SlideShare uma empresa Scribd logo
1 de 41
Baixar para ler offline
๕๐ งาน/นวัตกรรมที่สรรคสรางเพือ
                               ่
 มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
             ของ
ศาสตราจารย ดร.ชัยยงค พรหมวงศ
       www.chaiyongvision.com
คําชี้แจง
ในบรรดาผูรวมกอตั้ง มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช นอกเหนือจาก ศาสตราจารย
ดร.วิจิตร ศรีสอาน ผูไดชื่อวา เปนผูกอตั้งแลวเบื้องหลังของการกอตั้ง และเปนผูที่ได
               สอ
สรรคสรางนวัตกรรม ไดแก การออกแบบระบบการสอนทางไกล และสวนควบมาก
ที่สุด คือ ศาสตราจารย ดร.ชัยยงค พรหมวงศ โดยประมวลผลงานทั้งที่ดาเนินการ     ํ
ดวยตนเองและรวมกับผูอื่น รวมทั้งสิ้นอยางนอย ๕๐ ชิ้นงาน ทั้งนี้ โดยไดรบความ ั
เห็นชอบและสนับสนุนจากอธิการบดีผูกอตั้ง คือ ศาสตราจารย ดร.วิจิตร ศรีสอาน       สอ
ทั้งสิ้น อีกบุคคลหนึ่งที่ไดมีสวนเสนอแนะและใหความคิดเห็นตองานที่ ศาสตราจารย
ดร.ชัยยงค พรหมวงศ ริเริมขึน คือ รองศาสตราจารย ดร.นิคมทาแดง ซึ่งเปน
                             ่ ้
บุคลากรประจําการคนแรกของ มสธ. จึงขอนําเสนอเคาโครงผลงานทั้ง ๕๐ ชิ้นให
ประชาชนทั่วไปไดรับทราบ โดยเฉพาะบุคลากรของ มสธ. เอง ที่อาจไมทราบวา
ศาสตราจารย ดร.ชัยยงค พรหมวงศ ไดสรางผลงานอะไรใหมหาวิทยาลัยเปดแหง
แรกของประเทศไทย
กอนจะมีมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
1. มีความสนใจวิธีการเรียนทางไปรษณีย โดยสมัครเปนนักศึกษาพระคริสต
    ธรรม ไดรับประกาศนียบัตร 2496-97 สมัยที่เรียนมัธยมศึกษาปที่ ๒ (ป.6)
2. เขียนวิทยานิพนธปริญญาเอกเรื่อง “A Proposed Plan for Establishing
    an Educational Television Station for Open Admission Universities
    in Thailand” (1971) ขณะศึกษาระดับปริญญาโท-เอก ณ University of
    Southern California ดวยทุนฟุลไบรท ดร.ชัยยงค ไดนําความรูและ
    ประสบการณการทํางานในสถานีโทรทัศน ๔ แหงใน Los Angeles มาใช
    เปนแนวทางจัดทําโครงการขอความชวยเหลือในการจัดตั้งศูนยผลิต
    รายการวิทยุและโทรทัศนสําหรับ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
กอนจะมีมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
3. เดินทางกลับประเทศไทย บรรจุเปนอาจารยคณะครุศาสตร จุฬาฯ (ตุลาคม
                                  เป
    2515) ไดเขียนบทความเกี่ยวกับการศึกษาระบบเปดลงสยามรัฐ อยาง
              เขี
    ตอเนื่อง
4. ไดรับเชิญเปน Visiting Lecturer ณ Institute for Educational
    Technology, The Open University ประเทศอังกฤษ (1976)
5. ออกรายการ BBC เรื่อง “การศึกษาทางไกลในประเทศไทย” สัมภาษณโดย
    คุณสุรีย พันธเจริญ ณ Bush House, London ออกอากาศไปทั่วโลก (1976)
กอนจะมีมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
6. เขียน เรื่องการศึกษาในมหาวิทยาลัยเปดอยางละเอียดลงหนังสือพิมพ
    บานเมือง (2519-20)
7. ออกรายโทรทัศน “มหาวิทยาลัยชาวบาน” ของ ม.ร.ว. ถนัดศรีฯทางชอง ๙
    (2519)
8. เปนวิทยากรบรรยาย เรื่อง มหาวิทยาลัยเปด ที่หอประชุม AUA (2519)
9. พัฒนาระบบการสอน “แผนจุฬา” โดยรัชดาภิเษกสมโภช (2516-20) ระบบ
    การสอน “แผนจุฬา” เปนพื้นฐานในการพัฒนา ระบบการสอนของ
    มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช “แผนมสธ” ในพ.ศ. 2523
กอนจะมีมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
10. พัฒนาบทเรียนดวยตนเอง ในโครงการฝกอบรมครูเพื่อการปบี่ยนบทบาท
    ใหม (Non-Traditional Role of Teachers-NTR) ของ INNOTECH
    Center (2520-23)
11. เสนอโครงการใชสถานีโทรทัศนจุฬา ซึ่งอยูที่คณะวิทยาศาสตร (ขาวดํา
    NTSC 525 เสนรัศมีออกอากาศประมาณ ๑๐ กิโลเมตร ครอบคลุมจุฬาได
    ทั้งหมด) ออกอากาศรายการสอนของคณะตางๆ โดยเขาพบ ดร.วิจิตร ศรี
    สอาน เมื่อดํารงตําแหนงรองอธิการบดีฝายวิชาการ พรอมกับศาสตราจารย
    วิชัย รัชตนาวิน
กอนจะมีมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
12. ไดรับแตงตั้งเปนกรรมการในคณะกรรมการจัดตั้งศูนยการศึกษาตอเนื่อง
                                                                    อง
    จุฬา (ศาสตราจารย ดร. ไพทูรย พงศบุตร เปนประธาน) โดยมี
    จุดมุงหมายที่จะใชโรงแรมสากลเปนสํานักงานและเผยแพรความรูผาน
    สถานีวิทยุจุฬาซึ่งจะทําการยายจากคณะครุศาสตร มาตั้งที่โรงแรมสากล
    แตโครงการถูกระงับเมื่อ ศาสตราจารย ดร. เกษม สุวรรณกุล เปน
    อธิการบดี แนวคิดการจัดการศึกษาตอเนื่องโดยใชสื่อ ไดสงผานมา
    ดําเนินการในการวางแผนจัดตั้ง มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
กอนจะมีมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
13. ไดรับแตงตั้งเปนกรรมการในคณะกรรมการวางแผนจัดตั้งมหาวิทยาลัย
    เปด ซึ่งศ.ดร.วิจิตร ศรีสอาน เปนประธาน (2520) ซึ่งแตงตั้งโดย รัฐมนตรี
    ทบวงมหาวิทยาลัยของรัฐ (รศ.วิมลศิริ ชํานาญเวช) เพิ่มเติมจากกรรมการ
    ที่มีอยูแลว ๓ คน คือ ดร.ชัยยงค ดร. ทองอินทร และ ดร.องคการฯ
ระหวางเปนกรรมการวางแผนจัดตั้ง
14. รับภาระประสานงานทั่วไปรวมกับ ดร.นิคม ทาแดง เชน ในการตอนรับ
   ชาวตางประเทศ ในการจัดฝกอบรม การจัดฝกอบรมการผลิตรายการ
   โทรทัศนจากผูเชี่ยวชาญ BBC ในกิจกรรมที่เกี่ยวกับโครงการมหาวิทยาลัย
   เปด (2520-22)
ระหวางเปนกรรมการวางแผนจัดตั้ง
15. รวมจัดทําโครงการจัดตั้งมหาวิทยาลัยเปด โดยรับงานเขียนบทที่วาดวย
   โครงสราง บุคลากร สื่อการศึกษา และระบบการสอนทางไกล เพื่อเสนอ
   คณะกรรมการฯ (2520-21) มีการประชุมแบบลงขันรับประทานอาหารเย็น
   ที่รานอาหารหัวหิน ถนนราชดําเนินนอก และที่อาคารทบวงมหาวิทยาลัย
   ของรัฐ ถนนราชดําเนินนอก
ระหวางเปนกรรมการวางแผนจัดตั้ง
16. ทําวิจัยศึกษาความตองการศึกษาในมหาวิทยาลัยเปดรวมกับ ดร.อุทุมพร
   ทองอุไทย ดร. ทองอินทร วงศโสธร (2520) เพื่อศึกษาความตองการของ
   ประชาชนในการศึกษาในมหาวิทยาลัยเปด พบวา สวนใหญประสงคจะ
   เรียนศึกษาและวิทยาการจัดการ จึงไดเปดสอนสองสาขาวิชานี้กอน

17. จัดทํา สไลดเสนอแนวคิดมหาวิทยาลัยเปดรวมกับ ดร.วิรุฬห ตั้งเจริญ
   (ปจจุบันดํารงตําแหนงอธิการบดี มศว.) (2522-23) เพื่อเสนอรัฐมนตรีและ
   ผูมีอํานาจอนุมัติการจัดตั้งมหาวิทยาลัยเปด
เมื่อเปนมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชแลว
18.ไดรับเชิญใหเขารวมงานมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ใน
   ฐานะผูอํานวยการ สํานักเทคโนโลยีการศึกษา โดย ดร.วิจิตร ศรี
   สอานเชิญพบที่โรงแรมเพรสิเดนท ๓ คน กับ ดร.อุทุมพร ฯ เพื่อ
   พิจารณารายชื่อผูที่จะรับเชิญมารวมงานมหาวิทยาลัย
เมื่อเปนมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชแลว
19.รวมในการจัดระบบองคกร คือสํานักเทคโนโลยีการศึกษาและ
   สาขาวิชาศึกษาศาสตร เขียนขอบังคับตางๆ สวนใหญจดประชุมที่
                                                      ั
   ภาควิชาอุดมศึกษา ครุศาสตร ซึ่ง ดร.ทองอินทร วงศโสธร เปน
   หัวหนาภาควิชา (2522)
20. ออกแบบระบบการสอนทางไกล “แผนมสธ.(๒๕๒๓)” เสนอสภา
   วิชาการ ณ อาคาร บดท. หลานหลวงฯ นับเปนระบบการสอน
   ทางไกลฉบับแรกของไทย (โปรดดูแบบจําลองในแผนถัดไป)
“แผนมสธ” ((๒๕๒๓)
                       “แผนมสธ” ๒๕๒๓)
                      STOU Plan 1980
                      STOU Plan 1980
                                                                 Evaluation
                                                                  Evaluation
                                                                of students
                                                                 of students
                                                               achievement
                                                                achievement
                                                    Print
                                                    Print

                                                   AV Media
                                                   AV Media
    1.0
     1.0         2.0
                  2.0         3.0         4.0
 Identify
  Identify                     3.0         4.0
              Develop
               Develop     Produce      Deliver                  5.0
Problems
 Problems        DE
                            Produce
                              DE
                                         Deliver
                                          DE
                                                   Radio/TV
                                                   Radio/TV       5.0
   and            DE           DE          DE                 Evaluation
                                                               Evaluation
    and      Curriculum    Packages    Packages
  Needs       Curriculum    Packages    Packages
   Needs
                                                   Tutorial
                                                   Tutorial     Evaluation
                                                                 Evaluation
                                                                    of DE
                                                                     of DE
                                                                   System
                                                                    System

