SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 93
Baixar para ler offline
การศึกษา (Education) หมายถึง กระบวนการ
เรียนรู้เพื่อความเจริญงอกงามของบุคคลและสังคม
โดยการถ่ายทอดความรู้ การฝึก การอบรม การสืบ
สานทางวัฒนธรรม การสร้างสรรค์จรรโลง
ความก้าวหน้าทางวิชาการ การสร้างองค์ความรู้อัน
เกิดจากการจัดสภาพแวดล้อมสังคม การเรียนรู้และ
ปัจจัยเกื้อหนุนให้บุคคลเรียนรู้อย่างต่อเนื่องตลอด
ชีวิต
กระแสโลกาภิวัตน์(Globalization)
การแข่งขันกับนานาประเทศ
การพัฒนาคนและคุณภาพของคนเป็นทั้งเหตุ
ปัจจัยและ ผลลัพธ์สาคัญที่สุดในการพัฒนา
ประเทศ
การศึกษา จึงเป็นรากฐานที่มีความสาคัญที่สุด
ประการหนึ่งในการสร้างสรรค์ความเจริญก้าวหน้าและ
แก้ไขปัญหาต่าง ๆ ในสังคมได้ เนื่องจากการศึกษาเป็น
กระบวนการที่ช่วยให้คนได้พัฒนาตนเองด้านต่างๆ ตลอด
ช่วงชีวิตตั้งแต่แรกเกิด มีการพัฒนาศักยภาพและขีด
ความสามารถด้านต่างๆ ที่จะดารงชีพและประกอบอาชีพ
ได้อย่างมีความสุขรู้เท่าทันกับการเปลี่ยนแปลง อันเป็น
พลังสร้างสรรค์การพัฒนาประเทศได้อย่างยั่งยืน
1. การศึกษาของไทยสมัยโบราณ
(พ.ศ. 1780 - พ.ศ. 2411)
2. การศึกษาของไทยสมัยปฏิรูปการศึกษา
(พ.ศ. 2412 - พ.ศ. 2474)
3. การศึกษาของไทยหลังการเปลี่ยนแปลงการ
ปกครอง (พ.ศ. 2475 - ปัจจุบัน)
การศึกษาสมัยนี้เป็นการศึกษาแบบสืบทอด
วัฒนธรรมประเพณีที่มีมากแต่เดิม จาเป็นที่คนไทยในสมัย
นั้นต้องขวนขวายหาความรู้จากผู้รู้ในชุมชนต่างๆ
บ้าน - พ่อและแม่
วัง – นักปราชญ์ (ขุนนาง)
วัด - พระ
แบ่งออกเป็น
การศึกษาสมัยกรุงสุโขทัย (พ.ศ. 1781 - พ.ศ. 1921)
การศึกษาสมัยกรุงศรีอยุธยา (พ.ศ. 1893 - พ.ศ. 2310)
การศึกษาสมัยกรุงธนบุรีและกรุงรัตนโกสินทร์ตอนต้น
(พ.ศ. 2311 –พ.ศ. 2411)
ฝ่ายอาณาจักร แบ่งออกเป็น 2 ส่วน ได้แก่
ส่วนทหาร และ ส่วนพลเรือน
ฝ่ายศาสนาจักร เป็นการศึกษาเกี่ยวกับ
พระพุทธศาสนา เน้นพระพุทธศาสนาและ
ศิลปศาสตร์
(1) บ้าน
(2) สานักสงฆ์
(3) สานักราชบัณฑิต
(4) พระราชสานัก
วิชาที่สอน ไม่ได้กาหนดตายตัว พอแบ่งออกได้ดังนี้
1.วิชาความรู้สามัญ สันนิษฐานว่าในช่วงต้นสุโขทัยใช้
ภาษาบาลีและสันสกฤตในการศึกษา ต่อมาในสมัย
หลังจากที่พ่อขุนรามคาแหงได้ทรงประดิษฐ์
อักษรไทยขึ้นใช้เมื่อ พ.ศ. 1826 จึงมีการเรียน
ภาษาไทยกัน
2.วิชาชีพ เรียนกันตามแบบอย่างบรรพบุรุษ
3. วิชาจริยศึกษา สอนให้เคารพนับถือบรรพบุรุษ การ
รู้จักกตัญญูรู้คุณการรักษาขนบธรรมเนียมประเพณี
ดั้งเดิม และการรู้จักทาบุญให้ทาน ถือศีลในระหว่าง
เข้าพรรษา
4. วิชาศิลปะป้องกันตัว เป็นการสอนให้รู้จักการใช้
อาวุธ การบังคับสัตว์ที่ใช้เป็นพาหนะในการออกศึก
และตาราพิชัยยุทธ
กรุงศรีอยุธยาซึ่งเป็นราชธานีอันยาวนาน 417 ปี
มีความเจริญทั้งทางด้านการเมือง เศรษฐกิจและ
สังคม
มีชนชาติต่าง ๆ ในเอเชียเข้ามาติดต่อค้าขายและ
เข้ามาเพื่อตั้งหลักแหล่งหากิน
ชาติตะวันตกได้เริ่มเข้ามาติดต่อค้าขาย
1. การศึกษาวิชาสามัญ เน้นการอ่าน เขียน เรียนเลข
พระโหราธิบดีได้แต่งแบบเรียนภาษาไทย ชื่อ จินดา
มณี ถวายสมเด็จพระนารายณ์มหาราช
2. การศึกษาทางด้านศาสนา ชายไทยต้องบวชเรียนเขียน
อ่านมาก่อน จึงมีโอกาสได้เป็นข้าราชการ มีนักสอน
ศาสนาหรือมิชชันนารีได้จัดตั้งโรงเรียนมิชชันนารี เพื่อ
ชักจูงให้ชาวไทยหันไปนับถือศาสนาคริสต์
3. การศึกษาทางด้านภาษาศาสตร์และวรรณคดี
4. การศึกษาของผู้หญิง มีการเรียนวิชาชีพ
5. การศึกษาวิชาการด้านทหาร
ในสมัยกรุงศรีอยุธยานี้ยังคงเหมือนกับ
สมัยสุโขทัยที่ต่างออกไป คือ มีโรงเรียน
มิชชันนารี เป็นโรงเรียนที่ชาวตะวันตกได้
เข้ามาสร้างเพื่อเผยแพร่ศาสนาและ
ขณะเดียวกันก็สอนวิชาสามัญด้วย
1.วิชาสามัญ มีการเรียนวิชาการอ่าน เขียน เลข ใช้แบบเรียน
ภาษาไทยจินดามณี
2.วิชาชีพ เรียนรู้กันในวงศ์ตระกูล สาหรับเด็กผู้ชายได้เรียนวิชา
วาดเขียน แกะสลัก และช่างฝีมือต่าง ๆ ที่พระสงฆ์เป็นผู้สอน
ให้ ส่วนเด็กผู้หญิงเรียนรู้การบ้านการเรือนจากพ่อแม่สมัย
ต่อมาหลังชาติตะวันตกเข้ามาแล้วมีการเรียนวิชาชีพชั้นสูง
ด้วย เช่น ดาราศาสตร์ การทาน้าประปา การทาปืน การ
พาณิชย์ แพทยศาสตร์ ตารายา การก่อสร้าง ตาราอาหาร
เป็นต้น
1.ด้านอักษรศาสตร์ มีการศึกษาด้านอักษรศาสตร์ มี
วรรณคดีหลายเล่มที่เกิดขึ้น เช่น สมุทรโฆษคาฉันท์
และกาศรวลศรีปราชญ์ เป็นต้น อีกทั้งมีการสอน
ภาษาไทย บาลี สันสกฤต ฝรั่งเศส เขมร พม่า มอญ
และจีน
1.วิชาจริยศึกษา เน้นการศึกษาด้านพระพุทธศาสนามากขึ้น
