื่อสารกับผู้ป่วย
ทักษะการสื่อสารกับผู้ป่วย
 
หลักการออกแบบร้านค้าปลีกสมัยใหม่
หลักการออกแบบร้านค้าปลีกสมัยใหม่หลักการออกแบบร้านค้าปลีกสมัยใหม่
หลักการออกแบบร้านค้าปลีกสมัยใหม่
 
Basic communication skills
Basic communication skillsBasic communication skills
Basic communication skills
 
การออกแบบร้านสะดวกซื้อ 1 คูหา
การออกแบบร้านสะดวกซื้อ 1 คูหาการออกแบบร้านสะดวกซื้อ 1 คูหา
การออกแบบร้านสะดวกซื้อ 1 คูหา
 
04 arincare tutorial ขายสินค้าและพักบิลขาย 18 10 59 new
04 arincare tutorial ขายสินค้าและพักบิลขาย 18 10 59 new04 arincare tutorial ขายสินค้าและพักบิลขาย 18 10 59 new
04 arincare tutorial ขายสินค้าและพักบิลขาย 18 10 59 new
 
Retail site-selection-checklist
Retail site-selection-checklistRetail site-selection-checklist
Retail site-selection-checklist
 
หนังสือแนวปฏิบัติการจัดการของเสียทางการแพทย์ที่เป็นสารเคมี
หนังสือแนวปฏิบัติการจัดการของเสียทางการแพทย์ที่เป็นสารเคมีหนังสือแนวปฏิบัติการจัดการของเสียทางการแพทย์ที่เป็นสารเคมี
หนังสือแนวปฏิบัติการจัดการของเสียทางการแพทย์ที่เป็นสารเคมี
 
Healthcare logistics 2558
Healthcare logistics 2558Healthcare logistics 2558
Healthcare logistics 2558
 

More from Utai Sukviwatsirikul

Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนNanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนUtai Sukviwatsirikul
 
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันClinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันUtai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...Utai Sukviwatsirikul
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaSaccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaUtai Sukviwatsirikul
 
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)Utai Sukviwatsirikul
 
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaDrugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaUtai Sukviwatsirikul
 
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Utai Sukviwatsirikul
 
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Utai Sukviwatsirikul
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Utai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตUtai Sukviwatsirikul
 
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงUtai Sukviwatsirikul
 
ความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตUtai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)Utai Sukviwatsirikul
 
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการพระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการUtai Sukviwatsirikul
 
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินUtai Sukviwatsirikul
 

More from Utai Sukviwatsirikul (20)

Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนNanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
 
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันClinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
 
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
 
Supply chain management
Supply chain managementSupply chain management
Supply chain management
 
Best practice in communication
Best practice in communicationBest practice in communication
Best practice in communication
 
Basic communication skills 2554
Basic communication skills 2554Basic communication skills 2554
Basic communication skills 2554
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaSaccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
 
SME Handbook
SME HandbookSME Handbook
SME Handbook
 
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
 
Scientific evidence of BIOFLOR
Scientific evidence of BIOFLORScientific evidence of BIOFLOR
Scientific evidence of BIOFLOR
 
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaDrugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
 
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
 
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
 
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
 
ความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไต
 
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
 
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการพระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
 