                                                   CAI/WBI
                                                   CAI/WBI
เมื่อเปนมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชแลว
21. แสวงหาที่ดินเพื่อจัดทําโรงถายทํารายการโทรทัศนกลางแจงสําหรับ
   รายการการศึกษาของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช (Outdoor Studio
   เหมือนUniversal Studio)โดยไดรับการเสนอจากคุณหมอ ซึงเปนบุตรชาย
                                                                ่
   ของคุณพอผาสุก มณีจักร (ผูสรางวัดผาสุก มณีจักร) ที่จะมอบทีใหจํานวน
                                                                  ่
   14 ไร เปนรูปตัว L รอบวัดผาสุก โดยคุณหมอไดพาไปดูที่ซึ่งขณะนั้นถนน
   หนามหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชกําลังกอนสราง รถก็เขาออกลําบาก
   หลังจากนั้นก็ไดทําเรื่องถึงอธิการบดี แตเรื่องเงียบหายไป คุณพอผาสุกฯ
   จึงมอบที่ดินดังกลาวให Lawn Tennis และตอนหลังก็เปนที่ตั้งของกรม
   ที่ดิน ซึ่งอยูตรงขามมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ในปจจุบัน
เมื่อเปนมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชแลว
22. ออกแบบตําราทางไกล คือ เอกสารการสอนและแบบฝกปฏิบัติ
   โดยทดลองกับคณาจารยชุดแรก ๓๖ คน ณ ที่ทําการสันนิบาต
   สหกรณ และมูลนิธิพัฒนาชนบท ที่ชัยนาทของ น.พ. มะลิ ไทย
   เหนือ ตามขั้นตอน ๑๐ ขั้นดังเสนอในแผนถัดไป
ขั้นตอนการผลิตสื่อสิงพิมพ
                                   ่
1.0   ศึกษารายละเอียดชุดวิชา (Study Course Description)
         2.0 วิเคราะหเนื้อหา (Conduct Content Analysis)
              3.0 เขียนแผนผังแนวคิด(Write Concept Mapping)
                  4.0 เขียนแผนการสอน (Write Unit/Module Lesson Plan)
                     5.0 เสนอเนื้อหาสาระ (Present/write the Content)
                        6.0 กําหนดกิจกรรม (Give Assignments)
                     7.0 ใหแนวตอบ(Provide Feedback)
                 8.0 เขียนแบบประเมินตนเอง(Write Self-Pretest/Posttest)
              9.0 ทดสอบประสิทธิภาพ (Conduct Developmental Testing)
           10.0 ปรับปรุง (Revise the Module)
เมื่อเปนมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชแลว
23. จัดฝกอบรมผูทรงคุณวุฒิภายนอกในการเขียนเอกสารการสอน ที่
   บางแสน พัทยา และสามพราน เนืองจากการเขียนตําราเรียนเอง มี
                                    ่
   องคประกอบและขั้นตอนที่แตกตางจากตําราทั่วไป ดร.ชัยยงคฯ
   จึงไดจดทําคูมอการฝกอบรมขึ้น โดยจัดทําเปนเอกสารฝกอบรม
          ั       ื
   ดวยตนเอง ใหผูทรงคุณวุฒิเขารับการปฐมนิเทศครึ่งวัน ไปศึกษา
   เองประมาณ ๑ เดือน แลวจึงมาเขาฝกปฏิบัติวธการเขียน ๓ วัน
                                              ิี
   โดยแบงเปนกลุม มีวิทยากรดูแล และนําเสนอผลงานพรอมวิพากย
   วันสุดทาย
เมื่อเปนมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชแลว
24. ออกแบบระบบการผลิตรายการวิทยุกระจายเสียงและรายการวิทยุ
   โทรทัศน โดยฝกอบรมบุคลากรและชางเทคนิคอยางตอเนื่อง
   สํานักเทคโนโลยีการศึกษา มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช มี
   บุคลากร ๓ ประเภท คือ นักเทคโนโลยีการศึกษา นักวิชาการศึกษา
   และชางเทคนิคทีทํางาน ณ ศูนยผลิตรายการ จึงจําเปนจะตอง
                  ่
   จัดระบบการทํางานและมีการฝกอบรมเพื่อใหเปนไปตามลักษณะ
   งานการผลิตรายการวิทยุและโทรทัศนของ
   มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
เมื่อเปนมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชแลว
25. ออกแบบระบบการทํางานของนักเทคโนโลยีการศึกษา
  ประจําสํานักเทคโนโลยีการศึกษา และจัดตั้งหนวย
  ประสานงานเทคโนโลยีการศึกษา
26. เสนอโครงการจัดตั้งสถานีโทรทัศนเพื่อการศึกษา
  (๒๕๒๓) ในฐานะเลขานุการ และเปนประธาน
  คณะกรรมการจัดตั้ง ๒ ชุด (พ.ศ.๒๕๓๒-๓๖)
เมื่อเปนมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชแลว
27. ออกแบบรูปแบบรายการโทรทัศนการศึกษาโดยเฉพาะอยางยิ่ง เปนผูนํา
   การใชกลองโทรทัศนถายทําละครนอกสถานที่ คือ รายการชุด “รมโพธิ”
                                                                  ์
   ซึ่งมี ดร.ชัยยงค เปนผูกํากับรายการ ดร.สมาน งามสนิท เปนชาง
   กลองโทรทัศน นําแสดงโดย ดร.นิคม ทาแดง ชนิดา พิทักษสฤษฎิ์ และ
                                                   ดา      สฤษฎิ
   คณาจารยมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
28. ดูแลระบบการพิมพและออกแบบระบบการพิมพของ
   มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ในสมัยที่ฝายการพิมพสังกัดสํานัก
   เทคโนโลยีการศึกษา โดยมีอาจารยพีรนุชฯ และอาจารยคุณธัมฯ เปนกําลัง
                                    พี                คุ
   สําคัญ จนกระทั่ง อาจารยวันชัย ศิริชนะเดินทางกลับจากการศึกษา จึงแยก
                                    ริ
   เปนสํานักพิมพ
เมื่อเปนมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชแลว
29. เขียนโครงการขอความชวยเหลือดานเทคโนโลยีการศึกษา และไดรับความ
   ชวยเหลือจากญี่ปุน คือ EBPC-Educational Broadcasting Production
   Center ศ.ดร.วิจิตรฯ เลาวา ฝายญี่ปุนถามวา ใครเขียนโครงการให เพราะมี
   ความสมบูรณ และเปนปจจัยหนึ่งที่ทําใหฝายญี่ปุนมีความมันใจวา เมื่อ
                                                             ่
   จัดตั้งศูนยผลิตรายการฯ ใหแลว มหาวิทยาลัยมีคนรูเรื่องและสามารถใช
   ประโยชนได
เมื่อเปนมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชแลว
30. พัฒนาระบบสอนเสริม ในรูปชุดสอนเสริม เสนอสภาวิชาการ เมื่อ ๒๕๒๓
   ในการประชุมที่สภาการศึกษา แตไมไดรับความเห็นชอบเนื่องจาก
   (กรรมการสภาวิชาการบางคน) เกรงจะกาวล้ําเสริภาพทางวิชาการของ
   อาจารยสอนเสริม และเนนวา นาจะใหเกียรติผูสอน หลังจาก ๑ ปแหงการ
   สอยเสริมที่ลมเหลว ซึ่งมีปญหาในการสอนเสริมหลายประการ สภา
                           
   วิชาการจึงใหความเห็นชอบผลิตเปนชุดสอนเสริม ที่เนน Non-Projected
   Materialsในรูปชุดโสตทัศน(Audio-Vision) หรือ ชุดโอษฐทัศน (Oral
                              (Audio
   vision)
เมื่อเปนมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชแลว
31. พัฒนาระบบการอบรมเขมเสริมประสบการณวิชาชีพ โดยเริ่มที่สาขาวิชา
   ศึกษาศาสตร จัดที่สวางคนิวาศ ๔ ครั้ง แลวจึงขยายไปตางจังหวัด
32. ดําเนินการขอใหมีตําแหนงอาจารยในสํานักเทคโนโลยีการศึกษา ทุก
   ประเทศ นักเทคโนโลยีการศึกษา ลวนเปนตําแหนงอาจารย เชน Institute
   of Educational Technology (IET) Open University (ENGLAND),
   National Institute for Multi-Media Education (NIME) University of
   the Air (JAPAN) และทําหนาที่วัดและประเมินดวย จึงทําใหนักประเมิน
   ไดรับตําแหนงอาจารยประจําสํานักทะเบียนและวัดผลดวย
เมื่อเปนมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชแลว
33. รวมพัฒนาระบบบัณฑิตศึกษาของศึกษาศาสตร โดยเฉพาะการปรับ
   รูปแบบเอกสารการสอนเปน
   (1) ประมวลสาระชุดวิชา (Course Comprehensive Text-CCT)
   (2) แนวการศึกษา (Study Guide)
   (3) แผนกิจกรรมการศึกษา (Course Bulletin)
   (4) ชุดความรู (Source Book) ในรูปเอกสารประกอบและสารานุกรม
เมื่อเปนมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชแลว
34. พัฒนาระบบการใหคําปรึกษาวิทยานิพนธเปนกลุม (Thesis Group
   Advisory System-TGAS) เพื่อไมใหอาจารยที่ปรึกษาเพียงคนเดียวมี
   อํานาจในการชี้เปนชี้ตายงานของนักศึกษา แตใหคณะกรรมการกลุมผลิต
   ชุดวิชาวิทยานิพนธ กําหนดกรอบกลาง เพื่อกํากับการใหคําปรึกษาของ
   MA (Major Advisor) และ CO (Co advisor)
   ระบบ TGAS ใชไดผลดีมากในแขนงวิชาเทคโนโลยีการศึกษา แตภายหลัง
   ถูกครอบงําดวยการใหคําปรึกษาวิทยานิพนธแบบรายตัว จึงสลายไป
เมื่อเปนมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชแลว
35. รวมจัดระบบการสัมมนาเสริมระดับบัณฑิตศึกษา เพื่อกําหนดแนวทางให
   นักศึกษารวมอภิปรายสัมมนา ทํารายงาน เสนอรายงาน มากกวา มาฟง
   อาจารยสอนเสริม
36. จัดพิมพคมือวิทยานิพนธ บัณฑิตศึกษา (๒๕๔๕)
             ู

37. จัดพิมพ “คูมือเขียนบทคัดยอภาษาอังกฤษ” (Abstract Writing
   Manual)
“แผนมสธ. 2536”
                              “แผนมสธ. 2536”
                                                                                                  ประเมินน
                                                                                                   ประเมิ
                                                                                                ผลสัมมฤทธิ์
                                                                                                 ผลสั ฤทธิ์
                                                                          สื่อ่อสิ่งพิมพ
                                                                           สื สิ่งพิมพ        ทางการเรียยน
                                                                                                ทางการเรี น