เช่นในสมัยพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ ทรงกวดขันในเรื่อง
การศึกษาหลักธรรมของพระพุทธศาสนามาก มีการกาหนดให้
ผู้ชายที่เข้ารับราชการทุกคนจะต้องเคยบวชเรียนมาแล้ว เกิด
ประเพณีการอุปสมบทเมื่ออายุครบ 20 ปี นอกจากนี้ในสมัย
สมเด็จพระนารายณ์ทรงให้เสรีภาพไม่กีดกันศาสนา ทรง
อุปถัมภ์พวกสอนศาสนา เพราะทรงเห็นว่าศาสนาทุกศาสนา
ต่างสอนให้คนเป็นคนดี
2.วิชาพลศึกษายังคงเหมือนสมัยสุโขทัย
สมัยพระเจ้ากรุงธนบุรีเป็นระยะเก็บรวบรวมสรรพ
ตาราจากแหล่งต่าง ๆ ที่รอดพ้นจากการทาลายของ
พม่า เน้นการทานุบารุงตาราทางศาสนา ศิลปะและ
วรรณคดี
สมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก
ทรงฟื้นฟูการศึกษาด้านอักษรศาสตร์ วรรณคดี
มีการแต่งรามเกียรติได้เค้าโครงเรื่องมาจาก
อินเดียเรื่อง รามายณะ ศิลปะ กฎหมาย เช่น
กฎหมายตรา3ดวง และหลักธรรมทางศาสนา มี
การสังคายนาพระไตรปิฎก
สมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย เริ่มมีชาว
ยุโรป เช่น ชาติโปรตุเกสเข้ามาติดต่อทางการค้ากับไทย
ใหม่ หลังจากเลิกราไปเมื่อประมาณปลายสมัยอยุธยา และ
ชาติอื่น ๆ ตามเข้ามาอีกมากมาย เช่น อังกฤษ ฝรั่งเศส
ฮอลันดา เป็นต้น เนื่องจากยุโรปมีการปฏิวัติอุตสาหกรรม
ทาให้เปลี่ยนระบบการผลิตจากการใช้มือมาใช้เครื่องจักร
พลังงานจากไอน้าสามารถผลิตสินค้าได้มากขึ้นจึงต้องหา
แหล่งระบายสินค้า ในสมัยนี้ได้ส่งเสริมการศึกษาทั้งวิชา
สามัญ โหราศาสตร์ ดาราศาสตร์ จริยศาสตร์ มีการตั้ง
โรงทานหลวงขึ้นในพระบรมมหาราชวังเป็นที่ให้การศึกษา
สมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงส่งเสริม
การศึกษาด้านศาสนาเป็นพิเศษ มีการจารึกวิชาความรู้สามัญ
และวิชาชีพลงในแผ่นศิลาประดับไว้ตามระเบียงวัดพระเชตุพน
จนมีผู้กล่าวว่าเป็นมหาวิทยาลัยแห่งแรกของไทย มีการใช้
หนังสือไทยชื่อ ประถม ก กา และประถมมาลา นับเป็น
แบบเรียนเล่มที่ 2 และ 3 ต่อจากจินดามณีของพระโหราธิบดี
ต่อมานายแพทย์ ดี บี บรัดเลย์ได้นากิจการแพทย์สมัยใหม่ เช่น
การผ่าตัดเข้ามารักษาคนไข้และการตั้งโรงพิมพ์หนังสือไทยเป็น
ครั้งแรกในปีพ.ศ. 2379 โดยรับจ้างพิมพ์เอกสารทางราชการ
เรื่องห้ามสูบฝิ่น จานวน 9,000 ฉบับ เมื่อปีพ.ศ. 2382
สมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ในสมัยนี้
ชาวยุโรป และอเมริกันเริ่มเข้ามาติดต่อค้าขายและสอน
ศาสนา มีการนาวิทยาการสมัยใหม่ ๆ เข้ามาปรับใช้ใน
เมืองไทยเพิ่มขึ้น และพระองค์ทรงเห็นความสาคัญของ
การศึกษาจึงทรงจ้างนางแอนนา เอช เลียวโนเวนส์ มา
สอนสมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เมื่อ พ.ศ. 2405 จนรอบรู้
ภาษาอังกฤษเป็นอย่างดี ลักษณะการจัดการศึกษาเป็น
แบบเดิมทั้งวัดและบ้าน ในส่วนวิชาชีพและวิชาสามัญ มี
อักษรศาสตร์ ธรรมชาติวิทยาหรือวิทยาศาสตร์
ยังเน้นการจัดการศึกษาที่วัดและบ้าน โดยมี
หลักสูตรเกี่ยวกับการอ่านและเขียนภาษาไทยทั้งใน
ด้านโคลง ฉันท์ กาพย์ กลอน โหราศาสตร์ และ
ไสยศาสตร์จากอาศัยคัมภีร์ทางพระพุทธศาสนา
มาจนกระทั่งในสมัยพระนารายณ์มหาราชเริ่ม
ใช้หนังสือจินดามณีเล่มแรก ต่อมามีประถม ก กา
และประถมมาลา ส่วนครูผู้สอนได้แก่ พระภิกษุ
นักปราชญ์ราชบัณฑิต พ่อแม่ ช่างวิชาชีพต่างๆ
สาหรับการวัดผลไม่มีแบบแผนแต่มักจะเน้นความจา
และความสามารถในการประกอบอาชีพจึงจะได้รับ
การยกย่องและได้รับราชการ
มุ่งให้คนเข้ารับราชการและมีความรู้ทัดเทียมฝรั่งแต่
ไม่ใช่ฝรั่ง แบ่งออกเป็น 3 ช่วง ดังนี้
การศึกษาในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
การศึกษาในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว
การจัดการศึกษาในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว
พระราชดารัส “ … วิชาหนังสือเป็นวิชาที่
น่านับถือและเป็นที่น่าสรรเสริญมาแต่โบราณว่า เป็น
วิชาอย่างประเสริฐซึ่งผู้ยิ่งใหญ่นับแต่ พระมหากษัตริย์
เป็นต้นมา ตลอดจนราษฎรพลเมืองสมควรและจาเป็น
จะต้องรู้เพราะเป็นวิชาที่อาจทาให้การทั้งปวงสาเร็จ
ในทุกสิ่งทุกอย่าง… ”
1. แนวคิดและวิทยาการต่างๆ ของชาติตะวันตก
ซึ่งคณะมิชชันนารีได้นาวิทยาการเข้ามา
เผยแพร่
2. ภัยจากการคุมคามของประเทศมหาอานาจ
3. ความต้องการบุคคลที่มีความรู้ความสามารถ
เข้ามารับราชการ
4. โครงสร้างของสังคมไทยได้มีการเปลี่ยนแปลง
โดยมีการเลิกทาสและมีการติดต่อกับต่างประเทศ
มากขึ้น
5. การที่พระองค์ได้เสด็จต่างประเทศทั้งในเอเชีย