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
 

แนวโน้มการเติบโต กทม 2554

  • 1.
  • 3. คํานํา รายงานการศึกษา เรื่อง “แนวโนมการเติบโตของชุมชนในเขตกรุงเทพมหานคร ป พ.ศ.2554” ฉบับนี้ เปนสวนหนึ่งของการศึกษาขอมูลดานที่อยูอาศัย ประเภทชุมชนในเขตกรุงเทพมหานครปปจจุบัน ประกอบดวย ที่ตั้งชุมชน ประเภทชุมชน จํานวนบาน จํานวนครัวเรือน จํานวนพื้นที่และกรรมสิทธิ์ในที่ดินของ ชุมชนในที่ดินของชุมชนในแตละพื้นที่ของกรุงเทพมหานคร เพื่อใชเปนขอมูลพื้นฐานประกอบการวางและจัดทํา ผังเมืองรวม กรุงเทพมหานครรวมทั้งเปนแนวทางในการพัฒนาและแกไขปญหาตางๆ ของเมืองที่อาจเกิดขึ้นใน อนาคต เอกสารฉบับนี้ สําเร็จลุลวงดวยดี ดวยความรวมมือจากหนวยงานตางๆ อาทิ ฝายพัฒนาชุมชนและ สวัสดิการสังคม สํานักงานเขต 50เขต ซึ่งกองนโยบายและแผนงาน สํานักผังเมือง ขอขอบคุณมา ณ โอกาสนี้ และ กองนโยบายและแผนงาน สํานักผังเมือง กรุงเทพมหานคร หวังเปนอยางยิ่งวารายงานการศึกษาฉบับนี้คงจะเปน ประโยชนแกหนวยงานที่เกี่ยวของไดไมมากก็นอย กองนโยบายและแผนงาน สํานักผังเมือง กรุงเทพมหานคร สิงหาคม 2555
  • 4. หนา คํานํา สารบัญ สารบัญตาราง สารบัญแผนภูมิ สารบัญแผนที่ บทที่ 1 บทนํา - ความเปนมาของปญหา 1 - วัตถุประสงค 1 - ขอบเขตการศึกษา 1 - วิธีการดําเนินการศึกษา 2 - ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ 2 บทที่ 2 ทฤษฎีและแนวคิดที่เกี่ยวของ - นิยามศัพท 3 - กฎกระทรวงใหใชบังคับผังเมืองรวม กรุงเทพมหานคร พ.ศ.2549 3 - ผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร (ปรับปรุงครั้งที่ 1) พ.ศ.2542 5 - ระเบียบกรุงเทพมหานครวาดวยกรรมการชุมชน พ.ศ. 2534 6 - ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการจัดใหมีโฉนดชุมชน พ.ศ. 2553 7 บทที่ 3 ชุมชนในเขตกรุงเทพมหานคร - สภาพทั่วไปของชุมชนในเขตกรุงเทพมหานคร 8 - ที่ตั้งและการกระจายตัวของชุมชนในเขตกรุงเทพมหานคร 8 บทที่ 4 ผลการศึกษาชุมชนในเขตกรุงเทพมหานคร - แนวโนมการเปลี่ยนแปลงชุมชนในเขตกรุงเทพมหานคร 35 บทที่ 5 สรุปผลการศึกษาและขอเสนอแนะ 38 บรรณานุกรม 48 ภาคผนวก - ตารางแสดงประเภทชุมชน พื้นที่ จํานวนประชากร จํานวนบาน จํานวนครัวเรือน (1)-(141) และกรรมสิทธิ์ในที่ดินของชุมชนในเขตกรุงเทพมหานคร ป พ.ศ. 2554 จําแนกตามรายเขต คณะผูดําเนินการ สารบัญ
  • 5. หนา ตารางที่ 1 จํานวนและประเภทชุมชนในกรุงเทพมหานคร 19 จําแนกตามกลุมเขต ป พ.ศ. 2554 ตารางที่ 2 จํานวนและประเภทชุมชนในกรุงเทพมหานคร 20 จําแนกตามรายเขต ป พ.ศ. 2554 ตารางที่ 3 จํานวนชุมชน จํานวนพื้นที่ จํานวนประชากร จํานวนบาน จํานวนครัวเรือน 22 ในกรุงเทพมหานคร จําแนกตามกลุมเขต ป พ.ศ.2554 ตารางที่ 4 จํานวนชุมชน จํานวนพื้นที่ จํานวนประชากร จํานวนบาน 23 จํานวนครัวเรือน ในกรุงเทพมหานคร จําแนกตามรายเขต ป พ.ศ.2554 ตารางที่ 5 การเปรียบเทียบจํานวนชุมชนและประเภทชุมชนในกรุงเทพมหานคร จําแนกตามกลุม 41 ป พ.ศ. 2553 - ป พ.ศ. 2554 ตารางที่ 6 การเปรียบเทียบจํานวนชุมชนและประเภทชุมชนในกรุงเทพมหานคร จําแนกตามรายเ 42 ป พ.ศ. 2553 - ป พ.ศ. 2554 สารบัญตาราง
  • 6. หนา แผนภูมิที่ 1 จํานวนชุมชนในกรุงเทพมหานคร จําแนกตามกลุมเขต ป พ.ศ. 2554 25 แผนภูมิที่ 2 ประเภทชุมชนในกรุงเทพมหานคร จําแนกตามกลุมเขต ป พ.ศ. 2554 25 แผนภูมิที่ 3 จํานวนชุมชนในกรุงเทพมหานคร จําแนกตามรายเขต ป พ.ศ. 2554 26 แผนภูมิที่ 4 ประเภทชุมชน ในกรุงเทพมหานคร จําแนกตามรายเขต ป พ.ศ.2554 27 แผนภูมิที่ 5 แสดงจํานวนชุมชน จํานวนประชากร จํานวนบาน จํานวนครัวเรือน 28 จําแนกตามรายเขต ป พ.ศ.2554 แผนภูมิที่ 6 การเปรียบเทียบจํานวนชุมชนในกรุงเทพมหานคร 46 จําแนกตามรายเขต ป พ.ศ. 2553 - ป พ.ศ. 2554 แผนภูมิที่ 7 การเปรียบเทียบประเภทชุมชนในกรุงเทพมหานคร 47 จําแนกตามกลุมเขต ป พ.ศ. 2553- ป พ.ศ.2554 สารบัญแผนภูมิ
  • 7. หนา แผนที่ ที่ 1 ที่ตั้งชุมชนในเขตกรุงเทพมหานคร ป พ.ศ. 2554 29 แผนที่ ที่ 2 ที่ตั้งชุมชน (ประเภทชุมชนแออัด) ในเขตกรุงเทพมหานคร ป พ.ศ. 2554 30 แผนที่ ที่ 3 ที่ตั้งชุมชน (ประเภทชุมชนหมูบานจัดสรร) ในเขตกรุงเทพมหานคร ป พ.ศ. 2554 31 แผนที่ ที่ 4 ที่ตั้งชุมชน (ประเภทชุมชนชานเมือง) ในเขตกรุงเทพมหานคร ป พ.ศ. 2554 32 แผนที่ ที่ 5 ที่ตั้งชุมชน (ประเภทชุมชนเมือง) ในเขตกรุงเทพมหานคร ป พ.ศ. 2554 33 แผนที่ ที่ 6 ที่ตั้งชุมชน (ประเภทเคหะชุมชน) ในเขตกรุงเทพมหานคร ป พ.ศ. 2554 34 สารบัญแผนที่
  • 8. ตารางแสดงประเภทชุมชน พื้นที่ จํานวนประชากร จํานวนบาน จํานวนครัวเรือน และกรรมสิทธิ์ในที่ดิน ของชุมชนในเขตกรุงเทพมหานคร ป พ.ศ.2554 หนา ตารางที่ 1 เขตพระนคร (1) ตารางที่ 2 เขตปอมปราบศัตรูพาย (3) ตารางที่ 3 เขตสัมพันธวงศ (4) ตารางที่ 4 เขตปทุมวัน (6) ตารางที่ 5 เขตราชเทวี (7) ตารางที่ 6 เขตบางรัก (9) ตารางที่ 7 เขตดุสิต (11) ตารางที่ 8 เขตพญาไท (14) ตารางที่ 9 เขตสาทร (16) ตารางที่ 10 เขตยานนาวา (18) ตารางที่ 11 เขตบางคอแหลม (20) ตารางที่ 12 เขตบางซื่อ (22) ตารางที่ 13 เขตจตุจักร (25) ตารางที่ 14 เขตหวยขวาง (28) ตารางที่ 15 เขตดินแดง (30) ตารางที่ 16 เขตคลองเตย (32) ตารางที่ 17 เขตวัฒนา (35) ตารางที่ 18 เขตบางพลัด (37) ตารางที่ 19 เขตบางกอกนอย (40) ตารางที่ 20 เขตบางกอกใหญ (43) ตารางที่ 21 เขตคลองสาน (45) ตารางที่ 22 เขตธนบุรี (48) ตารางที่ 23 เขตดอนเมือง (51) ตารางที่ 24 เขตหลักสี่ (56) ตารางที่ 25 เขตบางเขน (61) ตารางที่ 26 เขตสายไหม (66) ตารางที่ 27 เขตลาดพราว (71) สารบัญภาคผนวก
  • 9. หนา ตารางที่ 28 เขตบางกะป (73) ตารางที่ 29 เขตวังทองหลาง (75) ตารางที่ 30 เขตพระโขนง (77) ตารางที่ 31 เขตบางนา (80) ตารางที่ 32 เขตประเวศ (83) ตารางที่ 33 เขตสวนหลวง (86) ตารางที่ 34 เขตบึงกุม (89) ตารางที่ 35 เขตคันนายาว (92) ตารางที่ 36 เขตสะพานสูง (95) ตารางที่ 37 เขตตลิ่งชัน (97) ตารางที่ 38 เขตทวีวัฒนา (100) ตารางที่ 39 เขตภาษีเจริญ (101) ตารางที่ 40 เขตบางแค (105) ตารางที่ 41 เขตหนองแขม (108) ตารางที่ 42 เขตราษฎรบูรณะ (112) ตารางที่ 43 เขตทุงครุ (114) ตารางที่ 44 เขตจอมทอง (116) ตารางที่ 45 เขตมีนบุรี (120) ตารางที่ 46 เขตคลองสามวา (124) ตารางที่ 47 เขตลาดกระบัง (129) ตารางที่ 48 เขตหนองจอก (133) ตารางที่ 49 เขตบางขุนเทียน (138) ตารางที่ 50 เขตบางบอน (141) สารบัญภาคผนวก (ตอ)