                                                                           เทปเสียยง
                                                                            เทปเสี ง
    1.0
      1.0          2.0
                     2.0         3.0
                                   3.0                       5.0
                                                               5.0
                                              4.0
 กํกํหนด
   าาหนด       สํสํรวจปญหา
                 าารวจปญหา    พัพัฒนา
                                 ฒนา            4.0       ถถยทอด
                                                             าายทอด
                                               ผลิตต
 ปรัชชญา
   ปรั ญา            และ
                       และ    หลักกสูตร
                               หลั สูตร
                                                ผลิ
                                          ชุชุดการสอน
                                            ดการสอน
                                                        เนื้อ้อหาสาระ
                                                         เนื หาสาระ        เทปภาพ
                                                                            เทปภาพ
                                                                                                  6.0
                                                                                                    6.0
                                                                                               ประเมิน
    และ
     และ       ความตอองการ
                ความต งการ   การศึกกษา
                               การศึ ษา                       และ
                                                               และ
                                                                                                ประเมิน
                                            ทางไกล
                                              ทางไกล
วิวิสัยทัศน
  สัยทัศน          สัสังคม
                      งคม      ทางไกล
                                ทางไกล                  ประสบการณ
                                                         ประสบการณ
                                                                        สัมมนาเสริม/เขม
                                                                         สัมมนาเสริม/เขม     ประเมินนระบบ
                                                                                               ประเมิ ระบบ
                                                                                            การศึกกษาทางไกล
                                                                                             การศึ ษาทางไกล
                                                                        สื่อ่อคอมพิวเตอร
                                                                         สื คอมพิวเตอร
เมื่อเปนมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชแลว
38. รวมพัฒนาระบบมหาวิทยาลัยเสมือนจริง (Virtual University Project)
   สําเร็จตั้งแต พ.ศ. ๒๕๔๐ เพื่อนํา มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ไปสูยุค
   E-learning โดยพัฒนาระบบการสอนทางไกล มหาวิทยาลัย สุโขทัยธรร
   มาธิราช “แผนมสธ ๒๕๔๐”
   ไดรับมอบหมายใหเปนผูรางโครงการ มหาวิทยาลัยเสมือนจริงลุมแมนํา
                        เป
   โขง (Greater Mekhong Sub-Regional Virtual University-GMS-VU)
   ของ UNESCO/SEAMEO
เมื่อเปนมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชแลว
39. เปนประธานพัฒนาระบบการสอนทางไกล “แผนมสธ. ๒๕๔๓” (STOU Plan 2000)
   และประกาศใชโดยสภามหาวิทยาลัยเมือวันที่ ๑๔ มีนาคม ๒๕๔๔ (ดูแผนถัดไป)
40. พัฒนาระบบการเขียนตําราทางไกลในรูป ประมวลสาระ และคูมือการศึกษา เพื่อ
   นําไปสูการปรับปรุงชุดวิชา ระยะแรก มีชดวิชาไทยศึกษาชุดเดียวทําสําเร็จ ในพ.ศ.
                                       ุ
   ๒๕๔๓ เปนผูเขียนและพิมพคูมือดวยตนเอง แตถกอาจารยบางสวนตอตาน
                                                ู
   โดยเฉพาะจากสาขาวิชานิติศาสตร
41. พัฒนาระบบการประเมินกิจกรรม (ตามขอบังคับ ๒๕๒๓ ที่ใหมีคะแนนเก็บได ๒๐
   คะแนน) ภาคการศึกษาแรก (๑/๒๕๔๔) ไมสาเร็จ เพราะไมไดรับความรวมมือจาก
                                            ํ
   สาขาเจาของวิชา แตสําเร็จในภาค ๒/๔๔ มีชุดวิชาเขารวมโครงการ ๕ ชุด ปจจุบันมี
   ประมาณ ๔๐ ชุด
““แผนมสธ..2543””
                                  แผนมสธ 2543
                               “แผนมสธ. 2543”
                                           การปรับปรุงการเรียนการสอน

                                                                 รายการวิทยุ/โทรทัศน
                                                               การสอนดวยคอมพิวเตอร
                                                                                                        ไมเปนที่พอใจ
                                                                            7.1
                                                     6.1
                                                       6.1
                                                                 ผานสื่อสิ่งพิมพ
                                                                                                                         8.1      เปนที่พอใจ
                                                ผลิตตชุดสื่อ
                                                 ผลิ ชุดสื่อ      เทป/ซีดีเสียง/ภาพ
                                                                                                                           8.1
                                                                                                                  ประเมินนผล
                                                                                                                   ประเมิ ผล
                    2.0           4.0
                      2.0           4.0
               สํสํรวจปญหา
                 า ารวจปญหา     กํกํหนด
                                   าาหนด         สิสิพิพิมพ
                                                   ่ง่ง มพ      ปฎิสัมพันธเผชิญหนา
                                                                    สั
                                                                                                                   การเรียยน
               ความตอองการ                                                                                         การเรี น
                ความต งการ    บริบบทและ
    1.0          ของสังคม       บริ ทและ               6.0
                                                         6.0
                                                                    7.0
                                                                      7.0                    • บาน
                                                                                                                                            9.0
                                                                                                                                              9.0
                   ของสังคม                      ผลิตตชุดวิชา ถถยทอดเนืออหา
                                                  ผลิ ชุดวิชา า ายทอดเนื้ หา
                                                                         ้
      1.0                                                                                      • บาน
 กํกํหนด
   าาหนด                       สถานการณ
                                สถานการณ                                                 • หองสมุด
                                                                                                                          8.0
                                                                                                                            8.0         ประกันน
                                                                                                                                          ประกั
                                                                                            • หองสมุด
                                                       และ
                                                        และ        และ
                                                                    และ                  • อืนเทอรเนต              ประเมินน            คุคุณภาพ
                                                                                                                                          ณภาพ
ปรัชชญา/
  ปรั ญา/           3.0            5.0                                                     • อืนเทอรเนต             ประเมิ
                      3.0            5.0         สืสื่อการสอน ประสบการณ
                                                   ่อการสอน ประสบการณ                  •ศูนนการศึกษา
                                                                                         •ศู ย ยการศึกษา
วิวิสัยทัศน
  สัยทัศน      วิวิคราะห
                   เ เคราะห     พัพัฒนา
                                   ฒนา
                                                    ทางไกล
                                                      ทางไกล
               ผูผูรีรียนและ
                 เ เ ยนและ    หลักกสูตร
                                 หลั สูตร
                                                                                                                         8.2
                                                                                                                           8.2
                                                                สื่อเสียง/ภาพออนไลน                                ประเมินน
                                                                                                                     ประเมิ
               มาตรฐาน
                  มาตรฐาน       การศึกกษา
                                 การศึ ษา           6.2
                                                      6.2       สื่อเสียง/ภาพออฟไลน                                 ระบบ
                  บับัณฑิต
                      ณฑิต                      ผลิตตชุดสื่อ
                                                 ผลิ ชุดสื่อ                                                          ระบบ          เปนที่พอใจ
                                                                            7.2
                                               คอมพิววเตอร
                                                คอมพิเตอร         ผานเครือขาย
                                                                                                        ไมเปนที่พอใจ
                                                                ปฏิสัมพันธเสมือนจริง
                                                                ปฏิสัมพันธเผชิญหนา


                                                ปรับปรุงระบบ
เมื่อเปนมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชแลว
42. พัฒนาระบบการสอนเสริมแบบบูรณาการ (Integrated Tutorial
   Approach-ITA) ที่เปดโอกาสใหนักศึกษาที่สอบชุดวิชาใดไมผาน ๑-๒ ภาค
                                                            
   การศึกษาไดมีทางเลือกที่จะเขาสอนเสริมแบบเขม โดยตองรับผิดชอบ
   คาใชจายเอง
          
43. จัดระบบใหมีการเทียบโอนประสบการณตามมาตรา ๕ แหง
   พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ โดยจัดทําเปนขอบังคับ
   เพื่อใหผูประสบความสําเร็จในการงานอาชีพ และผูประสบความสําเร็จใน
   ชีวิต มีสิทธิเขาศึกษาในระดับปริญญาตรี แตไมผานความเห็นชอบจากสภา
   มหาวิทยาลัย ทําให มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชสูญเสียความเปนผูนํา
   ในดานนี้
เมื่อเปนมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชแลว
44. ขยายการศึกษาไปสูชนบทโดยทําความตกลงกับกรมการศึกษานอก
   โรงเรียน ปแรกมีนักศึกษาจาก กศน. เขารวมโครงการ ๑๕,๐๐๐ คน แต
   มหาวิทยาลัยไมดําเนินการตอจึงสลายไปโดยปริยาย

45. ขยายการศึกษาไปตางประเทศ เชน Hong Kong, Taiwan, Malaysia,
   Brunei, และUSA มีนักศึกษาสําเร็จการศึกษาไปแลวหลายรุน
เมื่อเปนมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชแลว
46. พัฒนาระบบการบริหารชุดวิชา (ค.บ.ช) เพื่อแกปญหาที่เมื่อกลุมชุดวิชา
   สลายตัวแลว ไมมคณะกรรมการดูแลวิชาที่เปดสอน ทําใหไมสามารถ
                   ี
   ติดตามประเมินและนําไปสูการปรับปรุงชุดวิชา ผลจึงปรากฏวา ในพ.ศ.
   ๒๕๔๔ มีชุดวิชาที่เปดสอนเกิน ๑๕ ปและไมมการปรับปรุงเลยประมาณ
                                            ี
   ๒๕๖ ชุดวิชา ใชมานานเกิน ๑๐ ปประมาณ ๓๐๐ ชุดวิชา จากชุดวิชา
   ทั้งหมดประมาณ ๖๕๐ ชุดวิชา
เมื่อเปนมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชแลว
47. พัฒนาระบบการสอบแบบอิงประสบการณ (Experience-based
   Approach-EBA) สําหรับโรงเรียนประถมศึกษา มัธยมศึกษา และ
   อุดมศึกษา โดยเฉพาะการสอนชุดวิชาที่เนนการฝกประสบการณวิชาชีพ
   และการฝกปฏิบัติ
48. พัฒนาระบบการสอนผานจอภาพแบบปฏิสัมพันธ (On-Screen
   Interactive Instruction-OSI)
49. พัฒนาระบบโรงเรียนเสมือนจริง (Virtual School) สําหรับสาขาวิชา
   ศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
50. รวมพัฒนาระบบดุษฎีบัณฑิตสาขาวิชาศึกษาศาสตร และเปนประธาน
   คณะกรรมการพัฒนาหลักสูตรฯ
ภาพบวกลบในความทรงจํา:
                 ไดรบอะไรจากมสธ.
                     ั
ทางบวก
  ไดรบโอกาสในการนําวิชีพเทคโนโลยีการศึกษามาใช –
      ั
  ขอขอบคุณ ศาสตราจารย ดร.วิจิตร ศรีสอาน ที่ใหโอกาส
  ไดมสวนเปนสถาปนิก พัฒนาพิมพเขียนดานการศึกษา
        ี
  ทางไกลของ มสธ. และมีโอกาสเปนวิศวกรกํากับควบคุม
  งานดวย
ภาพบวกลบในความทรงจํา:
                   ไดรบอะไรจากมสธ.
                       ั
ทางบวก
  เปนบานที่ไดอยูอาศัย แมชวง ๑๔ ปหลัง (๒๕๓๐ เปนตนมา) จะ
  ไมไดทําพัฒนาสิ่งใหมใหมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
  เทาที่ควร บางระยะจึงตองเดินทางไปเปนที่ปรึกษาดานการศึกษา
  ทางไกลและเทคโนโลยีการศึกษาในตางประเทศ
  ๒ ปกอนเกษียณที่มีโอกาสไดเขามาชวยงาน ดร.ทองอินทร ใน
  ฐานะรองอธิการบดีฝายวิจัยและบัณฑิตศึกษา กับรองอธิการบดี
  ฝายวิชาการ
ภาพบวกลบในความทรงจํา:
                 ไดรบอะไรจากมสธ.
                     ั
ทางบวก
  เปนเวทีพัฒนาทักษะความชํานาญดานเทคโนโลยี
  การศึกษา
  ไดรับเงินเดือนขึ้น ๒ ขั้นเพียงครั้งเดียวในเวลา ๒๓
  ปที่รบราชการที่มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
        ั
ไดรับอะไรจากมสธ.
ทางลบ
  ความลําบากใจในการทํางาน เนื่องจากไมมีสวนในการกําหนดนโนบาย
  ในชวงตนๆ และถูกกํากับโดยผูที่ไมรูงานจริง จนทําใหองคประกอบ
  บางสวนของระบบถูกตัดรอน ระบบการสอนของมสธ. โดยเฉพาะดาน
  เทคโนโลยีการศึกษาพัฒนาไดจริงๆ ในชวง ๕ ปแรกเทานั้น
  ความไมจริงใจของเพื่อนรวมงานบางคนแมจะเปนเพื่อนรวมงานที่รวมกัน
                                              จะเป
  มาตั้งแตเริ่มแรก
  การไมพัฒนาทัศนคติการระบบเปดของคณาจารยและบุคลากร--ยังมี
  มุมมองที่ไมสะทอนภาพอนาคตของการศึกษา ยังเห็นวาการสอนแบบมี
  หองเรียนดีกวา
คําฝาก
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช กําลังถูกแขงขัน ตองปรับ
Paradigm ที่จะนําไปสูการศึกษาไรพรมแดน
ตองรักษา “ไตรภาคี” แหงการทํางาน หากคณาจารยมสธ.
คิดวา ตนมีความสําคัญกวา บุคลากรสายอื่นแลว มสธ อยู
ไมได
อธิการบดีตองมี Mentalities ดานการศึกษาทางไกลและ
ระบบเปด ตองทําจริง ไมใชเปนสมาชิก NATO คือ ดีแตพูด
ขอบพระคุณ
         ขอบพระคุณ