และยุโรป ทาให้ได้แนวความคิดเพื่อนามาปฏิรูป
การศึกษาและใช้เป็นแนวทางพัฒนาบ้านเมือง
ปี พ.ศ. 2414 จัดตั้งโรงเรียนหลวงขึ้นในพระบรมมหาราชวัง
เพื่อฝึกคนให้เข้ารับราชการ มีพระยาศรีสุนทรโวหาร (น้อย
อาจารยางกูร) ในขณะนั้นเป็นหลวงสารประเสริฐเป็นอาจารย์
ใหญ่ โดยมีการสอนหนังสือไทย การคิดเลข และขนบธรรมเนียม
ราชการ นอกจากมีการจัดตั้งโรงเรียนหลวงสาหรับสอน
ภาษาอังกฤษในพระบรมมหาราชวัง เกิดจากแรงผลักดันทาง
การเมืองที่ส่งผลให้ไทยต้องเรียนรู้ภาษาอังกฤษ เพื่อจะได้เจรจา
กับมหาอานาจตะวันตก และมีการส่งนักเรียนไทยไปศึกษาวิชา
ครูที่ประเทศอังกฤษ
ปี พ.ศ. 2414 จัดตั้งโรงเรียนหลวงขึ้นใน
พระบรมมหาราชวัง เพื่อฝึกคนให้เข้ารับราชการ
มีพระยาศรีสุนทรโวหาร (น้อย อาจารยางกูร)
ในขณะนั้นเป็นหลวงสารประเสริฐเป็นอาจารย์ใหญ่
โดยมีการสอนหนังสือไทย การคิดเลข และ
ขนบธรรมเนียมราชการ
นอกจากมีการจัดตั้งโรงเรียนหลวงสาหรับสอน
ภาษาอังกฤษในพระบรมมหาราชวัง เกิดจาก
แรงผลักดันทางการเมืองที่ส่งผลให้ไทยต้องเรียนรู้
ภาษาอังกฤษ เพื่อจะได้เจรจากับมหาอานาจ
ตะวันตก และมีการส่งนักเรียนไทยไปศึกษาวิชาครูที่
ประเทศอังกฤษ
ปี พ.ศ. 2423 จัดตั้งโรงเรียนสุนันทาลัยใน
พระบรมมหาราชวังเป็นโรงเรียนสตรี
ปี พ.ศ. 2424 ปรับปรุงโรงเรียนพระตาหนักสวน
กุหลาบให้เป็นโรงเรียนนายทหารมหาดเล็ก ต่อมาได้
กลายเป็นโรงเรียนข้าราชการพลเรือนในปี พ.ศ.
2453 และปี พ.ศ. 2459 ได้ตั้งเป็นจุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย
ปี พ.ศ. 2425 จัดตั้งโรงเรียนแผนที่และในปี พ.ศ.2427
จัดตั้งโรงเรียนหลวงสาหรับราษฎรขึ้นตามวัดใน
กรุงเทพมหานครหลายแห่ง และแห่งแรก คือ
โรงเรียนมหรรณพาราม
ปี พ.ศ. 2432 ตั้งโรงเรียนแพทย์ขึ้น เรียกว่า โรงเรียน
แพทยากร ตั้งอยู่ที่ริมแม่น้าหน้าโรงพยาบาลศิริราช ใช้
เป็นที่สอนวิชาแพทย์แผนปัจจุบัน
ปี พ.ศ. 2435 จัดตั้งโรงเรียนมูลศึกษาขึ้นในวัดทั่วไปทั้ง
ในกรุงเทพมหานครและหัวเมือง โดยประสงค์จะขยาย
การศึกษาเล่าเรียนหนังสือไทยให้แพร่หลายเป็นแบบแผน
ยิ่งขึ้น และตั้งโรงเรียนฝึกหัดครูเป็นแห่งแรกที่ตาบล
โรงเลี้ยงเด็ก ต่อมาย้ายไปอยู่ที่วัดเทพศิรินทราวาส
ปี พ.ศ. 2437 นักเรียนฝึกหัดครูชุดแรก 3 คนสาเร็จ
การศึกษาได้รับประกาศนียบัตรเป็นครูสอนภาษาไทยและ
ภาษาอังกฤษ
ปี พ.ศ. 2449 ย้ายโรงเรียนฝึกหัดครู ซึ่งตั้งอยู่ที่วัด
เทพศิริทราวาส ไปรวมกับโรงเรียนฝึกหัดครูฝั่ง
ตะวันตก (บ้านสมเด็จเจ้าพระยา) ปรับปรุงหลักสูตร
ให้สูงขึ้นเป็น โรงเรียนฝึกหัดอาจารย์สอนหลักสูตร 2
ปี รับนักเรียนที่สาเร็จมัธยมศึกษา
ปี พ.ศ. 2456 ตั้งโรงเรียนฝึกหัดครูหญิงขึ้นเป็นครั้ง
แรกที่โรงเรียนเบญจมราชาลัย
เมื่อจานวนโรงเรียนเพิ่มมากขึ้นจึงจาเป็นต้องมีหน่วยงาน
รับผิดชอบ การศึกษาเป็นส่วนหนึ่งต่างหาก เช่น ปี พ.ศ. 2430
ทรงโปรดเกล้า ฯ ให้ตั้งกรมศึกษาธิการโดยโอนโรงเรียนที่สังกัด
กรมทหารมหาดเล็กมาทั้งหมด ให้กรมหมื่นดารงราชานุภาพเป็น
ผู้บัญชาการอีกตาแหน่งหนึ่ง ปี พ.ศ. 2432 รวมกรมศึกษาธิการ
เข้าไปอยู่ในบังคับบัญชาของกรมธรรมการ และ ปีพ.ศ. 2435
ประกาศตั้งกระทรวงธรรมการ มีเจ้าพระยาภาสกรวงศ์ (พร
บุนนาค) เป็นเสนาบดี มีหน้าที่ในการจัดการศึกษา การ
พยาบาล พิพิธภัณฑ์และศาสนา
ปี พ.ศ. 2414 ทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ ให้พระยาศรี
สุนทรโวหาร (น้อย อาจารยางกูร) เรียบเรียงแบบเรียน
หลวงขึ้น 1 เล่ม ชุดมูลบรรพกิจ เพื่อใช้เป็นบทหลักสูตร
วิชาชั้นต้น
ปี พ.ศ. 2427 กาหนดหลักสูตรชั้นประโยคหนึ่ง โดย
อนุโลมตามแบบเรียนหลวงหกเล่ม นับเป็นปีแรกที่จัดให้มี
การสอบไล่วิชาสามัญ และมีการกาหนดหลักสูตรชั้น
ประโยคสอง ซึ่งเป็นหลักสูตรที่เกี่ยวกับวิชาสามัญศึกษา
หมายถึง ความรู้ต่าง ๆ ที่ต้องการใช้สาหรับเสมียนใน
ราชการพลเรือนตามกระทรวงต่าง ๆ
ปี พ.ศ. 2431 กรมศึกษาธิการ จัดทาแบบเรียนเร็ว
ใช้แทนแบบเรียนหลวงชุดเดิม ผู้แต่งคือ พระองค์
เจ้าดิศวรกุมาร (กรมพระยาดารงราชานุภาพ) 1 ชุด
มี 3 เล่ม
ปี พ.ศ. 2433 ประกาศใช้พระราชบัญญัติวิชา
พ.ศ. 2433 มีผลทาให้หลักสูตรภาษาไทยแบ่ง
ออกเป็น 3 ประโยค หลักสูตรภาษาอังกฤษแบ่ง
ออกเป็น 6 ชั้น
ปี พ.ศ. 2434 ได้แก้ไขการสอบไล่จากเดิมปีละครั้ง
เป็นปีละ 2 ครั้งเพื่อไม่ให้นักเรียนเสียเวลานาน
เกินไป
(1) พระบรมราโชบายในการปกครองประเทศ เพื่อให้
ประเทศมีความเจริญก้าวหน้าทัดเทียมกับนานา
ประเทศ โดยการส่งทหารไปร่วมกับฝ่ายสัมพันธมิตร
