Anúncio
Perfect Buoyancy - AA
Perfect Buoyancy - AA
Perfect Buoyancy - AA
Perfect Buoyancy - AA
Anúncio
Perfect Buoyancy - AA
Perfect Buoyancy - AA
Perfect Buoyancy - AA
Perfect Buoyancy - AA
Perfect Buoyancy - AA
Anúncio
Perfect Buoyancy - AA
Próximos SlideShares
Deep Diving - AADeep Diving - AA
Carregando em ... 3
1 de 10
Anúncio

Mais conteúdo relacionado

Último(15)

Destaque(20)

Anúncio

Perfect Buoyancy - AA

  1. Advanced Adventurer Perfect Buoyancy https://shop.line.me/@godivethailand https://www.facebook.com/GoDiveThailand info@GoDiveThailand.com https://www.GoDiveThailand.com
  2. เรียนไปท ำ ไม ? (1) เพื่อการจัดต ำ แห น่ งของ ร่ างกายและ ท่ าทางในการด ำ น้ ำ ที่เหมาะสม จะ ช่ วยเพิ่มความ รู้ สึกสบายและความ ผ่ อนคลายในระห ว่ างการด ำ น้ ำ (2) เพื่อใ ห้ สามารถควบคุมการลอยตัวที่ดี ซึ่งจะ ช่ วยลดปริมาณการใ ช้ อากาศและเพิ่ม ระยะเวลาในการด ำ น้ ำ (3) เพื่อเรียน รู้ ทักษะซึ่งสามารถประยุก ต์ ใ ช้ เพื่อการด ำ น้ ำ ในสถานการ ณ์ ต่ าง ๆ และ ช่ วย ไ ม่ ใ ห้ เกิดการท ำ ลายสิ่งแวด ล้ อมในระห ว่ างการด ำ น้ ำ เมื่อ ผ่ านการ ฝึ กอบรมภาคทฤษฎีแ ล้ ว ผู้ เรียนจะสามารถ... (1) อธิบายลักษณะของการลอยตัวที่เหมาะสม เมื่ออ ยู่ ที่ผิว น้ ำ และใ ต้ น้ ำ (2) บอกไ ด้ ว่ าการควบคุมการลอยตัวที่ดีจะสามารถ ช่ วยปก ป้ องสิ่งแวด ล้ อมไ ด้ อ ย่ างไร อุปกร ณ์ เพื่อควบคุมการลอยตัว ระบบควบคุมการลอยตัว (Buoyancy system) เ ป็ นระบบ ย่ อยของ Total DIving System ประกอบไป ด้ วย ชุดควบคุมการลอยตัว (Buoyancy Compensator) และระบบ ถ่ วง น้ ำ หนัก (Weight system) ชุดควบคุมการลอยตัว (Buoyancy Compensator) หรือ ชุด BC เ ป็ นอง ค์ ประกอบหลักที่ส ำ คัญของระบบ ควบคุมการลอยตัว ชุด BC ที่เหมาะสมจะ ช่ วยพยุงคุณ ใ ห้ สามารถลอยอ ยู่ บนผิว น้ ำ ไ ด้ สามารถควบคุมการ ป ล่ อยอากาศออกเพื่อ ค่ อย ๆ ลง สู่ ความลึกไ ด้ ง่ าย ช่ วย ใ ห้ คุณรักษาการลอยตัวที่เ ป็ นกลางระห ว่ างการด ำ น้ ำ และ ช่ วยในการกลับขึ้น สู่ ผิว น้ ำ ไ ด้ อ ย่ างปลอดภัย (1) Adjustment Strap (2) In fl ator Hose (3) Dump Valve (4). Buckle (5) Weight with Weight Release 2 ADVANCED ADVENTURER | PERFECT BUOYANCY