Dr.Chaiyong Brahmawong
   Telephone: (01)733-0270
 E-mail: chaiyong@irmico.com
Website:www.chaiyongvision.com
  www.buddhabirthplace.com

Mais conteúdo relacionado

Mais procurados

เพาเวอร์เซต
เพาเวอร์เซตเพาเวอร์เซต
เพาเวอร์เซตAon Narinchoti
 
โครงงานคณิตศาสตร์
โครงงานคณิตศาสตร์โครงงานคณิตศาสตร์
โครงงานคณิตศาสตร์Nomjeab Nook
 
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรีพัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรีพัน พัน
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบthnaporn999
 
คำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิด
คำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิดคำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิด
คำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิดA-NKR Ning
 
หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ของพืชดอกตัว...
หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ของพืชดอกตัว...หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ของพืชดอกตัว...
หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ของพืชดอกตัว...KalyakornWongchalard
 
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีSivagon Soontong
 
ตัวอย่าง ปกรายงาน
ตัวอย่าง ปกรายงานตัวอย่าง ปกรายงาน
ตัวอย่าง ปกรายงานSamorn Tara
 
ใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศ
ใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศ
ใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศssuser456899
 
เอกสารเรื่องการสืบพันธุ์และการเจริญเติบโตของสัตว์
เอกสารเรื่องการสืบพันธุ์และการเจริญเติบโตของสัตว์เอกสารเรื่องการสืบพันธุ์และการเจริญเติบโตของสัตว์
เอกสารเรื่องการสืบพันธุ์และการเจริญเติบโตของสัตว์natthineechobmee
 
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง การวางแผนการทำโครงงาน
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง การวางแผนการทำโครงงานใบความรู้ที่ 4 เรื่อง การวางแผนการทำโครงงาน
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง การวางแผนการทำโครงงานsarawut saoklieo
 
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]นิตยา ทองดียิ่ง
 
ม4 การตั้งถิ่นฐานในดินแดนไทย
ม4 การตั้งถิ่นฐานในดินแดนไทยม4 การตั้งถิ่นฐานในดินแดนไทย
ม4 การตั้งถิ่นฐานในดินแดนไทยทศวรรษ โตเสือ
 
บทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการบทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการnootsaree
 

Mais procurados (20)

เพาเวอร์เซต
เพาเวอร์เซตเพาเวอร์เซต
เพาเวอร์เซต
 
โครงงานคณิตศาสตร์
โครงงานคณิตศาสตร์โครงงานคณิตศาสตร์
โครงงานคณิตศาสตร์
 
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรีพัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบ
 
คำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิด
คำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิดคำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิด
คำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิด
 
หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ของพืชดอกตัว...
หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ของพืชดอกตัว...หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ของพืชดอกตัว...
หนังสือเล่มเล็กประกอบการศึกษาเรียนรู้ด้านโครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์ของพืชดอกตัว...
 
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
 
หน่วย 2
หน่วย 2หน่วย 2
หน่วย 2
 
ตัวอย่าง ปกรายงาน
ตัวอย่าง ปกรายงานตัวอย่าง ปกรายงาน
ตัวอย่าง ปกรายงาน
 
Thai1
Thai1Thai1
Thai1
 
ใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศ
ใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศ
ใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศ
 
เอกสารเรื่องการสืบพันธุ์และการเจริญเติบโตของสัตว์
เอกสารเรื่องการสืบพันธุ์และการเจริญเติบโตของสัตว์เอกสารเรื่องการสืบพันธุ์และการเจริญเติบโตของสัตว์
เอกสารเรื่องการสืบพันธุ์และการเจริญเติบโตของสัตว์
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง การวางแผนการทำโครงงาน
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง การวางแผนการทำโครงงานใบความรู้ที่ 4 เรื่อง การวางแผนการทำโครงงาน
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง การวางแผนการทำโครงงาน
 
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]
 
ม4 การตั้งถิ่นฐานในดินแดนไทย
ม4 การตั้งถิ่นฐานในดินแดนไทยม4 การตั้งถิ่นฐานในดินแดนไทย
ม4 การตั้งถิ่นฐานในดินแดนไทย
 
หน่วย 3
หน่วย 3 หน่วย 3
หน่วย 3
 
บทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการบทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการ
 
9 การกรอกแบบฟอร์ม(263-287)
9 การกรอกแบบฟอร์ม(263-287)9 การกรอกแบบฟอร์ม(263-287)
9 การกรอกแบบฟอร์ม(263-287)
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 

Semelhante a 50ผลงาน ศ.ดร.ชัยยงค์ พรหมวงศ์

แบบรายงานการ ประชุมวิชาการ uninet2013
แบบรายงานการ ประชุมวิชาการ uninet2013แบบรายงานการ ประชุมวิชาการ uninet2013
แบบรายงานการ ประชุมวิชาการ uninet2013Mnr Prn
 
โครงการอบรมการผลิตสื่อออนไลน์
โครงการอบรมการผลิตสื่อออนไลน์โครงการอบรมการผลิตสื่อออนไลน์
โครงการอบรมการผลิตสื่อออนไลน์tassanee chaicharoen
 
13 the fourth generation of instructional system development model
13 the fourth generation of instructional system development model13 the fourth generation of instructional system development model
13 the fourth generation of instructional system development modelKruBeeKa
 
Proposed guidelines for quality assurance of e-learning programs in higher ed...
Proposed guidelines for quality assurance of e-learning programs in higher ed...Proposed guidelines for quality assurance of e-learning programs in higher ed...
Proposed guidelines for quality assurance of e-learning programs in higher ed...Panuwat Butriang
 
โครงงาน แนะนำโรงเรียนฝางวิทยายน
โครงงาน แนะนำโรงเรียนฝางวิทยายนโครงงาน แนะนำโรงเรียนฝางวิทยายน
โครงงาน แนะนำโรงเรียนฝางวิทยายนWithyou shop
 
แนวปฏิบัติทีดีในการประกันคุณภาพการศึกษา
แนวปฏิบัติทีดีในการประกันคุณภาพการศึกษาแนวปฏิบัติทีดีในการประกันคุณภาพการศึกษา
แนวปฏิบัติทีดีในการประกันคุณภาพการศึกษาK S
 
ระบบจัดการแฟ้มสะสมงานอิเล็กทรอนิกส์สำหรับครู : CUFolio
ระบบจัดการแฟ้มสะสมงานอิเล็กทรอนิกส์สำหรับครู : CUFolioระบบจัดการแฟ้มสะสมงานอิเล็กทรอนิกส์สำหรับครู : CUFolio
ระบบจัดการแฟ้มสะสมงานอิเล็กทรอนิกส์สำหรับครู : CUFolioTee Lek
 
1st meeting report of eis secondary school network
1st  meeting report of eis secondary school network1st  meeting report of eis secondary school network
1st meeting report of eis secondary school networkKroo nOOy
 
รูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานรูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานAjBenny Pong
 
Effect of Collaborative Web-based Learning by Using WebQuest for developing l...
Effect of Collaborative Web-based Learning by Using WebQuest for developing l...Effect of Collaborative Web-based Learning by Using WebQuest for developing l...
Effect of Collaborative Web-based Learning by Using WebQuest for developing l...Panita Wannapiroon Kmutnb
 
แบบสำรวจฯสถานศึกษา
แบบสำรวจฯสถานศึกษาแบบสำรวจฯสถานศึกษา
แบบสำรวจฯสถานศึกษาwasan
 
Institutional Research (วิจัยสถาบัน)
Institutional Research (วิจัยสถาบัน)Institutional Research (วิจัยสถาบัน)
Institutional Research (วิจัยสถาบัน)Khon Kaen University
 
โครงการห้องเรียน Eisปี54
โครงการห้องเรียน Eisปี54โครงการห้องเรียน Eisปี54
โครงการห้องเรียน Eisปี54Lao-puphan Pipatsak
 
โครงการค่ายวิชาการEisปี54
โครงการค่ายวิชาการEisปี54โครงการค่ายวิชาการEisปี54
โครงการค่ายวิชาการEisปี54Lao-puphan Pipatsak
 
แบบสำรวจงบประมาณ
แบบสำรวจงบประมาณแบบสำรวจงบประมาณ
แบบสำรวจงบประมาณwasan
 

Semelhante a 50ผลงาน ศ.ดร.ชัยยงค์ พรหมวงศ์ (20)

แบบรายงานการ ประชุมวิชาการ uninet2013
แบบรายงานการ ประชุมวิชาการ uninet2013แบบรายงานการ ประชุมวิชาการ uninet2013
แบบรายงานการ ประชุมวิชาการ uninet2013
 
Qa presentation 2012
Qa presentation 2012Qa presentation 2012
Qa presentation 2012
 
โครงการอบรมการผลิตสื่อออนไลน์
โครงการอบรมการผลิตสื่อออนไลน์โครงการอบรมการผลิตสื่อออนไลน์
โครงการอบรมการผลิตสื่อออนไลน์
 
13 the fourth generation of instructional system development model
13 the fourth generation of instructional system development model13 the fourth generation of instructional system development model
13 the fourth generation of instructional system development model
 
Proposed guidelines for quality assurance of e-learning programs in higher ed...
Proposed guidelines for quality assurance of e-learning programs in higher ed...Proposed guidelines for quality assurance of e-learning programs in higher ed...
Proposed guidelines for quality assurance of e-learning programs in higher ed...
 