  • 10. บทที่ 1 บทนํา ความเปนมาของปญหา ปจจุบันชุมชนในเขตกรุงเทพมหานครมีการขยายตัวอยางรวดเร็ว แตไมมีความพรอมในดาน การจัดบริการพื้นฐานในการดํารงชีวิตใหแกผูอยูอาศัยในชุมชน ขาดการวางแผนควบคุมการใชประโยชนที่ดิน อยางมีประสิทธิภาพ ทําใหเกิดการตั้งถิ่นฐานอยางไรทิศทาง เกิดชุมชนแออัด เกิดผูดอยโอกาสทั้งในดาน การศึกษาและการหารายไดในการดํารงชีวิต ชุมชนมีสภาพทรุดโทรมไรระเบียบ กรุงเทพมหานคร มุงเนนการพัฒนาและปรับปรุงชุมชนในเขตกรุงเทพมหานครใหมีความเปน ระเบียบ มีความสวยงาม เพื่อใหมีการใชประโยชนที่ดินอยางมีประสิทธิภาพ สามารถรองรับและสอดคลองกับ การขยายตัวของเมืองในอนาคต สงเสริมพัฒนาเศรษฐกิจ และโครงขายการบริการสาธารณะ สงเสริมการพัฒนา ดานที่อยูอาศัยของผูมีรายไดนอย พัฒนาการบริการทางสังคม การบริการสาธารณูปโภค สาธารณูปการ ให เพียงพอและไดมาตรฐาน มีคุณภาพมากขึ้น ควบคุมสภาพแวดลอมของชุมชนใหเหมาะสมกับการอยูอาศัย โดย สอดคลองกับแผนพัฒนาที่อยูอาศัย ในชวงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ซึ่งมุงเนนการพัฒนาความ มั่นคงในสิทธิการอยูอาศัยของผูมีรายไดนอย จึงเปนสาเหตุใหมีการศึกษาขอมูลของชุมชน ซึ่งเปนขอมูลพื้นฐาน สําคัญอันจะทําใหเขาใจถึงลักษณะและขอเท็จจริงของชุมชนในเขตกรุงเทพมหานครและเพื่อเปนแนวทางในการ พัฒนาและแกไขปญหาตาง ๆ ของเมืองที่อาจจะเกิดขึ้นในอนาคต วัตถุประสงค 1. เพื่อทราบถึงจํานวนที่ตั้งและการกระจายตัวของชุมชนในเขตกรุงเทพมหานครปปจจุบัน 2. เพื่อทราบถึงแนวโนม การเติบโตของชุมชนในเขตกรุงเทพมหานครปปจจุบัน 3. เพื่อเปนแนวทางประกอบการวางและจัดทําผังเมืองรวม กรุงเทพมหานครตลอดจนวางแผน พัฒนา ปรับปรุงแกไขปญหาดานตาง ๆ ของเมืองในอนาคต 4. เพื่อเปนขอมูลพื้นฐานประกอบการดําเนินงานของหนวยงานอื่นๆ ที่เกี่ยวของ ขอบเขตการศึกษา ในการศึกษาครั้งนี้เปนการศึกษาแนวโนมการเติบโตของชุมชนในเขตกรุงเทพมหานคร ป พ.ศ.2554 โดยจะทําการศึกษาชุมชนในความหมายตามระเบียบกรุงเทพมหานครวาดวยกรรมการชุมชน พ.ศ. 2534 หมายถึง ชุมชนแออัด ชุมชนหมูบานจัดสรร ชุมชนชานเมือง ชุมชนเมืองและเคหะชุมชน ซึ่งกรุงเทพมหานครได ประกาศกําหนดเปนชุมชน โดยมุงศึกษาถึงจํานวนที่ตั้ง การกระจายตัวของชุมชน และแนวโนมการเติบโตของ ชุมชนในพื้นที่เขตกรุงเทพมหานครป พ.ศ. 2554 เพื่อเปนแนวทางปรับปรุง พัฒนาและดําเนินการประกอบการ วางและจัดทําผังเมืองรวมกรุงเทพมหานครตอไป
  • 11. วิธีการดําเนินการศึกษา 1. ศึกษา และรวบรวมขอมูลดานชุมชนในกรุงเทพมหานคร ปปจจุบัน(พ.ศ. 2554) จาก ฝายพัฒนาชุมชนและสวัสดิการสังคม สํานักงานเขต 50 เขต ของกรุงเทพมหานคร 2. วิเคราะห และประมวลผลการกระจายตัวของชุมชนในเขตตางๆ ของกรุงเทพมหานคร 3. สรุปผลการศึกษา และขอเสนอแนะ ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ 1. ทําใหทราบถึงจํานวนที่ตั้ง และการกระจายตัวของชุมชนในเขตกรุงเทพมหานครปปจจุบัน 2. ทําใหทราบถึงแนวโนมการเติบโตของชุมชนในเขตกรุงเทพมหานคร ป พ.ศ.2554 3. เพื่อประกอบการวางและจัดทําผังเมืองรวม กรุงเทพมหานคร และผังพัฒนาเขต 4. เปนขอมูลพื้นฐานเพื่อเปนประโยชนแกกรุงเทพมหานคร และหนวยงานที่เกี่ยวของ ในดานที่อยูอาศัย ประเภทชุมชนในเขตกรุงเทพมหานคร
  • 12. บทที่ 2 ทฤษฎีและแนวคิดที่เกี่ยวเของ (1) กฎกระทรวงใหใชบังคับผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร พ.ศ.2549 1.1 นิยามศัพท “การใชประโยชนที่ดิน” หมายความวา การใชประโยชนที่ดิน เพื่อประกอบกิจกรรมใดๆ ไมวา กิจการนั้นจะกระทําบนพื้นดิน เหนือพื้นดิน หรือใตพื้นที่ดินและไมวาจะอยูภายในอาคารหรือนอกอาคาร (กฏกระทรวงใหใชบังคับผังเมืองรวมกรุงทพมหานคร พ.ศ.2549) “การอยูอาศัย” หมายถึง การเขาไปเพื่อกินอยูหลับนอน เปนปกติวิสัยอยางถาวรใน อาคารที่เปนบานเดี่ยว บานแฝด เรือนแถว อาคารชุด หอพัก อพารทเมนต เปนตน (กฎกระทรวงใหใชบังคับ ผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2549) “อาคารอยูอาศัย” หมายความวา อาคารซึ่งโดยปกติบุคคล ใชอยูอาศัยไดทั้งกลางวัน และกลางคืน ไมวาจะเปนการอยูอาศัยอยางถาวรหรือชั่วคราว (กฎกระทรวงใหใชบังคับผังเมืองรวม กรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2549) 1.2 กฎกระทรวงใหใชบังคับผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร พ.ศ.2549 ไดจําแนกประเภทการใช ประโยชนที่ดินไวจํานวน 10 ประเภท คือ 1. ที่ดินประเภทที่อยูอาศัยหนาแนนนอย (สีเหลือง) แบงออกเปน 4 ประเภท (ย.1 – ย.4) โดยประเภท ย.1 บริเวณที่สงเสริมสภาพแวดลอมของการอยูอาศัยบริเวณเขตชานเมือง ประเภท ย.2 บริเวณที่ รองรับการขยายตัวของที่อยูอาศัยในบริเวณชานเมือง ประเภท ย. 3 บริเวณที่ดํารงรักษาสภาพแวดลอมของการ อยูอาศัย บริเวณระหวางเขตเมืองชั้นในกับเขตชานเมืองและบริเวณโดยรอบศูนยชุมชน และประเภท ย.4 บริเวณที่ ดํารงรักษาสภาพแวดลอมของการอยูอาศัยบริเวณระหวางเขตเมืองชั้นในกับเขตชานเมืองที่มีความสะดวกในการ เดินทาง 2. ที่ดินประเภทที่อยูอาศัยหนาแนนปานกลาง (สีสม) แบงออกเปน 3 ประเภท (ย.5 –ย.7) โดยประเภทย.5 บริเวณที่รองรับการขยายตัวของที่อยูอาศัยจากเขตเมืองชั้นในโดยเปนที่อยูอาศัยหนาแนนปานกลาง ที่มีสภาพแวดลอมดีในบริเวณพื้นที่ตอเนื่องกับเขตเมืองชั้นใน และบริเวณศูนยชุมชนชานเมือง ประเภท ย.6 บริเวณที่รองรับการอยูอาศัยใกลแหลงงาน บริเวณพื้นที่ตอเนื่องกับศูนยชุมชนชานเมือง ศูนยพาณิชยกรรมชุมชน และเขตอุตสาหกรรม และประเภท ย.7 บริเวณที่รองรับการอยูอาศัยในบริเวณพื้นที่ตอเนื่องกับเขตเมืองชั้นใน ซึ่งอยูในเขตการใหบริการของระบบขนสงมวลชน 3. ที่ดินประเภทที่อยูอาศัยหนาแนนมาก (สีน้ําตาล) แบงออกเปน 3 ประเภท (ย.8–ย.10) โดยประเภท ย.8 บริเวณที่รองรับการอยูอาศัย ในบริเวณพื้นที่เมืองชั้นในและบริเวณริมแมน้ําเจาพระยา ที่มีการ สงเสริมและดํารงรักษาทัศนียภาพ และสภาพแวดลอมทางธรรมชาติ ประเภท ย.9 บริเวณที่รองรับการอยูอาศัย ในบริเวณพื้นที่เมืองชั้นใน ซึ่งอยูในเขตการใหบริการของระบบขนสงมวลชน และประเภท ย.10 บริเวณที่รองรับ