  3. BC ที่เหมาะสมควรมีความสามารถเพียงพอในการยกนักด ำ น้ ำ อีกคนขึ้น สู่ ผิว น้ ำ ไ ด้ ในกรณี ฉุกเฉิน ใน ปั จจุบันเราสามารถแ บ่ งลักษณะของชุด BC ที่นิยมใ ช้ งานทั่วๆ ไปไ ด้ 3 รูปแบบ (1) ADV-Jacket/Front-Adjustable (2) Wing-Jacket/Back Flotation (3) Stabilizing-Jacket โดยชุด BC รุ่ นให ม่ ๆ จะมี Power In fl ator ติดมากับชุด ซึ่ง ส่ วนให ญ่ จะติดตั้งอ ยู่ บนหัวไห ล่ ด้ าน ซ้ ายมือ แ ต่ อาจมีบาง รุ่ นที่แตก ต่ างออกไป เ ช่ น Aqualung Axiom i3 ซึ่งเ ป็ น BC แบบ Power In fl ator/De fl ator Combination Device โดยมี In fl ator และตัวควบคุมการ เติม/ป ล่ อยอากาศอ ยู่ ที่บริเวณกระเ ป๋ า ด้ าน ซ้ ายมือ ศึกษาเกี่ยวกับ i3 Control System ไ ด้ จาก https://youtu.be/jF0PDPpePB0 3 ADVANCED ADVENTURER | PERFECT BUOYANCY
  4. ScubaPro Air 2 ซึ่งเ ป็ นอุปกร ณ์ ที่มี Regulator และ Power In fl ator อ ยู่ รวมกัน (In fl ator/Regulator Combination) ระบบ ถ่ วง น้ ำ หนัก (Weight system) ใ ช้ เพื่อชดเชย น้ ำ หนักจากการลอยตัวที่เ ป็ นบวกของ ร่ างกายและชุด ป้ องกัน (Exposure system) อุปกร ณ์ ที่นิยมน ำ มาใ ช้ เพื่อ ถ่ วง น้ ำ หนักมาก ที่สุด คือ ก้ อนตะกั่ว เราสามารถแ บ่ งระบบ ถ่ วง น้ ำ หนักที่นิยมใ ช้ ไ ด้ เ ป็ น 2 รูปแบบ คือ แบบ เข็มขัด ถ่ วง น้ ำ หนัก และ ระบบ ถ่ วง น้ ำ หนักซึ่งติดกับชุด BC โดยทั่วไปแ ล้ ว เรือหรือ ผู้ ใ ห้ บริการ ท่ องเที่ยวเพื่อการด ำ น้ ำ จะมีการจัดเตรียม ก้ อนตะกั่วขนาด 800 กรัม หรือ 1 กิโลกรัม พ ร้ อมเ ข้ มขัดส ำ หรับ ร้ อย ก้ อนตะกั่วไ ว้ ใ ห้ นักด ำ น้ ำ อ ยู่ แ ล้ ว การใ ช้ ตะกั่วเพื่อชดเชย น้ ำ หนักที่เหมาะสม จะ ช่ วยใ ห้ ปรับการลอยตัวเ ป็ นกลางไ ด้ ง่ าย ส่ งผลใ ห้ นัก ด ำ น้ ำ ไ ม่ ต้ องออกแรงมากในการเคลื่อนที่ใ ต้ น้ ำ และ ช่ วยใ ห้ ประหยัดอากาศที่ใ ช้ ในการหายใจ สิ่งส ำ คัญ คือ คุณจะ ต้ องสามารถปลด น้ ำ หนักไ ด้ ง่ ายและรวดเร็ว (Quick release) ด้ วยมือขวา นอกจากอุปกร ณ์ เพื่อควบคุมการลอยตัวแ ล้ ว ยังมีอุปกร ณ์ อื่น ๆ ใน Total DIving System ที่ ส่ งผล ต่ อการปรับการลอยตัวของนักด ำ น้ ำ เ ช่ น ถังอากาศ เ ป็ น ต้ น 4 ADVANCED ADVENTURER | PERFECT BUOYANCY