ในสงครามโลกครั้งที่ 1 นอกจากนี้พระองค์ทรงสร้าง
ความรู้สึกชาตินิยมในหมู่ประชาชนชาวไทยโดยมี
สาระสาคัญของอุดมการณ์ชาตินิยม คือ ความรักชาติ
ความจงรักภักดีต่อพระมหากษัตริย์และความยึดมั่นใน
พุทธศาสนา
(2) พระองค์ทรงศึกษาวิชาการจาก
ต่างประเทศ และเมื่อเสด็จกลับมาแล้ว
พระองค์ได้ทรงนาเอาแบบอย่างและ
วิธีการที่เป็นประโยชน์มาใช้เป็นหลักใน
การปรับปรุงการศึกษา เช่น ทรงนาเอา
วิชาลูกเสือจากประเทศอังกฤษเข้ามา
จัดตั้งกองเสือป่า
(3) ผลอันเนื่องจากการจัดการศึกษาในรัชสมัย
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อ
คนส่วนมากที่ได้รับการศึกษา มีความรู้และ
แนวคิดเกี่ยวกับการปกครองประเทศในระบอบ
รัฐธรรมนูญในระบบรัฐสภา จึงมีความปรารถนา
จะเปลี่ยนแปลงการปกครองไปเป็นระบอบ
ประชาธิปไตย
(4) ปัญหาอันเกิดจากคนล้นงานและคนละทิ้ง
อาชีพและถิ่นฐานเดิม มุ่งที่จะหันเข้าสู่อาชีพ
ราชการมากเกินไป
ปี พ.ศ. 2453 ประกาศตั้งโรงเรียนข้าราชการพล
เรือนเพื่อฝึกคนเข้ารับราชการตามกระทรวง ทบวง
กรมต่าง ๆ และต่อมาปี พ.ศ. 2459 ได้ประกาศยก
ฐานะโรงเรียนข้าราชการพลเรือนนี้ ขึ้นเป็น
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย นับเป็นมหาวิทยาลัยแห่ง
แรกของประเทศไทย
ปี พ.ศ. 2454 ตั้งกองลูกเสือหรือเสือป่าขึ้นเป็นครั้ง
แรกโครงการศึกษาพ.ศ. 2456 และฉบับแก้ไข พ.ศ.
2458 โดยมุ่งให้ประชาชนมีความรู้ทางด้านการทา
มาหาเลี้ยงชีพตามอัตภาพของตน พยายามที่จะ
เปลี่ยนค่านิยมของประชาชนไม่ให้มุ่งที่จะเข้ารับ
ราชการอย่างเดียว
ปี พ.ศ. 2459 จัดตั้งกองลูกเสือหญิงและอนุกาชาด
โรงเรียนกุลสตรีวังหลังและได้จัดตั้งกองลูกเสือหญิง
ขึ้น เรียกว่า เนตรนารี
ปี พ.ศ. 2461 มีการปรับปรุงและขยายฝึกหัดครูขึ้น
โดยโอนกลับมาขึ้นกับกระทรวงศึกษาธิการ ซึ่งเดิม
เป็นแผนกหนึ่งของโรงเรียนข้าราชการพลเรือน
ปี พ.ศ. 2461 ประกาศใช้พระราชบัญญัติ
โรงเรียนราษฎร์ และ
ปี พ.ศ. 2464ปรับปรุงโครงการศึกษาชาติ โดย
วางโครงการศึกษาขึ้นใหม่เพื่อส่งเสริมให้ทามา
หาเลี้ยงชีพ นอกเหนือจากทาราชการ
ปี พ.ศ. 2464 ใช้พระราชบัญญัติประถมศึกษา
บังคับให้เด็กทุกคนที่มีอายุ 7 ปี บริบูรณ์หรือ
ย่างเข้าปีที่ 8 ให้เรียนอยู่ในโรงเรียนจนถึงอายุ
14 ปีบริบูรณ์หรือย่างเข้าปีที่ 15 โดยไม่ต้องเสีย
ค่าเล่าเรียน และมีการเรียกเก็บเงินศึกษาพลี
จากประชาชนคนละ 1- 3 บาทเพื่อนาไปใช้จ่าย
ในการจัดดาเนินการประถมศึกษา
(1) ปัญหาการเมืองที่เกิดขึ้นภายในประเทศ
(2) ปัญหาสืบเนื่องจากอิทธิพลจักรวรรดินิยมตะวันตก
(3) ปัญหาสืบเนื่องจากภาวะเศรษฐกิจตกต่า
(4) ปัญหาสืบเนื่องจากการประกาศใช้กฎหมาย
การศึกษา คือพระราชบัญญัติประถมศึกษา ทาให้
การศึกษาแพร่หลายออกไป แต่ขาดความพร้อม
ทางด้านงบประมาณการศึกษา
(1) ปี พ.ศ. 2473 ยกเลิกการเก็บเงินศึกษาพลีคนละ 1 – 3
บาท จากผู้ชายทุกคนที่มีอายุระหว่าง 16 - 60 ปี โดยใช้
เงินจากกระทรวงพระคลังมหาสมบัติอุดหนุนการศึกษา
แทน
(2) ปี พ.ศ. 2474 ปรับปรุงกระทรวงธรรมการเพื่อให้
สอดคล้องกับภาวะเศรษฐกิจตกต่าของประเทศ โดยยุบ
กรมสามัญศึกษาในตอนนั้น กระทรวงธรรมการจึงมี
หน่วยงานเพียง 3 หน่วยคือ กองบัญชาการ กองตรวจ
การศึกษากรุงเทพ ฯ และกองสุขาภิบาลโรงเรียน
(3) ยกเลิกระเบียบว่าด้วยการควบคุมแบบเรียน
(1) นโยบายการจัดการศึกษาของคณะราษฎร์ ดังจะเห็นได้จาก
คาแถลงนโยบายของรัฐบาลพระยามโนปกรณ์นิติธาดา พ.ศ.
2475 กล่าวไว้ว่า “….การจัดการศึกษาเพื่อจะให้พลเมืองได้มี
การศึกษาโดยแพร่หลาย ก็จะต้องอนุโลมตามระเบียบการ
ปกครองที่ให้เข้าลักษณะเกี่ยวกับแผนเศรษฐกิจแห่งชาติ
หลักสูตรของโรงเรียนและมหาวิทยาลัยจะต้องขยายให้สูงขึ้น
เท่าเทียมอารยประเทศ ในการนี้จะต้องเทียบหลักสูตรของ
นานาประเทศ หลักสูตรใดสูงถือตามหลักสูตรนั้น”
(2) การเกิดสงครามโลกครั้งที่สอง
(1) มีการประกาศใช้แผนการศึกษาชาติ หลัง
เปลี่ยนแปลงการปกครองเป็นระบอบประชาธิปไตย
แล้ว โดยจัดตั้งคณะกรรมการการศึกษาและทรงพระ
กรุณาโปรดเกล้า ๆ ให้ตั้งสภาการศึกษา พ.ศ. 2475
ประกาศใช้แผนการศึกษาชาติ ต่อมามีการปรับปรุง
การจัดการศึกษาภาคบังคับจาก 6 ปี เหลือ 4 ปี
และประกาศใช้แผนการศึกษาชาติ พ.ศ. 2479
(2) การมอบให้ท้องถิ่นจัดการศึกษา พ.ศ. 2476 และ
ยกฐานะท้องถิ่นขึ้นเป็นเทศบาลตราพระราชบัญญัติ
เทศบาลขึ้น และเทศบาลได้จัดการศึกษาอย่าง
แท้จริงใน พ.ศ. 2478
(3) การปรับปรุงหน่วยงานที่มีส่วนรับผิดชอบในการ
จัดการศึกษา