  • 13. การอยูอาศัยในบริเวณพื้นที่เมืองชั้นในที่ตอเนื่องกับยานพาณชิยกรรม ศูนยกลางเมือง และในเขตการใหบริการ ของระบบขนสงมวลชน 4. ที่ดินประเภทพาณิชยกรรม (สีแดง) แบงออกเปน 5 ประเภท (พ.1 – พ.5) ตามระดับ และสภาพของกิจกรรมทางเศรษฐกิจโดยประเภท พ.1 บริเวณที่ใหใชประโยชนเปนพาณิชยกรรมชุมชน เพื่อ กระจายรายกิจกรรมการคาและบริการที่อํานวยความสะดวกตอการดํารงชีวิตประจําวันของประชาชนในบริเวณที่ อยูอาศัยชานเมือง ประเภท พ.2 บริเวณที่ใหใชประโยชนเปนศูนยพาณิชยกรรม ชุมชนยอย เพื่อกระจายกิจกรรม การคาและบริการที่อํานวยความสะดวกตอการดํารงชีวิตประจําวันของประชาชนในเขตชุมชนในพื้นที่เขตอเมืองและ ชานเมือง ประเภท พ.3 บริเวณที่ใหใชประโยชนเปนศูนยพาณิชยกรรมชุมชนรองและพาณิชยกรรมเมือง เพื่อรองรับ การประกอบกิจกรรมทางธุรกิจการคาและการบริการ รวมทั้งการคาและการบริการเฉพาะประเภทที่ใหบริการแก ประชาชนโดยทั่วไป ประเภท พ.4 บริเวณที่ใหใชประโยชนเปนศูนยชุมชนชานเมืองและศูนยพาณิชยกรรมรอง เพื่อสงเสริมศูนยกลางทางธุรกิจการคา การบริการ และสันทนาการที่จะกอใหเกิดความสมดุลระหวางที่อยูอาศัย และ แหลงงานของประชาชนที่อยูอาศัยบริเวณเขตชานเมือง และเพื่อสงเสิรมการประกอบกิจกรรมทางธุรกิจ การคา การ บริการและสันทนาการในบริเวณโดยรอบศูนยคมนาคมของระบบขนสงมวลชนและเขตรองรับการขยายตัวทาง เศรษฐกิจของศูนยพาณิชยกรรมหลัก และประเภท พ. 5 บริเวณที่ใหใชประโยชนเปนศูนยพาณิชยกรรมหลัก เพื่อ สงเสริมความเปนศูนยกลางทางธุรกิจ การคา การบริการและการทองเที่ยวในระดับภูมิภาคเอเชียตะวันออก-เฉียงใต 5. ที่ดินประเภทอุตสาหกรรม (สีมวง) แบงออกเปน 2 ประเภท (อ.1 – อ.2) โดย ประเภท อ.1 บริเวณที่เปนเขตอุตสาหกรรมเพื่อการบริหารและจัดการดานสิ่งแวดลอม สําหรับการประกอบ กิจกรรมประเภทอุตสาหกรรมการผลิตที่มีมลพิษนอย และประเภท อ.2 บริเวณนิคมอุตสาหกรรม ซึ่งจัดตั้งขึ้นตาม กฎหมายวาดวยการนิคมอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย 6. ที่ดินประเภทคลังสินคา (สีเม็ดมะปราง) กําหนดเปนประเภท อ.3 โดยใหเปนที่ดิน ประเภทคลังสินคา โดยมีเจตนารมณเพื่อคลังสินคา การเก็บและขนถายสินคาเพื่อการขนสงในระดับภูมิภาคเอเซีย ตะวันออกเฉียงใต 7. ที่ดินประเภทอนุรักษชนบทและเกษตรกรรม (สีขาวมีกรอบเสนทแยงสีเขียว) แบง ออกเปน 2 ประเภท (ก.1 – ก.2) ใหเปนที่ดินประเภทอนุรักษชนบทและเกษตรกรรม โดยประเภท ก.1 บริเวณที่ สงวนรักษาสภาพทางธรรมชาติของพื้นที่ชนบทและเกษตรกรรม ในบริเวณที่มีขอจํากัดดานการระบายน้ํา และมี ความเสี่ยงตอการเกิดอุทกภัย และประเภท ก.2 บริเวณที่สงวนรักษาสภาพพื้นที่ทางธรรมชาติของพื้นที่ชนบทและ เกษตรกรรม 8. ที่ดินประเภทชนบทและเกษตรกรรม (สีเขียว) แบงออกเปน 2 ประเภท (ก.3 – ก.4) ใหเปนที่ดินประเภทชนบทและเกษตรกรรม จําแนกตามสภาพทางกายภาพของพื้นที่ ซึ่งมีผลตอการประกอบการ เกษตรกรรมและตามระดับบริการสาธารณูปการของชุมชน โดยประเภท ก.3 บริเวณพื้นที่เกษตรกรรม การสงวน รักษาสภาพทางธรรมชาติ และการสงเสริมเศรษฐกิจการเกษตร และประเภท ก.4 บริเวณที่เปนชุมชนและศูนยกลาง การใหบริการทางสังคมและการสงเสริมเศรษฐกิจชุมชนในพื้นที่ชนบทและเกษตรกรรม
  • 14. 9. ที่ดินประเภทอนุรักษ เพื่อสงเสริมเอกลักษณ ศิลปวัฒนธรรมไทย (สีน้ําตาลออน) บริเวณพื้นที่ตามขอบัญญัติกรุงเทพมหานคร เรื่องกําหนดบริเวณหามกอสราง ดัดแปลง ใชหรือเปลี่ยนการใชอาคาร บางชนิดหรือบางประเภทภายในบิรเวณกรุงรัตนโกสินทรเขตชั้นใน และเขตชั้นนอก แบงออกเปน 2 ประเภท (ศ.1 – ศ.2) โดยประเภท ศ.1 บริเวณที่อนุรักษและสงเสริมเอกลักษณศิลปวัฒนธรรมของชาติ และสงเสิรมกิจกรรม ทางเศรษฐกิจดานการทองเที่ยว และประเภท ศ.2 บริเวณที่อนุรักษเอกลักษณ ศิลปวัฒนธรรมของชาติ และสงเสิรม กิจกรรมดานพาณิชยกรรม การบริการและการทองเที่ยวในเขตอนุรักษ ศิลปวัฒนธรรม 10. ที่ดินประเภทสถาบันราชการ การสาธารณูปโภค และสาธารณูปการ (สีน้ําเงิน) กําหนดเปนประเภท ส. บริเวณสถาบันราชการและกิจกรรมของรัฐที่เกี่ยวกับการสาธารณูปโภค สาธารณูปการหรือ สาธารณประโยชน โดยใหใชประโยชนเพื่อกิจกรรมของรัฐ ประกอบดวย สถานที่ทําการของราชการ สถานที่เพื่อ กิจกรรมดานสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ (2) ผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร (ปรับปรุงครั้งที่ 1) พ.ศ.2542 2.1 ที่อยูอาศัยตามผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร (ปรับปรุง ครั้งที่ 1) พ.ศ.2542 กําหนดไวดังนี้ การใชที่ดินเพื่อเปนที่อยูอาศัยในกรุงเทพมหานครไดมีการขยายตัวอยางตอเนื่องมาจาก การเจริญเติบโตทางดานเศรษฐกิจและจํานวนประชากรกอใหเกิดความตองการที่อยูอาศัยในรูปแบบแตกตางกัน ตามฐานะทางเศรษฐกิจและเทคโนโลยีของการกอสรางที่ทันสมัย 1. ที่อยูอาศัยในพื้นที่เขตเมืองชั้นในของ กทม. มีลักษณะสําคัญ 2 ประเภท คือ 1.1 ที่อยูอาศัยในเขตกรุงรัตนโกสินทร ยานสถาบันราชการและยานการคาเกา ไดแก เขตพระนคร เขตปอมปราบศัตรูพาย เขตสัมพันธวงศ เขตบางกอกนอย และเขตธนบุรี เปนตน 1.2 ที่อยูอาศัยในเขตยานธุรกิจการคา สํานักงานและการบริการ ไดแก เขตบางรัก เขตปทุมวัน เขตสาทร และเขตคลองเตย เปนตน ที่อยูอาศัยในเขตชั้นในแตเดิมนั้น ประกอบดวย ยานพักอาศัยชุมชนเกาแกในเขตพระนคร เขต ปอมปราบศัตรูพาย เขตสัมพันธวงศ ลักษณะอาคารสวนใหญประกอบดวย บานเดี่ยว ตึกแถว บานแถว หอพัก แฟลต อพารเมนต เปนตน 2. ที่อยูอาศัยในพื้นที่เขตตอเมืองของ กทม. มีลักษณะสําคัญ 3 ประการ คือ 2.1 ที่อยูอาศัยในลักษณะชุมชนเมืองใหญ ซึ่งประกอบดวยศูนยการคา สํานักงานธุรกิจ สถาบันราชการ และมีบริการสาธารณูปโภค และสาธารณูปการที่สมบูรณ ไดแก เขตประเวศ เขต พระโขนง เขตภาษีเจริญ และเขตราษฏรบูรณะ เปน 2.2 ที่อยูอาศัยซึ่งตั้งอยูภายใน Super Block ขนาดใหญ ซึ่งมีถนนสายหลัก 4 สายผาน และถนนซอยจํานวนมากใหบริการในการเขาถึงที่อยูอาศัย ไดแก เขตบางเขน เขตบึ่งกุม เขตดอนเมือง และเขตลาดพราว เปนตน 2.3 ที่อยูอาศัย ซึ่งตั้งกระจายตัวอยูตามเสนทางคมนาคมขนสงของถนน ทาง รถไฟ และคลอง ไดแก เขตตลิ่งชัน เขตหนองแขม และเขตประเวศ เปนตน