  5. การเริ่มด ำ น้ ำ ด้ วย น้ ำ หนักที่เหมาะสมมีความส ำ คัญ ต่ อความปลอดภัยของคุณ การด ำ น้ ำ ด้ วย น้ ำ หนักที่มากเกินไปจะ ส่ งผล ต่ อต ำ แห น่ งและ ท่ าทางของคุณเมื่ออ ยู่ ใน น้ ำ โดยจะท ำ ใ ห้ ตัว คุณอ ยู่ ในแนวตั้งมากก ว่ าแนวนอน ซึ่งจะท ำ ใ ห้ มีแรง ต้ านในการ ว่ าย น้ ำ มากขึ้นและ ส่ งผลใ ห้ ต้ องใ ช้ พลังงาน (และอากาศ) มากขึ้น นอกจากนี้ ยังท ำ ใ ห้ มีโอกาสที่ ฟิ นของคุณจะสัมผัสกับ ก้ นทะเล ซึ่งอาจส ร้ างส ร้ าง ฝุ่ นตะกอน หรือความเสียหาย ต่ อสิ่งแวด ล้ อมใ ต้ ทะเลไ ด้ SSI Dive Professional จะ ช่ วยคุณในการปรับระบบ ถ่ วง น้ ำ หนักที่เหมาะสม ด้ วยการ ฝึ กทักษะ Buoyancy Check with a Total Diving System และเมื่อคุณไ ด้ น้ ำ หนัก ถ่ วงที่เหมาะสมแ ล้ ว คุณยัง ต้ องแ น่ ใจ ว่ ามีการจัดต ำ แห น่ งเพื่อกระจาย น้ ำ หนักอ ย่ างเหมาะสม ด้ วย การควบคุมการลอยตัวที่เหมาะสมสามารถส ร้ างความแตก ต่ างระห ว่ างการด ำ น้ ำ ที่ สนุกสนานและ ง่ ายดาย กับ การด ำ น้ ำ ที่ไ ม่ สะดวกสบายและอาจเ ป็ นอันตรายไ ด้ ซึ่ง ปั ญหาใน การด ำ น้ ำ หลายอ ย่ างอาจเชื่อมโยงกับทักษะการควบคุมการลอยตัวที่ไ ม่ เพียงพอ 5 ADVANCED ADVENTURER | PERFECT BUOYANCY
  6. พื้นฐานในการควบคุมการลอยตัว หลักการทางวิทยาศาสต ร์ ที่มีความเกี่ยว ข้ องกับการลอยตัว ซึ่งนักด ำ น้ ำ ควรท ำ ความเ ข้ าใจ คือ กฏของบอย ล์ (Boyle’s Law) และ หลักการของอา ร์ คิมิดีส (Archimedes’s Principle) กฏของบอย ล์ กฏของบอย ล์ ก ล่ าว ว่ า เมื่ออุณหภูมิคงที่ ปริมาตร (V) ของแ ก๊ สที่มีมวลคงที่จ ำ นวนหนึ่ง เปลี่ยนไปเ ป็ นปฏิภาคผกผันกับความดัน (P) หรืออาจจดจ ำ ง่ ายๆ ว่ า เมื่อความดันเพิ่มขึ้น ปริมาตรจะลดลง และเมื่อความดันลดลง ปริมาตรจะเพิ่มขึ้น บางครั้งกฎของบอย ล์ เรียก ว่ า “กฎปริมาตรและความดัน" * สังเกต ว่ า