การศึกษาแบ่งเป็น
สามัญศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 – 4 ชั้นมัธยม
ต้นปีที่ 1-3 มัธยมปลายปีที่ 4-6
อาชีวศึกษา ศึกษาวิชาสาหรับประกอบอาชีพ
ผู้เข้าเรียนอุดมศึกษา ต้องสาเร็จชั้นเตรียม
อุดมศึกษา
ชั้นประถมศึกษา เป็นการศึกษาภาคบังคับ
การศึกษาตามแนวระบบโรงเรียน แบ่งเป็น 4
ระดับ คือ การศึกษาขั้นอนุบาล ประถมศึกษา
( 4 ปี) มัธยมศึกษา
(ต้น – ปลาย 6ปี) ระดับเตรียมอุดมศึกษา
อุดมศึกษาและการศึกษาขั้นมหาวิทยาลัย
มัธยมศึกษา แยกเป็น 3 สาย คือ
ก.มัธยมสามัญศึกษา มัธยมสามัญปีที่ 1-3
ข.มัธยมวิสามัญศึกษา มัธยมวิสามัญตอนต้นปีที่ 1-3
, ตอนปลายปีที่ 4-6
ค.มัธยมอาชีวศึกษา ตอนต้น ตอนปลาย ตอนละไม่
เกิน 3 ปี
เตรียมอุดมศึกษา เตรียมอุดมศึกษาปีที่ 1 – 2
อาชีวศึกษาชั้นสูง
อุดมศึกษาและการศึกษาขั้นมหาวิทยาลัย
การศึกษาภาคบังคับ
การศึกษาพิเศษ การศึกษาเป็นครั้งคราว
สาหรับเด็กหญิง เด็กชายที่ออกจาก
โรงเรียน
การศึกษาผู้ใหญ่ สาหรับผู้ใหญ่ทั่วไป
การศึกษาตามแนวระบบโรงเรียน แบ่งเป็น
ระดับอนุบาลศึกษา
ระดับประถมศึกษา ( 7 ปี)
ระดับมัธยมศึกษา (5 – 6 ปี)
ระดับอุดมศึกษา
มัธยมศึกษา แบ่งเป็น
สายสามัญ ประโยคมัธยมศึกษาตอนต้น ประโยค
มัธยมศึกษาตอนปลาย
สายอาชีพ ประโยคมัธยมศึกษาตอนต้น ประโยค
มัธยมศึกษาตอนปลาย
การศึกษาภาคบังคับ
การศึกษาสงเคราะห์
การศึกษาตามแนวระบบโรงเรียน แบ่งเป็น
4 ระดับ คือ ระดับก่อนประถมศึกษา
ระดับประถมศึกษา ( 6 ปี)
ระดับมัธยมศึกษา (ต้น – ปลาย 6ปี)
และ ระดับอุดมศึกษา
การศึกษาตามแนวระบบโรงเรียน แบ่งเป็น 4
ระดับ คือ
ระดับก่อนประถมศึกษา
ระดับประถมศึกษา
ระดับมัธยมศึกษา
ระดับอุดมศึกษา
การศึกษาระดับอุดมศึกษา
- การศึกษาระดับต่ากว่าปริญญาตรี
- การศึกษาระดับปริญญาตรี
- การศึกษาระดับสูงกว่าปริญญาตรี
การศึกษาตามแนวระบบโรงเรียนตามความต้องการของ
กลุ่มเป้าหมาย
* การฝึกหัดครู * การศึกษาวิชาชีพ
* การศึกษาวิชาชีพพิเศษ * การศึกษาวิชาชีพเฉพาะกิจ
* การศึกษาพิเศษ
* การศึกษาของภิกษุ สามเณร นักบวช และ
บุคลากรทางศาสนา
มาตรา 15 – 20 ได้กล่าวถึงระบบการ
จัดการศึกษาของประเทศไทย
การศึกษานอกระบบ
การศึกษาตามอัธยาศัย
การศึกษาในระบบ
เป็นการศึกษาที่กาหนดจุดมุ่งหมาย วิธี
การศึกษา หลักสูตร ระยะเวลา ของการศึกษา
การวัดและประเมินผล ซึ่งเป็นเงื่อนไขของการ
สาเร็จการศึกษาที่แน่นอน
มี 2 ระดับ คือ
การศึกษาขั้นพื้นฐาน ประกอบด้วย การศึกษา
ซึ่งจัดไม่น้อยกว่าสิบสองปีก่อนระดับอุดมศึกษา
การศึกษาระดับอุดมศึกษาแบ่งเป็นสองระดับ
คือ ระดับต่ากว่าปริญญา และระดับปริญญา
(๑) สถานพัฒนาเด็กปฐมวัย - ศูนย์เด็กเล็ก ศูนย์พัฒนา
เด็กเล็ก ศูนย์พัฒนาเด็ก ก่อนเกณฑ์ของสถาบันศาสนา
ศูนย์บริการช่วยเหลือระยะแรกเริ่มของเด็กพิการและ
เด็กซึ่งมีความต้องการพิเศษ หรือสถานพัฒนาเด็ก
ปฐมวัย
(๒) โรงเรียน -โรงเรียนของรัฐ โรงเรียนเอกชน และ
โรงเรียนสังกัดสถาบันพุทธศาสนา หรือศาสนาอื่น
(๓) ศูนย์การเรียน -สถานที่เรียนที่หน่วยงานจัด
การศึกษานอกโรงเรียน บุคคล ครอบครัว ชุมชน
องค์กรชุมชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น องค์กร
เอกชน องค์กรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถาน
ประกอบการ โรงพยาบาล สถาบันทางการแพทย์
สถานสงเคราะห์ และสถาบันสังคมอื่นเป็นผู้จัด
จัดในมหาวิทยาลัย สถาบัน วิทยาลัย
เป็นการศึกษาที่มีความยืดหยุ่นในการกาหนดจุดมุ่งหมาย
รูปแบบ วิธีการจัดการศึกษา ระยะเวลาของการศึกษา
การวัดและประเมินผล ซึ่งเป็นเงื่อนไขสาคัญของการ
สาเร็จการศึกษา โดยเนื้อหาและหลักสูตรจะต้องมีความ
เหมาะสมสอดคล้องกับสภาพปัญหาและความต้องการ
ของบุคคลแต่ละกลุ่ม
การศึกษานอกระบบ
การศึกษาตามอัธยาศัย
เป็นการศึกษาที่ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ด้วยตนเองตามความ
สนใจ ศักยภาพ ความพร้อม และโอกาส โดยศึกษาจาก
บุคคล ประสบการณ์ สังคม สภาพแวดล้อม สื่อ หรือ
แหล่งความรู้อื่น ๆ
ฉบับเต็ม
http://www.onec.go.th/plan/surang/s_fullplan/f
ullplan.pdf
ฉบับสรุป
http://www.onec.go.th/plan/surang/s_shortplan/shor
tplan.pdf
จากประวัติการศึกษาไทยที่ได้เรียนมา ท่านคิดว่า สิ่งที่
เกิดขึ้นในอดีตมีผลอย่างไรต่อการศึกษาในปัจจุบัน
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ มีบทบาทต่อการจัด
การศึกษาอย่างไร
แผนการศึกษาแห่งชาติฉบับปัจจุบัน เหมือนหรือแตกต่าง
จากแผนการศึกษาชาติในอดีตอย่างไร