  • 15. ที่อยูอาศัยในเขตตอเมือง มีลักษณะแบบผสมผสานของอาคารพักอาศัยหลายประเภท ไดแก บานเดี่ยว ที่มีขนาดที่ดินตั้งแต 50-100 ตารางวา ทาวนเฮาส ที่มีความสูง 2-4 ชั้น ตึกแถว หอพัก แฟลต/ อพารเมนต ที่มีความสู 4 ชั้นขึ้นไป 3. ที่อยูอาศัยในเขตชานเมือง มีลักษณะสําคัญ ไดแก 3.1 ที่อยูอาศัยซึ่งตั้งกระจายตัวอยูตามเสนทางคมนาคมขนสง ทางถนน ทาง รถไฟ และคลอง ไดแก เขตมีนบุรีและเขตลาดกระบัง เปนตน 3.1 ที่อยูอาศัยซึ่งตั้งอยูบนพื้นที่เกษตร ไดแก เขตหนองจอก และเขตบางขุนเทียน ที่อยูอาศัยในเขตชานเมืองสวนใหญเปนอาคารบานเดี่ยวสูง 1–2ชั้น และทาวนเฮาสเปน สวนใหญ และมีสภาพเปนที่อยูอาศัยหนาแนนเบาบางตามจํานวนประชากร จํานวนบาน และขนาดพื้นที่เขตการ ปกครอง ซึ่งมีขนาดใหญและเดิมเปนพื้นที่เกษตรกรรม (3) ระเบียบกรุงเทพมหานครวาดวยกรรมการชุมชน พ.ศ. 2534 กรุงเทพมหานครไดใหความหมายของคําวา “ชุมชน” ไวในระเบียบกรุงเทพมหานครวาดวยกรรมการ ชุมชน พ.ศ. 2534 และจําแนกประเภทของชุมชนเพื่อเปนแนวทางในการวางแผนพัฒนา และแกไขปญหาตางๆ รายละเอียดดังนี้ “ชุมชน” หมายความวา ชุมชนแออัด ชุมชนหมูบานจัดสรร ชุมชนชานเมือง ชุมชนเมือง และ เคหะชุมชน ที่กรุงเทพมหานครกําหนดขึ้น ทั้งนี้โดยทําเปนประกาศกรุงเทพมหานคร 3.1 ประเภทของชุมชน แบงเปน 5 ประเภท รายละเอียดดังนี้ 1. ชุมชนแออัด หมายถึง ชุมชนสวนใหญที่มีอาคารหนาแนนไรระเบียบและชํารุดทรุดโทรม ประชาชนอยูอยางแออัด มีสภาพแวดลอมไมเหมาะสมอันอาจเปนอันตรายตอสุขภาพอนามัย และความปลอดภัย ของผูอยูอาศัย โดยใหถือเกณฑความหนาแนนของบานเรือนอยางนอย 15 หลังคาเรือนตอพื้นที่ 1 ไร 2. ชุมชนหมูบานจัดสรร หมายถึง ชุมชนที่มีบานจัดสรรที่เปนบานที่อยูอาศัยและดําเนินการ ในภาคเอกชนในเขตกรุงเทพมหานคร โดยมีลักษณะบานเปนบานเดี่ยวที่มีบริเวณ ทาวนเฮาส ตึกแถวหรือบานแฝด สภาพทั่วไปควรจะตองมีการพัฒนา เชน ทางระบายน้ํา ขยะ ทางเทา ซึ่งกรุงเทพมหานครพิจารณาถึงความ ตองการของประชาชนและความเหมาะสมในการที่จะเขาไปดําเนินการพัฒนา ซึ่งจะไดทําเปนประกาศกําหนดเปน ชุมชน 3. ชุมชนชานเมือง หมายถึง ชุมชนที่กรุงเทพมหานครไดจัดทําเปนประกาศกําหนดชุมชน โดยมีพื้นที่ดําเนินการดานเกษตรกรรมในเขตกรุงเทพมหานครรอบนอกเปนสวนใหญมีบานเรือนไมแออัด แตขาด การวางแผนทางดานผังชุมชน เชน ทางระบายน้ํา ทางเดินเทา เพื่อปองกันการเกิดปญหาน้ําทวมขังการสัญจรไป มาของประชาชนในชุมชน
  • 16. 4. ชุมชนเมือง หมายถึง ชุมชนที่มีความหนาแนนของบานเรือนนอยกวาชุมชนแออัด กลาวคือนอยกวา 15 หลังคาเรือนตอ 1 ไร แตมีความหนาแนนของจํานวนบานมากกวาชุมชนชานเมืองและ กรุงเทพมหานครไดจัดทําประกาศกําหนดเปนชุมชนโดยที่ชุมชนดังกลาว ไมเปนชุมชนตามที่กลาวมาในขออื่น ๆ 5. เคหะชุมชน หมายถึง ชุมชนที่ไดรับการจัดตั้งดําเนินการ และดูแลโครงการโดย การเคหะแหงชาติ มีสภาพเปนแฟลตและกรุงเทพมหานครเขาไปดําเนินการในดานทางระบายน้ํา ขยะ ทางเทา เศรษฐกิจ สังคม อนามัยและอื่นๆ 3.2 ขนาดของชุมชน หมายถึงขอบเขตพื้นที่ปกครองของชุมชนที่กําหนดโดยสํานักงานเขตเจาของทองที่ ซึ่งกําหนด ขนาดจากจํานวนหลังคาเรือนในชุมชน ดังนี้ 1. ชุมชนขนาดใหญ จํานวนบานไมต่ํากวา 500 หลังคาเรือน 2. ชุมชนขนาดกลาง จํานวนบานระหวาง 141 - 499 หลังคาเรือน 3. ชุมชนขนาดเล็ก จํานวนบานไมเกิน 140 หลังคาเรือน (4) ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการจัดใหมีโฉนดชุมชน พ.ศ.2553 กําหนดไวดังนี้ “โฉนดชุมชน” หมายความวา หนังสืออนุญาตใหชุมชนรวมกันบริหารจัดการครอบครองและใช ประโยชนในที่ดินของรัฐ เพื่อสรางความมั่นคงในการอยูอาศัยและการใชประโยชนในที่ดินของชุมชน ซึ่งชุมชนมี หนาที่ตองดูแลรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ตลอดจนปฏิบัติตามเงื่อนไขที่กําหนดไวโดยกฎกระทรวง และระเบียบนี้
  • 17. บทที่ 3 สภาพทั่วไปของชุมชนในเขตกรุงเทพมหานคร กรุงเทพมหานคร มีพื้นที่การปกครองทั้งสิ้น 1,568.737 ตารางกิโลเมตร หรือ 980,460.625 ไร แบงพื้นที่บริหารออกเปน 50 เขต มีประชากรป พ.ศ.2554 จํานวน 5,674,843 คน ชุมชนในเขตกรุงเทพมหานครมี ทั้งหมด จํานวน 2,009 ชุมชน โดยจําแนกเปนประเภทชุมชนแออัด 750 ชุมชน ประเภทชุมชนหมูบานจัดสรรมี 399 ชุมชน ประเภทชุมชนชานเมือง 404 ชุมชน ประเภทชุมชนเมือง 350 ชุมชน และประเภทเคหะชุมชน 106 ชุมชน มีประชากรในชุมชนทั้งสิ้น 2,003,793 คน คิดเปนรอยละ 35.31 ของประชากรกรุงเทพมหานคร มีจํานวน บาน 429,936 หลังคาเรือน จํานวน ครัวเรือน 520,018 ครัวเรือน ที่ตั้งและการกระจายตัวของชุมชนในเขตกรุงเทพมหานคร จากการศึกษาชุมชนในเขตกรุงเทพมหานคร มีจํานวนชุมชนทั้งสิ้น 2,009 ชุมชน ซึ่งกระจายตัว อยูในพื้นที่เขต 50 เขตของกรุงเทพมหานครพอสรุปสาระสําคัญไดดังนี้ 1. เขตพระนคร เขตพระนคร มีชุมชนทั้งหมดจํานวน 20 ชุมชน จําแนกเปนชุมชนแออัด 6 ชุมชนและชุมชนเมือง 14 ชุมชน ซึ่งกรุงเทพมหานครไดประกาศกําหนดเปนชุมชนแลวทั้ง 20 ชุมชน และมีกรรมการชุมชนทุกชุมชน กรรมสิทธิ์ที่ดินสวนใหญเปนที่เชาของสํานักงานทรัพยสินฯ มีจํานวนประชากร 22,528 คน จํานวนบาน 3,358 หลังคาเรือน จํานวนครัวเรือน 5,176 ครัวเรือน มีพื้นที่ชุมชนทั้งหมด 123.78 ไร คิดเปนรอยละ 3.58 ของพื้นที่เขต 2. เขตปอมปราบศัตรูพาย เขตปอมปราบฯ มีชุมชนทั้งหมดจํานวน 15 ชุมชน จําแนกเปนชุมชนแออัด 14 ชุมชน และ ชุมชนเมือง 1 ชุมชน ซึ่งกรุงเทพมหานครไดประกาศกําหนดเปนชุมชนแลวทั้ง 15 ชุมชน และมีกรรมการชุมชน ทุกชุมชน กรรมสิทธิ์ที่ดินสวนใหญเปนที่เชาของสํานักงานทรัพยสินสวนพระมหากษัตริย มีจํานวนประชากร 10,205 คน จํานวนบาน 2,137 หลังคาเรือน จํานวนครัวเรือน 2,789 ครัวเรือน มีพื้นที่ชุมชนทั้งหมด 36.50 ไร คิดเปนรอยละ 3.02 ของพื้นที่เขต 3. เขตสัมพันธวงศ เขตสัมพันธวงศ มีชุมชนทั้งหมดจํานวน 19 ชุมชน จําแนกเปนชุมชนเมืองทั้งสิ้น 19 ชุมชน ซึ่ง กรุงเทพมหานครไดประกาศกําหนดเปนชุมชนแลวทั้ง 19 ชุมชน และมีกรรมการชุมชนทุกชุมชน กรรมสิทธิ์ที่ดิน เปนของตนเองและเชา มีจํานวนประชากร 8,249 คน จํานวนบาน 2,379 หลังคาเรือน จํานวนครัวเรือน 2,316 ครัวเรือน มีพื้นที่ชุมชนทั้งหมด 40.60 ไร คิดเปนรอยละ4.59 ของพื้นที่เขต