โครงงาน แนะนำโรงเรียนฝางวิทยายน
โครงงาน แนะนำโรงเรียนฝางวิทยายนโครงงาน แนะนำโรงเรียนฝางวิทยายน
โครงงาน แนะนำโรงเรียนฝางวิทยายน
 
แนวปฏิบัติทีดีในการประกันคุณภาพการศึกษา
แนวปฏิบัติทีดีในการประกันคุณภาพการศึกษาแนวปฏิบัติทีดีในการประกันคุณภาพการศึกษา
แนวปฏิบัติทีดีในการประกันคุณภาพการศึกษา
 
V 260
V 260V 260
V 260
 
งานคอมม
งานคอมมงานคอมม
งานคอมม
 
งานคอมม
งานคอมมงานคอมม
งานคอมม
 
ระบบจัดการแฟ้มสะสมงานอิเล็กทรอนิกส์สำหรับครู : CUFolio
ระบบจัดการแฟ้มสะสมงานอิเล็กทรอนิกส์สำหรับครู : CUFolioระบบจัดการแฟ้มสะสมงานอิเล็กทรอนิกส์สำหรับครู : CUFolio
ระบบจัดการแฟ้มสะสมงานอิเล็กทรอนิกส์สำหรับครู : CUFolio
 
1st meeting report of eis secondary school network
1st  meeting report of eis secondary school network1st  meeting report of eis secondary school network
1st meeting report of eis secondary school network
 
รูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานรูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงาน
 
Effect of Collaborative Web-based Learning by Using WebQuest for developing l...
Effect of Collaborative Web-based Learning by Using WebQuest for developing l...Effect of Collaborative Web-based Learning by Using WebQuest for developing l...
Effect of Collaborative Web-based Learning by Using WebQuest for developing l...
 
แบบสำรวจฯสถานศึกษา
แบบสำรวจฯสถานศึกษาแบบสำรวจฯสถานศึกษา
แบบสำรวจฯสถานศึกษา
 
Institutional Research (วิจัยสถาบัน)
Institutional Research (วิจัยสถาบัน)Institutional Research (วิจัยสถาบัน)
Institutional Research (วิจัยสถาบัน)
 
Introduction to OOE
Introduction to OOEIntroduction to OOE
Introduction to OOE
 
โครงการห้องเรียน Eisปี54
โครงการห้องเรียน Eisปี54โครงการห้องเรียน Eisปี54
โครงการห้องเรียน Eisปี54
 
โครงการค่ายวิชาการEisปี54
โครงการค่ายวิชาการEisปี54โครงการค่ายวิชาการEisปี54
โครงการค่ายวิชาการEisปี54
 
แบบสำรวจงบประมาณ
แบบสำรวจงบประมาณแบบสำรวจงบประมาณ
แบบสำรวจงบประมาณ
 

Mais de kruthai40

กาพย์เห่เรือ พระนิพนธ์เจ้าฟ้าธรรมธิเบศร
กาพย์เห่เรือ พระนิพนธ์เจ้าฟ้าธรรมธิเบศรกาพย์เห่เรือ พระนิพนธ์เจ้าฟ้าธรรมธิเบศร
กาพย์เห่เรือ พระนิพนธ์เจ้าฟ้าธรรมธิเบศรkruthai40
 
บทอาขยานภาษาไทย ช่วงชั้นที่ ๑-๔
บทอาขยานภาษาไทย ช่วงชั้นที่ ๑-๔บทอาขยานภาษาไทย ช่วงชั้นที่ ๑-๔
บทอาขยานภาษาไทย ช่วงชั้นที่ ๑-๔kruthai40
 
ยุทธศาสตร์การจัดการศึกษา (ดร.สมหวัง กลุ่ม5)
ยุทธศาสตร์การจัดการศึกษา (ดร.สมหวัง กลุ่ม5)ยุทธศาสตร์การจัดการศึกษา (ดร.สมหวัง กลุ่ม5)
ยุทธศาสตร์การจัดการศึกษา (ดร.สมหวัง กลุ่ม5)kruthai40
 
ลักษณะภาษาไทย
ลักษณะภาษาไทยลักษณะภาษาไทย
ลักษณะภาษาไทยkruthai40
 
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓kruthai40
 
ทิศทางแผนพัฒนา 11
ทิศทางแผนพัฒนา 11ทิศทางแผนพัฒนา 11
ทิศทางแผนพัฒนา 11kruthai40
 
หลักสูตรแกนกลาง Thai 51
หลักสูตรแกนกลาง Thai 51หลักสูตรแกนกลาง Thai 51
หลักสูตรแกนกลาง Thai 51kruthai40
 
บทสรุปผู้บริหาร การประเมิน สมศ. รอบ ๒
บทสรุปผู้บริหาร การประเมิน สมศ. รอบ ๒บทสรุปผู้บริหาร การประเมิน สมศ. รอบ ๒
บทสรุปผู้บริหาร การประเมิน สมศ. รอบ ๒kruthai40
 
บทสรุปผู้บริหาร การประเมิน สมศ. รอบแรก ๒๕๔๗
บทสรุปผู้บริหาร การประเมิน สมศ. รอบแรก ๒๕๔๗บทสรุปผู้บริหาร การประเมิน สมศ. รอบแรก ๒๕๔๗
บทสรุปผู้บริหาร การประเมิน สมศ. รอบแรก ๒๕๔๗kruthai40
 
คู่มือการปฏิบัติงานข้าราชการครู
คู่มือการปฏิบัติงานข้าราชการครูคู่มือการปฏิบัติงานข้าราชการครู
คู่มือการปฏิบัติงานข้าราชการครูkruthai40
 
กิจกรรม ครูภาษาไทยประกายเพชร
กิจกรรม ครูภาษาไทยประกายเพชรกิจกรรม ครูภาษาไทยประกายเพชร
กิจกรรม ครูภาษาไทยประกายเพชรkruthai40
 
ที่มาของวันสุนทรภู่
ที่มาของวันสุนทรภู่ที่มาของวันสุนทรภู่
ที่มาของวันสุนทรภู่kruthai40
 
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐานการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐานkruthai40
 
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551kruthai40
 
คำขึ้นต้น สรรพนาม คำลงท้าย
คำขึ้นต้น สรรพนาม คำลงท้ายคำขึ้นต้น สรรพนาม คำลงท้าย
คำขึ้นต้น สรรพนาม คำลงท้ายkruthai40
 
การออกแบบการจัดการเรียนรู้อิงมาตรฐาน
การออกแบบการจัดการเรียนรู้อิงมาตรฐานการออกแบบการจัดการเรียนรู้อิงมาตรฐาน
การออกแบบการจัดการเรียนรู้อิงมาตรฐานkruthai40
 
แนวทางการใช้หลักสูตรแกนกลาง
แนวทางการใช้หลักสูตรแกนกลางแนวทางการใช้หลักสูตรแกนกลาง
แนวทางการใช้หลักสูตรแกนกลางkruthai40
 
การอ่านวิจารณญาณ
การอ่านวิจารณญาณการอ่านวิจารณญาณ
การอ่านวิจารณญาณkruthai40
 
การแต่งคำประพันธ์
การแต่งคำประพันธ์การแต่งคำประพันธ์
การแต่งคำประพันธ์kruthai40
 

Mais de kruthai40 (20)

กาพย์เห่เรือ พระนิพนธ์เจ้าฟ้าธรรมธิเบศร
กาพย์เห่เรือ พระนิพนธ์เจ้าฟ้าธรรมธิเบศรกาพย์เห่เรือ พระนิพนธ์เจ้าฟ้าธรรมธิเบศร
กาพย์เห่เรือ พระนิพนธ์เจ้าฟ้าธรรมธิเบศร
 
บทอาขยานภาษาไทย ช่วงชั้นที่ ๑-๔
บทอาขยานภาษาไทย ช่วงชั้นที่ ๑-๔บทอาขยานภาษาไทย ช่วงชั้นที่ ๑-๔
บทอาขยานภาษาไทย ช่วงชั้นที่ ๑-๔
 
ยุทธศาสตร์การจัดการศึกษา (ดร.สมหวัง กลุ่ม5)
ยุทธศาสตร์การจัดการศึกษา (ดร.สมหวัง กลุ่ม5)ยุทธศาสตร์การจัดการศึกษา (ดร.สมหวัง กลุ่ม5)
ยุทธศาสตร์การจัดการศึกษา (ดร.สมหวัง กลุ่ม5)
 
ลักษณะภาษาไทย
ลักษณะภาษาไทยลักษณะภาษาไทย
ลักษณะภาษาไทย
 
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
 
ทิศทางแผนพัฒนา 11
ทิศทางแผนพัฒนา 11ทิศทางแผนพัฒนา 11
ทิศทางแผนพัฒนา 11
 
หลักสูตรแกนกลาง Thai 51
หลักสูตรแกนกลาง Thai 51หลักสูตรแกนกลาง Thai 51
หลักสูตรแกนกลาง Thai 51
 
บทสรุปผู้บริหาร การประเมิน สมศ. รอบ ๒
บทสรุปผู้บริหาร การประเมิน สมศ. รอบ ๒บทสรุปผู้บริหาร การประเมิน สมศ. รอบ ๒
บทสรุปผู้บริหาร การประเมิน สมศ. รอบ ๒
 
บทสรุปผู้บริหาร การประเมิน สมศ. รอบแรก ๒๕๔๗
บทสรุปผู้บริหาร การประเมิน สมศ. รอบแรก ๒๕๔๗บทสรุปผู้บริหาร การประเมิน สมศ. รอบแรก ๒๕๔๗
บทสรุปผู้บริหาร การประเมิน สมศ. รอบแรก ๒๕๔๗
 
คู่มือการปฏิบัติงานข้าราชการครู
คู่มือการปฏิบัติงานข้าราชการครูคู่มือการปฏิบัติงานข้าราชการครู
คู่มือการปฏิบัติงานข้าราชการครู
 
กิจกรรม ครูภาษาไทยประกายเพชร
กิจกรรม ครูภาษาไทยประกายเพชรกิจกรรม ครูภาษาไทยประกายเพชร
กิจกรรม ครูภาษาไทยประกายเพชร
 
History
HistoryHistory
History
 
ที่มาของวันสุนทรภู่
ที่มาของวันสุนทรภู่ที่มาของวันสุนทรภู่
ที่มาของวันสุนทรภู่
 
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐานการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
 
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
 
คำขึ้นต้น สรรพนาม คำลงท้าย
คำขึ้นต้น สรรพนาม คำลงท้ายคำขึ้นต้น สรรพนาม คำลงท้าย
คำขึ้นต้น สรรพนาม คำลงท้าย
 
การออกแบบการจัดการเรียนรู้อิงมาตรฐาน
การออกแบบการจัดการเรียนรู้อิงมาตรฐานการออกแบบการจัดการเรียนรู้อิงมาตรฐาน
การออกแบบการจัดการเรียนรู้อิงมาตรฐาน
 