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีWarodom Techasrisutee
 
ตารางธาตุและเรพรี
ตารางธาตุและเรพรีตารางธาตุและเรพรี
ตารางธาตุและเรพรีtum17082519
 
บทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการ
บทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการบทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการ
บทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการsawed kodnara
 
บทที่4โลกของเราม 2
บทที่4โลกของเราม 2บทที่4โลกของเราม 2
บทที่4โลกของเราม 2Wichai Likitponrak
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1suchinmam
 
พุทธศาสนิกชนตัวอย่าง ส16101 สังคม ป.6
พุทธศาสนิกชนตัวอย่าง ส16101 สังคม ป.6พุทธศาสนิกชนตัวอย่าง ส16101 สังคม ป.6
พุทธศาสนิกชนตัวอย่าง ส16101 สังคม ป.6Thanawut Rattanadon
 
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3O'Orh ChatmaNee
 
การอ่านแปลความ ตีความและขยายความ
การอ่านแปลความ ตีความและขยายความการอ่านแปลความ ตีความและขยายความ
การอ่านแปลความ ตีความและขยายความSurapong Klamboot
 
การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์พัน พัน
 
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชันแบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชันphaephae
 
กาพย์เห่เรือ
กาพย์เห่เรือกาพย์เห่เรือ
กาพย์เห่เรือWarodom Techasrisutee
 
เฉลย การแปลงคำอุปสรรค ม.3 , ม.4
เฉลย การแปลงคำอุปสรรค ม.3 , ม.4เฉลย การแปลงคำอุปสรรค ม.3 , ม.4
เฉลย การแปลงคำอุปสรรค ม.3 , ม.4krusarawut
 
กระทู้ ธรรมศึกษาชั้นตรี
กระทู้ ธรรมศึกษาชั้นตรีกระทู้ ธรรมศึกษาชั้นตรี
กระทู้ ธรรมศึกษาชั้นตรีTheeraphisith Candasaro
 
Casestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณีCasestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณีrewat Chitthaing
 
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5kessara61977
 
บทที่ 3 การจัดการศึกษาปฐมวัยในยุโรปและอเมริกา 55
บทที่ 3 การจัดการศึกษาปฐมวัยในยุโรปและอเมริกา 55บทที่ 3 การจัดการศึกษาปฐมวัยในยุโรปและอเมริกา 55
บทที่ 3 การจัดการศึกษาปฐมวัยในยุโรปและอเมริกา 55Decode Ac
 

Mais procurados (20)

ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
 
ตารางธาตุและเรพรี
ตารางธาตุและเรพรีตารางธาตุและเรพรี
ตารางธาตุและเรพรี
 
บทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการ
บทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการบทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการ
บทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการ
 
งานและพลังงาน (work and_energy)
งานและพลังงาน (work and_energy)งานและพลังงาน (work and_energy)
งานและพลังงาน (work and_energy)
 
บทที่4โลกของเราม 2
บทที่4โลกของเราม 2บทที่4โลกของเราม 2
บทที่4โลกของเราม 2
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
 
พุทธศาสนิกชนตัวอย่าง ส16101 สังคม ป.6
พุทธศาสนิกชนตัวอย่าง ส16101 สังคม ป.6พุทธศาสนิกชนตัวอย่าง ส16101 สังคม ป.6
พุทธศาสนิกชนตัวอย่าง ส16101 สังคม ป.6
 
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
 
การอ่านแปลความ ตีความและขยายความ
การอ่านแปลความ ตีความและขยายความการอ่านแปลความ ตีความและขยายความ
การอ่านแปลความ ตีความและขยายความ
 
การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
 
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชันแบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
 
กาพย์เห่เรือ
กาพย์เห่เรือกาพย์เห่เรือ
กาพย์เห่เรือ
 
เฉลย การแปลงคำอุปสรรค ม.3 , ม.4
เฉลย การแปลงคำอุปสรรค ม.3 , ม.4เฉลย การแปลงคำอุปสรรค ม.3 , ม.4
เฉลย การแปลงคำอุปสรรค ม.3 , ม.4
 
ระดับภาษา 2
ระดับภาษา 2ระดับภาษา 2
ระดับภาษา 2
 
แรงพยุงหรือแรงลอยตัว
แรงพยุงหรือแรงลอยตัวแรงพยุงหรือแรงลอยตัว
แรงพยุงหรือแรงลอยตัว
 