  • 18. 4. เขตปทุมวัน เขตปทุมวัน มีชุมชนทั้งหมดจํานวน 17 ชุมชน จําแนกเปนชุมชนแออัด 13 ชุมชน ชุมชนเมือง 1 ชุมชน และเคหะชุมชน 3 ชุมชน ซึ่งกรุงเทพมหานครไดประกาศกําหนดเปนชุมชนแลวทั้ง 17 ชุมชน และมี กรรมการชุมชนทุกชุมชน กรรมสิทธิ์ที่ดินสวนใหญเปนที่เชาของกรมธนารักษและสํานักงานทรัพยสินฯ มีจํานวน ประชากร 28,820 คน จํานวนบาน 4,799 หลังคาเรือน จํานวนครัวเรือน 8,255 ครัวเรือน มีพื้นที่ชุมชน ทั้งหมด 301.5 ไร คิดเปนรอยละ 5.76 ของพื้นที่เขต 5. เขตราชเทวี เขตราชเทวี มีชุมชนทั้งหมดจํานวน 25 ชุมชน จําแนกเปนชุมชนแออัด 19 ชุมชน และ เคหะชุมชน 6 ชุมชน ซึ่งกรุงเทพมหานครไดประกาศกําหนดเปนชุมชนแลวทั้ง 25 ชุมชน และมีกรรมการชุมชน ทุกชุมชน กรรมสิทธิ์ที่ดินสวนใหญเปนที่บุกรุกการรถไฟฯ มีจํานวนประชากร 23,060 คน จํานวนบาน 4,834 หลังคาเรือน จํานวนครัวเรือน 5,902 ครัวเรือน มีพื้นที่ชุมชนทั้งหมด 530 ไร คิดเปนรอยละ 11.90 ของพื้นที่เขต 6. เขตบางรัก เขตบางรัก มีชุมชนทั้งหมดจํานวน 16 ชุมชน จําแนกเปนชุมชนแออัด 3 ชุมชน ชุมชนเมือง 12 ชุมชน และเคหะชุมชน 1 ชุมชน ซึ่งกรุงเทพมหานครไดประกาศกําหนดเปนชุมชนแลวทั้ง 16 ชุมชน และมี กรรมการชุมชนทุกชุมชน กรรมสิทธิ์ที่ดินสวนใหญเปนของตนเองและเชา มีจํานวนประชากร 18,831 คน จํานวน บาน 3,516 หลังคาเรือน จํานวนครัวเรือน 5,933 ครัวเรือน มีพื้นที่ชุมชนทั้งหมด 110 ไร คิดเปน รอยละ 3.18 ของพื้นที่เขต 7. เขตดุสิต เขตดุสิต มีชุมชนทั้งหมดจํานวน 44 ชุมชน จําแนกเปนชุมชนแออัด 17 ชุมชนและชุมชนเมือง 27 ชุมชน ซึ่งกรุงเทพมหานครไดประกาศกําหนดเปนชุมชนแลวทั้ง 44 ชุมชน และมีกรรมการชุมชนทุกชุมชน กรรมสิทธิ์ที่ดินสวนใหญเปนที่เชาของสํานักงานทรัพยสินฯ และกรมการศาสนาบางสวนบุกรุกที่ดินของรัฐ มี จํานวนประชากร 36,947 คน จํานวนบาน 7,237 หลังคาเรือน จํานวนครัวเรือน 9,638 ครัวเรือน มีพื้นที่ชุมชน ทั้งหมด 802.33 ไร คิดเปนรอยละ 12.04 ของพื้นที่เขต 8. เขตพญาไท เขตพญาไท มีชุมชนทั้งหมดจํานวน 29 ชุมชน จําแนกเปนชุมชนแออัด 14 ชุมชน ชุมชน หมูบานจัดสรร 3 ชุมชน ชุมชนเมือง 1 ชุมชน และเคหะชุมชน 11 ชุมชน ซึ่งกรุงเทพมหานครไดประกาศกําหนด เปนชุมชนแลวทั้ง 29 ชุมชน และมีกรรมการชุมชนทุกชุมชน กรรมสิทธิ์ที่ดินสวนใหญเปนของตนเอง มีจํานวน ประชากร 32,519 คน จํานวนบาน 7,261 หลังคาเรือน จํานวนครัวเรือน 7,718 ครัวเรือน มีพื้นที่ชุมชนทั้งหมด 543.20 ไร คิดเปนรอยละ 9.06 ของพื้นที่เขต
  • 19. 9. เขตสาทร เขตสาทร มีชุมชนทั้งหมดจํานวน 25 ชุมชน จําแนกเปนชุมชนแออัด 7 ชุมชน ชุมชนหมูบาน- จัดสรร 6 ชุมชน และชุมชนเมือง 12 ชุมชน ซึ่งกรุงเทพมหานครไดประกาศกําหนดเปนชุมชนแลวทั้ง 25 ชุมชน และมีกรรมการชุมชนทุกชุมชน กรรมสิทธิ์ที่ดินสวนใหญเปนของตนเองและเชามีจํานวนประชากร 34,843 คน จํานวนบาน 5,434 หลังคาเรือน จํานวนครัวเรือน 7,731 ครัวเรือน มีพื้นที่ชุมชนทั้งหมด 339.40 ไร คิดเปนรอยละ 5.82 ของพื้นที่เขต 10. เขตยานนาวา เขตยานนาวา มีชุมชนทั้งหมดจํานวน 19 ชุมชน จําแนกเปนชุมชนแออัด 13 ชุมชน และชุมชน- เมือง 6ชุมชน ซึ่งกรุงเทพมหานครไดประกาศกําหนดเปนชุมชนแลวทั้ง 19 ชุมชน และมีกรรมการชุมชนทุกชุมชน กรรมสิทธิ์ที่ดินสวนใหญเปนที่เชาและบางสวนบุกรุกที่ดินของรัฐ มีจํานวนประชากร 9,467 คน จํานวนบาน 3,376 หลังคาเรือน จํานวนครัวเรือน 3,691 ครัวเรือน มีพื้นที่ชุมชนทั้งหมด 162.30 ไร คิดเปนรอยละ 1.56 ของ พื้นที่เขต 11. เขตบางคอแหลม เขตบางคอแหลม มีชุมชนทั้งหมดจํานวน 29 ชุมชน จําแนกเปนชุมชนแออัด 27 ชุมชน ชุมชน- เมือง 2 ชุมชน ซึ่งกรุงเทพมหานครไดประกาศกําหนดเปนชุมชนแลวทั้ง 29 ชุมชน และมีกรรมการชุมชน ทุกชุมชน กรรมสิทธิ์ที่ดินสวนใหญเปนของตนเองและเชาของ สํานักงานทรัพยสินสวนพระมหากษัตริย มีจํานวน ประชากร 43,482 คน จํานวนบาน 7,033 หลังคาเรือน จํานวนครัวเรือน 10,818 ครัวเรือน มีพื้นที่ชุมชนทั้งหมด 486.60 ไร คิดเปนรอยละ 7.13 ของพื้นที่เขต 12. เขตบางซื่อ เขตบางซื่อ มีชุมชนทั้งหมดจํานวน 49 ชุมชน จําแนกเปนชุมชนแออัด 46 ชุมชน ชุมชนหมูบาน- จัดสรร 2 ชุมชน และชุมชนเมือง 1 ชุมชน ซึ่งกรุงเทพมหานครไดประกาศกําหนดเปนชุมชนแลวทั้ง 49 ชุมชน และมีกรรมการชุมชนทุกชุมชน กรรมสิทธิ์ที่ดินสวนใหญเปนของตนเองและเชาบางสวนบุกรุกที่ดินของรัฐมี จํานวนประชากร 40,277 คน จํานวนบาน 7,724 หลังคาเรือน จํานวนครัวเรือน 12,129 ครัวเรือน มีพื้นที่ชุมชน ทั้งหมด 741 ไร คิดเปนรอยละ 10.27 ของพื้นที่เขต 13. เขตจตุจักร เขตจตุจักร มีชุมชนทั้งหมดจํานวน 41 ชุมชน จําแนกเปนชุมชนแออัด 25 ชุมชน ชุมชนหมูบาน- จัดสรร 7 ชุมชน และชุมชนเมือง 9 ชุมชน ซึ่งกรุงเทพมหานครไดประกาศกําหนดเปนชุมชนแลวทั้ง 41 ชุมชน และมีกรรมการชุมชนทุกชุมชน กรรมสิทธิ์ที่ดินสวนใหญเปนของตนเองและกรมธนารักษ มีจํานวนประชากร 33,424 คน จํานวนบาน 8,014 หลังคาเรือน จํานวนครัวเรือน 10,637 ครัวเรือน มีพื้นที่ชุมชนทั้งหมด 996.80 ไร คิดเปนรอยละ 4.85 ของพื้นที่เขต