การเปลี่ยนแปลงปริมาตรสัมพัท ธ์ ที่มากที่สุดเกิดขึ้นระห ว่ าง 0 ถึง 10 เมตร Depth msw bar ppO2 PN2 Volume Density Surface 1 0.21 0.79 1 1x 10 msw 2 0.42 1.58 1/2 2x 20 msw 3 0.63 2.37 1/3 3x 30 msw 4 0.84 3.16 1/4 4x 40 msw 5 1.05 3.95 1/5 5x 6 ADVANCED ADVENTURER | PERFECT BUOYANCY
  7. หลักการของอา ร์ คิมิดีส หลักการของอา ร์ คิมิดีส ก ล่ าว ว่ า เมื่อห ย่ อนวัตถุลงใน น้ ำ จะมีแรงพยุงหรือแรงลอยตัวที่มา กระท ำ ต่ อวัตถุไ ม่ ว่ าวัตถุนั้นจะจมทั้ง ส่ วนหรือบาง ส่ วนก็ตาม โดยขนาดของแรงที่กระท ำ จะมี ค่ าเ ท่ ากับ น้ ำ หนักของ น้ ำ ที่วัตถุนั้นแทนที่ (1) Positive Buoyancy (2) Negative Buoyancy (3) Neutral Buoyancy ลักษณะการลอยตัวของวัตถุใน น้ ำ จะขึ้นอ ยู่ กับความหนาแ น่ นของวัตถุนั้น โดยาสามารถ แ บ่ งออกไ ด้ เ ป็ น 3 รูปแบบ คือ (1) Positive Buoyancy - วัตถุมีความหนาแ น่ น น้ อยก ว่ า น้ ำ วัตถุจะลอย (2) Negative Buoyancy - วัตถุมีความหนาแ น่ นมากก ว่ า น้ ำ วัตถุจะจม (3) Neutral Buoyancy - วัตถุมีความหนาแ น่ นเ ท่ ากับ น้ ำ วัตถุจะไ ม่ จมและไ ม่ ลอย โดยปกติ น้ ำ ทะเล (1.025 กิโลกรัม ต่ อลิตร) จะมีความหนาแ น่ นมากก ว่ า น้ ำ จืด (1 กิโลกรัม ต่ อ ลิตร) ก ล่ าวคือ แรงลอยตัวใน น้ ำ ทะเลจะมีมากก ว่ าใน น้ ำ จืด ดังนั้นคุณจึง ต้ องใ ช้ น้ ำ หนัก ถ่ วง ที่มากก ว่ าที่ใ ช้ ในสระ ว่ าย น้ ำ เมื่อด ำ น้ ำ ใน น้ ำ ทะเล และในระห ว่ างการด ำ น้ ำ ในทะเล แรงลอยตัว ที่กระท ำ ต่ อคุณจะมีความไ ม่ คงที่ และมีการเปลี่ยนแปลงอ ยู่ ตลอดเวลา แ ม้ ว่ าระบบควบคุม การลอยตัวของคุณจะ ช่ วยใ ห้ คุณสามารถปรับการลอยตัวโดยการเพิ่มหรือเอาอากาศออก จาก BC ไ ด้ แ ต่ นักด ำ น้ ำ ที่มีประสบการ ณ์ จะ รู้ ดี ว่ า การหายใจที่เหมาะสมและการจัดต ำ แห น่ ง ของ ร่ างกายมีความส ำ คัญเพียงใด ต่ อการรักษาการลอยตัวที่เ ป็ นกลาง 7 ADVANCED ADVENTURER | PERFECT BUOYANCY