แนวทางการใช้หลักสูตรแกนกลาง
แนวทางการใช้หลักสูตรแกนกลางแนวทางการใช้หลักสูตรแกนกลาง
แนวทางการใช้หลักสูตรแกนกลาง
 
การอ่านวิจารณญาณ
การอ่านวิจารณญาณการอ่านวิจารณญาณ
การอ่านวิจารณญาณ
 
การแต่งคำประพันธ์
การแต่งคำประพันธ์การแต่งคำประพันธ์
การแต่งคำประพันธ์
 

50ผลงาน ศ.ดร.ชัยยงค์ พรหมวงศ์

  • 1. ๕๐ งาน/นวัตกรรมที่สรรคสรางเพือ ่ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ของ ศาสตราจารย ดร.ชัยยงค พรหมวงศ www.chaiyongvision.com
  • 2. คําชี้แจง ในบรรดาผูรวมกอตั้ง มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช นอกเหนือจาก ศาสตราจารย ดร.วิจิตร ศรีสอาน ผูไดชื่อวา เปนผูกอตั้งแลวเบื้องหลังของการกอตั้ง และเปนผูที่ได สอ สรรคสรางนวัตกรรม ไดแก การออกแบบระบบการสอนทางไกล และสวนควบมาก ที่สุด คือ ศาสตราจารย ดร.ชัยยงค พรหมวงศ โดยประมวลผลงานทั้งที่ดาเนินการ ํ ดวยตนเองและรวมกับผูอื่น รวมทั้งสิ้นอยางนอย ๕๐ ชิ้นงาน ทั้งนี้ โดยไดรบความ ั เห็นชอบและสนับสนุนจากอธิการบดีผูกอตั้ง คือ ศาสตราจารย ดร.วิจิตร ศรีสอาน สอ ทั้งสิ้น อีกบุคคลหนึ่งที่ไดมีสวนเสนอแนะและใหความคิดเห็นตองานที่ ศาสตราจารย ดร.ชัยยงค พรหมวงศ ริเริมขึน คือ รองศาสตราจารย ดร.นิคมทาแดง ซึ่งเปน ่ ้ บุคลากรประจําการคนแรกของ มสธ. จึงขอนําเสนอเคาโครงผลงานทั้ง ๕๐ ชิ้นให ประชาชนทั่วไปไดรับทราบ โดยเฉพาะบุคลากรของ มสธ. เอง ที่อาจไมทราบวา ศาสตราจารย ดร.ชัยยงค พรหมวงศ ไดสรางผลงานอะไรใหมหาวิทยาลัยเปดแหง แรกของประเทศไทย
  • 3. กอนจะมีมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช 1. มีความสนใจวิธีการเรียนทางไปรษณีย โดยสมัครเปนนักศึกษาพระคริสต ธรรม ไดรับประกาศนียบัตร 2496-97 สมัยที่เรียนมัธยมศึกษาปที่ ๒ (ป.6) 2. เขียนวิทยานิพนธปริญญาเอกเรื่อง “A Proposed Plan for Establishing an Educational Television Station for Open Admission Universities in Thailand” (1971) ขณะศึกษาระดับปริญญาโท-เอก ณ University of Southern California ดวยทุนฟุลไบรท ดร.ชัยยงค ไดนําความรูและ ประสบการณการทํางานในสถานีโทรทัศน ๔ แหงใน Los Angeles มาใช เปนแนวทางจัดทําโครงการขอความชวยเหลือในการจัดตั้งศูนยผลิต รายการวิทยุและโทรทัศนสําหรับ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
  • 4. กอนจะมีมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช 3. เดินทางกลับประเทศไทย บรรจุเปนอาจารยคณะครุศาสตร จุฬาฯ (ตุลาคม เป 2515) ไดเขียนบทความเกี่ยวกับการศึกษาระบบเปดลงสยามรัฐ อยาง เขี ตอเนื่อง 4. ไดรับเชิญเปน Visiting Lecturer ณ Institute for Educational Technology, The Open University ประเทศอังกฤษ (1976) 5. ออกรายการ BBC เรื่อง “การศึกษาทางไกลในประเทศไทย” สัมภาษณโดย คุณสุรีย พันธเจริญ ณ Bush House, London ออกอากาศไปทั่วโลก (1976)
  • 5. กอนจะมีมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช 6. เขียน เรื่องการศึกษาในมหาวิทยาลัยเปดอยางละเอียดลงหนังสือพิมพ บานเมือง (2519-20) 7. ออกรายโทรทัศน “มหาวิทยาลัยชาวบาน” ของ ม.ร.ว. ถนัดศรีฯทางชอง ๙ (2519) 8. เปนวิทยากรบรรยาย เรื่อง มหาวิทยาลัยเปด ที่หอประชุม AUA (2519) 9. พัฒนาระบบการสอน “แผนจุฬา” โดยรัชดาภิเษกสมโภช (2516-20) ระบบ การสอน “แผนจุฬา” เปนพื้นฐานในการพัฒนา ระบบการสอนของ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช “แผนมสธ” ในพ.ศ. 2523
  • 6. กอนจะมีมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช 10. พัฒนาบทเรียนดวยตนเอง ในโครงการฝกอบรมครูเพื่อการปบี่ยนบทบาท ใหม (Non-Traditional Role of Teachers-NTR) ของ INNOTECH Center (2520-23) 11. เสนอโครงการใชสถานีโทรทัศนจุฬา ซึ่งอยูที่คณะวิทยาศาสตร (ขาวดํา NTSC 525 เสนรัศมีออกอากาศประมาณ ๑๐ กิโลเมตร ครอบคลุมจุฬาได ทั้งหมด) ออกอากาศรายการสอนของคณะตางๆ โดยเขาพบ ดร.วิจิตร ศรี สอาน เมื่อดํารงตําแหนงรองอธิการบดีฝายวิชาการ พรอมกับศาสตราจารย วิชัย รัชตนาวิน
  • 7. กอนจะมีมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช 12. ไดรับแตงตั้งเปนกรรมการในคณะกรรมการจัดตั้งศูนยการศึกษาตอเนื่อง อง จุฬา (ศาสตราจารย ดร. ไพทูรย พงศบุตร เปนประธาน) โดยมี จุดมุงหมายที่จะใชโรงแรมสากลเปนสํานักงานและเผยแพรความรูผาน สถานีวิทยุจุฬาซึ่งจะทําการยายจากคณะครุศาสตร มาตั้งที่โรงแรมสากล แตโครงการถูกระงับเมื่อ ศาสตราจารย ดร. เกษม สุวรรณกุล เปน อธิการบดี แนวคิดการจัดการศึกษาตอเนื่องโดยใชสื่อ ไดสงผานมา ดําเนินการในการวางแผนจัดตั้ง มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
  • 8. กอนจะมีมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช 13. ไดรับแตงตั้งเปนกรรมการในคณะกรรมการวางแผนจัดตั้งมหาวิทยาลัย เปด ซึ่งศ.ดร.วิจิตร ศรีสอาน เปนประธาน (2520) ซึ่งแตงตั้งโดย รัฐมนตรี ทบวงมหาวิทยาลัยของรัฐ (รศ.วิมลศิริ ชํานาญเวช) เพิ่มเติมจากกรรมการ ที่มีอยูแลว ๓ คน คือ ดร.ชัยยงค ดร. ทองอินทร และ ดร.องคการฯ
  • 9. ระหวางเปนกรรมการวางแผนจัดตั้ง 14. รับภาระประสานงานทั่วไปรวมกับ ดร.นิคม ทาแดง เชน ในการตอนรับ ชาวตางประเทศ ในการจัดฝกอบรม การจัดฝกอบรมการผลิตรายการ โทรทัศนจากผูเชี่ยวชาญ BBC ในกิจกรรมที่เกี่ยวกับโครงการมหาวิทยาลัย เปด (2520-22)
  • 10. ระหวางเปนกรรมการวางแผนจัดตั้ง 15. รวมจัดทําโครงการจัดตั้งมหาวิทยาลัยเปด โดยรับงานเขียนบทที่วาดวย โครงสราง บุคลากร สื่อการศึกษา และระบบการสอนทางไกล เพื่อเสนอ คณะกรรมการฯ (2520-21) มีการประชุมแบบลงขันรับประทานอาหารเย็น ที่รานอาหารหัวหิน ถนนราชดําเนินนอก และที่อาคารทบวงมหาวิทยาลัย ของรัฐ ถนนราชดําเนินนอก
  • 11. ระหวางเปนกรรมการวางแผนจัดตั้ง 16. ทําวิจัยศึกษาความตองการศึกษาในมหาวิทยาลัยเปดรวมกับ ดร.อุทุมพร ทองอุไทย ดร. ทองอินทร วงศโสธร (2520) เพื่อศึกษาความตองการของ ประชาชนในการศึกษาในมหาวิทยาลัยเปด พบวา สวนใหญประสงคจะ เรียนศึกษาและวิทยาการจัดการ จึงไดเปดสอนสองสาขาวิชานี้กอน 17. จัดทํา สไลดเสนอแนวคิดมหาวิทยาลัยเปดรวมกับ ดร.วิรุฬห ตั้งเจริญ (ปจจุบันดํารงตําแหนงอธิการบดี มศว.) (2522-23) เพื่อเสนอรัฐมนตรีและ ผูมีอํานาจอนุมัติการจัดตั้งมหาวิทยาลัยเปด
  • 12. เมื่อเปนมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชแลว 18.ไดรับเชิญใหเขารวมงานมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ใน ฐานะผูอํานวยการ สํานักเทคโนโลยีการศึกษา โดย ดร.วิจิตร ศรี สอานเชิญพบที่โรงแรมเพรสิเดนท ๓ คน กับ ดร.อุทุมพร ฯ เพื่อ พิจารณารายชื่อผูที่จะรับเชิญมารวมงานมหาวิทยาลัย
  • 13. เมื่อเปนมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชแลว 19.รวมในการจัดระบบองคกร คือสํานักเทคโนโลยีการศึกษาและ สาขาวิชาศึกษาศาสตร เขียนขอบังคับตางๆ สวนใหญจดประชุมที่ ั ภาควิชาอุดมศึกษา ครุศาสตร ซึ่ง ดร.ทองอินทร วงศโสธร เปน หัวหนาภาควิชา (2522) 20. ออกแบบระบบการสอนทางไกล “แผนมสธ.(๒๕๒๓)” เสนอสภา วิชาการ ณ อาคาร บดท. หลานหลวงฯ นับเปนระบบการสอน ทางไกลฉบับแรกของไทย (โปรดดูแบบจําลองในแผนถัดไป)
  • 14. “แผนมสธ” ((๒๕๒๓) “แผนมสธ” ๒๕๒๓) STOU Plan 1980 STOU Plan 1980 Evaluation Evaluation of students of students achievement achievement Print Print AV Media AV Media 1.0 1.0 2.0 2.0 3.0 4.0 Identify Identify 3.0 4.0 Develop Develop Produce Deliver 5.0 Problems Problems DE Produce DE Deliver DE Radio/TV Radio/TV 5.0 and DE DE DE Evaluation Evaluation and Curriculum Packages Packages Needs Curriculum Packages Packages Needs Tutorial Tutorial Evaluation Evaluation of DE of DE System System CAI/WBI CAI/WBI