กระทู้ ธรรมศึกษาชั้นตรี
กระทู้ ธรรมศึกษาชั้นตรีกระทู้ ธรรมศึกษาชั้นตรี
กระทู้ ธรรมศึกษาชั้นตรี
 
Casestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณีCasestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณี
 
ความสำคัญของพระมหากษัตริย์ต่อชาติไทย
ความสำคัญของพระมหากษัตริย์ต่อชาติไทยความสำคัญของพระมหากษัตริย์ต่อชาติไทย
ความสำคัญของพระมหากษัตริย์ต่อชาติไทย
 
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
 
บทที่ 3 การจัดการศึกษาปฐมวัยในยุโรปและอเมริกา 55
บทที่ 3 การจัดการศึกษาปฐมวัยในยุโรปและอเมริกา 55บทที่ 3 การจัดการศึกษาปฐมวัยในยุโรปและอเมริกา 55
บทที่ 3 การจัดการศึกษาปฐมวัยในยุโรปและอเมริกา 55
 

Destaque

ประวัติการศึกษา สมัยธนบุรีถึงรัตนโกสินทร์ตอนต้น (พ.ศ.2311-2411)
ประวัติการศึกษา สมัยธนบุรีถึงรัตนโกสินทร์ตอนต้น (พ.ศ.2311-2411)ประวัติการศึกษา สมัยธนบุรีถึงรัตนโกสินทร์ตอนต้น (พ.ศ.2311-2411)
ประวัติการศึกษา สมัยธนบุรีถึงรัตนโกสินทร์ตอนต้น (พ.ศ.2311-2411)hon9te
 
วิจารณ์การศึกษาไทย
วิจารณ์การศึกษาไทยวิจารณ์การศึกษาไทย
วิจารณ์การศึกษาไทยTongsamut vorasan
 
บทที่ 5 ประวัติความเป็นมาการจัดการศึกาปฐมวัยในประเทศไทย 55
บทที่ 5 ประวัติความเป็นมาการจัดการศึกาปฐมวัยในประเทศไทย 55บทที่ 5 ประวัติความเป็นมาการจัดการศึกาปฐมวัยในประเทศไทย 55
บทที่ 5 ประวัติความเป็นมาการจัดการศึกาปฐมวัยในประเทศไทย 55Decode Ac
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา (Information and Communication Te...
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา (Information and Communication Te...เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา (Information and Communication Te...
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา (Information and Communication Te...Chantana Papattha
 

Destaque (6)

ประวัติการศึกษา สมัยธนบุรีถึงรัตนโกสินทร์ตอนต้น (พ.ศ.2311-2411)
ประวัติการศึกษา สมัยธนบุรีถึงรัตนโกสินทร์ตอนต้น (พ.ศ.2311-2411)ประวัติการศึกษา สมัยธนบุรีถึงรัตนโกสินทร์ตอนต้น (พ.ศ.2311-2411)
ประวัติการศึกษา สมัยธนบุรีถึงรัตนโกสินทร์ตอนต้น (พ.ศ.2311-2411)
 
History of Thailand
History of ThailandHistory of Thailand
History of Thailand
 
วิจารณ์การศึกษาไทย
วิจารณ์การศึกษาไทยวิจารณ์การศึกษาไทย
วิจารณ์การศึกษาไทย
 
บทที่ 5 ประวัติความเป็นมาการจัดการศึกาปฐมวัยในประเทศไทย 55
บทที่ 5 ประวัติความเป็นมาการจัดการศึกาปฐมวัยในประเทศไทย 55บทที่ 5 ประวัติความเป็นมาการจัดการศึกาปฐมวัยในประเทศไทย 55
บทที่ 5 ประวัติความเป็นมาการจัดการศึกาปฐมวัยในประเทศไทย 55
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา (Information and Communication Te...
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา (Information and Communication Te...เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา (Information and Communication Te...
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา (Information and Communication Te...
 
สรุปวิชาการศึกษา
สรุปวิชาการศึกษาสรุปวิชาการศึกษา
สรุปวิชาการศึกษา
 

Semelhante a ประวัติการศึกษาไทย

Projectm6 2-2554
Projectm6 2-2554Projectm6 2-2554
Projectm6 2-2554Net'Net Zii
 
06 mini thesis-การศีกษาพฤติกรรมการใช้เฟสบุค
06 mini thesis-การศีกษาพฤติกรรมการใช้เฟสบุค06 mini thesis-การศีกษาพฤติกรรมการใช้เฟสบุค
06 mini thesis-การศีกษาพฤติกรรมการใช้เฟสบุคKruBeeKa
 
เอกสารนำเสนอนวัตกรรมNonsi 3 s together(20แผ่น)
เอกสารนำเสนอนวัตกรรมNonsi 3 s together(20แผ่น)เอกสารนำเสนอนวัตกรรมNonsi 3 s together(20แผ่น)
เอกสารนำเสนอนวัตกรรมNonsi 3 s together(20แผ่น)Kobwit Piriyawat
 
การปฏ ร ปการศ_กษาไทยในศตวรรษท__ 21
การปฏ ร ปการศ_กษาไทยในศตวรรษท__ 21การปฏ ร ปการศ_กษาไทยในศตวรรษท__ 21
การปฏ ร ปการศ_กษาไทยในศตวรรษท__ 21Yai Muay
 
9789740332800
97897403328009789740332800
9789740332800CUPress
 
พุทธศาสนาในโลกปัจจุบัน
พุทธศาสนาในโลกปัจจุบันพุทธศาสนาในโลกปัจจุบัน
พุทธศาสนาในโลกปัจจุบันPadvee Academy
 
โครงการสืบสานพระราชปณิธาน รัชกาลที่ 10
โครงการสืบสานพระราชปณิธาน รัชกาลที่ 10โครงการสืบสานพระราชปณิธาน รัชกาลที่ 10
โครงการสืบสานพระราชปณิธาน รัชกาลที่ 10นิรุทธิ์ อุทาทิพย์
 
นำเสนอประวัติการศึกษาของไทย
นำเสนอประวัติการศึกษาของไทยนำเสนอประวัติการศึกษาของไทย
นำเสนอประวัติการศึกษาของไทยhall999
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1kanwan0429
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1kanwan0429
 
พรบ การศึกษาแห่งชาติ 2542 ย่อเสร็จแล้ว 7 ม ค 55
พรบ การศึกษาแห่งชาติ 2542 ย่อเสร็จแล้ว 7 ม ค 55พรบ การศึกษาแห่งชาติ 2542 ย่อเสร็จแล้ว 7 ม ค 55
พรบ การศึกษาแห่งชาติ 2542 ย่อเสร็จแล้ว 7 ม ค 55โทษฐาน ที่รู้จักกัน
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Cake WhiteChocolate
 
Cheet5 curriculam
Cheet5 curriculamCheet5 curriculam
Cheet5 curriculamZTu Zii ICe
 
ถอดเทปสันติธานี 1
ถอดเทปสันติธานี 1ถอดเทปสันติธานี 1
ถอดเทปสันติธานี 1Taraya Srivilas
 