  8. น้ ำ หนักของถังอากาศ ตอนนี้คุณเ ข้ าใจแ ล้ ว ว่ า กฎของบอย ล์ และ หลักการของอา ร์ คิมิดีส ส่ งผล ต่ อ ร่ างกายและ อุปกร ณ์ ของคุณอ ย่ างไร ต่ อไปคุณจะ ต้ องเ ข้ าใจ ว่ า การบริโภคอากาศในระห ว่ างการด ำ น้ ำ จะ เปลี่ยน น้ ำ หนักของถังอากาศของคุณอ ย่ างไร ถังอากาศ ส่ วนให ญ่ ผลิตขึ้นโดยใ ช้ อลูมิเนียมหรือเหล็กก ล้ า วัสดุเห ล่ านี้แตก ต่ างกันอ ย่ าง มากใน ด้ าน น้ ำ หนักและลักษณะการลอยตัว ถังอากาศแบบอะลูมิเนียมมักมี น้ ำ หนัก น้ อยก ว่ า แบบเหล็กก ล้ าที่มีขนาดใก ล้ เคียงกัน และมักจะลอยตัวไ ด้ มากก ว่ า ถังอลูมิเนียมจะท ำ ใ ห้ คุณมี สถานะการลอยตัวเ ป็ นบวกมากขึ้นเมื่อมัน ว่ างเป ล่ า ในขณะที่ถังเหล็กโดยทั่วไปจะยังคงท ำ ใ ห้ การลอยตัวของคุณเ ป็ นลบหรือเ ป็ นกลาง ปกติแ ล้ ว อากาศในถังปริมาตร 12 ลิตร ที่ความดัน 200 บา ร์ จะหนัก 3.103 กก. เมื่อ อากาศในถังเหลือ 50 บา ร์ อากาศจะมี น้ ำ หนัก 0.775 กก. ดังนั้น เราจะ ต้ องค ำ นึงถึง น้ ำ หนักของอากาศที่หายไปนี้ ด้ วย เพื่อหลีกเลี่ยงการลอยตัวที่เ ป็ นบวกมากเกินไป เมื่อสิ้นสุด การด ำ น้ ำ หรือระห ว่ างการท ำ Safety Stop ก่ อนจะจบได ฟ์ 8 ADVANCED ADVENTURER | PERFECT BUOYANCY
  9. การควบคุมการลอยตัวเมื่ออ ยู่ ใ ต้ น้ ำ (1) ตรวจสอบการลอยตัวที่ผิว น้ ำ โดยทั่วไป เราอาจเริ่ม ต้ นใ ช้ น้ ำ หนัก ถ่ วงประมาณ 5% ของ ต้ ำ หนักตัว เ ช่ น หากนักด ำ น้ ำ มี น้ ำ หนักตัว 80 กิโลกรัม เราก็จะใ ช้ น้ ำ หนัก ถ่ วงประมาณ 4 กิโลกรัม หลังจากนั้นใ ห้ ท ำ การ ตรวจสอบการลอยตัวที่ผิว น้ ำ • ในขณะที่สวมใ ส่ Total Diving System และเติม ลมเ ข้ า BC เพื่อปรับการลอยตัวใ ห้ เ ป็ นบวกที่ ผิว น้ ำ • สวมห น้ ากาก หายใจเ ข้ าออก ผ่ านเรกกูเรเตอ ร์ • หายใจเ ข้ าใ ห้ เต็มปอด ป ล่ อยอากาศออกจาก BC จนหมด หากการ ถ่ วง น้ ำ หนักอ ยู่ ในระดับพอดี ระดับ น้ ำ จะอ ยู่ ที่ระดับสายตา (ดังภาพประกอบ) • หากจมเกินระดับสายตา ใ ห้ เอา น้ ำ หนัก ถ่ วงออก • หากลอยสูงกก ว่ าระดับ น้ ำ ใ ห้ เพิ่ม น้ ำ หนัก ถ่ วง • เมื่อ ถ่ วง น้ ำ หนักไ ด้ พอดี หายใจออกเพื่อด ำ ลง สู่ ใ ต้ น้ ำ (2) การควบคุมการหายใจในระห ว่ างด ำ น้ ำ ในระห ว่ างที่เราก ำ ลังด ำ ดิ่งลง สู่ พื้นใ ต้ ทะเล เมื่อถึงระดับความลึกที่ ต้ องการใ ห้ เติมลมเ ข้ า BC ที่ละ น้ อยจนกระทั่งการจมหยุดลง หลังจากนั้นใ ห้ หายใจเ ข้ าและออกตามปกติ และใ ห้ เ น้ น ควบคุมการลอยจมของตัวเรา ด้ วยการหายใจเ ป็ นหลัก โดยหาก ต้ องการใ ห้ ลอย ใ ห้ หายใจเ ข้ า ใ ห้ ลึกมากก ว่ าปกติ และหาก ต้ องการใ ห้ จม ใ ห้ หายใจออกยาวก ว่ าปกติ ในระห ว่ างการด ำ น้ ำ โปรดจ ำ ไ ว้ ว่ า หากคุณลอยขึ้นไปแ ม้ เพียงเล็ก น้ อย อากาศใน BC จะ ขยายตัวและคุณจะ ต้ องป ล่ อยอากาศออกปริมาณเล็ก น้ อย ในทางกลับกันหากคุณด ำ ลึกลง ไป อากาศใน BC จะถูกบีบอัดท ำ ใ ห้ คุณสูญเสียการลอยตัว ดังนั้น คุณจะ ต้ องเติมอากาศเล็ก น้ อยเ ข้ า BC เพื่อใ ห้ ยังคงลอยตัวอ ยู่ อ ย่ างเ ป็ นกลางไ ด้ 9 ADVANCED ADVENTURER | PERFECT BUOYANCY
  10. (3) ต ำ แห น่ งและ ท่ าทางในการด ำ น้ ำ เราควรด ำ น้ ำ ในแนวราบไปกับพื้น (Horizontal position) ท่ า ว่ าย น้ ำ ของคุณจะ ส่ งผล ต่ อ การลอยตัวและความสะดวกในการเคลื่อนที่ของคุณ ด้ วย ท่ าทางที่ดีที่สุด คือ การ ว่ าย น้ ำ โดยเงยศรีษะท ำ มุมประมาณ 15 ถึง 20 องศา สิ่งนี้จะ ช่ วยใ ห้ เรกูเลเตอ ร์ ของคุณท ำ งานไ ด้ อ ย่ างเต็มประสิทธิภาพ คุณจะสามารถหายใจไ ด้ สะดวกและประหยัดอากาศ เนื่องจากมีนักประดา น้ ำ จ ำ นวนมากที่ลงไปใน น้ ำ และมีการควบคุมการลอยตัวที่ไ ม่ ดี จึงน ำ ไป สู่ การท ำ ลายระบบนิเวศวิทยาและปะการัง การเรียน รู้ และ ฝึ กฝนการควบคุมการลอยตัวที่ดี สามารถ ช่ วยปก ป้ องสิ่งแวด ล้ อมใ ต้ น้ ำ ไ ด้ กฎพื้นฐานส ำ หรับการเ ป็ นนักด ำ น้ ำ ที่มีความรับผิด ชอบ คือ: (1) การรักษาการลอยตัวที่เ ป็ นกลางตลอดเวลาในการด ำ น้ ำ (2) การรักษาระยะ ห่ างจากพื้น ด้ าน ล่ างและสัต ว์ ทะเล อ ย่ าง น้ อย 2 เมตร (3) ยก ฟิ นของคุณใ ห้ อ ยู่ เหนือล ำ ตัวเล็ก น้ อยเพื่อหลีกเลี่ยงการเตะปะการังหรือทราย การ ฝึ กทักษะภาคปฏิบัติ ในการเรียน รู้ ภาคปฏิบัติ จะ มุ่ งเ น้ นใ ห้ คุณเลือกใ ช้ น้ ำ หนัก ถ่ วงที่เหมาะสม ท่ วง ท่ าในการด ำ น้ ำ ที่เหมาะสม สามารถหายใจเพื่อควบคุมการลอยตัวไ ด้ อ ย่ างมีประสิทธิภาพ และลดปริมาณ น้ ำ หนัก ถ่ วงและการใ ช้ อากาศอ ย่ างเหมาะสม 10 ADVANCED ADVENTURER | PERFECT BUOYANCY
Anúncio