  • 20. 14. เขตหวยขวาง เขตหวยขวาง มีชุมชนทั้งหมดจํานวน 25 ชุมชน จําแนกเปนชุมชนแออัด 21 ชุมชน ชุมชน หมูบานจัดสรร 3 ชุมชน และชุมชนเมือง 1 ชุมชน ซึ่งกรุงเทพมหานครไดประกาศกําหนดเปนชุมชนแลวทั้ง 25 ชุมชน และมีกรรมการชุมชนทุกชุมชน กรรมสิทธิ์ที่ดินสวนใหญเปนที่บุกรุกที่ดินของรัฐ มีจํานวนประชากร 18,991 คน จํานวนบาน 3,537 หลังคาเรือน จํานวนครัวเรือน 4,775 ครัวเรือน มีพื้นที่ชุมชนทั้งหมด 190.70 ไร คิดเปนรอยละ 2.03 ของพื้นที่เขต 15. เขตดินแดง เขตดินแดง มีชุมชนทั้งหมดจํานวน 22 ชุมชน จําแนกเปนชุมชนแออัด 6 ชุมชน ชุมชนหมูบาน- จัดสรร 3 ชุมชน ชุมชนเมือง 9 ชุมชน และเคหะชุมชน 4 ชุมชน ซึ่งกรุงเทพมหานครไดประกาศกําหนดเปนชุมชน แลวทั้ง 22 ชุมชน และมีกรรมการชุมชนทุกชุมชน กรรมสิทธิ์ที่ดินสวนใหญเปนของตนเองและบุกรุกที่ดินของรัฐ มีจํานวนประชากร 26,109 คน จํานวนบาน 5,893 หลังคาเรือน จํานวนครัวเรือน 6,543 ครัวเรือน มีพื้นที่ชุมชน ทั้งหมด 429 ไร คิดเปนรอยละ 8.22 ของพื้นที่เขต 16. เขตคลองเตย เขตคลองเตย มีชุมชนทั้งหมดจํานวน 41 ชุมชน จําแนกเปนชุมชนแออัด 27 ชุมชน ชุมชน หมูบานจัดสรร 1 ชุมชน ชุมชนเมือง 8 ชุมชน และเคหะชุมชน 5 ชุมชน ซึ่งกรุงเทพมหานครไดประกาศกําหนด เปนชุมชนแลวทั้ง 41 ชุมชน และมีกรรมการชุมชนทุกชุมชน กรรมสิทธิ์ที่ดินสวนใหญบุกรุกที่ดินของรัฐ มี จํานวนประชากร 95,500 คน จํานวนบาน 16,535 หลังคาเรือน จํานวนครัวเรือน 18,963 ครัวเรือน มีพื้นที่ชุมชน ทั้งหมด 818.40 ไร คิดเปน รอยละ 10.08 ของพื้นที่เขต 17. เขตวัฒนา เขตวัฒนา มีชุมชนทั้งหมดจํานวน 17 ชุมชน จําแนกเปนชุมชนแออัด 15 ชุมชน และชุมชน- หมูบานจัดสรร 2 ชุมชน ซึ่งกรุงเทพมหานครไดประกาศกําหนดเปนชุมชนแลวทั้ง 17 ชุมชน และมีกรรมการชุมชน ทุกชุมชน กรรมสิทธิ์ที่ดินสวนใหญเปนของตนเองและเชา บางสวนบุกรุกที่ดินของรัฐ มีจํานวนประชากร 15,481 คน จํานวนบาน 3,071 หลังคาเรือน จํานวนครัวเรือน 5,075 ครัวเรือน มีพื้นที่ชุมชนทั้งหมด 145.80 ไร คิดเปน รอยละ 1.86 ของพื้นที่เขต 18. เขตบางพลัด เขตบางพลัด มีชุมชนทั้งหมดจํานวน 46 ชุมชน จําแนกเปนชุมชนแออัด 41 ชุมชน ชุมชน หมูบานจัดสรร 2 ชุมชน และชุมชนเมือง 3 ชุมชน ซึ่งกรุงเทพมหานครไดประกาศกําหนดเปนชุมชนแลวทั้ง 46 ชุมชน และมีกรรมการชุมชนทุกชุมชน กรรมสิทธิ์ที่ดินสวนใหญเปนของตนเอง เชา และของกรมการศาสนา บางสวนบุกรุกที่ดินของรัฐ มีจํานวนประชากร 50,164 คน จํานวนบาน 9,926 หลังคาเรือน จํานวนครัวเรือน 12,607 ครัวเรือน มีพื้นที่ชุมชน ทั้งหมด 1,269 ไร คิดเปนรอยละ 17.87 ของพื้นที่เขต
  • 21. 19. เขตบางกอกนอย เขตบางกอกนอย มีชุมชนทั้งหมดจํานวน 43 ชุมชน จําแนกเปนชุมชนแออัด 39 ชุมชน ชุมชน- เมือง 3 ชุมชนและเคหะชุมชน 1ชุมชน ซึ่งกรุงเทพมหานครไดประกาศกําหนดเปนชุมชนแลวทั้ง 43 ชุมชน และมี กรรมการชุมชนทุกชุมชน กรรมสิทธิ์ที่ดินสวนใหญเปนของตนเองและเชาของกรมการศาสนา มีจํานวนประชากร 106,438 คน จํานวนบาน 14,647 หลังคาเรือน จํานวนครัวเรือน 23,776 ครัวเรือน มีพื้นที่ชุมชนทั้งหมด749.49ไร คิดเปนรอยละ 10.04 ของพื้นที่เขต 20. เขตบางกอกใหญ เขตบางกอกใหญ มีชุมชนทั้งหมดจํานวน 34 ชุมชน จําแนกเปนชุมชนแออัด 33 ชุมชน และ ชุมชนหมูบานจัดสรร1 ชุมชน ซึ่งกรุงเทพมหานครไดประกาศกําหนดเปนชุมชนแลวทั้ง 34 ชุมชน และมีกรรมการ ชุมชนทุกชุมชน กรรมสิทธิ์ที่ดินสวนใหญเปนของตนเองและเชาของกรมการศาสนา มีจํานวนประชากร17,079 คน จํานวนบาน 3,575 หลังคาเรือน จํานวนครัวเรือน 4,428 ครัวเรือน มีพื้นที่ชุมชนทั้งหมด 385 ไร คิดเปนรอยละ 9.97 ของพื้นที่เขต 21. เขตคลองสาน เขตคลองสาน มีชุมชนทั้งหมดจํานวน44ชุมชนจําแนกเปนชุมชนแออัด 33ชุมชน และชุมชนเมือง 11 ชุมชน ซึ่งกรุงเทพมหานครไดประกาศกําหนดเปนชุมชนแลวทั้ง 44 ชุมชน และมีกรรมการชุมชนทุกชุมชน กรรมสิทธิ์ที่ดินสวนใหญเปนของตนเองและเชา มีจํานวนประชากร 42,208 คน จํานวนบาน 7,908 หลังคาเรือน จํานวนครัวเรือน 10,578 ครัวเรือน มีพื้นที่ชุมชนทั้งหมด 671.73 ไร คิดเปนรอยละ 17.76 ของพื้นที่เขต 22. เขตธนบุรี เขตธนบุรี มีชุมชนทั้งหมดจํานวน 44 ชุมชน จําแนกเปนชุมชนแออัดทั้งสิ้น 44 ชุมชน ซึ่ง กรุงเทพมหานครไดประกาศกําหนดเปนชุมชนแลวทั้ง 44 ชุมชน และมีกรรมการชุมชนทุกชุมชน กรรมสิทธิ์ที่ดิน สวนใหญเปนของตนเองและเชา มีจํานวนประชากร 59,092 คน จํานวนบาน 10,616 หลังคาเรือน จํานวน ครัวเรือน 13,267 ครัวเรือน มีพื้นที่ชุมชนทั้งหมด 909 ไร คิดเปน รอยละ 17.01 ของพื้นที่เขต 23. เขตดอนเมือง เขตดอนเมือง มีชุมชนทั้งหมดจํานวน 85 ชุมชน จําแนกเปนชุมชนแออัด 15 ชุมชน ชุมชน หมูบานจัดสรร 64 ชุมชน ชุมชนชานเมือง 4 ชุมชน และชุมชนเมือง 2 ชุมชน ซึ่งกรุงเทพมหานครไดประกาศ กําหนดเปนชุมชนแลวทั้ง 85 ชุมชน และมีกรรมการชุมชนทุกชุมชน กรรมสิทธิ์ที่ดินสวนใหญเปนของตนเองและ บุกรุกที่ดินของรัฐ มีจํานวนประชากร 91,197 คน จํานวนบาน 21,123 หลังคาเรือน จํานวนครัวเรือน 22,134 ครัวเรือน มีพื้นที่ชุมชนทั้งหมด 3,892.68 ไร คิดเปนรอยละ 16.92 ของพื้นที่เขต
  • 22. 24. เขตหลักสี่ เขตหลักสี่ มีชุมชนทั้งหมดจํานวน 74 ชุมชน จําแนกเปนชุมชนแออัด 19 ชุมชน ชุมชนหมูบาน- จัดสรร 11 ชุมชน ชุมชนเมือง 13 ชุมชน และเคหะชุมชน 31 ชุมชน ซึ่งกรุงเทพมหานครไดประกาศกําหนดเปน ชุมชนแลวทั้ง 74 ชุมชน และมีกรรมการชุมชนทุกชุมชน กรรมสิทธิ์ที่ดินสวนใหญเปนของตนเองและบุกรุกที่ดิน ของรัฐ มีจํานวนประชากร 66,664 คน จํานวนบาน 16,063 หลังคาเรือน จํานวนครัวเรือน 17,022 ครัวเรือน มี พื้นที่ชุมชนทั้งหมด 1,935.43 ไร คิดเปนรอยละ 13.56 ของพื้นที่เขต 25. เขตบางเขน เขตบางเขน มีชุมชนทั้งหมดจํานวน74ชุมชน จําแนกเปนชุมชนแออัด 12ชุมชน ชุมชน หมูบาน จัดสรร 34ชุมชน ชุมชนชานเมือง 8 ชุมชน ชุมชนเมือง 15ชุมชน และเคหะชุมชน 5ชุมชน ซึ่งกรุงเทพมหานครได ประกาศกําหนดเปนชุมชนแลวทั้ง 74 ชุมชน และมีกรรมการชุมชนทุกชุมชน กรรมสิทธิ์ที่ดินสวนใหญเปนของ ตนเองและบางสวนบุกรุกที่ดินของรัฐ มีจํานวนประชากร 79,105 คน จํานวนบาน 18,506 หลังคาเรือน จํานวน ครัวเรือน 20,169 ครัวเรือน มีพื้นที่ชุมชนทั้งหมด 4,865.05 ไร คิดเปนรอยละ 18.48 ของพื้นที่เขต 26. เขตสายไหม เขตสายไหม มีชุมชนทั้งหมดจํานวน 70 ชุมชนจําแนกเปนชุมชนแออัด 4 ชุมชน ชุมชนหมูบาน- จัดสรร42ชุมชน ชุมชนชานเมือง 5 ชุมชนชุมชนเมือง15ชุมชนและเคหะชุมชน 4 ชุมชน ซึ่งกรุงเทพมหานคร ได ประกาศกําหนดเปนชุมชนแลวทั้ง 70 ชุมชน และมีกรรมการชุมชนทุกชุมชน กรรมสิทธิ์ที่ดินสวนใหญเปนของ ตนเองและบางสวนบุกรุกที่ดินของรัฐ มีจํานวนประชากร 88,961 คน จํานวนบาน 22,733 หลังคาเรือน จํานวนครัวเรือน 23,475 ครัวเรือน มีพื้นที่ชุมชนทั้งหมด 4,051.92ไร คิดเปนรอยละ14.53 ของพื้นที่เขต 27. เขตลาดพราว เขตลาดพราว มีชุมชนทั้งหมดจํานวน 33ชุมชนจําแนกเปนชุมชนแออัด 4 ชุมชน ชุมชนหมูบาน- จัดสรร 24 ชุมชน ชุมชนชานเมือง 3 ชุมชน และเคหะชุมชน 2 ชุมชน ซึ่งกรุงเทพมหานครไดประกาศกําหนดเปน ชุมชนแลวทั้ง 33 ชุมชนและมีกรรมการชุมชนทุกชุมชน กรรมสิทธิ์ที่ดินสวนใหญเปนของตนเอง มีจํานวนประชากร 38,669 คน จํานวนบาน 10,732 หลังคาเรือน จํานวนครัวเรือน 12,744 ครัวเรือน มีพื้นที่ชุมชนทั้งหมด 2,517.40ไร คิดเปนรอยละ18.18 ของพื้นที่เขต 28. เขตบางกะป เขตบางกะป มีชุมชนทั้งหมดจํานวน 28 ชุมชน จําแนกเปนชุมชนแออัด 9 ชุมชน ชุมชนหมูบาน จัดสรร 9 ชุมชนและชุมชนเมือง 10 ชุมชน ซึ่งกรุงเทพมหานครไดประกาศกําหนดเปนชุมชนแลวทั้ง 28 ชุมชน และ มีกรรมการชุมชนทุกชุมชน กรรมสิทธิ์ที่ดินสวนใหญเปนของตนเองมีจํานวนประชากร 26,915 คน จํานวนบาน 6,527 หลังคาเรือน จํานวนครัวเรือน 6,700 ครัวเรือน มีพื้นที่ชุมชนทั้งหมด 1,892 ไร คิดเปนรอยละ10.61 ของ พื้นที่เขต