บทบาทของมหาวิทยาลัยสงฆ์ในการสร้างชุมชนเข้มแข็ง
บทบาทของมหาวิทยาลัยสงฆ์ในการสร้างชุมชนเข้มแข็งบทบาทของมหาวิทยาลัยสงฆ์ในการสร้างชุมชนเข้มแข็ง
บทบาทของมหาวิทยาลัยสงฆ์ในการสร้างชุมชนเข้มแข็งpentanino
 

Semelhante a ประวัติการศึกษาไทย (20)

Edu system
Edu systemEdu system
Edu system
 
Projectm6 2-2554
Projectm6 2-2554Projectm6 2-2554
Projectm6 2-2554
 
Projectm6 2-2554
Projectm6 2-2554Projectm6 2-2554
Projectm6 2-2554
 
ประวัติศาสตร์ไทย 3
ประวัติศาสตร์ไทย 3ประวัติศาสตร์ไทย 3
ประวัติศาสตร์ไทย 3
 
06 mini thesis-การศีกษาพฤติกรรมการใช้เฟสบุค
06 mini thesis-การศีกษาพฤติกรรมการใช้เฟสบุค06 mini thesis-การศีกษาพฤติกรรมการใช้เฟสบุค
06 mini thesis-การศีกษาพฤติกรรมการใช้เฟสบุค
 
เอกสารนำเสนอนวัตกรรมNonsi 3 s together(20แผ่น)
เอกสารนำเสนอนวัตกรรมNonsi 3 s together(20แผ่น)เอกสารนำเสนอนวัตกรรมNonsi 3 s together(20แผ่น)
เอกสารนำเสนอนวัตกรรมNonsi 3 s together(20แผ่น)
 
การปฏ ร ปการศ_กษาไทยในศตวรรษท__ 21
การปฏ ร ปการศ_กษาไทยในศตวรรษท__ 21การปฏ ร ปการศ_กษาไทยในศตวรรษท__ 21
การปฏ ร ปการศ_กษาไทยในศตวรรษท__ 21
 
9789740332800
97897403328009789740332800
9789740332800
 
พุทธศาสนาในโลกปัจจุบัน
พุทธศาสนาในโลกปัจจุบันพุทธศาสนาในโลกปัจจุบัน
พุทธศาสนาในโลกปัจจุบัน
 
โครงการสืบสานพระราชปณิธาน รัชกาลที่ 10
โครงการสืบสานพระราชปณิธาน รัชกาลที่ 10โครงการสืบสานพระราชปณิธาน รัชกาลที่ 10
โครงการสืบสานพระราชปณิธาน รัชกาลที่ 10
 
นำเสนอประวัติการศึกษาของไทย
นำเสนอประวัติการศึกษาของไทยนำเสนอประวัติการศึกษาของไทย
นำเสนอประวัติการศึกษาของไทย
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
พรบ การศึกษาแห่งชาติ 2542 ย่อเสร็จแล้ว 7 ม ค 55
พรบ การศึกษาแห่งชาติ 2542 ย่อเสร็จแล้ว 7 ม ค 55พรบ การศึกษาแห่งชาติ 2542 ย่อเสร็จแล้ว 7 ม ค 55
พรบ การศึกษาแห่งชาติ 2542 ย่อเสร็จแล้ว 7 ม ค 55
 
เต็มรูปแบบ
เต็มรูปแบบเต็มรูปแบบ
เต็มรูปแบบ
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
Education Inter
Education InterEducation Inter
Education Inter
 
Cheet5 curriculam
Cheet5 curriculamCheet5 curriculam
Cheet5 curriculam
 
ถอดเทปสันติธานี 1
ถอดเทปสันติธานี 1ถอดเทปสันติธานี 1
ถอดเทปสันติธานี 1
 
บทบาทของมหาวิทยาลัยสงฆ์ในการสร้างชุมชนเข้มแข็ง
บทบาทของมหาวิทยาลัยสงฆ์ในการสร้างชุมชนเข้มแข็งบทบาทของมหาวิทยาลัยสงฆ์ในการสร้างชุมชนเข้มแข็ง
บทบาทของมหาวิทยาลัยสงฆ์ในการสร้างชุมชนเข้มแข็ง
 

Mais de Suwanan Nonsrikham

หลักสูตรแกนกลาง 51
หลักสูตรแกนกลาง 51หลักสูตรแกนกลาง 51
หลักสูตรแกนกลาง 51Suwanan Nonsrikham
 
หลักสูตรแกนกลาง 51
หลักสูตรแกนกลาง 51หลักสูตรแกนกลาง 51
หลักสูตรแกนกลาง 51Suwanan Nonsrikham
 
มาตรฐานวิชาชีพครู
มาตรฐานวิชาชีพครูมาตรฐานวิชาชีพครู
มาตรฐานวิชาชีพครูSuwanan Nonsrikham
 
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542Suwanan Nonsrikham
 
การประกันคุณภาพการศึกษา
การประกันคุณภาพการศึกษาการประกันคุณภาพการศึกษา
การประกันคุณภาพการศึกษาSuwanan Nonsrikham
 
การปฏิรูปการศึกษา 2561
การปฏิรูปการศึกษา 2561การปฏิรูปการศึกษา 2561
การปฏิรูปการศึกษา 2561Suwanan Nonsrikham
 
มนุษยสัมพันธ์สำหรับครู
มนุษยสัมพันธ์สำหรับครูมนุษยสัมพันธ์สำหรับครู
มนุษยสัมพันธ์สำหรับครูSuwanan Nonsrikham
 

Mais de Suwanan Nonsrikham (11)

หลักสูตรแกนกลาง 51
หลักสูตรแกนกลาง 51หลักสูตรแกนกลาง 51
หลักสูตรแกนกลาง 51
 
หลักสูตรแกนกลาง 51
หลักสูตรแกนกลาง 51หลักสูตรแกนกลาง 51
หลักสูตรแกนกลาง 51
 
มาตรฐานวิชาชีพครู
มาตรฐานวิชาชีพครูมาตรฐานวิชาชีพครู
มาตรฐานวิชาชีพครู
 
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542
 
พรบ. 2545
พรบ. 2545พรบ. 2545
พรบ. 2545
 
พรบ. 2542
พรบ. 2542พรบ. 2542
พรบ. 2542
 
การประกันคุณภาพการศึกษา
การประกันคุณภาพการศึกษาการประกันคุณภาพการศึกษา
การประกันคุณภาพการศึกษา
 
การปฏิรูปการศึกษา 2561
การปฏิรูปการศึกษา 2561การปฏิรูปการศึกษา 2561
การปฏิรูปการศึกษา 2561
 
Law education
Law educationLaw education
Law education
 
Pdca
PdcaPdca
Pdca
 
มนุษยสัมพันธ์สำหรับครู
มนุษยสัมพันธ์สำหรับครูมนุษยสัมพันธ์สำหรับครู
มนุษยสัมพันธ์สำหรับครู
 

ประวัติการศึกษาไทย