  • 15. เมื่อเปนมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชแลว 21. แสวงหาที่ดินเพื่อจัดทําโรงถายทํารายการโทรทัศนกลางแจงสําหรับ รายการการศึกษาของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช (Outdoor Studio เหมือนUniversal Studio)โดยไดรับการเสนอจากคุณหมอ ซึงเปนบุตรชาย ่ ของคุณพอผาสุก มณีจักร (ผูสรางวัดผาสุก มณีจักร) ที่จะมอบทีใหจํานวน ่ 14 ไร เปนรูปตัว L รอบวัดผาสุก โดยคุณหมอไดพาไปดูที่ซึ่งขณะนั้นถนน หนามหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชกําลังกอนสราง รถก็เขาออกลําบาก หลังจากนั้นก็ไดทําเรื่องถึงอธิการบดี แตเรื่องเงียบหายไป คุณพอผาสุกฯ จึงมอบที่ดินดังกลาวให Lawn Tennis และตอนหลังก็เปนที่ตั้งของกรม ที่ดิน ซึ่งอยูตรงขามมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ในปจจุบัน
  • 16. เมื่อเปนมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชแลว 22. ออกแบบตําราทางไกล คือ เอกสารการสอนและแบบฝกปฏิบัติ โดยทดลองกับคณาจารยชุดแรก ๓๖ คน ณ ที่ทําการสันนิบาต สหกรณ และมูลนิธิพัฒนาชนบท ที่ชัยนาทของ น.พ. มะลิ ไทย เหนือ ตามขั้นตอน ๑๐ ขั้นดังเสนอในแผนถัดไป
  • 17. ขั้นตอนการผลิตสื่อสิงพิมพ ่ 1.0 ศึกษารายละเอียดชุดวิชา (Study Course Description) 2.0 วิเคราะหเนื้อหา (Conduct Content Analysis) 3.0 เขียนแผนผังแนวคิด(Write Concept Mapping) 4.0 เขียนแผนการสอน (Write Unit/Module Lesson Plan) 5.0 เสนอเนื้อหาสาระ (Present/write the Content) 6.0 กําหนดกิจกรรม (Give Assignments) 7.0 ใหแนวตอบ(Provide Feedback) 8.0 เขียนแบบประเมินตนเอง(Write Self-Pretest/Posttest) 9.0 ทดสอบประสิทธิภาพ (Conduct Developmental Testing) 10.0 ปรับปรุง (Revise the Module)
  • 18. เมื่อเปนมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชแลว 23. จัดฝกอบรมผูทรงคุณวุฒิภายนอกในการเขียนเอกสารการสอน ที่ บางแสน พัทยา และสามพราน เนืองจากการเขียนตําราเรียนเอง มี ่ องคประกอบและขั้นตอนที่แตกตางจากตําราทั่วไป ดร.ชัยยงคฯ จึงไดจดทําคูมอการฝกอบรมขึ้น โดยจัดทําเปนเอกสารฝกอบรม ั ื ดวยตนเอง ใหผูทรงคุณวุฒิเขารับการปฐมนิเทศครึ่งวัน ไปศึกษา เองประมาณ ๑ เดือน แลวจึงมาเขาฝกปฏิบัติวธการเขียน ๓ วัน ิี โดยแบงเปนกลุม มีวิทยากรดูแล และนําเสนอผลงานพรอมวิพากย วันสุดทาย
  • 19. เมื่อเปนมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชแลว 24. ออกแบบระบบการผลิตรายการวิทยุกระจายเสียงและรายการวิทยุ โทรทัศน โดยฝกอบรมบุคลากรและชางเทคนิคอยางตอเนื่อง สํานักเทคโนโลยีการศึกษา มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช มี บุคลากร ๓ ประเภท คือ นักเทคโนโลยีการศึกษา นักวิชาการศึกษา และชางเทคนิคทีทํางาน ณ ศูนยผลิตรายการ จึงจําเปนจะตอง ่ จัดระบบการทํางานและมีการฝกอบรมเพื่อใหเปนไปตามลักษณะ งานการผลิตรายการวิทยุและโทรทัศนของ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
  • 20. เมื่อเปนมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชแลว 25. ออกแบบระบบการทํางานของนักเทคโนโลยีการศึกษา ประจําสํานักเทคโนโลยีการศึกษา และจัดตั้งหนวย ประสานงานเทคโนโลยีการศึกษา 26. เสนอโครงการจัดตั้งสถานีโทรทัศนเพื่อการศึกษา (๒๕๒๓) ในฐานะเลขานุการ และเปนประธาน คณะกรรมการจัดตั้ง ๒ ชุด (พ.ศ.๒๕๓๒-๓๖)
  • 21. เมื่อเปนมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชแลว 27. ออกแบบรูปแบบรายการโทรทัศนการศึกษาโดยเฉพาะอยางยิ่ง เปนผูนํา การใชกลองโทรทัศนถายทําละครนอกสถานที่ คือ รายการชุด “รมโพธิ” ์ ซึ่งมี ดร.ชัยยงค เปนผูกํากับรายการ ดร.สมาน งามสนิท เปนชาง กลองโทรทัศน นําแสดงโดย ดร.นิคม ทาแดง ชนิดา พิทักษสฤษฎิ์ และ ดา สฤษฎิ คณาจารยมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช 28. ดูแลระบบการพิมพและออกแบบระบบการพิมพของ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ในสมัยที่ฝายการพิมพสังกัดสํานัก เทคโนโลยีการศึกษา โดยมีอาจารยพีรนุชฯ และอาจารยคุณธัมฯ เปนกําลัง พี คุ สําคัญ จนกระทั่ง อาจารยวันชัย ศิริชนะเดินทางกลับจากการศึกษา จึงแยก ริ เปนสํานักพิมพ
  • 22. เมื่อเปนมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชแลว 29. เขียนโครงการขอความชวยเหลือดานเทคโนโลยีการศึกษา และไดรับความ ชวยเหลือจากญี่ปุน คือ EBPC-Educational Broadcasting Production Center ศ.ดร.วิจิตรฯ เลาวา ฝายญี่ปุนถามวา ใครเขียนโครงการให เพราะมี ความสมบูรณ และเปนปจจัยหนึ่งที่ทําใหฝายญี่ปุนมีความมันใจวา เมื่อ ่ จัดตั้งศูนยผลิตรายการฯ ใหแลว มหาวิทยาลัยมีคนรูเรื่องและสามารถใช ประโยชนได
  • 23. เมื่อเปนมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชแลว 30. พัฒนาระบบสอนเสริม ในรูปชุดสอนเสริม เสนอสภาวิชาการ เมื่อ ๒๕๒๓ ในการประชุมที่สภาการศึกษา แตไมไดรับความเห็นชอบเนื่องจาก (กรรมการสภาวิชาการบางคน) เกรงจะกาวล้ําเสริภาพทางวิชาการของ อาจารยสอนเสริม และเนนวา นาจะใหเกียรติผูสอน หลังจาก ๑ ปแหงการ สอยเสริมที่ลมเหลว ซึ่งมีปญหาในการสอนเสริมหลายประการ สภา   วิชาการจึงใหความเห็นชอบผลิตเปนชุดสอนเสริม ที่เนน Non-Projected Materialsในรูปชุดโสตทัศน(Audio-Vision) หรือ ชุดโอษฐทัศน (Oral (Audio vision)
  • 24. เมื่อเปนมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชแลว 31. พัฒนาระบบการอบรมเขมเสริมประสบการณวิชาชีพ โดยเริ่มที่สาขาวิชา ศึกษาศาสตร จัดที่สวางคนิวาศ ๔ ครั้ง แลวจึงขยายไปตางจังหวัด 32. ดําเนินการขอใหมีตําแหนงอาจารยในสํานักเทคโนโลยีการศึกษา ทุก ประเทศ นักเทคโนโลยีการศึกษา ลวนเปนตําแหนงอาจารย เชน Institute of Educational Technology (IET) Open University (ENGLAND), National Institute for Multi-Media Education (NIME) University of the Air (JAPAN) และทําหนาที่วัดและประเมินดวย จึงทําใหนักประเมิน ไดรับตําแหนงอาจารยประจําสํานักทะเบียนและวัดผลดวย
  • 25. เมื่อเปนมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชแลว 33. รวมพัฒนาระบบบัณฑิตศึกษาของศึกษาศาสตร โดยเฉพาะการปรับ รูปแบบเอกสารการสอนเปน (1) ประมวลสาระชุดวิชา (Course Comprehensive Text-CCT) (2) แนวการศึกษา (Study Guide) (3) แผนกิจกรรมการศึกษา (Course Bulletin) (4) ชุดความรู (Source Book) ในรูปเอกสารประกอบและสารานุกรม
  • 26. เมื่อเปนมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชแลว 34. พัฒนาระบบการใหคําปรึกษาวิทยานิพนธเปนกลุม (Thesis Group Advisory System-TGAS) เพื่อไมใหอาจารยที่ปรึกษาเพียงคนเดียวมี อํานาจในการชี้เปนชี้ตายงานของนักศึกษา แตใหคณะกรรมการกลุมผลิต ชุดวิชาวิทยานิพนธ กําหนดกรอบกลาง เพื่อกํากับการใหคําปรึกษาของ MA (Major Advisor) และ CO (Co advisor) ระบบ TGAS ใชไดผลดีมากในแขนงวิชาเทคโนโลยีการศึกษา แตภายหลัง ถูกครอบงําดวยการใหคําปรึกษาวิทยานิพนธแบบรายตัว จึงสลายไป
  • 27. เมื่อเปนมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชแลว 35. รวมจัดระบบการสัมมนาเสริมระดับบัณฑิตศึกษา เพื่อกําหนดแนวทางให นักศึกษารวมอภิปรายสัมมนา ทํารายงาน เสนอรายงาน มากกวา มาฟง อาจารยสอนเสริม 36. จัดพิมพคมือวิทยานิพนธ บัณฑิตศึกษา (๒๕๔๕) ู 37. จัดพิมพ “คูมือเขียนบทคัดยอภาษาอังกฤษ” (Abstract Writing Manual)