  • 23. 29. เขตวังทองหลาง เขตวังทองหลาง มีชุมชนทั้งหมดจํานวน 19 ชุมชน จําแนกเปนชุมชนแออัด 11 ชุมชน ชุมชน หมูบานจัดสรร 1 ชุมชน และชุมชนเมือง 7 ชุมชน ซึ่งกรุงเทพมหานครไดประกาศกําหนดเปนชุมชนแลวทั้ง 19 ชุมชน และมีกรรมการชุมชนทุกชุมชน กรรมสิทธิ์ที่ดินสวนใหญเปนที่เชาของสํานักงานทรัพยสินฯ และตนเอง มี จํานวนประชากร 20,506 คน จํานวนบาน 4,192 หลังคาเรือน จํานวนครัวเรือน 5,510 ครัวเรือน มีพื้นที่ชุมชน ทั้งหมด 675.55 ไร คิดเปนรอยละ 5.61 ของพื้นที่เขต 30. เขตพระโขนง เขตพระโขนง มีชุมชนทั้งหมดจํานวน 44 ชุมชน จําแนกเปนชุมชนแออัด 27 ชุมชน ชุมชน หมูบานจัดสรร 15 ชุมชน และชุมชนเมือง 2 ชุมชน ซึ่งกรุงเทพมหานครไดประกาศกําหนดเปนชุมชนแลวทั้ง 44 ชุมชน และมีกรรมการชุมชนทุกชุมชน กรรมสิทธิ์ที่ดินสวนใหญเปนของ ตนเองและเชา มีจํานวนประชากร 26,256 คน จํานวนบาน 5,847 หลังคาเรือน จํานวนครัวเรือน 7,777 ครัวเรือน มีพื้นที่ชุมชนทั้งหมด 702 ไร คิดเปนรอยละ 8.03 ของพื้นที่เขต 31. เขตบางนา เขตบางนา มีชุมชนทั้งหมดจํานวน 39 ชุมชน จําแนกเปนชุมชนแออัด 16 ชุมชน ชุมชนหมูบาน- จัดสรร 4 ชุมชน ชุมชนชานเมือง 1 ชุมชน ชุมชนเมือง 17 ชุมชน และเคหะชุมชน 1ชุมชน ซึ่งกรุงเทพมหานครได ประกาศกําหนดเปนชุมชนแลวทั้ง 39 ชุมชน และมีกรรมการชุมชนทุกชุมชน กรรมสิทธิ์ที่ดินสวนใหญเปนของ ตนเองและเชา มีจํานวนประชากร 42,106 คน จํานวนบาน 8,865 หลังคาเรือน จํานวนครัวเรือน 9,380 ครัวเรือน มีพื้นที่ชุมชนทั้งหมด 957.50 ไร คิดเปนรอยละ 8.15 ของพื้นที่เขต 32. เขตประเวศ เขตประเวศ มีชุมชนทั้งหมดจํานวน41ชุมชนจําแนกเปนชุมชนแออัด3ชุมชนชุมชนหมูบานจัดสรร 7 ชุมชน ชุมชนชานเมือง 29 ชุมชน และเคหะชุมชน 2 ชุมชน ซึ่งกรุงเทพมหานครไดประกาศกําหนดเปนชุมชน แลวทั้ง 41 ชุมชน และมีกรรมการชุมชนทุกชุมชน กรรมสิทธิ์ที่ดินสวนใหญเปนของตนเองและเชา มีจํานวน ประชากร 36,647 คน จํานวนบาน 8,143 หลังคาเรือน จํานวนครัวเรือน 10,198 ครัวเรือน มีพื้นที่ชุมชนทั้งหมด 1,472 ไร คิดเปนรอยละ5.31 ของพื้นที่เขต 33. เขตสวนหลวง เขตสวนหลวง มีชุมชนทั้งหมดจํานวน 45 ชุมชน จําแนกเปนชุมชนแออัด 11 ชุมชน ชุมชน หมูบานจัดสรร 8 ชุมชน และชุมชนเมือง 26 ชุมชน ซึ่งกรุงเทพมหานครไดประกาศกําหนดเปนชุมชนแลวทั้ง 45 ชุมชน และมีกรรมการชุมชนทุกชุมชน กรรมสิทธิ์ที่ดินสวนใหญเปนของตนเองและเชา บางสวนบุกรุกที่ดิน ของรัฐ มีจํานวนประชากร 46,006 คน จํานวนบาน 7,396 หลังคาเรือน จํานวนครัวเรือน 11,574 ครัวเรือน มี พื้นที่ชุมชนทั้งหมด 2,077.71 ไร คิดเปนรอยละ 14.04 ของพื้นที่เขต
  • 24. 34. เขตบึงกุม เขตบึงกุม มีชุมชนทั้งหมดจํานวน 39 ชุมชน จําแนกเปนชุมชนแออัด 17 ชุมชน ชุมชนหมูบาน- จัดสรร 21ชุมชน และชุมชนชานเมือง 1 ชุมชน ซึ่งกรุงเทพมหานครไดประกาศกําหนดเปนชุมชนแลวทั้ง 39 ชุมชน และมีกรรมการชุมชนทุกชุมชน กรรมสิทธิ์ที่ดินสวนใหญเปนของตนเอง และบางสวนบุกรุกที่ดินของรัฐ มีจํานวน ประชากร 33,281 คน จํานวนบาน 9,617 หลังคาเรือน จํานวนครัวเรือน 9,976 ครัวเรือน มีพื้นที่ชุมชนทั้งหมด 1,304.17 ไร คิดเปนรอยละ 8.58 ของพื้นที่เขต 35. เขตคันนายาว เขตคันนายาว มีชุมชนทั้งหมดจํานวน 40 ชุมชน จําแนกเปนชุมชนแออัด 13 ชุมชน ชุมชน หมูบานจัดสรร 20 ชุมชน ชุมชนชานเมือง 5 ชุมชน และเคหะชุมชน 2 ชุมชน ซึ่งกรุงเทพมหานครไดประกาศ กําหนดเปนชุมชนแลวทั้ง 40 ชุมชน และมีกรรมการชุมชนทุกชุมชน กรรมสิทธิ์ที่ดินสวนใหญเปนของตนเองและ เชา บางสวนบุกรุกที่ดินของรัฐ มีจํานวนประชากร 32,837 คน จํานวนบาน 8,197 หลังคาเรือน จํานวนครัวเรือน 8,115 ครัวเรือน มีพื้นที่ชุมชนทั้งหมด1,556.70ไร คิดเปนรอยละ9.59 ของพื้นที่เขต 36. เขตสะพานสูง เขตสะพานสูง มีชุมชนทั้งหมดจํานวน28 ชุมชนจําแนกเปนชุมชนแออัด 4 ชุมชน ชุมชนหมูบาน จัดสรร 1 ชุมชน ชุมชนชานเมือง 22 ชุมชน และเคหะชุมชน 1 ชุมชน ซึ่งกรุงเทพมหานครไดประกาศกําหนด เปนชุมชนแลวทั้ง 28 ชุมชน และมีกรรมการชุมชนทุกชุมชน กรรมสิทธิ์ที่ดินสวนใหญเปนของตนเอง มีจํานวน ประชากร 39,929 คน จํานวนบาน 8,225 หลังคาเรือน จํานวนครัวเรือน 9,284 ครัวเรือน มีพื้นที่ชุมชนทั้งหมด 3,235 ไร คิดเปนรอยละ 18.40 ของพื้นที่เขต 37. เขตตลิ่งชัน เขตตลิ่งชัน มีชุมชนทั้งหมดจํานวน 43 ชุมชน จําแนกเปนชุมชนแออัด 11 ชุมชน ชุมชนหมูบาน- จัดสรร 2 ชุมชน และชุมชนชานเมือง 30 ชุมชน ซึ่งกรุงเทพมหานครไดประกาศกําหนดเปนชุมชนแลวทั้ง 43 ชุมชน และมีกรรมการชุมชนทุกชุมชน กรรมสิทธิ์ที่ดินสวนใหญเปนของตนเองและเชาของกรมการศาสนา มี จํานวนประชากร 24,566 คน จํานวนบาน 5,424 หลังคาเรือน จํานวนครัวเรือน 6,458 ครัวเรือน มีพื้นที่ชุมชน ทั้งหมด 2,745.70 ไร คิดเปนรอยละ 14.90 ของพื้นที่เขต 38. เขตทวีวัฒนา เขตทวีวัฒนา มีชุมชนทั้งหมดจํานวน 15 ชุมชน จําแนกเปนชุมชนหมูบานจัดสรร 9 ชุมชน และ ชุมชนชานเมือง 6 ชุมชน ซึ่งกรุงเทพมหานครไดประกาศกําหนดเปนชุมชนแลวทั้ง 15 ชุมชน และมีกรรมการ ชุมชนทุกชุมชน กรรมสิทธิ์ที่ดินสวนใหญเปนของตนเอง มีจํานวนประชากร 11,044 คน จํานวนบาน 3,108 หลังคาเรือน จํานวนครัวเรือน 3,243 ครัวเรือน มีพื้นที่ชุมชนทั้งหมด 3,540ไร คิดเปนรอยละ11.28ของพื้นที่เขต