  • 28. “แผนมสธ. 2536” “แผนมสธ. 2536” ประเมินน ประเมิ ผลสัมมฤทธิ์ ผลสั ฤทธิ์ สื่อ่อสิ่งพิมพ สื สิ่งพิมพ ทางการเรียยน ทางการเรี น เทปเสียยง เทปเสี ง 1.0 1.0 2.0 2.0 3.0 3.0 5.0 5.0 4.0 กํกํหนด าาหนด สํสํรวจปญหา าารวจปญหา พัพัฒนา ฒนา 4.0 ถถยทอด าายทอด ผลิตต ปรัชชญา ปรั ญา และ และ หลักกสูตร หลั สูตร ผลิ ชุชุดการสอน ดการสอน เนื้อ้อหาสาระ เนื หาสาระ เทปภาพ เทปภาพ 6.0 6.0 ประเมิน และ และ ความตอองการ ความต งการ การศึกกษา การศึ ษา และ และ ประเมิน ทางไกล ทางไกล วิวิสัยทัศน สัยทัศน สัสังคม งคม ทางไกล ทางไกล ประสบการณ ประสบการณ สัมมนาเสริม/เขม สัมมนาเสริม/เขม ประเมินนระบบ ประเมิ ระบบ การศึกกษาทางไกล การศึ ษาทางไกล สื่อ่อคอมพิวเตอร สื คอมพิวเตอร
  • 29. เมื่อเปนมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชแลว 38. รวมพัฒนาระบบมหาวิทยาลัยเสมือนจริง (Virtual University Project) สําเร็จตั้งแต พ.ศ. ๒๕๔๐ เพื่อนํา มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ไปสูยุค E-learning โดยพัฒนาระบบการสอนทางไกล มหาวิทยาลัย สุโขทัยธรร มาธิราช “แผนมสธ ๒๕๔๐” ไดรับมอบหมายใหเปนผูรางโครงการ มหาวิทยาลัยเสมือนจริงลุมแมนํา เป โขง (Greater Mekhong Sub-Regional Virtual University-GMS-VU) ของ UNESCO/SEAMEO
  • 30. เมื่อเปนมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชแลว 39. เปนประธานพัฒนาระบบการสอนทางไกล “แผนมสธ. ๒๕๔๓” (STOU Plan 2000) และประกาศใชโดยสภามหาวิทยาลัยเมือวันที่ ๑๔ มีนาคม ๒๕๔๔ (ดูแผนถัดไป) 40. พัฒนาระบบการเขียนตําราทางไกลในรูป ประมวลสาระ และคูมือการศึกษา เพื่อ นําไปสูการปรับปรุงชุดวิชา ระยะแรก มีชดวิชาไทยศึกษาชุดเดียวทําสําเร็จ ในพ.ศ.  ุ ๒๕๔๓ เปนผูเขียนและพิมพคูมือดวยตนเอง แตถกอาจารยบางสวนตอตาน ู โดยเฉพาะจากสาขาวิชานิติศาสตร 41. พัฒนาระบบการประเมินกิจกรรม (ตามขอบังคับ ๒๕๒๓ ที่ใหมีคะแนนเก็บได ๒๐ คะแนน) ภาคการศึกษาแรก (๑/๒๕๔๔) ไมสาเร็จ เพราะไมไดรับความรวมมือจาก ํ สาขาเจาของวิชา แตสําเร็จในภาค ๒/๔๔ มีชุดวิชาเขารวมโครงการ ๕ ชุด ปจจุบันมี ประมาณ ๔๐ ชุด
  • 31. ““แผนมสธ..2543”” แผนมสธ 2543 “แผนมสธ. 2543” การปรับปรุงการเรียนการสอน รายการวิทยุ/โทรทัศน การสอนดวยคอมพิวเตอร ไมเปนที่พอใจ 7.1 6.1 6.1 ผานสื่อสิ่งพิมพ 8.1 เปนที่พอใจ ผลิตตชุดสื่อ ผลิ ชุดสื่อ เทป/ซีดีเสียง/ภาพ 8.1 ประเมินนผล ประเมิ ผล 2.0 4.0 2.0 4.0 สํสํรวจปญหา า ารวจปญหา กํกํหนด าาหนด สิสิพิพิมพ ่ง่ง มพ ปฎิสัมพันธเผชิญหนา สั การเรียยน ความตอองการ การเรี น ความต งการ บริบบทและ 1.0 ของสังคม บริ ทและ 6.0 6.0 7.0 7.0 • บาน 9.0 9.0 ของสังคม ผลิตตชุดวิชา ถถยทอดเนืออหา ผลิ ชุดวิชา า ายทอดเนื้ หา ้ 1.0 • บาน กํกํหนด าาหนด สถานการณ สถานการณ • หองสมุด 8.0 8.0 ประกันน ประกั • หองสมุด และ และ และ และ • อืนเทอรเนต ประเมินน คุคุณภาพ ณภาพ ปรัชชญา/ ปรั ญา/ 3.0 5.0 • อืนเทอรเนต ประเมิ 3.0 5.0 สืสื่อการสอน ประสบการณ ่อการสอน ประสบการณ •ศูนนการศึกษา •ศู ย ยการศึกษา วิวิสัยทัศน สัยทัศน วิวิคราะห เ เคราะห พัพัฒนา ฒนา ทางไกล ทางไกล ผูผูรีรียนและ เ เ ยนและ หลักกสูตร หลั สูตร 8.2 8.2 สื่อเสียง/ภาพออนไลน ประเมินน ประเมิ มาตรฐาน มาตรฐาน การศึกกษา การศึ ษา 6.2 6.2 สื่อเสียง/ภาพออฟไลน ระบบ บับัณฑิต ณฑิต ผลิตตชุดสื่อ ผลิ ชุดสื่อ ระบบ เปนที่พอใจ 7.2 คอมพิววเตอร คอมพิเตอร ผานเครือขาย ไมเปนที่พอใจ ปฏิสัมพันธเสมือนจริง ปฏิสัมพันธเผชิญหนา ปรับปรุงระบบ
  • 32. เมื่อเปนมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชแลว 42. พัฒนาระบบการสอนเสริมแบบบูรณาการ (Integrated Tutorial Approach-ITA) ที่เปดโอกาสใหนักศึกษาที่สอบชุดวิชาใดไมผาน ๑-๒ ภาค  การศึกษาไดมีทางเลือกที่จะเขาสอนเสริมแบบเขม โดยตองรับผิดชอบ คาใชจายเอง  43. จัดระบบใหมีการเทียบโอนประสบการณตามมาตรา ๕ แหง พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ โดยจัดทําเปนขอบังคับ เพื่อใหผูประสบความสําเร็จในการงานอาชีพ และผูประสบความสําเร็จใน ชีวิต มีสิทธิเขาศึกษาในระดับปริญญาตรี แตไมผานความเห็นชอบจากสภา มหาวิทยาลัย ทําให มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชสูญเสียความเปนผูนํา ในดานนี้
  • 33. เมื่อเปนมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชแลว 44. ขยายการศึกษาไปสูชนบทโดยทําความตกลงกับกรมการศึกษานอก โรงเรียน ปแรกมีนักศึกษาจาก กศน. เขารวมโครงการ ๑๕,๐๐๐ คน แต มหาวิทยาลัยไมดําเนินการตอจึงสลายไปโดยปริยาย 45. ขยายการศึกษาไปตางประเทศ เชน Hong Kong, Taiwan, Malaysia, Brunei, และUSA มีนักศึกษาสําเร็จการศึกษาไปแลวหลายรุน
  • 34. เมื่อเปนมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชแลว 46. พัฒนาระบบการบริหารชุดวิชา (ค.บ.ช) เพื่อแกปญหาที่เมื่อกลุมชุดวิชา สลายตัวแลว ไมมคณะกรรมการดูแลวิชาที่เปดสอน ทําใหไมสามารถ ี ติดตามประเมินและนําไปสูการปรับปรุงชุดวิชา ผลจึงปรากฏวา ในพ.ศ. ๒๕๔๔ มีชุดวิชาที่เปดสอนเกิน ๑๕ ปและไมมการปรับปรุงเลยประมาณ ี ๒๕๖ ชุดวิชา ใชมานานเกิน ๑๐ ปประมาณ ๓๐๐ ชุดวิชา จากชุดวิชา ทั้งหมดประมาณ ๖๕๐ ชุดวิชา
  • 35. เมื่อเปนมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชแลว 47. พัฒนาระบบการสอบแบบอิงประสบการณ (Experience-based Approach-EBA) สําหรับโรงเรียนประถมศึกษา มัธยมศึกษา และ อุดมศึกษา โดยเฉพาะการสอนชุดวิชาที่เนนการฝกประสบการณวิชาชีพ และการฝกปฏิบัติ 48. พัฒนาระบบการสอนผานจอภาพแบบปฏิสัมพันธ (On-Screen Interactive Instruction-OSI) 49. พัฒนาระบบโรงเรียนเสมือนจริง (Virtual School) สําหรับสาขาวิชา ศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช 50. รวมพัฒนาระบบดุษฎีบัณฑิตสาขาวิชาศึกษาศาสตร และเปนประธาน คณะกรรมการพัฒนาหลักสูตรฯ
  • 36. ภาพบวกลบในความทรงจํา: ไดรบอะไรจากมสธ. ั ทางบวก ไดรบโอกาสในการนําวิชีพเทคโนโลยีการศึกษามาใช – ั ขอขอบคุณ ศาสตราจารย ดร.วิจิตร ศรีสอาน ที่ใหโอกาส ไดมสวนเปนสถาปนิก พัฒนาพิมพเขียนดานการศึกษา ี ทางไกลของ มสธ. และมีโอกาสเปนวิศวกรกํากับควบคุม งานดวย
  • 37. ภาพบวกลบในความทรงจํา: ไดรบอะไรจากมสธ. ั ทางบวก เปนบานที่ไดอยูอาศัย แมชวง ๑๔ ปหลัง (๒๕๓๐ เปนตนมา) จะ ไมไดทําพัฒนาสิ่งใหมใหมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช เทาที่ควร บางระยะจึงตองเดินทางไปเปนที่ปรึกษาดานการศึกษา ทางไกลและเทคโนโลยีการศึกษาในตางประเทศ ๒ ปกอนเกษียณที่มีโอกาสไดเขามาชวยงาน ดร.ทองอินทร ใน ฐานะรองอธิการบดีฝายวิจัยและบัณฑิตศึกษา กับรองอธิการบดี ฝายวิชาการ
  • 38. ภาพบวกลบในความทรงจํา: ไดรบอะไรจากมสธ. ั ทางบวก เปนเวทีพัฒนาทักษะความชํานาญดานเทคโนโลยี การศึกษา ไดรับเงินเดือนขึ้น ๒ ขั้นเพียงครั้งเดียวในเวลา ๒๓ ปที่รบราชการที่มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ั
  • 39. ไดรับอะไรจากมสธ. ทางลบ ความลําบากใจในการทํางาน เนื่องจากไมมีสวนในการกําหนดนโนบาย ในชวงตนๆ และถูกกํากับโดยผูที่ไมรูงานจริง จนทําใหองคประกอบ บางสวนของระบบถูกตัดรอน ระบบการสอนของมสธ. โดยเฉพาะดาน เทคโนโลยีการศึกษาพัฒนาไดจริงๆ ในชวง ๕ ปแรกเทานั้น ความไมจริงใจของเพื่อนรวมงานบางคนแมจะเปนเพื่อนรวมงานที่รวมกัน จะเป มาตั้งแตเริ่มแรก การไมพัฒนาทัศนคติการระบบเปดของคณาจารยและบุคลากร--ยังมี มุมมองที่ไมสะทอนภาพอนาคตของการศึกษา ยังเห็นวาการสอนแบบมี หองเรียนดีกวา
  • 40. คําฝาก มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช กําลังถูกแขงขัน ตองปรับ Paradigm ที่จะนําไปสูการศึกษาไรพรมแดน ตองรักษา “ไตรภาคี” แหงการทํางาน หากคณาจารยมสธ. คิดวา ตนมีความสําคัญกวา บุคลากรสายอื่นแลว มสธ อยู ไมได อธิการบดีตองมี Mentalities ดานการศึกษาทางไกลและ ระบบเปด ตองทําจริง ไมใชเปนสมาชิก NATO คือ ดีแตพูด
  • 41. ขอบพระคุณ ขอบพระคุณ Dr.Chaiyong Brahmawong Telephone: (01)733-0270 E-mail: chaiyong@irmico.com Website:www.chaiyongvision.com www.buddhabirthplace.com